You are on page 1of 14

CHEM istry

PAT2
I know you’ll made it through and reach our dreams. Just believe in yourself.

S
16

Sulfer
32.066

Ar
18

Argon
39.948

C
6

65
Carbon
12.011

Ti
22

Titanium
Dek
47.88

Updated January 2022


Dr. Win , Supakit T.
PAT 2 ปี 2564
Part: Chemistry ( ข้อ 17. - 32.)

• ¥ 17. ในห้องปฏิบัติการมีสารละลาย HCl CaCl2 และ Na2CO3 ซึ่งเป็นสารละลายใส ไม่มีสี บรรจุอยู่ในขวด A B และ

C แต่ไม่ทราบแน่ชัดว่าสารละลายแต่ละชนิดอยู่ในขวดใด จึงนําสารละลายในขวดแต่ละขวดมาผสมกันเป็นคู่ๆ บันทึก

ได้บันทึกผลที่ได้จากการสังเกตดังตาราง

สารละลายในขวด A B C

A ใส ไม่มีสี เกิดตะกอน เกิดฟองแก๊ส

B เกิดตะกอน ใส ไม่มีสี ใส ไม่มีสี

C เกิดฟองแก๊ส ใส ไม่มีสี ใส ไม่มีสี

ข้อใดระบุชนิดของสารละลายในแต่ละขวดได้ถูกต้อง เพราะเหตุใด

1. ขวด  A บรรจุสารละลาย Na2CO3 เพราะมี  CO32- ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายในขวด B จะเกิดตะกอน

2. ขวด A บรรจุสารละลาย HClเพราะมีสมบัติเป็นกรด ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายในขวด C จะเกิดฟองแก๊ส

3. ขวด B บรรจุสรละลายCaCl2 เพราะมี Cl- ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายในขวด A จะตกตะกอน

4. ขวด C บรรจุสารละลาย CaCl2 เพราะมี Ca2+  ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายในขวด B จะได้สารละลายใส ไม่มีสี

5. ขวด C บรรจุการละลาย HCl เพราะมี Cl-  ซึ่งเมื่อผสมกับสารละลายในขวด A จะเกิดฟองแก๊ส 

nhsÉÑam= now

'

Ug 7- A +
Agt Hgt , ,
Pbt

nai ? Poi
-

I
-
-

2 + co so
,
-

lists Caco , ( rings ) union My 904


055 Tou
-

OH
-

+
:
,

uniñwnu :
Uni
¥2:onuÑÑñ
no

1
18.บนฉลากบรรจุภัณฑ์สารเคมีจะมีสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายเพื่อความปลอดภัยในการจัดเก็บ การนําไป
ใช้ และการกําจัด โดยสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายี่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ GHS (Globally
Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals) ซึ่งมีตัวอย่างรูปสัญลักษณ์ดังนี้ 

 รูปสัญลักษณ์  ประเภทความเป็นอันตราย

การกัดกร่อนโลหะ,
การกัดกร่อนผิวหนัง

 การระคายเคืองต่อผิวหนัง,
การระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจหรืออาจทําให้ง่วงซึมมึนงง

 สารไวไฟ,สารที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ

สารก่อมะเร็ง,
ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัส
ซํ้า

 สารออกซิไดส์

 ความเป็นพิษเฉียบพลันที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต

2
สารเคมีชนิดหนึ่งมีจุดวาบไฟเท่ากับ 10 องศาเซลเซียส เมื่อสัมผัสผิวหนัง จะทําให้เกิดอาการระคายเคืองและถ้าได้รับ
อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะทําให้เป็นหมันได้ ฉลากบรรจุภัณฑ์ของสารเคมีชนิดนี้ควรปรากฎรูปสัญลักษณ์แสดง
ความเป็นอันตรายใดบ้าง

1.  

2.  

3.  

4.  
÷
5.  

✓ ✓

19. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ระหว่าง U-238 กับ Ca-48 ได้ผลิตภัณฑ์เป็นอนุภาคนิวตรอนและนิวเคลียสของธาตุใหม่โดย

มีการเสนอสมการของปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่อาจเป็นไปได้ 3 สมการ ดังนี้


BB
"
3×1
A- MC
สมการที่ 1 238 U + 4820Ca ———> 310n + 283112Cn
"
+ →

92 ✗
p
+
D
¥# y q
Tini
สมการที่ 2 238 U + 4820Ca ———> 301n + 286109Mt

92 at b =
Mtn

สมการที่ 3 238 U
92 + 48
20Ca ———> 1
0n + 285
111Rg 7+-1 =p +
of

สมการที่เสนอในข้อใดเขียนได้ถูกต้อง

1. สมการที่ 1 เท่านั้น 

2. สมการที่ 2 เท่านั้น

3. สมการที่ 3 เท่านั้น

4. สมการที่ 1 และ 3

5. สมการที่ 2 และ 3  

3
 20.สาร A เมื่อได้รับความร้อน จะเกิดปฏิกิริยาสลายตัวได้แก๊สออกซิเจน ดังสมการเคมีต่อไปนี้
Admission
A(s) ——> B(s) + 3O2(g)
woosonvosonsiowinndyifui-wonssrvossisuoi.linV§Ñu ,

ทดลองใส่สาร A 12.00 กรัมลงในบีกเกอร์มวล 40.00 กรัมแล้วให้ความร้อนที่อุณหภูมิแตกต่างกันโดยการทดลอง


ที่แต่ละอุณหภูมิจะบันทึกมวลรวมของบีกเกอร์และสารที่เหลืออยูใ่ นบีกเกอร์ ณ เวลาต่าง ๆ หลังจากเริ่มปฏิกิริยาได้
ผลดังตาราง

มวลรวมของบีกเกอร์และสารที่เหลืออยู่ในบีกเกอร์ (g) 
อุณหภูมิ (K)
ที่เวลา 2 ชั่วโมง ที่เวลา 4 ชั่วโมง ที่เวลา 6 ชั่วโมง ที่เวลา 8 ชั่วโมง
V10
0.1
360 0.1 51.90 2=0.059 / hi .
51.80 51.70 51.60
0.3
380 0.3 51.70 2-
=
0.1521hr .
51.40 51.10 50.80
0.5
400 0.5 51.50 -2=0 .

-2521hr .
51.00 50.50 50.00
0.7
420 0.7 51.30 -2=0 -3521hr 50.60 49.90 49.20
.

440 51.20 50.40 49.60 48.80

ถ้าใช้สาร A 12.00 กรัมผลิตแก๊สออกซิเจนให้ได้อย่างน้อย 0.32กรัมต่อชั่วโมง จะต้องให้ความร้อนที่อุณหภูมต


ิ ํ่า
ที่สุดที่เคลวิน

1. 360

2. 380

3. 400

4. 420

5. 440

4
21.การกําจัดนิกเกิลออกจากนํ้าด้วยวิธีอิเล็กโทรลิซิสช่วงความเข้มข้น 0.01-10 ส่วนในล้านส่วนได้ผลดังกราฟ

ndrina
9% Ni

2%1
=

2.95
" =
2.655

9.0%
Ni ludo =

=
2.95-2.655
0 .
295 ppm
( ( Ñm%Én )

0%2
Ni IUÑO 2.95×1%0 = 0.295
ppm

lñnmÑo )

พิจารณาการกําจัดนิกเกิลในนํ้า 3 วิธีดังนี้

วิธี A ทําอิเล็กโทรลิซิสเป็นเวลา 5 ชั่วโมง

วิธี B ทําอิเล็กโทรลิซิสเป็นเวลา 5 ชั่วโมง จํานวน 2 รอบ

วิธี C ทําอิเล็กโทรลิซิสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง จํานวน 3 รอบ

กําหนดให้ มวลต่อโมลของนิกเกิลเท่ากับ 59 กรัมต่อโมล

ถ้าต้องการกําจัดนิกเกิลในแหล่งนํ้าแห่งหนึ่งซึ่งมีความเข้มข้นของนิกเกิลเริ่มต้น 0.05 มิลลิโมลต่อลิตร ให้เป็นไป

ตามเกณฑ์ของ US EPA ซึ่งกําหนดให้มีความเข้มข้นของนิกเกิลในนํ้าดื่มไม่เกิน 0.1 ส่วนในล้านส่วน

วิธีใดสามารถกําจัดนิกเกิลให้มีความเข้มข้นเป็นไปตามเกณฑ์ของ US EPA

1. B เท่านั้น

2. C เท่านั้น

3. A และ B เท่านั้น

4. B และ C เท่านั้น

5. A B และ C

5
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคําถามข้อ 22 - 23

+ -
นํ้าบริสุทธิ์แตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออน (H3O ) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH ) ดังสมการเคมี ต่อไปนี้

+ -
2H₂O(l) ⇌ H3O (aq) + OH (aq) : Kw

-14
ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ค่าคงที่การแตกตัวของนํ้า (Kw) = 1.0 x 10 และ pKw ซึ่งเท่ากับ -log Kw จะมีค่า
เท่ากับ 14.00 แต่ถ้าทดลองที่อุณหภูมิอื่น ๆ ค่า K มีการเปลี่ยนแปลงดังกราฟ

§
"" "" → "" " "&
"

P
18! Troponin
h LT oia

led ÷ emo

22. ข้อใดถูกต้อง

1. ค่าคงที่การแตกตัวของนํ้าเท่ากับ [H3O+]²

2. การแตกตัวของนํ้าเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน ✗

3. การเพิ่มอุณหภูมิทําให้การแตกตัวของนํ้าลดลง✗

4. ถ้าเพิ่มอุณหภูมิจนถึง 50 °C ในช่วงแรกก่อนเข้าสู่สมดุล จะมี [OH-] มากกว่า [H3O+] ✗

5. การเพิ่มความดันให้กับระบบทําให้ระบบเกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกับการเพิ่มอุณหภูม✗

↳ now ñwowoñunñomnniw
 
23. จากค่าคงที่การแตกตัวของนํ้าและกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pKw และอุณหภูมข
ิ ้อสรุปใดถูกต้อง 
"

1. ที่อุณหภูมิ 20 °C นํ้าบริสุทธิ์จะมี pH เท่ากับ 7.00 ✗ → Ñ 25°C

+
2. ที่อุณหภูมิ 30 °C นํ้าบริสุทธิ์จะมี [H3O ] เท่ากับ 1.0 x 10-¹⁴ โมลต่อลิตร ✗

-
3. ที่อุณหภูมิ 40 °C นํ้าบริสุทธิ์จะมี [OH ] เท่ากับ 1.0 × 10-⁷ โมลต่อลิตร 

4. ที่อุณหภูมิ 50 °C นํ้าบริสุทธิ์จะมี pH เท่ากับ 6.75 pkw 13.5


=

[ Ht ] 10-13.5
5. ที่อุณหภูมิ 60 °C นํ้าบริสุทธิ์จะมี pOH เท่ากับ 13.40
=

= 10-13.5/2
- 6 -75
=
go

6
24. บิวทาไดอีน (butadiene) สามารถเกิดปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบเติมเป็นพอลินิวทาไดอีน
(polybutadiene) ได้ 2 รูปแบบ คือ

แบบที่ 1 การเติมแบบ 1,2 ได้พอลิเมอร์ A ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้

C C
4 C
= =

C =
c
+
d =
c

แบบที่ 2 การเติมแบบ 1,4 ได้พอลิเมอร์ B ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้


c- C-
-

C -

( + C- -

C -

C = C

f- c- c- C -
-

C -

C -
C
-

-
C -

C -

)n
ถ้าพอลิเมอร์ทั้งสองชนิดมีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน พอลิเมอร์ชนิดใดจะมีความเหนียวมากกว่ากันเพราะเหตุใด

1. พอลิเมอร์ A เพราะมีการเชื่อมขวางมากกว่าพอลิเมอร์ B

2. พอลิเมอร์ A เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าพอลิเมอร์ 

3. พอลิเมอร์ B เพราะสามารถเรียงตัวชิดติดกันได้มากกว่าพอลิเมอร์ A

4. พอลิเมอร์ B เพราะมีโครงสร้างแบบกิ่ง ส่วนพอลิเมอร์ A มีโครงสร้างแบบเส้น 

5. พอลิเมอร์ A และ B มีความเหนียวใกล้เคียงกัน เพราะมีมวลโมเลกุลใกล้เคียง

7
Mounir
25. กําหนดให้ ของเหลว A มีสีแดง สามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันในอากาศได้เป็นของเหลว B ที่ไม่มีสี
โดยของเหลว A และ B ผสมเป็นเนื้อเดียวกันและของเหลวทั้งสองชนิดไม่ระเหย เมื่อเทของเหลว A ลงในบีก
เกอร์ และวางไว้ในห้องปฏิบัติการที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 วัน จากนั้นวางไว้ภายใต้บรรยากาศ
ของแก๊สอาร์กอนที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20 วัน แล้วจึงนําออกมาวางไว้ภายใต้บรรยากาศปกติที่
อุณหภูมิ 3 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 วัน

กราฟในข้อใดแสดงแนวโน้มความเข้มของสีแดงของสารละลายได้ถูกต้อง

8
26. กําหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชันดังนี้

O₂(g) + 4H+ (aq) + 4e- → 2H₂O(l)   E⁰ = +1.23 โวลต์

2H+(aq) + 2e- → H₂(g)  E⁰ = 0.00 โวลต์

I₂(s) +2e- (aq) → 2I-(aq)  E⁰ =+ 0.53 โวลต์

Zn²+ (aq) + 2e- →Zn(s)  E⁰ = - 0.76 โวลต์

ถ้าต้องการแยกสลายสารละลายซิงค์ไอโอไดด์ (ZnI2) ในภาวะกรดด้วยไฟฟ้า โดยให้ความต่างศักย์ 1.00 โวลต์ จะมี

สารใดเกิดขึ้นที่แอโนด Oxidation Reduction

+0*7
1. Zn(s) mode cathoed

2. H₂(g)
-

3. H₂O(l) TI
-

µ
-19

4.O₂(g)

5. I₂(s)

27. เมื่อนําสารละลายสีส้มของ M(NO3)n ความเข้มข้น 2.0 โมลต่อลิตร ปริมาตร 100.0 มิลลิลิตร มาผสมกับ
สารละลาย NaCl ความเข้มข้น 2.5 โมลต่อลิตร ปริมาตร 400.0 มิลลิลิตร จะเกิดตะกอนสีเหลืองของ MCIa ใน
สารละลายไม่มีสีที่มีความเข้มข้นของ CI- เท่ากับ 0.4 โมลต่อลิตร โดยมีสมการไอออนิกสุทธิดังนี้

M+ (aq) + nCl-(aq) → MCIn (s)

ข้อใดเป็นสูตรเอมพิริคัลของ MCln

1. MCI MCNO , )n -1
n NaCl → Manis )+nNa NO }
Cag ,
2. MCI₂ CV
Mol =

3. MCl3  1000 no / =
2-5×400
1000
2×100
4. MCI4 =
=
1 Mo /
1000

5. MCI5 Éiuño
not
-

=
0.2 a

M ( NO , ) n
: 0.2 MOI Mola -
= 0.4×500
1000
!
"

M 0.2 MOI =
0.2 Mol

a- 957J 0.8 not

9
28. อินดิเคเตอร์กรด-เบสชนิดหนึ่งแตกตัวในนํ้าได้ดังนี้

IUD

alcohol is

62hr non ] Units phenom

อินดิเคเตอร์นี้เหมาะสมกับการไทเทรดสารละลายกรดและเบสในข้อใด และที่จุดยุติจะมีการเปลี่ยนสีอย่างไร

of I+
= Into +
Hzo
'
an -11in =
non

line dob =

nsainoo
down Ñ =
Ivs in Ño
dow dow gentle =

10
29. เมื่อนําขวดก้นกลมปริมาตร 1 ลิตร ซึ่งบรรจุสาร A และภายในเป็นสุญญากาศไปต่อกับลูกโป่ง แล้วให้ความร้อน
กับขวดก้นกลม สาร A จะสลายตัวให้แก๊สออกซิเจน ดังภาพ

กําหนดให้ แก๊สออกซิเจนมีสมบัติเป็นไปตามกฎแก๊สอุดมคติ
ของแข็งที่อยู่ในขวดก้นกลมมีปริมาตรน้อยมาก
มวลต่อโมลของอะตอมออกซิเจนเท่ากับ 16 กรัมต่อโมล
R คือ ค่าคงตัวของแก๊ส ดมคติ มีหน่วยเป็น L • atm •mol-¹ • K-¹

ถ้าให้ความร้อน อุณหภูมิ 400 เคลวิน จนกระทั่งลูกโป่งไม่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอีก พบว่าลูกโป่งมีปริมาตร 4 ลิตร และ


ความดัน 2 บรรยากาศ
สาร A จะสลายตัวให้แก๊สออกซิเจนทั้งหมดกี่กรัม

1. 1/(50R)

2. 1/(40R) PV =
NRT

3. 2/(5R) n=¥ ,

4. 4/(5R)
E. =

¥
5. 16/(25R) ,

g-
-


,
✗ m

2141
g
=
✗ 32
12140cg

=
¥

11
30. พิจารณาสมการเคมีต่อไปนี้
P(g) + Q(g)  ⇌ 3R(g)

ไม่มีสี สีเหลือง ไม่มีสี 

ถ้าบรรจุแก๊ส P และ Q ในภาชนะปิดที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เมื่อสารทั้งสองทําปฏิกิริยากัน จนเข้าสู่สมดุล พบ


ว่าภาชนะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 60 องศาเซลเซียส ข้อใดเป็นวิธีที่ทําให้ของผสมในภาชนะมีสีเหลืองเข้มขึ้น และให้
เหตุผลได้ถูกต้อง

1. นําภาชนะไปแช่เย็น เพราะเป็นปฏิกิริยาแบบดูดพลังงาน

2. เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพราะทําให้พลังงานก่อกัมมันต์ลดลง 

3. ลดปริมาตรของภาชนะ เพราะทําให้ความดันรวมของระบบเพิ่มขึ้น

4. เติมแก๊ส P เพิ่มเข้าไปในภาชนะ เพราะทําให้ปริมาณสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น 

5. เติมแก๊สฮีเลียมเข้าไปในภาชนะ เพราะทําให้จํานวนโมลรวมของแก๊สเพิ่มขึ้น

31. พิจารณามการเคมีต่อไปนี้
A(g) + B(g) → C(g)

บรรจุแก๊ส A และแก๊ส B ชนิดละ 1.0 โมล ในกระบอกสูบที่มก


ี ้านกระบอกสูบเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ จากนั้นวาง
กระบอกสูบในตู้อบที่มีอุณหภูมิ 350 เคลวิน และความดัน 1 บรรยากาศ แล้วปล่อยให้แก๊ส A และแก๊ส B ทําปฏิกิริยา
กันจนกระทั่งไม่พบการเปลี่ยนแปลง

ถ้าต้องการทราบว่าผลร้อยละของแก๊ส C เป็นเท่าใด จะต้องทําอย่างไร

1. ชั่งมวลของกระบอกสูบก่อนและหลังทําปฏิกิริยา

2. จับเวลาที่ใช้ทําปฏิกิริยาจนไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง

3. วัดปริมาตรของแก๊สภายในกระบอกสูบหลังทําปฏิกิริยา

4. วัดอุณหภูมิของแก๊สภายในกระบอกสูบหลังท่าปฏิกิริยา

5. วัดความดันของแก๊สภายในกระบอกสูบหลังทําปฏิกิริยา

WOWS mood
Toooo :wwwIm= ✗ 100
hroññnisonsñ

12
32. ปฏิกิริยารีดักชันของแก๊สออกซิเจนเป็นดังนี้

O₂(g) + 4H+ (aq) + 4e- → 2H₂O(l)

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pH และค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันของแก๊สออกซิเจนที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และ


ความดัน 1 บรรยากาศเป็นดังนี้

จากกราฟ เมื่อค่า pH สูงขึ้น ความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์ของแก๊สออกซิเจนจะเปลี่ยนแปลง


อย่างไร เพราะเหตุใด

1. เพิ่มขึ้น เพราะค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันสูงขึ้น

2. เพิ่มขึ้น เพราะค่าศักย์ไฟฟ้าดักชั่นตํ่าลง

3. ลดลง เพราะค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันสูงขึ้น

4.ลดลง เพราะค่าไฟฟ้ารีดักชัน ลง 

5. ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์ไม่ขึ้นอยู่กับค่า pH

13

You might also like