You are on page 1of 69

วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.

วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เอกภพและเทคโนโลยีอวกาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลง กระบวนการเปลี่ยนแปลง
กับการสารวจเอกภพ ทางธรณีวิทยาของโลก ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เอกภพและเทคโนโลยีอวกาศ
กับการสารวจเอกภพ
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กาเนิดดาวฤกษ์
กลุ่มกาแล็กซีทางช้างเผือก
หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง สมบัติของดาวฤกษ์
โครงสร้างและองค์ประกอบ
กาเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์
ของกาแล็กซีทางช้างเผือก

เอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์

เอกภพและเทคโนโลยีอวกาศกับการสารวจเอกภพ

เทคโนโลยีอวกาศ ระบบสุริยะ

เทคโนโลยีอวกาศกับการสารวจเอกภพ กาเนิดระบบสุริยะ เขตบริวารของดวงอาทิตย์

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์ โครงสร้างของดวงอาทิตย์

ลักษณะของดาวเคราะห์
ที่เอื้อต่อการดารงชีวิต
เทคโนโลยีอวกาศกับการสารวจเอกภพ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กล้องโทรทรรศน์ ยานอวกาศ
เพื่อศึกษาเทห์ ฟ้าหรื อ คือ ยานพาหนะที่นามนุษย์
วั ต ถุ ท้ อ งฟ้ า ที่ แ ผ่ รั ง สี หรื อเครื่ องมือวิทยาศาสตร์
ในช่ วงความยาวคลื่น ขึน้ ไปสู่อวกาศ เพื่อสารวจ
ต่ าง ๆ หรื อเดินทางไปยังดาวดวงอื่น

สถานีอวกาศ ดาวเทียม
คือ ห้ องปฏิบตั ิการลอยฟ้ าที่ คือ เครื่ องมือที่ถูกส่ งขึน้ ไป
โคจรรอบโลก ใช้ ในการศึกษา โคจรรอบโลกและนามา
วิจยั ทางวิทยาศาสตร์ ในสาขา ประยุกต์ ใช้ ในด้ านต่ าง ๆ
ต่ าง ๆ ในสภาพไร้ นา้ หนัก
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ตัวชี้วัด
1. อธิบายการกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบง
ในช่วงเวลาต่าง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภาพ (ว 3.1 ม.6/1)
2. อธิบายหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับระยะทางของ
กาแล็กซี รวมทั้งข้อมูลการค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ (ว 3.1 ม.6/2)
3. อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก และระบุตาแหน่งของระบบสุริยะ
พร้อมอธิบายเชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางช้างเผือกของคนบนโลก (ว 3.1 ม.6/3)
4. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ์
ก่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ์ (ว 3.1 ม.6/4)
5. ระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับ
โชติมาตรของดาวฤกษ์ (ว 3.1 ม.6/5)
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ตัวชี้วัด
6. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ (ว 3.1 ม.6/6)
7. อธิบายลาดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติ
บางประการของดาวฤกษ์ (ว 3.1 ม.6/7)
8. อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ และการแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ และลักษณะของ
ดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดารงชีวิต (ว 3.1 ม.6/8)
9. อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ และสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์
นาเสนอปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับผลของลมสุริยะ และพายุสุริยะที่มีต่อโลก
รวมทั้งประเทศไทย (ว 3.1 ม.6/9)
10. สืบค้นข้อมูล อธิบายการสารวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ
ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยี
อวกาศมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันหรือในอนาคต (ว 3.1 ม.6/10)
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

เอกภพ
วิวัฒนาการของเอกภพ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
2.73

102
อุณหภูมิ 1032 1027 1013 109 5x103
(เคลวิน)

บิกแบง

เวลา 10-43 10-32 10-6 3 300,000 1,000


วินาที วินาที วินาที นาที ปี ล้านปี 13,800
ล้านปี
อนุภาคและปฏิอนุภาคชนิดเดียวกัน รวมตัวกัน เกิดกระบวนการประลัย (annihilation)
อะตอมของธาตุ ไฮโดรเจนและฮี
ภระบบสุ รเช่ ่เเงหลื
ลียอกมรวมตั
ิยะและดาวฤกษ์ ดวขึน้นกัวอะตอมของธาตุ
น่รเกิวมตั นอุกัอิเกิ ดกเกิเป็ตรอน
ณนเล็หภู มดิลนเป็
เนบิโปรตอน
วลา
ดลงเหลื และเกิ
เคลวิดนวกาแล็
ไอฮโดรเจนและฮี
2.73 นลีกยซี(neutrino)
มดาวฤกษ์
มีอนุภทาคมู
าให้ ภอนุาคกลายเป็
โปรตอนและนิ
อลนุฐานเกิ าคมู
ดขึ้นวลตรอนรวมตั
ฐานที งานวอยู
นนพลัควาร์ กั(quark)เป็
เอกภพขยายตั วอย่านงรวดเร็ ว อุนิณวนิตรอน
(electron) มิลโเดลงมาก
หภูทริ
หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

1 การขยายตัวของเอกภพ

2 ไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ
การขยายตัวของเอกภพ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับความเร็วในการเคลื่อนที่ห่างออกจากโลกของกาแล็กซี
2000

1500
ความเร็ว (กิโลเมตร/วินาที)

1000

500

-500
0 10 20 30
ระยะทาง (เมกะพาร์เชก)
กฎฮับเบิล-เลอแม็ท (Hubble-Lemaitre’s law)
v คือ ความเร็วในการเคลื่อนที่ออกจากโลกของกาแล็กซี มีหน่วยเป็น กิโลเมตรต่อวินาที
v = H0D H0 คือ ค่าคงตัวฮับเบิล (Hubble constant) มีหน่วยเป็น กิโลเมตรต่อวินาทีต่อเมกะพาร์เซก
D คือ ระยะทางของกาแล็กซีจากโลก มีหน่วยเป็น เมกะพาร์เซก
ไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กล้องโทรทรรศน์วิทยุ COBE
พ.ศ. 2507 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ อาร์โน เพนเซียส พ.ศ. 2532 มีการส่งดาวเทียมสารวจชื่อ
และรอเบิร์ต วิลสัน ได้ทาการเก็บข้อมูลโดยใช้กล้องโทรทรรศน์- cosmic background explorer (COBE) เพื่อ
วิทยุ และพบว่า มีสัญญาณรบกวนคลื่นวิทยุที่ทาการตรวจวัด ตรวจวัดไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ และนาไป
เมื่อทาการศึกษาสัญญาณรบกวนดังกล่าวที่ตรวจวัดได้จาก คานวณหาอุณหภูมิของเอกภพโดยใช้แบบจาลอง
ทุกทิศทาง ทาให้ทราบว่าเป็นไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ พบว่า ในปัจจุบันเอกภพมีอุณหภูมิประมาณ
2.73 เคลวิน
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ

-200 µK 200 µK

ข้อมูลอุณหภูมิของเอกภพที่ได้จากการตรวจวัดไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กาแล็กซี
ประเภทของกาแล็กซี วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กาแล็กซี

กาแล็กซีมีรูปร่าง กาแล็กซีไร้รูปแบบ

กาแล็กซีรี กาแล็กซีเลนส์

กาแล็กซีกังหัน กาแล็กซีกังหันแบบมีคาน
การจัดกลุ่มกาแล็กซีตามรูปร่าง วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กาแล็กซีกังหัน

กาแล็กซีรี กาแล็กซีเลนส์

กาแล็กซีกังหันแบบมีคาน
กาแล็กซีทางช้างเผือก วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ฮาโล
เป็นทรงกลมที่ห่อหุ้ม
นิวเคลียสและจาน

30,000 ปีแสง

จาน ตาแหน่งของระบบสุริยะ นิวเคลียส ดุมกาแล็กซี


มีดาวฤกษ์เรียงตัวเป็น อยู่ภายในโครงสร้างของ เป็นบริเวณใจกลางกาแล็กซี มีความหนาประมาณ 3,000 ปีแสง
ระนาบคล้ายกับแขนที่บิด “จาน” ที่มีดาวฤกษ์รวมกันอยู่ และมีดาวฤกษ์เรียงตัวกันเป็นแนว
เป็นเกลียวของกาแล็กซี เป็นจานวนมาก คล้ายคานยาวประมาณ 20,000 ปีแสง
กาแล็กซีทางช้างเผือก วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ทางช้างเผือก (milky way) ที่


สัง เกตเห็น บนท้องฟ้าในเวลา
กลางคื น ซึ่ ง ก็ คื อ ดาวฤกษ์
จานวนมากที่อยู่ในระนาบของ
กาแล็กซี
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กาแล็กซีในกลุ่มท้องถิ่น

กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก
(small magellanic cloud)
เป็นกาแล็กซีไร้รูปแบบ มีขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7,000 ปีแสง
อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือก
ประมาณ 200,000 ปีแสง

กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่
(large magellanic cloud)
เป็นกาแล็กซีไร้รูปแบบ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 14,000 ปีแสง อยู่ห่างจากกาแล็กซี
ทางช้างเผือกประมาณ 163,000 ปีแสง
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

กาแล็กซีในกลุ่มท้องถิ่น

กาแล็กซีแอนดรอเมดา
กาแล็กซีทางช้างเผือก (andromeda galaxy)
เป็นกาแล็กซีกังหัน มีขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 220,000
ปีแสง และอยู่ห่างจากกาแล็กซี
ทางช้างเผือกประมาณ 2.5 ล้านปีแสง

จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ พบว่า กาแล็กซีแอนดรอเมดาและกาแล็กซีทางช้างเผือกเคลื่อนที่เข้าหากัน


เนื่องจากแรงโน้มถ่วง และคาดการณ์ว่าจะชนกันในอีกประมาณ 4,500 ล้านปีนับจากปัจจุบัน จากนั้น
จะรวมตัวกันเกิดเป็นกาแล็กซีขนาดใหญ่
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดาวฤกษ์
กาเนิดดาวฤกษ์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดาวฤกษ์มีต้นกาเนิดมาจากเนบิวลา (nebula) คือ กลุ่มของฝุ่นและแก๊ส เช่น


ไฮโดรเจน ฮีเลียม ซึ่งเป็นสสารระหว่างดาว เนบิวลานั้นมีที่มาจากบิกแบง
หรือการหมดอายุขัยของดาวฤกษ์

เนบิวลาหัวม้า (horsehead nebula) เนบิวลาปู (crab nebula)


ที่มา : https://www.nasa.gov/multimedia/imagegallery/image_feature_89.html
การเปลี่ยนแปลงของเนบิวลาเป็นดาวฤกษ์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

1 กลุ่มของฝุ่นและโมเลกุลของแก๊สที่รวมตัวกันหนาแน่น ทาให้เกิดการ
ยุบตัวเนื่องจากแรงโน้มถ่วง เริ่มเกิดเป็นบริเวณที่ฝุ่นและแก๊สรวมตัวกัน
จานวนมาก

2 บริเวณใจกลางของกลุ่มฝุ่นและแก๊สที่รวมตัวกัน มีความหนาแน่น
ความดัน และอุณหภูมิสูง จากนั้นกลุ่มของสสารเริ่มหมุนรอบตัวเอง

3 กลุ่มสสารเกิดการยุบตัวจนมีรูปร่างคล้ายจาน มีความดันและ
อุณหภูมิสูงมากขึ้น เรียกว่า ดาวฤกษ์ก่อนเกิด (protostar)

ดาวฤกษ์ก่อนเกิดยุบตัวทาให้แก่นของดาวมีอุณหภูมิสูงถึง 15
4 ล้านเคลวิน ทาให้เกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ เกิดการหลอม
นิวเคลียสของไฮโดรเจน เป็นนิวเคลียสของฮีเลียมและปลดปล่อย
พลังงานอย่างต่อเนื่อง ดาวฤกษ์ก่อนเกิดจึงกลายเป็นดาวฤกษ์
สมดุลอุทกสถิตของดาวฤกษ์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

แรงดันจากปฏิกิริยา
เทอร์มอนิวเคลียร์
แรงโน้มถ่วง

สมดุลอุทกสถิต (hydrostatic equilibrium) เป็นสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงของมวลดาวฤกษ์


กับแรงดันจากปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ทาให้ดาวฤกษ์มีเสถียรภาพและปลดปล่อยพลังงาน
เป็นเวลานานตลอดช่วงชีวิตของดาวฤกษ์
สมบัติของดาวฤกษ์ : ความส่องสว่าง วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ความส่องสว่าง กาลังส่องสว่าง โชติมาตร หรืออันดับความสว่าง


(brightness) (luminosity) (magnitude)

พลังงานจากดาวฤกษ์ที่ปลดปล่อย อัตราการปลดปล่อยพลังงานของ ค่าที่ใช้เปรียบเทียบความส่องสว่างของดาว


ออกมาในเวลา 1 วินาทีต่อหน่วย ดาวฤกษ์ในเวลา 1 วินาที ฤกษ์ โชติมาตรมีค่าติดลบได้
พื้นที่ ณ ตาแหน่งของผู้สังเกต

หน่วย หน่วย หน่วย


วัตต์ต่อตารางเมตร วัตต์ ไม่มีหน่วย
(Wm-2) (W)
สมบัติของดาวฤกษ์ : ความส่องสว่าง วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

อันดับของโชติมาตร
ในอดีตนักดาราศาสตร์ชาวกรีก ชื่อ ฮิพพาคัส (Hipparchus) ได้กาหนดค่าโชติมาตรไว้
6 อันดับในยุคนั้น โดยให้ดาวฤกษ์ที่ มีความส่องสว่างมากที่สุดมีค่าโชติมาตรเท่ากับ 1
และดาวฤกษ์ที่มีความส่องสว่างน้อยที่สุดมีค่าเท่ากับ 6

1 2 3 4 5 6
ค่าโชติมาตร น้อย ค่าโชติมาตร มาก
ความส่องสว่าง มาก ความส่องสว่าง น้อย
สมบัติของดาวฤกษ์ : ความส่องสว่าง วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

โชติมาตรปรากฏ (apparent magnitude)


ค่าโชติมาตรปรากฏของวัตถุท้องฟ้า มีค่าแตกต่างกันตามระยะห่างของวัตถุนั้นจากโลก
สมบัติของดาวฤกษ์ : ความส่องสว่าง วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

โชติมาตรสัมบูรณ์ (absolute magnitude)


ใช้เปรียบเทียบกาลังส่องสว่างของดาวฤกษ์โดยกาหนดให้ดาวฤกษ์มีระยะห่างจากผู้สังเกต
เท่ากับ 10 พาร์เซก
ตาราง เปรียบเทียบค่าโชติมาตรปรากฏและโชติมาตรสัมบูรณ์ของดาวฤกษ์
สี อุณหภูมิพื้นผิวดาว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

• ดาวฤกษ์มีสีและสเปกตรัมแตกต่างกัน เนื่องจากมีอุณหภูมิพื้นผิวของดาวแตกต่างกัน
• ดาวฤกษ์ท่มี ีปริมาณพลังงานมากจะมีอุณหภูมิพื้นผิวสูงกว่าดาวฤกษ์ที่มีปริมาณพลังงานน้อย

ชนิดสเปกตรัม O B A F G K M

สี น้าเงิน น้าเงินแกมขาว ขาว ขาวแกมเหลือง เหลือง ส้ม แดง


อุณหภูมิพื้นผิว มากกว่า 30,000 10,000-30,000 7,500-10,000 6,000-7,500 4,900-6,000 3,500-4,900 2,500-3,500
ตัวอย่าง ดาวมินทากะ ดาวไรเจล ดาวเวกา ดาวโพรซิออน ดวงอาทิตย์ ดาวพอลลักซ์ ดาวเบเทลจุส
ดาวฤกษ์ ในกลุ่มดาว ในกลุ่มดาว ในกลุ่มดาว ในกลุ่มดาว ในกลุ่มดาว ในกลุ่มดาว
นายพราน นายพราน พิณ สุนัขเล็ก คนคู่ นายพราน

30,000 10,000 7,500 6,000 5,000 3,500 2,000

อุณหภูมิพื้นผิว (เคลวิน)
วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดาวฤกษ์ที่มีมวลตั้งต้นน้อยจะมีอายุยาวนานกว่าดาวฤกษ์ที่มีมวลตั้งต้นมาก เนื่องจาก
มีอัตราการผลิตพลังงานน้อย ทาให้ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีอายุและลาดับวิวัฒนาการแตกต่างกัน

ดาวฤกษ์ก่อนเกิด
มวลมากกว่า 18 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ดาวยักษ์ใหญ่สีน้าเงิน ซูเปอร์โนวา หลุมดา
มวลตั้งต้นของดาวฤกษ์

ดาวฤกษ์ก่อนเกิด
มวลมากกว่า 9-18 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ดาวลาดับหลัก ดาวยักษ์ใหญ่ ซูเปอร์โนวา ดาวนิวตรอน

ดาวฤกษ์ก่อนเกิด
มวลมากกว่า 0.08-9 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ดาวลาดับหลัก ดาวยักษ์แดง เนบิวลาดาวเคราะห์ ดาวแคระขาว

ดาวฤกษ์ก่อนเกิด
มวลน้อยกว่า 0.08 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ดาวลาดับหลัก ดาวแคระสีน้าตาล

เวลา
วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์มวลน้อยที่มีอายุประมาณ 12,000 ล้านปี ในปัจจุบัน ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ


4,500 ล้านปี เมื่อแหล่งพลังงานของดวงอาทิตย์ใกล้หมดลงในอีกประมาณ 5,000 ล้านปีข้างหน้า

ดาวยักษ์แดง
เนบิวลาดาวเคราะห์
ค่อย ๆ ร้อนขึ้น
ดาวแคระขาว

เริ่มแรก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
พันล้านปี (โดยประมาณ)

หมายเหตุ : ภาพไม่เป็นไปตามสัดส่วนจริง
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นแหล่งพลังงานให้แก่โลก ดวงอาทิตย์และวัตถุท้องฟ้าที่โคจรรอบดวงอาทิตย์
เรียกว่า ระบบสุริยะ (solar system) ในอดีตมนุษย์สังเกตท้องฟ้าด้วยตาเปล่า จึงสังเกตเห็นเพียงดาวเคราะห์
ที่อยู่ใกล้โลก และดาวพฤหัสบดีที่เป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ ต่อมามนุษย์ได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ขึ้น
ทาให้สังเกตเห็นดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ และดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์

ดวงจันทร์

ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน


กาเนิดระบบสุริยะ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ฝุ่นและแก๊สจานวนมากภายใน มวลของฝุ่นและแก๊สประมาณ 99.8% ดวงอาทิตย์เกิดขึ้น และสสารที่เป็น


1 เนบิวลาสุริยะเกิดการยุบตัว
เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ทาให้มี
2 ยุบตัวกลายเป็นดวงอาทิตย์ก่อนเกิด มวล
ส่วนที่เหลือจากการยุบตัวเป็นดวงอาทิตย์
3 ธาตุหนักจะหมุนวนอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์
สสารที่เป็นธาตุเบา เช่น แก๊สต่าง ๆ
อุณหภูมิและความดันสูง จะรวมตัวกันอยู่รอบดวงอาทิตย์มีรูปร่าง ไอน้า จะอยู่ห่างไกลออกไป
คล้ายจานและเริ่มหมุนวนรอบดวงอาทิตย์

ดาวเคราะห์ก่อนเกิดจะชนกัน แล้วรวมตัวกันจนกระทั่ง
4 ฝุ่นและแก๊ส รวมทั้งธาตุต่าง ๆ เกิดการ
ชนกันและรวมตัวกัน ด้วยแรงโน้มถ่วงเกิด 5 มีขนาดใหญ่ขึ้นกลายเป็นดาวเคราะห์หิน ดาวเคราะห์น้อย
ดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส ส่วนที่ไม่รวมเป็นดาวเคราะห์ คือ
เป็นวัตถุดาวเคราะห์ และเกิดการรวมตัวและ
ชนกันอีกจนกลายเป็น ดาวเคราะห์ก่อนเกิด แถบไคเปอร์ และดงดาวหางหรือเมฆของออร์ต
เขตบริวารของดวงอาทิตย์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ สสารส่วนที่เหลือจากการเกิดดวงอาทิตย์
รวมตัวเป็นดาวเคราะห์และบริวารอื่น ๆ ของดวงอาทิตย์ ดังนั้น จึงแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์
ตามลักษณะการเกิดและองค์ประกอบ ได้แก่

1 ดาวเคราะห์ชั้นใน (inner planets)


2 แถบดาวเคราะห์น้อย (asteroid belt)
3 ดาวเคราะห์ชั้นนอก (outer planets)
4 แถบไคเปอร์ (kuiper belts)
5 ดงดาวหางหรือเมฆของออร์ต (oort cloud)
ดาวเคราะห์ชั้นใน วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

เขตดาวเคราะห์ชั้นในเป็นบริเวณที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด เนื่องจากสสารที่หมุนวนอยู่ใน
จานกาเนิดดาวเคราะห์บริเวณใกล้ดวงอาทิตย์เป็นธาตุหนัก ดาวเคราะห์ทั้งสี่จึงมีแก่นของดาวเป็น
สารประกอบของเหล็ก และส่วนประกอบอื่นของดาวเป็นสารประกอบของซิลิกอนเป็นส่วนใหญ่

ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร


แถบดาวเคราะห์น้อย วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

แถบดาวเคราะห์น้อยเป็นบริเวณที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับวงโคจรของดาวพฤหัสบดี
ประกอบด้วยดาวเคราะห์น้อยจานวนมากโคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์น้อยเหล่านี้เกิดจากอิทธิพล
ของแรงโน้มถ่วงระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวพฤหัสบดี ทาให้ไม่สามารถรวมตัวเป็นดาวเคราะห์ได้

ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี

แถบดาวเคราะห์น้อย
ดวงอาทิตย์
ดาวเคราะห์ชั้นนอก วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

เขตดาวเคราะห์ชั้นนอกเป็นบริเวณที่อยู่ถัดจากแถบดาวเคราะห์น้อย เนื่องจากสสารที่หมุนวนอยู่ใน
จานกาเนิดดาวเคราะห์บริเวณไกลจากดวงอาทิตย์เป็นกลุ่มแก๊ส ดาวเคราะห์ทั้งสี่จึงมีแก่นของดาวเป็น
สสารที่เป็นของแข็งและส่วนประกอบอื่นของดาวเป็นแก๊ส เช่น ไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน แอมโมเนีย ไอน้า

ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน


แถบไคเปอร์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

แถบไคเปอร์เป็นบริเวณที่อยู่ถัดจากดาวเคราะห์ชั้นนอก มีระยะทางจากดวงอาทิตย์ ประมาณ


30–50 AU ประกอบด้วยดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet) และดาวเคราะห์น้อยจานวนมาก
รวมทั้งเป็นแหล่งกาเนิดดาวหาง
ดงดาวหางหรือเมฆของออร์ต วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดงดาวหางหรือเมฆของออร์ตเป็นบริเวณที่อยู่ถัดจากแถบไคเปอร์ มีระยะทางจากดวงอาทิตย์ประมาณ
2,000–200,000 AU ประกอบด้วยสสารที่ไม่ได้ก่อตัวเป็นดาวเคราะห์ เช่น มีเทน แอมโมเนีย น้าที่มี
สถานะเป็นของแข็ง บริเวณขอบนอกสุดของดงดาวหาง คือ ขอบเขตของระบบสุริยะบริเวณนี้เป็น
แหล่งกาเนิดของดาวหางเช่นเดียวกับแถบไคเปอร์
ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดารงชีวิต วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ มีระยะทางจากดวงอาทิตย์ประมาณ
150 ล้านกิโลเมตร มีชั้นบรรยากาศที่มีอุณหภูมิเหมาะสมต่อการดารงชีวิต และมีน้าอยู่ใน 3 สถานะ
ทั้งของแข็ง ของเหลว และแก๊ส นอกจากนี้ โลกยังมีสนามแม่เหล็กที่ช่วยป้องกันอนุภาคและรังสีจาก
ดวงอาทิตย์ ด้วยปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้นทาให้โลกเป็นดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดารงชีวิต
โครงสร้างของดวงอาทิตย์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างภายในของดวงอาทิตย์จากคลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจากการสั่นของ
ดวงอาทิตย์ เรียกว่า คลื่นไหวสะเทือนจากดวงอาทิตย์ (helioseismic) เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว
ทาให้ทราบว่า โครงสร้างของดวงอาทิตย์แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่
โครงสร้างภายใน
• แก่น (core)
• เขตการแผ่รังสี (radiative zone)
• เขตการพาความร้อน
(convection zone)

ชั้นบรรยากาศ
• ชัน้ โฟโตสเฟียร์ (photosphere)
• ชัน้ โครโมสเฟียร์ (chromosphere)
• คอโรนา (corona)
ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ดวงอาทิตย์ผลิตพลังงานที่แก่นของดาวและปลดปล่อย
พลังงานในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและอนุภาคออกสู่
อวกาศ ทาให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งส่งผลกระทบ
ต่อโลกเราแตกต่างกัน

ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
1. จุดมืดดวงอาทิตย์
2. ลมสุริยะ
3. พายุสรุ ิยะ
จุดมืดดวงอาทิตย์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

จุดมืดดวงอาทิตย์ (sunspot) เป็นปรากฏการณ์ที่สังเกตเห็น จุดมืดดวงอาทิตย์


ได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์ เห็นเป็นจุดสีดาบนดวงอาทิตย์
ตาแหน่งที่เกิด
บรรยากาศชั้นโฟโตสเฟียร์

ลักษณะบริเวณจุดสีดา
• อุณหภูมิต่ากว่าบริเวณอื่น (ประมาณ 4,000 เคลวิน)
• มีความเข้มของสนามแม่เหล็กสูง ทาให้มีการแผ่รังสี
น้อย จึงมีความมืดมากกว่าบริเวณโดยรอบ

ช่วงเวลาที่เกิด
• ปรากฏให้เห็นภายในเวลาไม่กี่วันจนถึงเดือน
• มีคาบของการเปลี่ยนแปลงจานวนจุดมืดประมาณ 11 ปี
ลมสุริยะ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ลมสุริยะ (solar wind) เกิดจากการปลดปล่อยอนุภาคที่มี เมื่อเคลื่อนที่ในอวกาศ


ประจุจากชั้นคอโรนาออกสู่อวกาศตลอดเวลา ทาให้หางของดาวหางเรืองแสงและชี้ไปในทาง
ตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์
ตาแหน่งที่เกิด
บรรยากาศชั้นคอโรนา เมื่อเคลื่อนที่มาใกล้โลก
• ถูกสนามแม่เหล็กโลกเบี่ยงเบนทิศทางออกไป ทาให้ไม่มี
ลักษณะของลมสุริยะ ผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลก
ปลดปล่อยอนุภาคออกมา • อนุภาคบางส่วนที่หลุดเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลกทาให้
ความเร็วในการเคลื่อนที่ : 250-750 กิโลเมตรต่อวินาที แก๊สในบรรยากาศแตกตัวเป็นไอออนเกิดเป็นแสงเหนือใต้
(aurora) ซึ่งมักเกิดในบริเวณขั้วแม่เหล็กโลก
พายุสุริยะ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ถ้าดวงอาทิตย์เกิดการปลดปล่อยอนุภาคที่มีประจุพลังงานสูง ผลที่เกิดขึ้นต่อโลก
จานวนมหาศาล เรียกว่า พายุสุริยะ (solar wind) • รบกวนระบบการส่งกระแสไฟฟ้าและการสื่อสาร
ตาแหน่งที่เกิด จึงอาจเกิดการขัดข้องของระบบไฟฟ้าและระบบสื่อสาร
ในประเทศที่อยู่บริเวณขั้วแม่เหล็กโลก
บรรยากาศชั้นคอโรนา
• อาจส่งผลต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของดาวเทียม และ
ช่วงเวลาที่เกิด การจราจรทางอากาศ
• ช่วงที่ดวงอาทิตย์มีการลุกจ้า • ทาให้แสงเหนือใต้สังเกตเห็นได้ชัดเจนขึ้น
• ช่วงที่มีจุดมืดดวงอาทิตย์จานวนมาก
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

เทคโนโลยี
อวกาศ
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
เทคโนโลยีอวกาศกับการสารวจเอกภพ

1 กล้องโทรทรรศน์
(telescope)

2 ยานอวกาศและสถานีอวกาศ
(spacecraft and space station)

3 ดาวเทียม
(satellite)
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
กล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์แต่ละประเภทถูกพัฒนาขึ้นให้สามารถสังเกตวัตถุท้องฟ้าที่มีอุณหภูมิแตกต่างกันและ
แผ่รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นต่างกัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่วนใหญ่ไม่สามารถ
เคลื่อนที่ผ่านชั้นบรรยากาศลงมาสู่ผิวโลก เนื่องจากถูกสะท้อนและดูดกลืนโดยชั้นบรรยากาศ
ผ่านชั้นบรรยากาศได้
ใช้กล้องโทรทรรศน์ที่ติดตั้งบนพื้นโลก
เพื่อศึกษาวัตถุที่แผ่รังสี

แสงที่ อัลตรา
วิทยุ ไมโครเวฟ อินฟาเรด รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา
มองเห็น ไวโอเลต
ความถี่
(เฮิรตซ์)
106 108 1012 1015 1016 1018 1020

ช่วงความยาวคลื่น
ของรังสีแต่ละชนิด

อุณหภูมิของ
วัตถุที่แผ่รังสี
(เคลวิน) 1 100 10000 10,000,000

ผ่านชั้นบรรยากาศไม่ได้ หรือผ่านได้บางส่วน
ส่งกล้องโทรทรรศน์ไปโคจรรอบโลก
เพื่อศึกษาวัตถุที่แผ่รังสี
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
กล้องโทรทรรศน์
ชนิดกล้อง วัตถุในเอกภพที่ศึกษา ตัวอย่างกล้อง ภาพตัวอย่าง
กล้องโทรทรรศน์วิทยุ • หลุมดา กล้องโทรทรรศน์วิทยุฟาสต์
(radio telescopes) • กาแล็กซี (five hundred meter aperture
spherical radio telescope, FAST)
• ไมโครเวฟพื้นหลัง
ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุที่มีขนาด
จากอวกาศ ใหญ่ที่สุด

กล้องโทรทรรศน์ • เนบิวลา กล้องโทรทรรศน์ที่ตั้งอยู่ตามหอดูดาว


ช่วงคลื่นแสง • กาแล็กซี ทั่วโลก แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่
(optical telescopes) • ดาวเคราะห์ • กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
• กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง
• ดาวฤกษ์
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
กล้องโทรทรรศน์
ชนิดกล้อง วัตถุในเอกภพที่ศึกษา ตัวอย่างกล้อง ภาพตัวอย่าง
กล้องโทรทรรศน์รังสี • ซูเปอร์โนวา กล้องโทรทรรศน์รังสีแกมมาเฟอร์มิ
แกมมา • ดาวนิวตรอน (fermi gamma-ray space
(gamma ray telescope) telescope)
• หลุมดา

กล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์ • ซากซูเปอร์โนวา กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา


(x-ray telescope) • ดาวนิวตรอน (Chandra x-ray observatory)
• ดาวแคระขาว
• ระบบดาวคู่
กล้องโทรทรรศน์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ชนิดกล้อง วัตถุในเอกภพที่ศึกษา ตัวอย่างกล้อง ภาพตัวอย่าง


กล้องโทรทรรศน์รังสี • วิวัฒนาการของ กล้องโทรทรรศน์กาแล็กซี
อัลตราไวโอเลต กาแล็กซี (galaxy evolution explorer
(ultraviolet telescope) • เนบิวลาดาวเคราะห์ (GALLEX))
• สสารระหว่างดาว

กล้องโทรทรรศน์รังสี • ดาวแคระสีน้าตาล กล้องโทรทรรศน์อวกาศไวส์


อินฟราเรด • เนบิวลา (wide-field infrared survey
(infrared telescope) • ดาวฤกษ์อุณหภูมิต่า explorer (WISE))
ยานอวกาศและสถานีอวกาศ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ประเภท ประโยชน์ ตัวอย่าง ภาพตัวอย่าง


ยานอวกาศ • การสารวจโลก ยานอวกาศที่มนุษย์เดินทางไปด้วย
(spacecraft) • งานด้านอุตุนิยมวิทยา • ยานอวกาศวอสตอค (vostok)
• การสารวจดาวเคราะห์ • ยานอวกาศอะพอลโล (apollo)

ยานอวกาศที่ใช้สารวจดาวเคราะห์
• ยานอวกาศกาลิเลโอ (galileo)
ใช้สารวจดาวพฤหัสบดี
• ยานอวกาศคิวริออสซิตี (curiosity)
ใช้สารวจดาวอังคาร
• ยานอวกาศนิวฮอไรซอนส์
(new horizons) ใช้สารวจดาวพลูโต
สถานีอวกาศ • การเจริญเติบโตของพืชและสัตว์ สถานีอวกาศนานาชาติ
(space station) • การทดลองเกี่ยวกับสรีรวิทยา (international space station)
ของมนุษย์
• กลศาสตร์ของไหล
• การเผาไหม้
• การเปลี่ยนแปลงของอนุภาค
ในชั้นบรรยากาศ
• การศึกษาและพัฒนายาและ
วัคซีนป้องกันโรค
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
ดาวเทียม
ดาวเทียม (satellite) เป็นเครื่องมือที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบ ๆ โลกโดยใช้แรงโน้มถ่วงของโลก เช่นเดียวกับ
การโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ดาวเทียมสามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ และมีรูปแบบการโคจรรอบโลก
ที่แตกต่างกัน

ดาวเทียมวงโคจรระดับกลาง
ดาวเทียมวงโคจรใกล้โลก

ดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้า
ดาวเทียม วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ประเภทดาวเทียม การโคจร ประโยชน์ ตัวอย่างดาวเทียม


ดาวเทียมวงโคจรใกล้โลก ระดับความสูงจากพื้นโลก • สารวจทรัพยากรธรรมชาติ • ดาวเทียม NOAA ใช้ในงานอุตุนิยมวิทยา
(Low Earth Orbit, LEO) ประมาณ 180-2,000 • การจัดทาภาพถ่าย ของประเทศสหรัฐอเมริกา
กิโลเมตร ดาวเทียม • ดาวเทียมไทยโชต หรือ THEOS: Thailand
• งานด้านอุตุนิยมวิทยา earth observation satellite ใช้ในการสารวจ
ความเร็วในการเคลื่อนที่ ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย
7.8 กิโลเมตรต่อนาที

ดาวเทียมวงโคจร ระดับความสูงจากพื้นโลก • ระบบจีพีเอส (global • ดาวเทียม Glonass ใช้ระบุพิกัดบนโลก


ระดับกลาง ประมาณ 20,000 กิโลเมตร positioning system
(Medium Earth Orbit, (GPS))
MEO) เวลาโคจรรอบโลก • ระบบคมนาคม
2-24 ชั่วโมง • ระบบสื่อสาร

• ดาวเทียมเทลสตาร์ (telstar) ใช้ใน


ระบบสื่อสาร
ดาวเทียม วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

ประเภทดาวเทียม การโคจร ประโยชน์ ตัวอย่างดาวเทียม


ดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้า ระดับความสูงจากพื้นโลก • การสื่อสาร • ดาวเทียมอินเทลแซต(intelsat-18) ใช้
(Geosynchronous Earth ประมาณ 35,786 กิโลเมตร • อุตุนิยมวิทยา
Orbit, GEO)
ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์และวิทยุ
• ดาวเทียมฮิมาวาริ (himawari) ใช้ในงาน
ความเร็วในการโคจร
ด้านอุตุนิยมวิทยา
รอบโลก
เท่ากับความเร็วที่โลก
หมุนรอบตัวเอง
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
จรวดและระบบขนส่งอวกาศ
จรวด (rocket) ระบบขนส่งอวกาศ (space transportation system)
รายละเอียด เครื่องมือที่ใช้แรงดันจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในการ ระบบที่ใช้ในการขนส่งอุปกรณ์และเครื่องมือขึ้นไปในอวกาศ
เคลื่อนที่ ถูกนามาใช้งานหลายด้าน ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
• กิจการทางการทหาร • จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
• การทดลองทางวิทยาศาสตร์ • ถังเชื้อเพลิงภายนอก
• การกู้ภัย • ยานขนส่งอวกาศ
• เป็นยานพาหนะในการส่งดาวเทียมและอุปกรณ์
ต่าง ๆ ขึ้นไปในอวกาศ

ภาพตัวอย่าง
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
ขั้นตอนการทางานของระบบขนส่งอวกาศ
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
ด้านวัสดุศาสตร์ ด้านอาหาร ด้านการแพทย์

คุณภาพของอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจอวกาศ คุณภาพของอาหารในอวกาศ คุณภาพของอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจอวกาศ


สามารถคงสภาพอยู่ในอวกาศและทนต่อ ต้องรับประทานได้ง่ายภายใต้สภาพไร้น้าหนัก การตรวจวัดการแผ่รังสีในช่วง
อุณหภูมิที่ต่ากว่าจุดเยือกแข็งได้ มีน้าหนักเบา พกพาง่าย เก็บรักษาได้นาน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่าง ๆ ของวัตถุในเอกภพ
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้กับกล้องโทรทรรศน์
การพัฒนาใช้ในชีวิตประจาวัน การพัฒนาใช้ในชีวิตประจาวัน
1. ยางรถยนต์ ถูกพัฒนาให้มีความแข็งแรง 1. การทาให้แห้งแบบเยือกแข็ง (freeze การพัฒนาใช้ในชีวิตประจาวัน
และมีอายุการใช้งานนานขึ้น จาก drying) ในอาหารพวกผลไม้ ทาโดย 1. เครื่องวัดอุณหภูมิทางหู ทางานโดยการ
เทคโนโลยีระบบลงจอดของยานอวกาศ ลดอุณหภูมิอาหารให้น้าในอาหาร ตรวจวัดการแผ่รังสีอินฟราเรดจาก
ที่ลงจอดบนดาวเคราะห์ กลายเป็นผลึกน้าแข็ง และทาให้ ร่างกายและแปลงเป็นอุณหภูมิของ
2. เครื่องแต่งกายที่สามารถเก็บรักษา ผลึกน้าแข็งระเหิดออกไปภายใต้ภาวะ ร่างกาย
อุณหภูมิได้ดี จากเทคโนโลยีเสื้อผ้าและ สุญญากาศ ทาให้เก็บรักษาได้นาน 2. อุปกรณ์ช่วยการทางานของหัวใจ
ชุดของนักบินอวกาศให้มีความทนทาน ที่เพิ่มอัตราการไหลเวียนของเลือด
ต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในอวกาศ สาหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ
3. เซลล์สุริยะ ที่ใช้กับอาคารบ้านเรือน 3. อุปกรณ์ตรวจวัดรังสีต่าง ๆ ในร่างกาย
ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้กับยานอวกาศ
หรือดาวเทียมที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 :
เอกภพและเทคโนโลยีอวกาศกับการสารวจเอกภพ

แบบสอบปรนัยเพื่อพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

1. เอกภพในอนาคตควรมีลักษณะเป็นอย่างไร
1 มีขนาดเล็กลง
2 มีอุณหภูมิสูงขึ้น
3 มีอุณหภูมิลดลง
4 มีองค์ประกอบหลักเป็นธาตุเหล็กและนิกเกิล
5 มีองค์ประกอบหลักเป็นธาตุออกซิเจนและอาร์กอน

เฉลย 3
เอกภพมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีอุณหภูมิลดลงตามทฤษฎีบิกแบง
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

2. นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานใดที่แสดงว่าเอกภพ
มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
1 การเกิดซูเปอร์โนวา
2 การยุบตัวของสสารภายในเนบิวลา
3 ดาวฤกษ์กลายเป็นดาวยักษ์น้าเงิน
4 การแผ่รังสีแกมมาของดาวนิวตรอน
5 การเคลื่อนที่ของกาแล็กซีออกห่างจากผู้สังเกต

เฉลย 5
เมื่อเอกภพมีการขยายตัว กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ออกห่างจากตาแหน่ง
ของผู้สังเกตมากขึ้น
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

3. แถบฝ้าสีขาวของทางช้างเผือกที่คนบนโลกสังเกตเห็นคือสิ่งใด
1 ฮาโล
2 ดาวฤกษ์
3 เนบิวลา
4 ดาวเคราะห์
5 ดาวเคราะห์แคระ

เฉลย 2
แถบฝ้าสีขาวจาง ๆ ของทางช้างเผือก คือ ดาวฤกษ์ที่อยู่อย่างหนาแน่น
ในกาแล็กซีทางช้างเผือก
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

4. เมื่อเนบิวลามีขนาดเล็กลง มีความดันและอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
จะกลายเป็นสิ่งใด
1 หลุมดา
2 ดาวนิวตรอน
3 ดาวแคระขาว
4 ซูเปอร์โนวา
5 ดาวฤกษ์ก่อนเกิด

เฉลย 5
การยุบตัวของกลุ่มสสารในเนบิวลาภายใต้แรงโน้มถ่วง ทาให้บางส่วนของ
เนบิวลามีขนาดเล็กลง มีความดันและอุณหภูมิเพิ่มขึ้น เกิดเป็นดาวฤกษ์
ก่อนเกิด
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

5. ผู้สังเกตบนโลกจะมองเห็นดาวฤกษ์ดวงใดมีความส่องสว่างมากที่สุด
1 ดาวเวกามีโชติมาตรปรากฏ 0.04
2 ดาวเหนือมีโชติมาตรปรากฏ 1.99
3 ดาวซิริอัสมีโชติมาตรปรากฏ -1.47
4 ดาวปาริชาตมีโชติมาตรปรากฏ 1.06
5 ดาวเบเทลจุสมีโชติมาตรปรากฏ 0.41

เฉลย 3
ดาวฤกษ์ที่มีค่าโชติมาตรปรากฏน้อยที่สุดจะมีความส่องสว่างมากที่สุด
ผูส้ ังเกตบนโลกจึงมองเห็นดาวซิริอัสสว่างมากที่สุด
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

6. ดาวฤกษ์ดวงใดมีอุณหภูมิพื้นผิวดาวสูงที่สุดและมีสเปกตรัมชนิดใด
1 ดาวเวกา สเปกตรัมชนิด A
2 ดาวไรเจล สเปกตรัมชนิด B
3 ดวงอาทิตย์ สเปกตรัมชนิด G
4 ดาวมินทากะ สเปกตรัมชนิด O
5 ดาวเบเทลจุส สเปกตรัมชนิด M

เฉลย 4
ดาวมินทากะเป็นดาวฤกษ์สีน้าเงินมีอุณหภูมิพื้นผิวดาวประมาณ 30,000 เคลวิน
และมีสเปกตรัมชนิด O ซึ่งเป็นสเปกตรัมของดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิสูงที่สุด
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

7. ดาวฤกษ์ก่อนเกิดที่มีมวลน้อยกว่า 0.08 เท่าของมวลดวงอาทิตย์


จะมีวิวัฒนาการเป็นสิ่งใด
1 หลุมดา
2 ดาวนิวตรอน
3 ดาวแคระขาว
4 ดาวยักษ์น้าเงิน
5 ดาวแคระสีน้าตาล

เฉลย 5
ถ้าหากมวลของดาวฤกษ์ก่อนเกิดน้อยกว่า 0.08 เท่าของมวลดวงอาทิตย์
อุณหภูมแิ ละความดันไม่มากพอที่จะทาให้เกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์
จะไม่เกิดเป็นดาวฤกษ์ และจะกลายเป็นดาวแคระสีน้าตาล
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

8. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของดาวเคราะห์ชั้นนอก
1 เป็นแหล่งกาเนิดของดาวหาง
2 มีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ชั้นใน
3 มีคาบของการโคจรมากกว่าดาวเคราะห์ชั้นใน
4 มีระยะห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเคราะห์ชั้นใน
5 ดาวเคราะห์ประกอบด้วยกลุ่มแก๊สและน้าแข็งเป็นหลัก

เฉลย 1
ดาวหางมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณแถบไคเปอร์และดงดาวหาง
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

9. จุดมืดดวงอาทิตย์เกิดขึ้นที่บริเวณโครงสร้างใดของดวงอาทิตย์
1 เขตการแผ่รังสี
2 แก่นของดวงอาทิตย์
3 เขตการพาความร้อน
4 บรรยากาศชั้นคอโรนา
5 บรรยากาศชั้นโฟโตสเฟียร์

เฉลย 5
จุดมืดดวงอาทิตย์เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นโฟโตสเฟียร์
เป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ากว่าบริเวณอื่น
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6

10. กล้องโทรทรรศน์ประเภทใดสามารถติดตั้งไว้บนพื้นผิวโลกได้
1 กล้องโทรทรรศน์วิทยุ
2 กล้องโทรทรรศน์รังสีเอกซ์
3 กล้องโทรทรรศน์รังสีแกมมา
4 กล้องโทรทรรศน์อินฟราเรด
5 กล้องโทรทรรศน์อัลตราไวโอเลต

เฉลย 1
คลื่นวิทยุสามารถเคลื่อนที่ผ่านชั้นบรรยากาศของโลกลงมาสู่พื้นผิวโลกได้

You might also like