You are on page 1of 22

ชื่อ.................................................................................................

ชัน...............................เลขที
้ ่......................

แบบทดสอบ เรื่อง บทพากย์เอราวัณ ชั้น ม.๓


ตอนที่ ๑ พิจารณาบทประพันธ์ แล้วตอบคาถามต่ อไปนีใ้ ห้ ถูกต้ อง

๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมริ นทร์


ทรงคชเอราวัณ
๏ ช้างนิมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผ่องผิวพรรณ
สี สังข์สะอาดโอฬาร์
๏ สามสิ บสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา
ดัง่ เพชรรัตน์รูจี
๏ งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งย่อมมี
เจ็ดกออุบลบันดาล
๏ กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่งบาน
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผา
๏ กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา
แน่งน้อยลาเพานงพาล
๏ นางหนึ่งย่อมมีบริ วาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์
ล้วนรู ปนิรมิตมายา
๏ จับระบาราร่ ายส่ ายหา ชาเลืองหางตา
ทาทีดงั เทพอัปสร
๏ มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร
ดังเวไชยันต์อมริ นทร์

๑. สาระสาคัญของบทประพันธ์ขา้ งต้นกล่าวถึงสิ่ งใด...................................................................................


๒. ลักษณะของช้างเอราวัณที่ปรากฏตามบทประพันธ์
๒.๑ ช้างเอรวัณ มี....................................................................................................................... เศียร
๒.๒ ในช้างเอราวัณ ๑ เศียร มี งา...................งา สรุ ปแล้วมีงา ทั้งหมด ........................................งา
๒.๓ ในช้างเอราวัณ ๑ งา มีสระบัว…............สระ สรุ ปแล้วมีสระบัว ทั้งหมด ….......................สระ
๒.๔ ในช้างเอราวัณ ๑ สระบัวมี .............. กอบัว สรุ ปแล้วมีกอบัว ทั้งหมด ….............................กอ
๒.๕ ในช้างเอราวัณ ๑ กอบัวมีดอกบัว.........ดอก สรุ ปแล้วมีดอกบัว ทั้งหมด …...................….ดอก
๒.๖ ในช้างเอราวัณ ดอกบัว ๑ ดอกมี.......... กลีบ สรุ ปแล้วมีกลีบบัว ทั้งหมด ….......................กลีบ


๒.๗ ในช้างเอราวัณ ดอกบัว ๑ กลีบมีเทพธิดา ๗ องค์
สรุ ปแล้วมีเทพธิดาทั้งหมด...........................................................................................องค์
๒.๘ ในช้างเอราวัณ เทพธิดา ๑ องค์มีนางบริ วาร ๗ คน
สรุ ปแล้วมีนางบริ วาร ทั้งหมด ……………....................................................………… คน
๓. อธิบายความหมายของคาต่อไปนี้
๓.๑ อมริ นทร์ หมายถึง.......................................................................................................................
๓.๒ โบกขรณี หมายถึง......................................................................................................................
๓.๓ เทพอัปสร หมายถึง....................................................................................................................
๓.๔ ดวงมาลย์ หมายถึง.....................................................................................................................
๓.๕ เวไชยันต์ หมายถึง................. ..................................................................................................
๔. “สามสิ บสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา ดัง่ เพชรรัตน์รูจี” ใช้ภาพพจน์แบบใด........................................
๕. โวหารที่ใช้ในบทประพันธ์ขา้ งต้น มีลกั ษณะเด่นอย่างไร .......................................................... ..............
๖. อิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับความเชื่อของ “ช้างเอราวัณ” ส่ งผลต่อสังคมไทย คือ
.......................................................................................................................................................................

๏ เครื่ องประดับเก้าแก้วโกมิน ซองหางกระวิน


สร้อยสายชนักถักทอง
๏ ตาข่ายเพชรรัตน์ร้อยกรอง ผ้าทิพย์ปกตระพอง
ห้อยพูท่ ุกหูคชสาร
๏ โลทันสารถีขนุ มาร เป็ นเทพบุตรควาญ
ขับท้ายที่นงั่ ช้างทรง
๗. สาระสาคัญของคาประพันธ์ในบทที่ ๑ และ ๒ คือ.....................................................................................
๘. “เครื่ องประดับเก้าแก้วโกมิน” หมายถึง.....................................................................................................
๙. จากบทประพันธ์ “โลทัน” ทาหน้าที่...........................................................................................................

๏ บรรดาโยธาจัตุรงค์ เปลี่ยนแปลงกายคง
เทพไทเทวัญ
๏ ทัพหน้าอารักขไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุ บรรณ
กินนรนาคนาคา
๏ ปี กซ้ายฤาษิตวิทยา คนธรรพ์ปีกขวา
ตั้งตามตารับทัพชัย
๏ ล้วนถืออาวุธเกรี ยงไกร โตมรศรชัย
พระขรรค์คทาถ้วนตน


๏ ลอยฟ้ ามาในเวหน รี บเร่ งรี้ พล
มาถึงสมรภูมิชยั ฯ

๑๐. “บรรดาโยธาจัตรุ งค์” หมายถึง....................................................................................................……...


๑๑. อธิบายการจัดกองทัพแปลงของอินทรชิต………………………………………………..…………….
.......................................................................................................................................................................
๑๒. “ ล้วนถืออาวุธเกรี ยงไกร โตมรศรชัย พระขรรค์คทาถ้วนตน” จากบทประพันธ์น้ ีกล่าวถึงอาวุธ จานวน
......................ชนิด ได้แก่................................................................................................................................
๑๓. อธิบายความหมายของศัพท์ต่อไปนี้
๑๓.๑ สุ บรรณ หมายถึง.....................................................................................................................
๑๓.๒ คนธรรพ์ หมายถึง..................................................................................................................
๑๓.๓ โตมร หมายถึง........................................................................................................................

๏ เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุ ริยศ์ รี


อรุ ณเรื องเมฆา
๏ ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่ องฟุ้ งวนา
นิวาสแถวแนวดง
๏ ผึ้งภู่หมู่คณาเหมหงส์ ร่ อนราถาลง
แทรกไซ้ในสร้อยสุ มาลี
๏ ดุเหว่าเร้าเร่ งพระสุ ริยศ์ รี ไก่ขนั ปี กตี
กู่กอ้ งในท้องดงดาน
๏ ปักษาตื่นตาขันขาน หาคู่เคียงประสาน
สาเนียงเสนาะในไพร
๏ เดือนดาวดับเศร้าแสงใส สร่ างแสงอโณทัย
ก็ผา่ นพยับรองเรื อง
๏ จับฟ้ าอากาศแลเหลือง ธิบดินทร์เธอบรรเทือง
บรรทมฟื้ นจากไสยา

๑๔. “เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุ ริยศ์ รี อรุ ณเรื องเมฆา” คาที่ขีดเส้นใต้ หมายถึงใคร...............................


๑๕. จากบทประพันธ์ในข้อ ๑๔ กล่าวถึงเวลา...........................................................................................
๑๖. ลักษณะเด่นของบทประพันธ์ขา้ งต้น เป็ นการใช้โวหารประเภท.........................................................
๑๗. จากบทประพันธ์ขา้ งต้นกล่าวถึงสัตว์...........................ชนิด ได้แก่…………………………..……..
.....................................................................................................................................................................


๑๘. อธิบายความหมายของคาศัพท์ต่อไปนี้
๑๘.๑ นิวาส หมายถึง.......................................................................................................................
๑๘.๒ เหมหงส์ หมายถึง.................................................................................................................
๑๘.๓ อโณทัย หมายถึง..................................................................................................................
๑๘.๔ บรรเทือง หมายถึง...............................................................................................................

๏ เสด็จทรงรถแก้วโกสี ย ์ ไพโรจน์รูจี
จะแข่งซึ่งแสงสุ ริยใ์ ส
๏ เทียมสิ นธพอาชาไนย เริ งร้องถวายชัย
ชันหูระเหิดหฤหรรษ์
๏ มาตลีสารถีเทวัญ กรกุมพระขรรค์
ขับรถมากลางจัตุรงค์
๏ เพลารอยพลอยประดับดุมวง กึกก้องกากง
กระทบกระทัง่ ธรณี
๏ มยุรฉัตรชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี
กบี่ระบายโบกลม

๑๙. บทประพันธ์ขา้ งต้น กล่าวถึงสิ่ งใด...........................................................................................................


๒๐. “เทียมสิ นธพอาชาไนย” มีความหมายว่า.................................................................................................
๒๑. “ชันหูระเหิดหฤหรรษ์” คาว่า ชันหู มีความหมายว่า....................................................................……....
๒๒. ผูท้ ี่ทาหน้าที่เป็ นสารถีของฝ่ ายพระรามคือ.............................................................................................
๏ อึงอินทเภรี ตีระงม แตรสังข์เสี ยงประสม
ประสานเสนาะในไพร
๏ เสี ยงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลัน่ สนัน่ ใน
พิภพเพียงทาลาย
๏ สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย
ประนอมประนมชมชัย
๏ พสุ ธาอากาศหวาดไหว เนื้อนกตกใจ
ซุกซ่อนประหวัน่ ขวัญหนี
๏ ลูกครุ ฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี
คาบช้างก็วางไอยรา
๏ วานรสาแดงเดชา หักถอนพฤกษา
ถือต่างอาวุธยุทธยง

๏ ไม้ไหล้ยงู ยางกลางดง แหลกลู่ลม้ ลง
ละเอียดด้วยฤทธิโยธี

๒๓. สาระสาคัญของบทประพันธ์น้ ีคือ............................................................................................................


๒๔. “อึงอินทเภรี ตีระงม” คาว่า อินทเภรี หมายถึง..........................................................................................
๒๕. จากบทประพันธ์ขา้ งต้นในบทที่ ๑ และ ๒ จินตภาพที่ชดั เจนที่สุดคือจินตภาพทางด้าน…....................
๒๖. บทประพันธ์ใด มีการใช้โวหารภาพพจน์ประเภท “อติพจน์” กล่าวเกินจริ ง...........................................
......................................................................................................................................................................
๒๗. บทประพันธ์ใดมีการใช้โวหารภาพพจน์ประเภท “บุคลาธิษฐาน หรื อ บุคคลวัต” การกาหนดให้สิ่งที่ไม่ใช่คน
แสดงอาการเหมือนคน…………………………………………………………………………..….
........................................................................................................................................................................
๒๘. “ลูกครุ ฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี คาบช้างก็วางไอยรา” จากบทประพันธ์น้ ี
คาว่า “ฉิมพลี” หมายถึง......................................................................................................................
คาว่า “หัสดินอินทรี ” หมายถึง...........................................................................................................
๏ อากาศบดบังสุ ริยศ์ รี เทวัญจันทรี
ทุกชั้นอานวยอวยชัย
๏ บ้างเปิ ดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลัย
ซ้องสาธุการบูชา
๏ ชักรถรี่ เรื่ อยเฉื่อยมา พุม่ บุษปมาลา
กงรถไม่จดธรณิ นทร์
๏ เร่ งพลโยธาพานริ นทร์ เร่ งรัดหัสดิน
วานรให้เร่ งรี บมา

๒๙. จากบทประพันธ์ต่อไปนี้ เกิดเหตุการณ์อะไร …………...................................……………………...


……………………………………………………………………………………………………………..
๓๐. อธิบายความหมายของคาศัพท์ต่อไปนี้
๓๐.๑ บุษปมาลา หมายถึง .................................................................................................................
๓๐.๒ ทิพมาลัย หมายถึง....................................................................................................................
๓๐.๓ ธรณิ นทร์ หมายถึง....................................................................................................................

๏ เมื่อนั้นพระศรี อนุชา เอื้อนอรรถวัจนา


ตรัสถามสุ ครี พขุนพล
๏ เหตุไฉนสหัสนัยน์เสด็จดล สมรภูมิไพรสณฑ์
เธอมาด้วยกลอันใด

๏ สุ ครี พทูลทัดเฉลยไข ทุกทีสหัสนัยน์
เสด็จด้วยหมู่เทวา
๏ อวยชัยถวายทิพมาลา บัดนี้เธอมา
เห็นวิปริ ตดูฉงน
๏ ทรงเครื่ องศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเป็ นกล
ไปเข้าด้วยราพณ์อาธรรมม์
๏ พระผูเ้ รื องฤทธิ์แข็งขัน คอยดูสาคัญ
อย่าไว้พระทัยไพรี
๏ เมื่อนั้นอินทรชิตยักษี ตรัสสัง่ เสนี
ให้จบั ระบาราถวาย
๏ ให้องค์อนุชานารายณ์ เคลิบเคลิม้ วรกาย
จะแผลงซึ่งศัสตราศรพล
๓๑. จากบทประพันธ์ คาว่า
“พระศรี อนุชา” หมายถึง................................................................................................................
คาว่า “สหัสนัยน์” หมายถึง..........................................................................................................
คาว่า “พระผูเ้ รื องฤทธิ์แข็งขัน” หมายถึง.....................................................................................
๓๒. “ทรงเครื่ องศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเป็ นกล ไปเข้าด้วยราพณ์อาธรรม์” คาที่ขีดเส้นใต้ หมายถึง.......
.....................................................................................................................................................................
๏ อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา
เห็นองค์พระลักษณ์ฤทธิรงค์
๏ เคลิบเคลิ้มหฤทัยใหลหลง จึงจับศรทรง
พรหมาสตร์อนั เรื องเดชา
๏ ทูนเหนือเศียรเกล้ายักษา หมายองค์พระอนุชา
ก็แผลงสาแดงฤทธิรณ
๏ อากาศก้องโกลาหล โลกลัน่ อึงอล
อานาจสะท้านธรณี
๏ ศรเต็มไปทัว่ ราศี ต้ององค์อินทรี ย ์
พระลักษณ์กก็ ลิง้ กลางพล

๓๓. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากบทประพันธ์คือเหตุการณ์….. ......................................................................... ….


๓๔. อินทรชิตแผลงศร................................................................................................ถูกพระลักษมณ์สลบไป
๓๕. ข้อคิดคติเตือนใจที่ได้รับจากบทประพันธ์ และให้คุณค่าทางด้านสังคมคือ ………………………….....
.........................................................................................................................................................................

ตอนที่ ๒ พิจารณาลักษณะคาประพันธ์ บทพากย์เอราวัณ

- หนึ่งบทมี ๑๖ คา ๓ วรรค
วรรคละ ๖ - ๔ - ๖ คาตามลาดับ
- สัมผัสบังคับ ท้ายวรรคแรกกับวรรคที่สอง
สัมผัสระหว่างบท ส่ งจากคาสุ ดท้ายบทแรก
ไปยังคาท้ายวรรคแรกในบทต่อไป

๒.๑ จงบอกคู่สัมผัสบังคับและสั มผัสระหว่างบทจากคาประพันธ์ ที่กาหนดให้

๏ วานรสาแดงเดชา หักถอนพฤกษา สัมผัสบังคับ..........................................................................


ถือต่างอาวุธยุทธยง
..............................................................................................
๏ ไม้ไหล้ยงู ยางกลางดง แหลกลู่ลม้ ลง
ละเอียดด้วยฤทธิโยธี สัมผัสระหว่างบท..................................................................

๏ อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา สัมผัสบังคับ..........................................................................


เห็นองค์พระลักษณ์ฤทธิรงค์
..............................................................................................
๏ เคลิบเคลิ้มหฤทัยใหลหลง จึงจับศรทรง
สัมผัสระหว่างบท..................................................................
พรหมาสตร์อนั เรื องเดชา

๒.๒ เติมคาในช่ องว่างให้ ถูกต้ องตามฉันทลักษณ์ กาพย์ฉบัง ๑๖


คุณแม่ทางาน................ ไม่เคยหยุดพัก มีน้ าโลกเราสุ ขสันต์ ..........................
ฉันนั้น.............คุณแม่ รักษาน้ าไว้ยงั่ ยืน
คุณแม่คงเหนื่อย............ กิจกรรมยา่ แย่ อยูใ่ นแจกันยังชื่น .........................
ทุกวันอยากช่วยแม่จงั คือน้ าที่ช่วยดูแล

กล้วยคือผลผลิตไทยทา .......................... บอลลูนสี สันงามตา ..........................


ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใครหนอช่างคิดประดิษฐ์ทา
ผลงามรู ปโค้งซ้อนเคียง .......................... เหลืองเขียวแดงทาบฟ้ าขา ...........................
กลิ่นหอมชวนรับประทาน สว่างน่านฟ้ าพาจร


ตอนที่ ๓ พิจารณาโวหารภาพพจน์ จากคาประพันธ์ ที่กาหนดให้ แล้วเติมลงในช่ องว่าง
๏ ชักรถรี่ เรื่ อยเฉื่อยมา พุม่ บุษปมาลา …………………………………
กงรถไม่จดธรณิ นทร์

๏ เสี ยงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลัน่ สนัน่ ใน …………………………………


พิภพเพียงทาลาย

๏ สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย …………………………………


ประนอมประนมชมชัย

๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมริ นทร์ …………………………………


ทรงคชเอราวัณ

๏ สามสิ บสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา …………………………………


ดัง่ เพชรรัตน์รูจี

๏ มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร …………………………………


ดังเวไชยันต์อมริ นทร์

ตอนที่ ๔ จงเลือกข้ อที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้ อเดียว


๑. ผูแ้ ต่งบทพากย์เอราวัณคือใคร
๑. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ๒. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
๓. เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ๔. ไม่ปรากฏนามผูแ้ ต่ง
๒. บทพากย์เอราวัณนี้บรรยายเหตุการณ์จากรามเกียรติ์ตอนใด
๑. ศึกอินทรชิต ๒. ศึกกุมภกรรณ ๓. หนุมานเผาลงกา ๔. พระมงกุฎประลองศร
๓. “เอราวัณ” เป็ นชื่อของสิ่ งใด
๑. โค พาหนะของพระอิศวร ๒. นกยูง พาหนะของพระพรหม
๓. ครุ ฑ พาหนะของพระนารายณ์ ๔. ช้าง พาหนะของพระอินทร์
๔. คาประพันธ์ที่เรี ยกว่าบทพากย์ส่วนใหญ่ แต่งด้วยคาประพันธ์รูปแบบใด
๑. โคลง ๒. ฉันท์ ๓. กาพย์ ๔. กลอน
๕. บทพากย์เรื่ องรามเกียรติ์ในสมัยอยุธยาแต่งสาหรับมหรสพใด
๑. ละครนอก และละครใน ๒. หนังใหญ่ และโขน
๓. ลิเก และละครชาตรี ๔. หนังตะลุง และหุ่นกระบอก


๖. คาพากย์ยาวและคาพากย์ส้ นั แตกต่างกันอย่างไร
๑. บทพากย์หนังใหญ่เรี ยก คาพากย์ยาว บทพากย์โขนเรี ยก คาพากย์ส้ นั
๒. บทพากย์โขนเรี ยก คาพากย์ยาว บทพากย์หนังใหญ่เรี ยก คาพากย์ส้ นั
๓. คาพากย์ยาวแต่งตั้งแต่ตน้ จนจบเรื่ องรามเกียรติ์
๔. คาพากย์ส้ นั แต่งดาเนินเรื่ องติดต่อกันเป็ นตอนยาว
๗. “อินทรชิต” มีความหมายว่าอย่างไร
๑. ผูใ้ กล้ชิดพระอินทร์ ๒. ผูส้ ังหารพระอินทร์ ๓. ผูช้ นะพระอินทร์ ๔. ผูร้ ับใช้พระอินทร์
๘. บทพากย์เอราวัณ แต่งด้วยคาประพันธ์ชนิดใด
๑. กาพย์สุรางคนางค์ ๒. กาพย์ขบั ไม้ ๓. กาพย์ยานี ๔. กาพย์ฉบัง
๙. ช้างเอราวัณ มีลกั ษณะอย่างไร
๑. กายสี ดา ๓๓ เศียร ๒. กายสี ขาว ๓๓ เศียร ๓. กายสี เขียว ๓ เศียร ๔. กายสี ทอง ๓ เศียร
๑๐. จุดเด่นของบทพากย์เอราวัณอยูท่ ี่ใด
๑. บทพรรณนาต่างๆที่ไพเราะงดงาม ๒. การดาเนินเรื่ องสนุกสนาน
๓. บทเจรจาที่คมคาย ๔. แง่คิดที่เป็ นคติธรรมลึกซึ้ง
๑๑. สั ตภัณฑ์ บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย
ประนอมประนมชมชัย
โวหารภาพพจน์ที่ปรากฏในคาประพันธ์ขา้ งต้นคือข้อใด
๑. อุปลักษณ์ ๒. บุคคลวัต ๓. อติพจน์ ๔. ปรพากย์
๑๒. คาศัพท์ในข้อใดไม่ ใช่ เครื่ องผูกช้าง
๑. ซองหาง ๒. กระวิน ๓. ชนัก ๔. ตระพอง
๑๓. ข้อใดมีคาที่มีความหมายเหมือนกันทุกคา
๑. ชลธาร ชลาลัย มหรรณพ ๒. นิลุบล มารศรี นงคราญ
๓. ปักษิน สกุณา มยุรี ๔. สิ งขร ภูผา อัมพร
๑๔. คาในข้อใดมีความหมายว่า “ดอกบัว”
๑. ผกา ๒. โกเมศ ๓. คีรี ๔. นครา
๑๕. ใครเป็ นผูเ้ ตือนพระลักษณ์ให้ระวังพระองค์เมื่อเห็นพระอินทร์แปลงกาย
๑. พระราม ๒. สุ ครี พ ๓. หนุมาน ๔. ช้างเอราวัณ
๑๖. คาที่พิมพ์ตวั หนาข้อใดไม่ได้หมายถึง “ช้ าง”
๑. หัสดินอินทรี คาบช้างก็วางไอยรา ๒. เร่ งพลโยธาพานรินทร์ เร่ งรัดหัสดิน
๓. ผ้าทิพย์ปกตระพอง ห้อยพูท่ ุกหูคชสาร ๔. เหมือนองค์อมริ นทร์ ทรงคชเอราวัณ


๑๗. ข้อใดไม่มีคาที่มีความหมายว่า “พระอินทร์ ”
๑. เหมือนองค์อมริ นทร์ ๒. เสด็จทรงรถแก้วโกสี ย ์
๓. เหตุไฉนสหัสนัยน์เสด็จดล ๔. ให้องค์อนุชานารายณ์
๑๘. พระลักษณ์พา่ ยแพ้ต่ออินทรชิต เพราะเหตุใด
๑. อ่อนแอ ๒. หลงใหล ๓. โงเขลา ๔. เชื่องช้า
๑๙. ชักรถรี่เรื่อยเฉื่อยมา พุ่มบุษปมาลา
กงรถไม่ จดธรณินทร์
ข้อความที่ขีดเส้นใต้ หมายถึงข้อใด
๑. รถวิ่งเป็ นวงกลมทัว่ แผ่นดิน ๒. แผ่นดินขนาดใหญ่ไม่เท่าล้อรถ
๓. ล้อรถขนาดใหญ่เท่าแผ่นดิน ๔. ล้อรถไม่สัมผัสพื้นดิน
๒๐. เครื่องประดับแก้วเก้าโกมิน ซองหางกระวิน
สร้ อยสายชนักถักทอง
ข้อใดไม่ เกีย่ วข้ องกับคาที่ขีดเส้นใต้ในคาประพันธ์ขา้ งต้น
๑. เพชร ทับทิม มรกต ๒. บุษราคัม โกเมน นิล
๓. มุกดา เพทาย ไพฑูรย์ ๔. ไข่มุก ประพาฬ พลอย
๒๑. ศรเต็มไปทั่วราศรี ต้ ององค์อนิ ทรีย์
พระลักษณ์ กก็ ลิง้ กลางพล
“ศร” ในคาประพันธ์ขา้ งต้นคือข้อใด
๑. พรหมาสตร์ ๒. นาคบาศ ๓. พลายวาต ๔. จันทรานิตย์
๒๒. ศัพท์ในข้อใดหมายถึงกองทัพ ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่าม้า เหล่ารถ เหล่าพลเดินเท้า
๑. อารักขไพรสัณฑ์ ๒. สัตภัณฑ์บรรพต ๓. โยธาจัตุรงค์ ๔. โยธาพานริ นทร์
๒๓. การพรรณนาในข้อใดให้สัมผัสทางเสี ยง
๑. ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่ องฟุ้ งวนา นิวาสแถวแนวดง
๒. ผึ้งภู่หมู่คณาเหมหงส์ ร่ อนราถาลง แทรกไซ้ในสร้อยสุ มาลี
๓. ปักษาตื่นตาขานขัน หาคูเ่ คียงประสาน สาเนียงเสนาะในไพร
๔. เดือนดาวดับเศร้าแสงใส สร่ างแสงอโณทัย ก็ผา่ นพยับเรื องรอง
๒๔. ล้วนถืออาวุธเกรียงไกร โตมรศรชัย
พระขรรค์คทาถ้ วนตน
คาประพันธ์ขา้ งต้นมีคาแสดงชื่ออาวุธกี่ชนิด
๑. ๓ คา ๒. ๔ คา ๓. ๕ คา ๔. ๖ คา

๑๐
๒๕. อินทรชิตเป็ นบุตรของทศกัณฐ์กบั ผูใ้ ด
๑. นางมณโฑ ๒. นางเบญจกาย ๓. นางสี ดา ๔. นางอัปสร
๒๖. การพรรณนาข้อใดให้ภาพเคลื่อนไหว
๑. กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่งบาน มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา
๒. กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา แน่งน้อยลาเพานงพาล
๓. นางหนึ่งย่อมมีบริ วาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์ ล้วนรู ปนิรมิตมารยา
๔. จับระบาราร่ ายส่ ายหา ชาเลืองหางตา ทาทีดงั เทพอัปสร
๒๗. คาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดอ่านตามหลักการอ่านเดิม
๑. เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุ ริยศ์ รี อรุ ณเรื องเมฆา
๒. ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่ องฟุ้ งวนา นิวาสแถวแนวดง
๓. บ้างเปิ ดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลัย ซ้องสาธุการบูชา
๔. ทัพหน้าอารักขไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุ บรรณ กินนรนาคนาคา
๒๘. ข้อใดมีคาที่หมายถึง “ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง มีความชานาญด้านการดนตรี และขับร้อง”
๑. ทาทีดงั เทพอัปสร ๒. คนธรรพ์ปีกขวา
๓. ทัพหลังสุ บรรณ ๔. ไปเข้าด้วยราพณ์อาธรรม์
๒๙. มยุรฉัตรชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี
กบี่ระบายโบกลม
คาศัพท์ในข้อใดไม่ ใช่ เครื่ องสูง
๑. มยุรฉัตร ๒. ชุมสาย ๓. พัดโบก ๔. กบี่
๓๐. ลักษณะของช้างเอราวัณปรากฏอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องใด
๑. สุ ภาษิตพระร่ วง ๒. สมบัติอมริ นทร์คากลอน
๓. ไตรภูมิพระร่ วง ๔. มหาเวสสันดรชาดก

๑๑
เฉลย
ตอนที่ ๑,๓,๔

๑๒
ตอนที่ ๑ พิจารณาบทประพันธ์ แล้วตอบคาถามต่ อไปนีใ้ ห้ ถูกต้ อง
พิจารณาบทประพันธ์ แล้วตอบคาถามต่ อไปนีใ้ ห้ ถูกต้ อง
๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมริ นทร์
ทรงคชเอราวัณ
๏ ช้างนิมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผ่องผิวพรรณ
สี สังข์สะอาดโอฬาร์
๏ สามสิ บสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา
ดัง่ เพชรรัตน์รูจี
๏ งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งย่อมมี
เจ็ดกออุบลบันดาล
๏ กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่งบาน
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผา
๏ กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา
แน่งน้อยลาเพานงพาล
๏ นางหนึ่งย่อมมีบริ วาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์
ล้วนรู ปนิรมิตมายา
๏ จับระบาราร่ ายส่ ายหา ชาเลืองหางตา
ทาทีดงั เทพอัปสร
๏ มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร
ดังเวไชยันต์อมริ นทร์

๑. สาระสาคัญของบทประพันธ์ขา้ งต้นกล่าวถึงสิ่ งใด.........ลักษณะของช้างเอราวัณ.......................................


๒. ลักษณะของช้างเอราวัณที่ปรากฏตามบทประพันธ์
๒.๑ ช้างเอราวัณ มี..........๓๓............... เศียร
๒.๒ ในช้างเอราวัณ ๑ เศียร มี งา.....๗.............งา สรุ ปแล้วมีงา ทั้งหมด ..........๒๓๑....................งา
๒.๓ ในช้างเอราวัณ ๑ งา มีสระบัว..๗.........สระ สรุ ปแล้วมีสระบัว ทั้งหมด ….......๑,๖๑๗.......สระ
๒.๔ ในช้างเอราวัณ ๑ สระบัวมี .......๗....... กอบัว สรุ ปแล้วมีกอบัว ทั้งหมด …....๑๑,๓๑๙........กอ
๒.๕ ในช้างเอราวัณ ๑ กอบัวมีดอกบัว...๗....ดอก สรุ ปแล้วมีดอกบัว ทั้งหมด …..๗๙,๒๓๓….ดอก
๒.๖ ในช้างเอราวัณ ดอกบัว ๑ ดอกมี..๗..... กลีบ สรุ ปแล้วมีกลีบบัว ทั้งหมด …..๕๕๔,๖๓๑...กลีบ
๒.๗ ในช้างเอราวัณ ดอกบัว ๑ กลีบมีเทพธิดา๗องค์
สรุ ปแล้วมีเทพธิดาทั้งหมด .........................๓,๘๘๒,๔๑๗.................องค์

๑๓
๒.๘ ในช้างเอราวัณ เทพธิดา ๑ องค์มีนางบริ วาร ๗ คน
สรุ ปแล้วมีนางบริ วาร ทั้งหมด …………….๒๗,๑๗๖,๙๑๙………… คน
๓. อธิบายความหมายของคาต่อไปนี้
๓.๑ อมริ นทร์ หมายถึง....................พระอินทร์...............................................................................
๓.๒ โบกขรณี หมายถึง...................สระบัว...................................................................................
๓.๓ เทพอัปสร หมายถึง...................นางฟ้ า....................................................................................
๓.๔ ดวงมาลย์ หมายถึง..................ดอกไม้ (ดอกบัว).......................................................................
๓.๕ เวไชยันต์ หมายถึง................. ปราสาท วิมานของพระอินทร์...................................................
๔. “สามสิ บสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา ดัง่ เพชรรัตน์รูจี” ใช้ภาพพจน์แบบใด........อุปมา......................
๕. สานวนภาษาโวหารที่ใช้ในบทประพันธ์ขา้ งต้น มีลกั ษณะเด่นอย่างไร ..........พรรณนาโวหาร ...............
๖. อิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับความเชื่อของ “ช้างเอราวัณ” ส่ งผลต่อสังคมไทย คือ
............ช้างทรงของพระอินทร์ เป็ นสัญลักษณ์ของการกระทาความดี ความอุดมสมบูรณ์...........................

๏ เครื่ องประดับเก้าแก้วโกมิน ซองหางกระวิน


สร้อยสายชนักถักทอง
๏ ตาข่ายเพชรรัตน์ร้อยกรอง ผ้าทิพย์ปกตระพอง
ห้อยพูท่ ุกหูคชสาร
๏ โลทันสารถีขนุ มาร เป็ นเทพบุตรควาญ
ขับท้ายที่นงั่ ช้างทรง
๗. สาระสาคัญของคาประพันธ์ในบทที่ ๑ และ ๒ คือ...................เครื่ องประดับช้าง......................................
๘. “เครื่ องประดับเก้าแก้วโกมิน” หมายถึง......นพรัตน์ แก้ว ๙ ประการ....................ได้แก่... .......................เพชร
ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย ไพฑูรย์.....................................................................
๙. จากบทประพันธ์ “โลทัน” ทาหน้าที่ ......................สารถี/ควาญช้างฝ่ ายอินทรชิต......................................
๏ บรรดาโยธาจัตุรงค์ เปลี่ยนแปลงกายคง
เทพไทเทวัญ
๏ ทัพหน้าอารักขไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุ บรรณ
กินนรนาคนาคา
๏ ปี กซ้ายฤาษิตวิทยา คนธรรพ์ปีกขวา
ตั้งตามตารับทัพชัย
๏ ล้วนถืออาวุธเกรี ยงไกร โตมรศรชัย
พระขรรค์คทาถ้วนตน
๏ ลอยฟ้ ามาในเวหน รี บเร่ งรี้ พล
มาถึงสมรภูมิชยั ฯ
๑๔
๑๐. “บรรดาโยธาจัตรุ งค์” หมายถึง...........ทหารทั้ง ๔ เหล่า..เหล่าช้าง เหล่ารถ เหล่าม้า และเหล่าราบ……...
๑๑. อธิบายการจัดกองทัพแปลงของอินทรชิต..........ทัพหน้า เทวดาอารักษ์ ทัพหลัง เป็ น ครุ ฑ นาค กินนร
...............ปี กซ้าย ฤๅษี ปี กขวา คนธรรพ์............................................................................................................
๑๒. “ ล้วนถืออาวุธเกรี ยงไกร โตมรศรชัย พระขรรค์คทาถ้วนตน” จากบทประพันธ์น้ ีกล่าวถึงอาวุธ จานวน.......
๔...............ชนิด ได้แก่..................โตมร ศร พระขรรค์ คทา......................................................................
๑๓. อธิบายความหมายของศัพท์ต่อไปนี้
๑๓.๑ สุ บรรณ หมายถึง....................ครุ ฑ (เป็ นพาหนะของพระนารายณ์)........................................
๑๓.๒ คนธรรพ์ หมายถึง....................ชาวสวรรค์ที่มีความชานาญด้านดนตรี ...................................
๑๓.๓ โตมร หมายถึง.......................หอกซัด ด้ามสั้น เป็ นอาวุธ.......................................................

๏ เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุ ริยศ์ รี


อรุ ณเรื องเมฆา
๏ ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่ องฟุ้ งวนา
นิวาสแถวแนวดง
๏ ผึ้งภู่หมู่คณาเหมหงส์ ร่ อนราถาลง
แทรกไซ้ในสร้อยสุ มาลี
๏ ดุเหว่าเร้าเร่ งพระสุ ริยศ์ รี ไก่ขนั ปี กตี
กู่กอ้ งในท้องดงดาน
๏ ปักษาตื่นตาขันขาน หาคู่เคียงประสาน
สาเนียงเสนาะในไพร
๏ เดือนดาวดับเศร้าแสงใส สร่ างแสงอโณทัย
ก็ผา่ นพยับรองเรื อง
๏ จับฟ้ าอากาศแลเหลือง ธิบดินทร์เธอบรรเทือง
บรรทมฟื้ นจากไสยา

๑๔. “เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุ ริยศ์ รี อรุ ณเรื องเมฆา” คาที่ขีดเส้นใต้ หมายถึงใคร..........พระราม........


๑๕. จากบทประพันธ์ในข้อ ๑๔ กล่าวถึงเวลา.....................................เช้าตรู่ ..............................................
๑๖. ลักษณะเด่นของบทประพันธ์ขา้ งต้น เป็ นการใช้โวหารประเภท...........พรรณนาโวหาร.....................
๑๗. จากบทประพันธ์ขา้ งต้นกล่าวถึงสัตว์..๖....ชนิด ได้แก่...ผึ้ง แมลงภู่ หงส์ทอง นกดุเหว่า ไก่ นก
๑๘. อธิบายความหมายของคาศัพท์ต่อไปนี้
๑๘.๑ นิวาส หมายถึง.............................................แหล่งที่อยูอ่ าศัย.................................................
๑๘.๒ เหมหงส์ หมายถึง.............................................. หงส์ทอง....................................................
๑๘.๓ อโณทัย หมายถึง.......................................แสงพระอาทิตย์..................................................
๑๕
๑๘.๔ บรรเทือง หมายถึง.................................ตื่นขึ้น (ทาให้ดีข้ ึน)..................................................

๏ เสด็จทรงรถแก้วโกสี ย ์ ไพโรจน์รูจี
จะแข่งซึ่งแสงสุ ริยใ์ ส
๏ เทียมสิ นธพอาชาไนย เริ งร้องถวายชัย
ชันหูระเหิดหฤหรรษ์
๏ มาตลีสารถีเทวัญ กรกุมพระขรรค์
ขับรถมากลางจัตุรงค์
๏ เพลารอยพลอยประดับดุมวง กึกก้องกากง
กระทบกระทัง่ ธรณี
๏ มยุรฉัตรชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี
กบี่ระบายโบกลม

๑๙. บทประพันธ์ขา้ งต้น กล่าวถึงสิ่ งใด.................ราชรถม้าและ การจัดกองทัพฝ่ ายพระราม........................


๒๐. “เทียมสิ นธพอาชาไนย” มีความหมายว่า...........การต่อตัวม้ากับรถ..........................................................
๒๑. “ชันหูระเหิดหฤหรรษ์” คาว่า ชันหู มีความหมายว่า..........อาการหูต้งั ของม้า พร้อมที่จะเคลื่อนที่……....
๒๒. ผูท้ ี่ทาหน้าที่เป็ นสารถีของฝ่ ายพระรามคือ................................มาตลี......................................................

๏ อึงอินทเภรี ตีระงม แตรสังข์เสี ยงประสม


ประสานเสนาะในไพร
๏ เสี ยงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลัน่ สนัน่ ใน
พิภพเพียงทาลาย
๏ สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย
ประนอมประนมชมชัย
๏ พสุ ธาอากาศหวาดไหว เนื้อนกตกใจ
ซุกซ่อนประหวัน่ ขวัญหนี
๏ ลูกครุ ฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี
คาบช้างก็วางไอยรา
๏ วานรสาแดงเดชา หักถอนพฤกษา
ถือต่างอาวุธยุทธยง
๏ ไม้ไหล้ยงู ยางกลางดง แหลกลู่ลม้ ลง
ละเอียดด้วยฤทธิโยธี

๒๓. สาระสาคัญของบทประพันธ์น้ ีคือ.............................ความยิง่ ใหญ่ของกองทัพพระราม...........................

๑๖
๒๔. “อึงอินทเภรี ตีระงม” คาว่า อินทเภรี หมายถึง......................กลอง ที่ใช้บอกสัญญาณออกรบ..................
๒๕. จากบทประพันธ์ขา้ งต้นในบทที่ ๑ และ ๒ จินตภาพที่ชดั เจนที่สุดคือจินตภาพทางด้าน…....เสี ยง..........
๒๖. บทประพันธ์ใด มีการใช้โวหารภาพพจน์ประเภท “อติพจน์” กล่าวเกินจริ ง ..............
.เสี ยงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลัน่ สนัน่ ใน พิภพเพียงทาลาย.............................................................................................
๒๗. บทประพันธ์ใดมีการใช้โวหารภาพพจน์ประเภท “บุคลาธิษฐาน หรื อ บุคคลวัต” การกาหนดให้สิ่งที่ไม่ใช่คน
แสดงอาการเหมือนคน…. สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย ประนอมประนมชมชัย.................
๒๘. “ลูกครุ ฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี คาบช้างก็วางไอยรา” จากบทประพันธ์น้ ี
คาว่า “ฉิมพลี” หมายถึง...............................ต้นงิ้วเชิงเขาพระสุ เมรุ ....................................................
คาว่า “หัสดินอินทรี ” หมายถึง.......................นกขนาดใหญ่ในป่ าหิมพานต์.......................................
๏ อากาศบดบังสุ ริยศ์ รี เทวัญจันทรี
ทุกชั้นอานวยอวยชัย
๏ บ้างเปิ ดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลัย
ซ้องสาธุการบูชา
๏ ชักรถรี่ เรื่ อยเฉื่อยมา พุม่ บุษปมาลา
กงรถไม่จดธรณิ นทร์
๏ เร่ งพลโยธาพานริ นทร์ เร่ งรัดหัสดิน
วานรให้เร่ งรี บมา

๒๙. จากบทประพันธ์ต่อไปนี้ เกิดเหตุการณ์อะไร …………..เทวดา นางฟ้ าบนสวรรค์ทุกชั้นมาอานวยอวยพรให้


กองทัพพระรามได้รับชัยชนะ เปิ ดหน้าต่างแก้วจากสวรรค์โปรยดอกไม้อวยพร……………………...
๓๐. อธิบายความหมายของคาศัพท์ต่อไปนี้
๓๐.๑ บุษปมาลา หมายถึง ............................ดอกไม้........................................................................
๓๐.๒ ทิพมาลัย หมายถึง..........................ดอกไม้สวรรค์.................................................................
๓๐.๓ ธรณิ นทร์ หมายถึง........................แผ่นดิน.............................................................................

๏ เมื่อนั้นพระศรี อนุชา เอื้อนอรรถวัจนา


ตรัสถามสุ ครี พขุนพล
๏ เหตุไฉนสหัสนัยน์เสด็จดล สมรภูมิไพรสณฑ์
เธอมาด้วยกลอันใด
๏ สุ ครี พทูลทัดเฉลยไข ทุกทีสหัสนัยน์
เสด็จด้วยหมู่เทวา
๏ อวยชัยถวายทิพมาลา บัดนี้เธอมา
เห็นวิปริ ตดูฉงน

๑๗
๏ ทรงเครื่ องศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเป็ นกล
ไปเข้าด้วยราพณ์อาธรรมม์
๏ พระผูเ้ รื องฤทธิ์แข็งขัน คอยดูสาคัญ
อย่าไว้พระทัยไพรี
๏ เมื่อนั้นอินทรชิตยักษี ตรัสสัง่ เสนี
ให้จบั ระบาราถวาย
๏ ให้องค์อนุชานารายณ์ เคลิบเคลิ้มวรกาย
จะแผลงซึ่งศัสตราศรพล

๓๑. จากบทประพันธ์ คาว่า


“พระศรี อนุชา” หมายถึง..................................................พระลักษมณ์...........................................
คาว่า “สหัสนัยน์” หมายถึง...................................พระอินทร์.........................................................
คาว่า “พระผูเ้ รื องฤทธิ์แข็งขัน” หมายถึง....................................พระลักษมณ์...............................
๓๒. “ทรงเครื่ องศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเป็ นกล ไปเข้าด้วยราพณ์อาธรรม์” คาที่ขีดเส้นใต้ หมายถึง.......
.......................ทศกัณฐ์.................................................................................................................................

๏ อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา
เห็นองค์พระลักษณ์ฤทธิรงค์
๏ เคลิบเคลิม้ หฤทัยใหลหลง จึงจับศรทรง
พรหมาสตร์อนั เรื องเดชา
๏ ทูนเหนือเศียรเกล้ายักษา หมายองค์พระอนุชา
ก็แผลงสาแดงฤทธิรณ
๏ อากาศก้องโกลาหล โลกลัน่ อึงอล
อานาจสะท้านธรณี
๏ ศรเต็มไปทัว่ ราศี ต้ององค์อินทรี ย ์
พระลักษณ์กก็ ลิ้งกลางพล

๓๓. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากบทประพันธ์คือเหตุการณ์….. อินทรชิตแผลงศรพรหมาสตร์ใส่ พระลักษมณ์ ….


๓๔. อินทรชิตแผลงศร..............................พรหมาสตร์...............................................ถูกพระลักษมณ์สลบไป
๓๕. ข้อคิดคติเตือนใจที่ได้รับจากบทประพันธ์ และให้คุณค่าทางด้านสังคมคือ .....................โทษของความประมาท
ที่เกิดจากความลุ่มหลง.........................................................................................................................

๑๘
ตอนที่ ๓ พิจารณาโวหารภาพพจน์ จากคาประพันธ์ ที่กาหนดให้ แล้วเติมลงในช่ องว่าง
๏ ชักรถรี่ เรื่ อยเฉื่อยมา พุม่ บุษปมาลา …………………………………
อติพจน์
กงรถไม่จดธรณิ นทร์

๏ เสี ยงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลัน่ สนัน่ ใน …………………………………


อติพจน์
พิภพเพียงทาลาย

๏ สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย …………………………………


บุคคลวัต
ประนอมประนมชมชัย

๏ อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมริ นทร์ …………………………………


อุปมา
ทรงคชเอราวัณ

๏ สามสิ บสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา …………………………………


อุปมา
ดัง่ เพชรรัตน์รูจี

๏ มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร อุปมา


…………………………………
ดังเวไชยันต์อมริ นทร์

ตอนที่ ๔ จงเลือกข้ อที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้ อเดียว


๑. ผูแ้ ต่งบทพากย์เอราวัณคือใคร
๑. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ๒. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
๓. เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ๔. ไม่ปรากฏนามผูแ้ ต่ง
๒. บทพากย์เอราวัณนี้บรรยายเหตุการณ์จากรามเกียรติ์ตอนใด
๑. ศึกอินทรชิต ๒. ศึกกุมภกรรณ ๓. หนุมานเผาลงกา ๔. พระมงกุฎประลองศร
๓. “เอราวัณ” เป็ นชื่อของสิ่ งใด
๑. โค พาหนะของพระอิศวร ๒. นกยูง พาหนะของพระพรหม
๓. ครุ ฑ พาหนะของพระนารายณ์ ๔. ช้าง พาหนะของพระอินทร์
๔. คาประพันธ์ที่เรี ยกว่าบทพากย์ส่วนใหญ่ แต่งด้วยคาประพันธ์รูปแบบใด
๑. โคลง ๒. ฉันท์ ๓. กาพย์ ๔. กลอน
๕. บทพากย์เรื่ องรามเกียรติ์ในสมัยอยุธยาแต่งสาหรับมหรสพใด
๑. ละครนอก และละครใน ๒. หนังใหญ่ และโขน
๓. ลิเก และละครชาตรี ๔. หนังตะลุง และหุ่นกระบอก

๑๙
๖. คาพากย์ยาวและคาพากย์ส้ นั แตกต่างกันอย่างไร
๑. บทพากย์หนังใหญ่เรี ยก คาพากย์ยาว บทพากย์โขนเรี ยก คาพากย์ส้ นั
๒. บทพากย์โขนเรี ยก คาพากย์ยาว บทพากย์หนังใหญ่เรี ยก คาพากย์ส้ นั
๓. คาพากย์ยาวแต่งตั้งแต่ตน้ จนจบเรื่ องรามเกียรติ์
๔. คาพากย์ส้ นั แต่งดาเนินเรื่ องติดต่อกันเป็ นตอนยาว
๗. “อินทรชิต” มีความหมายว่าอย่างไร
๑. ผูใ้ กล้ชิดพระอินทร์ ๒. ผูส้ ังหารพระอินทร์ ๓. ผูช้ นะพระอินทร์ ๔. ผูร้ ับใช้พระอินทร์
๘. บทพากย์เอราวัณ แต่งด้วยคาประพันธ์ชนิดใด
๑. กาพย์สุรางคนางค์ ๒. กาพย์ขบั ไม้ ๓. กาพย์ยานี ๔. กาพย์ฉบัง
๙. ช้างเอราวัณ มีลกั ษณะอย่างไร
๑. กายสี ดา ๓๓ เศียร ๒. กายสี ขาว ๓๓ เศียร ๓. กายสี เขียว ๓ เศียร ๔. กายสี ทอง ๓ เศียร
๑๐. จุดเด่นของบทพากย์เอราวัณอยูท่ ี่ใด
๑. บทพรรณนาต่างๆที่ไพเราะงดงาม ๒. การดาเนินเรื่ องสนุกสนาน
๓. บทเจรจาที่คมคาย ๔. แง่คิดที่เป็ นคติธรรมลึกซึ้ง
๑๑. สั ตภัณฑ์ บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย
ประนอมประนมชมชัย
โวหารภาพพจน์ที่ปรากฏในคาประพันธ์ขา้ งต้นคือข้อใด
๑. อุปลักษณ์ ๒. บุคคลวัต ๓. อติพจน์ ๔. ปรพากย์
๑๒. คาศัพท์ในข้อใดไม่ ใช่ เครื่ องผูกช้าง
๑. ซองหาง ๒. กระวิน ๓. ชนัก ๔. ตระพอง
๑๓. ข้อใดมีคาที่มีความหมายเหมือนกันทุกคา
๑. ชลธาร ชลาลัย มหรรณพ ๒. นิลุบล มารศรี นงคราญ
๓. ปักษิน สกุณา มยุรี ๔. สิ งขร ภูผา อัมพร
๑๔. คาในข้อใดมีความหมายว่า “ดอกบัว”
๑. ผกา ๒. โกเมศ ๓. คีรี ๔. นครา
๑๕. ใครเป็ นผูเ้ ตือนพระลักษณ์ให้ระวังพระองค์เมื่อเห็นพระอินทร์แปลงกาย
๑. พระราม ๒. สุ ครี พ ๓. หนุมาน ๔. ช้างเอราวัณ
๑๖. คาที่พิมพ์ตวั หนาข้อใดไม่ได้หมายถึง “ช้ าง”
๑. หัสดินอินทรี คาบช้างก็วางไอยรา ๒. เร่ งพลโยธาพานรินทร์ เร่ งรัดหัสดิน
๓. ผ้าทิพย์ปกตระพอง ห้อยพูท่ ุกหูคชสาร ๔. เหมือนองค์อมริ นทร์ ทรงคชเอราวัณ

๒๐
๑๗. ข้อใดไม่มีคาที่มีความหมายว่า “พระอินทร์ ”
๑. เหมือนองค์อมริ นทร์ ๒. เสด็จทรงรถแก้วโกสี ย ์
๓. เหตุไฉนสหัสนัยน์เสด็จดล ๔. ให้องค์อนุชานารายณ์
๑๘. พระลักษณ์พา่ ยแพ้ต่ออินทรชิต เพราะเหตุใด
๑. อ่อนแอ ๒. หลงใหล ๓. โงเขลา ๔. เชื่องช้า
๑๙. ชักรถรี่เรื่อยเฉื่อยมา พุ่มบุษปมาลา
กงรถไม่ จดธรณินทร์
ข้อความที่ขีดเส้นใต้ หมายถึงข้อใด
๑. รถวิ่งเป็ นวงกลมทัว่ แผ่นดิน ๒. แผ่นดินขนาดใหญ่ไม่เท่าล้อรถ
๓. ล้อรถขนาดใหญ่เท่าแผ่นดิน ๔. ล้อรถไม่สัมผัสพื้นดิน
๒๐. เครื่องประดับแก้วเก้าโกมิน ซองหางกระวิน
สร้ อยสายชนักถักทอง
ข้อใดไม่ เกีย่ วข้ องกับคาที่ขีดเส้นใต้ในคาประพันธ์ขา้ งต้น
๑. เพชร ทับทิม มรกต ๒. บุษราคัม โกเมน นิล
๓. มุกดา เพทาย ไพฑูรย์ ๔. ไข่มุก ประพาฬ พลอย
๒๑. ศรเต็มไปทั่วราศรี ต้ ององค์อนิ ทรีย์
พระลักษณ์ กก็ ลิง้ กลางพล
“ศร” ในคาประพันธ์ขา้ งต้นคือข้อใด
๑. พรหมาสตร์ ๒. นาคบาศ ๓. พลายวาต ๔. จันทรานิตย์
๒๒. ศัพท์ในข้อใดหมายถึงกองทัพ ๔ เหล่า คือ เหล่าช้าง เหล่าม้า เหล่ารถ เหล่าพลเดินเท้า
๑. อารักขไพรสัณฑ์ ๒. สัตภัณฑ์บรรพต ๓. โยธาจัตุรงค์ ๔. โยธาพานริ นทร์
๒๓. การพรรณนาในข้อใดให้สัมผัสทางเสี ยง
๑. ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่ องฟุ้ งวนา นิวาสแถวแนวดง
๒. ผึ้งภู่หมู่คณาเหมหงส์ ร่ อนราถาลง แทรกไซ้ในสร้อยสุ มาลี
๓. ปักษาตื่นตาขานขัน หาคูเ่ คียงประสาน สาเนียงเสนาะในไพร
๔. เดือนดาวดับเศร้าแสงใส สร่ างแสงอโณทัย ก็ผา่ นพยับเรื องรอง
๒๔. ล้วนถืออาวุธเกรียงไกร โตมรศรชัย
พระขรรค์คทาถ้ วนตน
คาประพันธ์ขา้ งต้นมีคาแสดงชื่ออาวุธกี่ชนิด
๑. ๓ คา ๒. ๔ คา ๓. ๕ คา ๔. ๖ คา

๒๑
๒๕. อินทรชิตเป็ นบุตรของทศกัณฐ์กบั ผูใ้ ด
๑. นางมณโฑ ๒. นางเบญจกาย ๓. นางสี ดา ๔. นางอัปสร
๒๖. การพรรณนาข้อใดให้ภาพเคลื่อนไหว
๑. กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่งบาน มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา
๒. กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา แน่งน้อยลาเพานงพาล
๓. นางหนึ่งย่อมมีบริ วาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์ ล้วนรู ปนิรมิตมารยา
๔. จับระบาราร่ ายส่ ายหา ชาเลืองหางตา ทาทีดงั เทพอัปสร
๒๗. คาที่ขีดเส้นใต้ในข้อใดอ่านตามหลักการอ่านเดิม
๑. เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุ ริยศ์ รี อรุ ณเรื องเมฆา
๒. ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่ องฟุ้ งวนา นิวาสแถวแนวดง
๓. บ้างเปิ ดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลัย ซ้องสาธุการบูชา
๔. ทัพหน้าอารักขไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุ บรรณ กินนรนาคนาคา
๒๘. ข้อใดมีคาที่หมายถึง “ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง มีความชานาญด้านการดนตรี และขับร้อง”
๑. ทาทีดงั เทพอัปสร ๒. คนธรรพ์ปีกขวา
๓. ทัพหลังสุ บรรณ ๔. ไปเข้าด้วยราพณ์อาธรรม์
๒๙. มยุรฉัตรชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี
กบี่ระบายโบกลม
คาศัพท์ในข้อใดไม่ ใช่ เครื่ องสูง
๑. มยุรฉัตร ๒. ชุมสาย ๓. พัดโบก ๔. กบี่
๓๐. ลักษณะของช้างเอราวัณปรากฏอยูใ่ นวรรณคดีเรื่ องใด
๑. สุ ภาษิตพระร่ วง ๒. สมบัติอมริ นทร์คากลอน
๓. ไตรภูมิพระร่ วง ๔. มหาเวสสันดรชาดก

๒๒

You might also like