You are on page 1of 12

คำสั่ ง Unix – Linux Command

Unix Command , Linux Command


ข้อมูลต่อไปนี้เป็ น คู่มือการใช้งานคำสัง่ พื้นฐาน ที่ท ำงานบนระบบ Unix และ Linux  ผ่าน shell เพื่อใช้งานคำ
สัง่  Unix – Linux Command บางคำสัง่ Linux Command อาจจะต้องใช้ user root เพราะ
เป็ นคำสัง่ ที่อนั ตรายเนื่องจากเกี่ยวข้องกับ file system หรื อ security ท่านสามารถอ่านบทความเพิม่ เติมสำหรับ
ผูท้ ี่ไม่ทราบว่า Unix คืออะไร หรื อ Linux คืออะไร เพื่อการใช้งาน Linux Command ที่เข้าใจมากขึ้น
ลำดับ คำสั่ ง Unix – Linux รายละเอียด

1 adduser   ใช้เพิ่มหรื อเปลี่ยนแปลง user บน linux

2 arch   ใช้แสดงรุ่ น hardware ของเครื่ อง server

3 awk   ใช้คน้ หาข้อมูล text ในรู ปแบบที่ซบั ซ้อน

4 basename   คำสัง่ ใช้แสดงเฉพาะส่วนของชื่อ filename

5 bc   คำสัง่ คำนวณตัวเลข ตามสูตรทางคณิ ตศาสตร์  

6 cal   คำสัง่ แสดงปฏิทิน วันเดือนปี  

7 cat   แสดงผลข้อมูลภายใน file ในรู ปแบบ text

8 chgrp   คำสัง่ เปลี่ยนเจ้าของ group ของ file

9 chmod   คำสัง่ เปลี่ยนสิ ทธิ์ ในการเข้าถึง file

10 chown   คำสัง่ เปลี่ยนเจ้าของ file หรื อ directory

11 cksum   คำสัง่ นับจำนวน bytes ของ file

12 clear   คำสัง่ ล้างหน้าจอ screen

13 cmp   คำสัง่ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบ files ในระดับ bytes

14 comm   คำสัง่ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบ file ที่ละบรรทัด

15 cp   คำสัง่ ทำสำเนาหรื อ copy ข้อมูล


16 cron   ควบคุมการเริ่ มทำงานของ job schedule

17 crontab   ใช้ต้ งั เวลาให้ค ำสัง่ เริ่ มทำงานตามที่ตอ้ งการ

18 csplit   คำสัง่ แตก file ตามจำนวนบรรทัด

19 cut   คำสัง่ ตัดข้อมูล file เป็ น field column

20 date   คำสัง่ แสดงเวลาวันเดือนปี  

21 dc   คำสัง่ เครื่ องคิดเลขแบบตั้งโต๊ะ

22 dd   คำสัง่ backup ข้อมูลใน harddisk

23 df   คำสัง่ แสดงข้อมูลพื้นที่ disk ทั้งหมด

24 diff   คำสัง่ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบ file ทีละบรรทัด

25 dir   คำสัง่ แสดงข้อมูล directory

26 dircolors   คำสัง่ ที่ใช้ในการปรับสี ของผลลัพธ์ ls

27 dirname   คำสัง่ แสดงชื่อ directory ของ file

28 du   คำสัง่ ดูขอ้ มูลรายละเอียดขนาด file

29 echo   คำสัง่ ในการแสดงผลบนหน้าจอ screen

30 ed   คำสัง่ editor file ชนิดหนึ่ง

31 egrep   คำสัง่ ค้นหาบรรทัดใน file ที่ตรงเงื่อนไข

32 env   คำสัง่ สร้าง environment ในการ run program

33 expand   คำสัง่ เปลี่ยนข้อมูล file จาก tab เป็ น space


34 expr   คำสัง่ ที่ใช้ประมวลผลตรรกะคณิ ตศาสตร์  

35 factor   คำสัง่ แยกตัวประกอบทางคณิ ตศาสตร์  

36 fdisk   คำสัง่ บริ หารจัดการ disk partition

37 find   คำสัง่ ใช้ในการค้นหา file หรื อ directory

38 fmt   คำสัง่ จัดเรี ยงข้อมูลภายใน file ในรู ป format

39 fold   คำสัง่ จัดเรี ยงความยาวตัวอักษรแต่ละบรรทัด

40 free   คำสัง่ แสดงข้อมูลการใช้งาน memory

41 fsck   คำสัง่ ตรวจสอบและซ่อมแซม file system

42 gawk   ใช้คน้ หาข้อมูล text ในรู ปแบบเดียวกับ awk

43 grep   คำสัง่ ค้นหาบรรทัดใน file ที่ตรงเงื่อนไข

44 groups   คำสัง่ แสดงข้อมูล group ของ system user

45 gunzip   คำสัง่ ยกเลิกการบีบอัดข้อมูล file

46 gzip   คำสัง่ บีบอัดข้อมูล file หรื อ การ zip file

47 head   คำสัง่ แสดงข้อมูลบางส่วนภายใน file

48 hostname   คำสัง่ แสดงข้อมูลชื่อของเครื่ อง server

49 id   คำสัง่ แสดงข้อมูล user, group ในระบบ

50 ifconfig   คำสัง่ แสดงข้อมูลและเปลี่ยนค่า interface server

51 info   คำสัง่ ข้อมูลโปรแกรมบนระบบทั้งหมดที่ใช้งาน

52 iptables   คำสัง่ จัดการกรอง ip port ที่เข้ามาใช้งาน


53 join   คำสัง่ เชื่อมข้อมูล 2 file ด้วย field ที่เหมือนกัน

54 kill   คำสัง่ ส่ ง Signal หรื อยกเลิกการทำงาน process

55 less   คำสัง่ อ่านข้อมูลและค้นหาข้อมูลใน file

56 ln   คำสัง่ สร้าง link เชื่อมโยงกันระหว่าง file

57 locate   คำสัง่ ใช้ในการค้นหา file หรื อ directory

58 logname   คำสัง่ แสดงชื่อ user login

59 ls   คำสัง่ แสดงข้อมูลภายใน directory

60 man   คำสัง่ แสดงคู่มือการใช้งาน program

61 mkdir   คำสัง่ สร้าง directory

62 more   คำสัง่ อ่านข้อมูลและค้นหาข้อมูลใน file

63 mount   คำสัง่ ติดตั้งใช้งานอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ

64 mv   คำสัง่ ย้ายตำแหน่ง file หรื อ directory

65 netstat   คำสัง่ แสดงสถานะ network connection ทั้งหมด

66 nice   คำสัง่ จัดลำดับความสำคัญของ process

67 nl   คำสัง่ แสดงเลขที่บรรทัดของข้อมูลใน file

68 nohup   คำสัง่ ป้ องกันการหยุดของ background process

69 passwd   คำสัง่ เปลี่ยน password ของ System user

70 paste   คำสัง่ เชื่อมข้อมูลที่ละบรรทัดจากหลาย file

71 pathchk   คำสัง่ เช็ก path ในระบบว่ามีถูกต้อง


72 ping   คำสัง่ ตรวจสอบสถานะ server ปลายทาง

73 pr   คำสัง่ แสดงข้อมูลภายใน file ในรู ปแบบสิ่ งพิมพ์ 

74 printf   คำสัง่ แสดงผลข้อมูลบนหน้าจอ screen

75 ps   คำสัง่ แสดง process ที่ท ำงานใน server

76 pwd   คำสัง่ แสดง directory หรื อ path ที่อยูป่ ัจจุบนั

77 rcp   คำสัง่ คัดลอก file ข้ามเครื่ อง server

78 rm   คำสัง่ ลบ file หรื อ directory

79 rmdir   คำสัง่ ลบ directory

80 rsync   คำสัง่ sync ข้อมูล file ระหว่าง server

81 screen   คำสัง่ สร้าง session screen ขึ้นมาใหม่อีกจอ

82 sdiff   คำสัง่ วิเคราะห์เปรี ยบเทียบข้อมูล file ทีละบรรทัด

83 sed   คำสัง่ เปลี่ยนแปลงข้อมูล text ที่มีรูปแบบซับซ้อน

84 seq   คำสัง่ แสดงเลข sequence number

85 shutdown   คำสัง่ ปิ ดการทำงานของระบบ

86 sleep   คำสัง่ หน่วงเวลา

87 sort   คำสัง่ ในการจัดเรี ยงข้อมูล file ทีละบรรทัด

88 split   คำสัง่ แตก file ตามจำนวนบรรทัด

89 su   คำสัง่ login ด้วย user id อื่น

90 sum   คำสัง่ การตรวจสอบ checksum และ ขนาด block


91 sync   คำสัง่ เขียนข้อมูล memory ลง disk

92 tac   คำสัง่ แสดงข้อมูลใน file แบบกลับหลัง

93 tail   คำสัง่ แสดงข้อมูลบางส่วนภายใน file

94 tar   คำสัง่ จัดเก็บรวบรวม file ข้อมูล

95 tee   คำสัง่ อ่านข้อมูลพร้อมกับเขียนข้อมูลลง file

96 time   คำสัง่ จับเวลาการทำงาน process

97 top   คำสัง่ จัดเรี ยงอันดับแสดงการทำงานของ process

98 touch   คำสัง่ เปลี่ยนแปลง file timestamps

99 tr   คำสัง่ ค้นหาและเปลียนแปลงข้อมูล text

100 traceroute   คำสัง่ แสดงเส้นทางการทำงาน network

101 tsort   คำสัง่ จัดเรี ยงข้อมูลแบบ topological

102 tty   คำสัง่ แสดงชนิดของ terminal ที่ใช้งาน

103 uname   คำสัง่ แสดงชื่อระบบของ server

104 unexpand   คำสัง่ เปลี่ยน space เป็ น tab

105 uniq   คำสัง่ ในการจัดเรี ยงข้อมูลแบบไม่ซ้ำกัน

106 units   คำสัง่ ในการแปลงค่าหน่วยวัด

107 useradd   คำสัง่ สร้าง user และจัดการ user บนระบบ

108 userdel   คำสัง่ ลบ user ออกจากระบบ

109 usermod   คำสัง่ เปลี่ยนแปลงข้อมูลของ user


110 vdir   คำสัง่ แสดงข้อมูล directory

111 w   คำสัง่ แสดง user ที่ login รวมถึงคำสัง่ ที่ใช้งาน

112 watch   คำสัง่ monitor process ที่ท ำงานอยู ่

113 wc   คำสัง่ นับจำนวนคำและบรรทัดจาก file

114 whereis   คำสัง่ ค้นหาตำแหน่ง file program

115 which   คำสัง่ ตำแหน่ง file program

116 who   คำสัง่ แสดงข้อมูล user ที่ login ขณะนั้น

117 whoami   คำสัง่ แสดงชื่อ user ที่ใช้ login

118 xargs   สร้างคำสัง่ ใหม่จาก ouput ที่ได้ก่อนหน้า

119 yes   คำสัง่ แสดงข้อมูล text ที่ตอ้ งการวนซ้ำไปเรื่ อยๆ

120 nano   คำสัง่ ในการสร้างหรื อแก้ไข file ข้อมูล text

121 vi   คำสัง่ ในการสร้างหรื อแก้ไข file ข้อมูล text

122 telnet   คำสัง่ โปรโตรคอลเชื่อมต่อสื่ อสารด้วยข้อมูลตัวอักษร

123 ssh   คำสัง่ เชื่อมต่อ shell server แบบเข้ารหัสความปลอดภัย

124 scp   คำสัง่ คัดลอก file ข้อมูลแบบเข้ารหัสความปลอดภัย

คำสัง่ พื้นฐานของ Unix Command หรื อ Linux Command เหล่านี้มกั ถูกนำเอาใช้เขียน Shell
script หรื อชุดคำสัง่ program ทำให้ผใู้ ช้งานทำงานได้สะดวกมากขึ่น อีกทั้งลดระยะเวลาการทำงานได้อย่างมาก
ซึ่งสามารถอ่านบทความวิธีเขียน Shell script ได้ที่นี่ การเขียน Shell Script เบื้องต้น หลักการทำงาน และ
เงื่อนไขการใช้

คำสั่ ง
คำสั่ ง telnet
เป็ นคำสัง่ ที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยูไ่ ปยัง host อื่น (ใน Windows 95 ก็มี)
รู ปแบบ $ telnet hostname
เช่น c:> telnet student.rit.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ student.rit.ac.th
$ telnet 202.44.130.165 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.44.130.165
$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยูน่ ะขณะนั้น
เมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ ระบบยูนิกส์น้ นั เอง

คำสั่ ง ftp
ftp เป็ นคำสัง่ ที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ขอ้ มูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็ น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี
password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่กม็ ี ftp host ที่เป็ น public อยูไ่ ม่นอ้ ยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็ น public เช่นกัน คือ
user ที่ชื่อว่า anonymous ส่ วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็ น E-mail ของผูท้ ี่จะ connect เข้าไปและ
โปรแกรมส่ วนใหญ่กจ็ ะอยูใ่ น directory ชื่อ pub
รู ปแบบ $ ftp hostname
เช่น c:windows> ftp wihok.itgo.com
$ ftp ftp.nectec.or.th
คำสัง่ ftp จะมีค ำสัง่ ย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่
ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูค ำสัง่ ที่มีอยูใ่ ในคำสัง่ ftp
ftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ตอ้ งการ
ftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่
ftp> bye หรื อ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสัง่ ftp
ftp> ls หรี อ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยูใ่ น current directory ของ host นั้น
ftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรื อเครื่ องของเรานั้นเอง
ftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost
ftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> cd ใช้เปลี่ยน directory
ftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์

คำสั่ ง ls
มีค่าเหมือนกับ คำสัง่ dir ของ dos
รู ปแบบ $ ls [-option] [file]
option ที่สำคัญ

l แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้าง


a แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)
p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directory
F แสดงไฟล์โดยมีสญ ั ญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ
/ = directory
* = execute file
@ = link file
ld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)
R แสดงไฟล์ที่อยูใ่ น directory ด้วย (dir /s)

เช่น
$ ls
$ ls -la

คำสั่ ง more
แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่ องหมาย pipe line ( | ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น
$ ls -la | more
$ more filename

คำสั่ ง cat
มีค่าเหมือนกับ คำสัง่ type ของ dos ใช้ดูขอ้ มูลในไฟล์ เช่น
$ cat filename

คำสั่ ง clear
มีค่าเหมือนกับ คำสัง่ cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้วา่ ง
$ clear

คำสั่ ง date
ใช้แสดง วันที่ และ เวลา
$ date 17 May 1999

คำสั่ ง cal
ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
รู ปแบบ $ cal month year เช่น
$ cal 07 1999

คำสั่ ง logname
คำสัง่ แสดงชื่อผูใ้ ช้ขณะใช้งาน
$ logname

คำสั่ ง id
ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผูใ้ ช้งาน
$ id

คำสั่ ง tty
แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่
$ tty

คำสั่ ง hostname
คำสัง่ แสดงชื่อเครื่ องที่ใช้อยู่
$ hostname

คำสั่ ง uname
คำสัง่ แสดง ชื่อและรุ่ นของ OS ชื่อและรุ่ นของ cpu ชื่อเครื่ อง
$ uname -a

คำสั่ ง history
คำสัง่ ที่ใช้ดูค ำสัง่ ที่ใช้ไปแล้วก่อนหน้านี้
$ history
เวลาเรี ยกใช้ตอ้ งมี ! แล้วตามด้วยหมายเลขคำสัง่ ที่ตอ้ งการ

คำสั่ ง echo และ banner


$ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ
$ banner "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดใหญ่

คำสั่ ง who , w และ finger


ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยูบ่ า้ งขณะนั้น
$ who
$w
$ finger ดูผใู้ ช้ที่ host เดียวกัน
$ finger @daidy.bu..ac.th ดูผใู้ ช้โดยระบุ Host ที่จะดู
$ finger wihok ดูผใู้ ช้โดยระบุคนที่จะดูลงไป
$ who am i แสดงชื่อผูใ้ ช้ เวลาที่เข้าใช้งาน และ หมายเลขเครื่ อง
$ whoami เหมือนกับคำสัง่ logname

คำสั่ ง pwd
แสดง directory ที่เราอยูป่ ั จจุบนั
$ pwd

คำสั่ ง mkdir
ใช้สร้าง directory เทียบเท่า MD ใน DOS
$ mkdir dir_name

คำสั่ ง cp
ใช้ copy ไฟล์หนึ่ง ไปยังอกไฟล์หนึ่ง
รู ปแบบ $ cp [-irfp] file_source file_target
option -i หากมีการทับข้อมูลเดิมจะรอถามก่อนที่จะทับ
option -r copy ไฟล์ท้ งั หมดรวมทั้ง directory ด้วย
option -f ไม่แสดงข้อความความผิดพลาดออกหน้าจอ
option -p ยืนยันเวลาและความเป็ นเจ้าของเดิม
$ cp file_test /tmp/file_test

คำสั่ ง mv
ใช้ move หรื อเปลี่ยนชื่อไฟล์
รู ปแบบ $ mv [-if] file_source file_target
ความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp
$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็ น main.html

คำสั่ ง rm
ใช้ลบไฟล์หรื อ directory โดยที่ยงั มีขอ้ มูลภายในเทียบเท่า del และ deltree ของ dos
รู ปแบบ $ rm [-irf] filename
$ rm -r dir_name ลบ dir_name โดยที่ dir_name เป็ น directory ว่างหรื อไม่วา่ งก็ได้
$ rm -i * ลบทุกไฟล์โดยรอถามตอบ

คำสั่ ง rmdir
ใช้ลบ directory ที่วา่ ง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos
$ rmdir dir_name

คำสั่ ง alias
ใช้ยอ่ คำสัง่ ให้ส้ นั ลง
$ alias l = ls -l
$ alias c = clear

คำสั่ ง unalias
ใช้ยกเลิก alias เช่น
$ unalias c
คำสั่ ง type
ใช้ตรวจสอบว่าคำสัง่ ที่ใช้เก็บอยูท่ ี่ใดของระบบ
รู ปแบบ $ type command
$ type clear

คำสั่ ง find
ใช้คน้ หาไฟล์ที่ตอ้ งการ เช่น
$ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin

คำสั่ ง grep
ใช้คนหาข้อความที่ตอ้ งการจากไฟล์
$ grep ข้อความ file

คำสั่ ง man
man เป็ นคำสัง่ ที่เป็ นคู่มือการใช้ค ำสัง่ แต่ละคำสัง่ เช่น
$ man ls
$ man cp

คำสั่ ง write
ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่ องที่ระบุในคำสัง่ ไม่สามารถใช้ขา้ ม host ได้
เช่น $ write s0460003

คำสั่ ง mesg
$ mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal
$ mesg y เปิ ดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
$ mesg n ปิ ดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้

คำสั่ ง talk
ใช้ติดต่อสื่ อสารแบบสองทาง เหมือนกับการคุยโดยผูส้ ่ ง ๆ ไปแล้วรอการตอบกลับจาก ผูร้ ับ สามารถหยุดการติดต่อโดย Ctrl + c สามารถใช้
ข้าม host ได้
รู ปแบบ $ talk username@hostname

คำสั่ ง pine
ใช้อ่านและส่ งจดหมายข้างในจะมี menu ให้ใช้
คำสัง่ tar

ใช้สำหรับ รวมไฟล์ยอ่ ยให้เป็ นไฟล์ Packet คล้ายๆกับการ zip หลายๆไฟล์ให้เป็ นไฟล์เดียวแต่ขนาดไฟล์ไม่ได้ลดลงอย่างการ zip โดย
ไฟล์ output ที่ได้จะตั้งชื่อเป็ น filename.tar หรื อการแตกไฟล์ packet จาก filename.tar ให้เป็ นไฟล์ยอ่ ยมักจะใช้คกู่ บั gzip
หรื อ compress เพื่อทำการลดขนาด packet ให้เล็กลง

รู ปแบบการใช้

$ tar -option output input


-option ประกอบด้วย -cvf , -tvf , -xvf แสดงดังด้านล่าง
output คือ ไฟล์.tar หรื ออาจจะเป็ น device เช่น tape ก็ได้
input คือ ไฟล์หรื อกลุ่มไฟล์หรื อ directory หรื อรวมกันทั้งหมดที่กล่าวมา
$ tar -cvf Output_file.tar /home/myhome/*
Option -cvf ใช้สำหรับการรวมไฟล์ยอ่ ยไปสู่ ไฟล์ .tar จากตัวอย่าง รวมไฟล์ทุกไฟล์ที่อยูใ่ น /home/myhome/ เข้าสู่ ไฟล์ชื่อ
Output_file.tar
$ tar -tvf filename.tar
Option -tvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็ นไฟล์ยอ่ ยๆแบบ preview คือแสดงให้ดูไม่ได้แตกจริ งอาจใช้คูก่ บั คำสัง่ อื่น เพื่อให้ได้ประโยชน์ตาม
ต้องการ เช่น tar -tvf filename.tar |more
$ tar -xvf filename.tar
Option -xvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็ นไฟล์ยอ่ ยๆ โดยจะแตกลง ณ current directory

คำสั่ ง gzip

ใช้ zip หรื อ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็ น .tar เช่น


$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซ่ ึ งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz
$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็ น filename.tar

คำสั่ ง Compress และ Uncompress

หลังจากการ compress แล้วจะได้เป็ นชื่อไฟล์เดิมแต่ต่อท้ายด้วย .Z การใช้งานเหมือนกับ gzip และ gzip -d เช่น


$ compress -v file.tar จะได้ไฟล์ชื่อ file.tar.Z โดย Option -v จะเป็ นการ verify การ compress
$ uncompress -v file.tar.Z

You might also like