You are on page 1of 27

08/07/64

กรีก

อารยธรรมอินเดีย Sindhu Hindu Indus India

เปอร์เซีย

อินเดีย เป็นต้นสายธารทางวัฒนธรรมของชาติตะวันออก
( ชนชาติในทวีปเอเชีย ) หลายชาติ
เป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก

“แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ”
( Indus Civilization )

อารยธรรมอินเดีย Sindhu River (บาลี)

ก่อนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ Indus River (อังกฤษ)

เมืองโมเฮนโจดาโร อินเดียเข้าสู่ “สมัยประวัติศาสตร์” เมื่อมีการประดิษฐ์


( Mohenjo Daro ) ตัวอักษรขึนใช้ประมาณ 700 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดย ชนเผ่า
ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถาน อินโด – อารยัน ( Indo – Aryan ) ซึ่งตังถิ่นฐานในบริเวณ
ลุ่มแม่น้าคงคา สมัยประวัติศาสตร์ของอินเดียแบ่งเป็น 4 ยุค ดังนี
เมืองฮารับปา ( Harappa ) 1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
Hindu (ศาสนา)
ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานใน 2) ประวัติศาสตร์สมัยกลาง
ปัจจุบนั 3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
4) ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย

1
08/07/64

อารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ
2,500 – 1,500 ปี
ก่อนคริสต์ศักราช

mohenjo daro

2
08/07/64

สภาพสังคม ในยุคก่อนประวัติศาสตร์
ชนเผ่าดั้งเดิม ของ ลุ่มแม่น้าสินธุ เรียกว่า
“ทราวิฑ” หรือ ดราวิเดียน ( Dravidian )

ภายหลัง ชนเผ่า อินโด – อารยัน เข้ามารุกราน

3
08/07/64

สภาพสังคม ในยุคก่อนประวัติศาสตร์
•คัมภีร์พระเวท (คัมภีร์ที่เก่าแก่ทสี่ ุดของอินเดีย)
อธิบายว่า
•ชนเผ่า อินโด – อารยัน แยกกันอยู่เป็นชนเผ่า
•เริ่มมีการแบ่งวรรณะทางสังคม

อินเดียสมัยประวัติศาสตร์
อินเดีย (1) ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ตังแต่เริ่มมีตัวอักษร ถึง ราชวงศ์คุปตะ

สมัยประวัติศาสตร์
(2) ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ตังแต่ ค.ศ.600 ถึง ราชวงศ์โมกุล

(3) ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ตังแต่ ต้นราชวงศ์โมกุล ถึง ได้รับเอกราชจากอังกฤษ

(4) ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย

“บรามิ ลิป”ิ ( Brahmi lipi ) “บรามิ ลิป”ิ ( Brahmi lipi )

4
08/07/64

ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ
สมัยพระเวท สมัยพุทธกาล สมัยจักรวรรดิ สมัยราชวงศ์ สมัย
( ประมาณ หรือสมัยก่อน กุ ษาณะ จั ก รวรรดิ คุป
เมารยะ
1,500-600 ปี ราชวงศ์ (200 ปีก่อน ตะ ( Gupta )
600-300 ปีก่อน
ก่อน คริสต์ศักราช – ประมาณ
เมารยะ คริสต์ศักราช
คริสต์ศักราช ) ค.ศ.320 ) ค.ศ.320-550

สมัยพระเวท ( ประมาณ 1,500-600 ปีก่อนคริสต์ศักราช )


เป็ น อารยธรรมของชนเผ่ า อิ น โด-อารยั น (Indo-
Aryan) ซึ่ง อพยพมาจากเอเชียกลาง เข้ามาตั้งถิ่นฐานใน
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าสินธุและคงคา
โดยขับไล่ชนพื้น ดราวิเดียน ให้ถอยร่นลงไปทางตอน
ใต้ของอินเดีย

5
08/07/64

•“คั ม ภี ร์ พ ระเวท” ซึ่ ง เป็ น บทสวดของพวก


พราหมณ์ นอกจากนี้ ยั ง มี บ ทประพั น ธ์ ม หา
กาพย์ที่ยิ่งใหญ่อีก 2 เรื่อง คือ
•มหากาพย์รามายณะ
•มหาภารตะ
บางทีจึงเรียกว่าเป็นยุคมหากาพย์

สมัยพุทธกาล หรือสมัยก่อนราชวงศ์เมารยะ ( Maurya )

จักรวรรดิมคธ พระเจ้าพิมพิสาร และ พระเจ้าอชาตศัตรู


ขยายอ้านาจการปกครองของจักรวรรดิไปกว้างขวาง

เป็นช่วงที่อินเดียถือก้าเนิดศาสนาทีส่ ้าคัญ 2 ศาสนา คือ


ศาสนาพุทธและศาสนาเชน

6
08/07/64

พระสถูปแห่งกบิลพัสดุ์

7
08/07/64

"นี่ เ ป็ น ที่ บ รรจุ พ ระสรี ร


ธาตุแห่งพระพุทธเจ้า พระผู้มี
พระภาค
พระบรมสารีรกิ ธาตุ
ของเหล่าพี่น้อ งชายสุกิติ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ตระกูลศากยะ พร้อมทั้งพี่น้อง ถ่ายเมื่อแรกขุดค้น ปี 1898
ห ญิ ง พ ร้ อ ม ทั้ ง บุ ต ร แ ล ะ
ภรรยา"

สมัยราชวงศ์เมารยะ ( Maurya )
ปกครองโดยรวมอ้านาจไว้ ศูนย์กลาง การตรากฎหมาย การศาล

พระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์ที่มีความส้าคัญต่อราชวงศ์ เมารยะ


เผยแพร่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนทัง้ ใกล้และไกล
รวมทั้งดินแดนใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซึ่งเผยแพร่เข้าสู่แผ่นดินไทยในยุคสมัยทีย่ ังเป็นอาณาจักรทวารวดี

8
08/07/64

อโศการาม เมืองปาฏลีบุตร

9
08/07/64

10
08/07/64

พระโสณะ-พระอุตตระ พระสมณทูตผู้นาพระพุทธศาสนาสู่ 'สุวรรณภูมิ'

สมัยราชวงศ์กุษาณะ
( ประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ.320 )
เกิดสงคราม และความแตกแยก
กุษาณะ (Kushana) เป็นชนต่างชาติที่เข้ามารุกรานและตั้ง
อาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ
กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้ากนิษกะ
เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ระหว่าง อินเดีย และ ตะวันตก(กรีก)

11
08/07/64

12
08/07/64

สมัยราชวงศ์สมัยจักรวรรดิคุปตะ ( Gupta )
ประมาณ ค.ศ.320-550
ราชวงศ์คุปตะได้ทรงรวบรวมอินเดียให้เป็นจักรวรรดิอีกครั้งหนึง่
ยุคทองของอินเดีย มีความเจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้าน
ศิลปวัฒนธรรม การเมือง การปกครอง ปรัชญาและศาสนา
ตลอดจนการค้าขายกับต่างประเทศ

มหาวิทยาลัย นาลันทา

13
08/07/64

มหาวิทยาลัย พรานณสี

ถ้าอจันตา (Ajanta)

14
08/07/64

ถ้าเอลลูล่า (Ellora)

15
08/07/64

ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่
สมัยหลังราชวงศ์คุปตะ หรือยุคกลางของอินเดีย ( ค.ศ.550 – 1206 )
สมัยสุลต่านแห่งเดลฮี หรืออาณาจักรเดลฮี ( ค.ศ. 1206-1526 )
เป็นยุคที่จักรวรรดิแตกแยกเป็นแคว้นหรืออาณาจักรจ้านวนมาก
เป็นยุคที่พวกมุสลิมเข้ามาปกครองอินเดีย มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองที่เมืองเดลฮี
ต่างมีราชวงศ์แยกปกครองกันเอง
ทางตอนใต้ของอินเดีย มีการเติบโตของอารยธรรมอย่างต่อเนื่อง สมัยจักรวรรดิโมกุล ( Mughul ) ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858
เช่น อาณาจักรปัลลวะ มีการฟื้นฟูการนับถือ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เป็นจักรวรรดิอิสลามและเป็นราชวงศ์สุดท้ายของอินเดีย

ศาสนาพุทธ และ ศาสนาเชน เสื่อมลง สมัยอินเดียตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี ค.ศ. 1858

สมัยจักรวรรดิโมกุล ( Mughul ) ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858


มุสลิมเชื้อสายเติร์กจากเอเชียกลาง ขยายอ้านาจเข้ามาปกครอง
กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้าอักบาร์มหาราช , และ พระเจ้าออรังเซบ
ใช้ก้าลัง ท้าลายวัดของศาสนาพุทธ และ พราหมณ์ – ฮินดู
บีบให้ชาวอินเดียนับถือ อิสลาม
การเก็บภาษี จิซยา (Jizya) จากราษฎรที่ไม่ใช่ชาวมุสลิม
การประยุกต์หลักศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และ อิสลาม = ซิกข์

16
08/07/64

พระเจ้าอักบาร์ พระเจ้าออรังเซบ

17
08/07/64

ป้อมแดง ป้อมอัครา

พระเจ้าชาห์ จาฮาล มัมทัส มาฮาล

พระเจ้าชาห์ จาฮาล

18
08/07/64

19
08/07/64

สมัยอาณานิคมของอังกฤษ ประมาณ ค.ศ.1858 - 1947

ปลายสมัยอาณาจักรโมกุล กษัตริย์ทรงใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ต้องเพิ่มภาษี


และเพิ่มการเกณฑ์แรงงานท้าให้ราษฎรอดอยาก และยังกดขี่ท้าลายล้าง
ศาสนาฮินดูและชาวฮินดูอย่างรุนแรง เกิดความแตกแยกภายในชาติ เป็น
เหตุให้อังกฤษค่อยๆเข้าแทรกแซงและครอบครองอินเดีย

กบฏซีปอย (Sepoy Mutiny of 1857 – 1857)

ลอร์ด ดัล เฮาซี (Lord Dalhousie) ผู้ส้าเร็จราชการ

20
08/07/64

บอมเบย์
(มุมไบ)

กัลกัตตา

มัทราช

21
08/07/64

ผลกระทบจากการเข้ามาของอังกฤษในอินเดีย
•เกิด รัฐบาลอินเดียภายใต้ก ารปกครองของอังกฤษ โดยมี
ตัวแทนจากอังกฤษมาเป็นผู้ปกครองเมืองที่ส้าคัญ ส่วนเมืองที่
ไม่ ส้ า คั ญ ชนพื้ น เมื อ งปกครองกั น เองภายใต้ ก ารดู แ ลของ
อังกฤษ
•งานหัตถกรรมลดความส้าคัญลงหันมาส่งเสริมอุตสาหกรรม
•เป็นแหล่งวัตถุดิบป้อนให้กับโรงงานในอังกฤษ จักรพรรดินีนาถแห่งอินเดีย

ผลกระทบจากการเข้ามาของอังกฤษในอินเดีย ขบวนการต่ อ สู้ เ พื่ อ เอกราชที่ ส้ า คั ญ


• ระบบวรรณะได้ผ่อนคลายลง
แบ่งแยกตามศาสนา คือ คองเกรซแห่งชาติ
• การขยายตัวสังคมเมืองสู่สังคมชนบท อิ น เดี ย ซึ่ ง เป็ น ตั ว แทนของชาวฮิ น ดู และ
• การเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตกทังการแต่งกาย วัฒนธรรมและ
ค่านิยม
สั น นิ บ าตสมุ ส ลิ ม ผู้ น้ า คนส้ า คั ญ ในการ
• ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ และวางรากฐานการศึกษาให้กับ เรียกร้องเอกราชคือ มหาตะมะคานธี โดยใช้
อินเดีย หลักอหิงสา

22
08/07/64

“ด้วยเกลือหยิบมือนี ข้าพเจ้า
ขอต่อต้านการบังคับของ
จักรวรรดิอังกฤษ
ขอเราจงร่วมกันต่อสู้
เพื่อสิทธิของเราเถิด”

23
08/07/64

อังกฤษได้ประกาศให้อิสรภาพแก่
อินเดีย หลัง สงครามโลกครังที่ 2
ในปี ค.ศ. 1948

24
08/07/64

ความขัดแย้งทางศาสนา ท้าให้อินเดียถูกแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเทศ คือ

อินเดีย ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู
ปากีสถาน ซึ่งประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา
อิสลาม

25
08/07/64

https://www.bbc.com/thai/international-40815819

26
08/07/64

•ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับอารยธรรมอินเดีย (O-NET ปี 62)


• 1. คัมภีร์พระเวทถือเป็นวรรณกรรมส้าคัญของอินเดีย
• 2. อินเดียมีความแตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์น้อยกว่าจีน
• 3. ศิลปะแบบคันธารราฐคือการปั้นพระพุทธรูปในสมัยราชวงศ์คุปตะ
• 4. สมัยราชวงศ์เมารยะถือเป็นยุคทองของอินเดียด้านศิลปวัฒนธรรม
• 5. การแต่งงานข้ามวรรณะของดินเดียถือเป็นเรื่องที่ได้รับการยอมรับ

27

You might also like