You are on page 1of 73

20XX XXXX

สัญญาณในการตอบคาถาม
ก. ข. ค. ง.
ข้อใดคือ มะม่วง
ข้อใดคือ น่องไก่ทอด
ในห้องนี้ ใครหล่อที่สดุ
1. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
ก. เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนชาวไทย
ข. เป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของคนไทย
ค. เป็นสถานที่พักผ่อนทางกาย และใจของคนไทย
ง. เป็นศูนย์กลางพบปะของผู้คนหลากหลายอาชีพ
2. เกิดเหตุการณ์ใด เมื่อพระพุทธเจ้าเห็นเทวทูต 4
ก. เกิดความกลัว
ข. เกิดความสังเวช
ค. เกิดความเบื่อหน่าย
ง. เกิดความคิดออกบวช
3. พระพุทธองค์ค้นคว้าทางตรัสรู้ด้วยวิธีการทรมานกายให้
ลาบากอย่างยิ่งโดยใช้วิธีการบาเพ็ญในข้อใด
ก. สมาธิ
ข. ฌานสมาบัติ
ค. ทุกรกิริยา
ง. วิปัสสนากรรมฐาน
4. พุทธกิจใดที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติในช่วงเวลาเช้า
ก. ประทานโอวาทแก่พระสงฆ์
ข. ตรวจดูสรรพสัตว์ที่มีโอกาสบรรลุธรรม
ค. ทรงตอบปัญหาธรรม แก่กษัตริย์และเทวดา
ง. เสด็จออกรับบิณฑบาตเพื่อโปรดสัตว์
5. พระพุทธเจ้าแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตร โปรด “ปัญจ
วัคคีย”์ เหตุการณ์นี้ สัมพันธ์กับสังเวชนียสถานในข้อใด
ก. ลุมพินีวัน ประเทศเนปาล
ข. พุทธคยา ประเทศอินเดีย
ค. ธัมเมกขสถูป ประเทศอินเดีย
ง. สาลวโนทยาน ประเทศอินเดีย
6. ความสารวมระวังกิริยา วาจา ให้อยู่ในระเบียบวินัย
ตรงกับความหมาย ไตรสิกขา ข้อใด
ก. ศีล
ข. สมาธิ
ค. ปัญญา
ง. ภาวนา
7. การบริหารจิต และปัญญาสม่าเสมอมีประโยชน์อย่างไร
ก. ทาให้จิตใจสับสนวุ่นวาย
ข. ทาให้เป็น คนปฏิเสธปัญหา
ค. จิตใจร่างกายทรุดโทรม
ง. มีสติรู้เท่าทันสิ่งต่างๆ และแก้ปัญหาได้
8. การสวดมนต์แผ่เมตตา เพื่อจุดประสงค์ใด
ก. เพื่อขออโหสิกรรมต่อบาปกรรม
ข. เพื่อให้เทพเทวาดูแลรักษา
ค. เพื่อส่งความปรารถนาดีต่อสรรพสัตว์ทั้งปวง
ง. เพื่อบูชา พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
9. ทางของความเสื่ อม ทางแห่ งความพินาศ เหตุย่อยยับทรั พย์
ตรงกับหลักธรรมข้ อใด
ก. อบายมุข 6
ข. พรหมวิหาร 4
ค. สังคหวัตถุ 4
ง. หิริโอตตัปปะ 2
10. ข้อใดมีความสัมพันธ์กันถูกต้องเกี่ยวกับวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา
ก. มาฆบูชา : อริ ยสัจ 4
ข. วิสาขบูชา : โอวาทปาฏิโมกข์
ค. อัฏฐมีบูชา : พรหมวิหาร 4
ง. อาสาฬหบูชา : ธัมมจักกัปปวัตนสู ตร
11. วันที่มีความสัมพันธ์กับการตักบาตรเทโวโรหณะ คือวันใด
ก. วันมาฆบูชา
ข. วันเข้าพรรษา
ค. วันออกพรรษา
ง. วันอาสาฬหบูชา
12. การทอดถวายผ้านุ่งห่มแด่พระสงฆ์ตามกาหนดเวลา
ตั้งแต่ แรม 1 ค่า เดือน 11 ถึงวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 วตรง
กับศาสนพิธีในข้อใด
ก. การถวายผ้าสังฆทาน
ข. การทอดถวายผ้าป่า
ค. การทอดถวายผ้าบังสุกุล
ง. การทอดถวายผ้ากฐิน
13. เมื่อเข้ าร่ วมศาสนพิธีทางศาสนาที่ตนนับถือ ควรปฏิบัติตน
อย่ างไร
ก. ทาตามแบบอย่างที่คนอื่นทา
ข. ทาตามความเข้าใจของตนเอง
ค. ทาเพราะความจาใจตามผู้ปกครอง
ง. สารวมกาย วาจาใจ ขณะอยู่ในพิธี
14. หลักธรรมใดของศาสนาต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน
ถูกต้อง
ก. พระพุทธศาสนา : โมกษะ
ข. ศาสนาอิสลาม : พระยโฮวา
ค. คริสต์ศาสนา : ความรัก
ง. ศาสนาฮินดู : นิพพาน
15. คาสอนของพระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต์ และศาสนา
อิสลามที่เหมือนกัน คือข้ อใด
ก. การรักผู้อื่นเหมือนรักตนเอง
ข. ต้องการหลุดพ้นจากการเกิด
ค. ศรัทธาในพระเจ้า
ง. ทาแต่ความดี งดเว้นความชั่ว
1. ข้ อใดเป็ นการละเมิดกฎหมาย
ก. ข้ามถนนบนทางม้าลาย
ข. คุยโทรศัพท์มือถือขณะขับรถ
ค. อายุ ครบ 15 ปี ไปทาบัตรประชาชน
ง. เมาไม่ขับ หลับดีกว่า
2. ผู้ที่จะทาบัตรประจาตัวประชาชน คือ บุคคลที่มีอายุเท่าใด
ก. 7 ปีบริบูรณ์
ข. 15 ปีบริบูรณ์
ค. 18 ปีบริบูรณ์
ง. 20 ปีบริบูรณ์
3. ตามกฎหมายสมรสจะสมบูรณ์เมื่อใด
ก. มีการจัดพิธีแต่งงาน
ข. ชายมอบของหมั้นให้ฝ่ายหญิง
ค. ชายหญิงจดทะเบียนสมรสกัน
ง. ชายมอบสินสอดให้กับฝ่ายหญิง
4. สถาบันพระมหากษัตริย์มีความสาคัญอย่างไรต่อประเทศไทย
ก. เป็นประมุขสูงสุด และเป็นสถาบันหลักของชาติ
ข. เป็นผู้ควบคุมการทางานของรัฐบาล
ค. เป็นผู้มีอานาจในการแต่งตั้งและย้ายข้าราชการ
ง. เป็นผู้กาหนดนโยบายในการบริหารประเทศ
5. อานาจสูงสุด ในการปกครองประเทศเรียกว่า
ก. อานาจนิติบัญญัติ
ข. อานาจบริหาร
ค. อานาจตุลาการ
ง. อานาจอธิปไตย
6. ข้อบัญญัติ และเทศบัญญัติเป็นกฎหมายของหน่วยงานใด
ก. รัฐสภา
ข . วุฒิสภา
ค. รัฐบาล
ง. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด เป็นเขตการปกครองพิเศษ
ก. กรุงเทพมหานคร
ข. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ค. องค์การบริหารส่วนตาบล
ง. เทศบาลนครนครราชสีมา
8. อานาจหน้าที่ใดที่สัมพันธ์กันของหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น
ก. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด : ฝ่ ายบริ หาร
ข. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด : ฝ่ ายนิติบญั ญัติ
ค. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร : ฝ่ ายบริ หาร
ง. นายกเมืองพัทยา : ฝ่ ายนิติบญ
ั ญัติ
9. เมื่อพบการละเมิดสิทธิเด็ก นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร
ก. รีบหลีกให้ห่างไกล
ข. รีบพาเพื่อนเข้าไปช่วยทันที
ค. ประกาศให้คนรู้โดยเร็ว
ง. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
10. นักเรียนควรมีบทบาทส่งเสริมประชาธิปไตยอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ก. เข้าร่วมชุมนุมขับไล่รัฐบาล
ข. ลงชื่อถอดถอนนักการเมืองทุจริต
ค. เข้าไปตรวจสอบการทางานของรัฐบาล
ง. รณรงค์เชิญชวนผู้ปกครองไปเลือกตั้ง
11. บุคคลประเภทใดเป็นผู้ทาลายระบอบประชาธิปไตย
ก. ลงคะแนนเสียงตามคนอื่น
ข. เลือกผู้แทนที่ตนประทับใจ
ค. เลือกพรรคการเมืองใหญ่
ง. ซื้อสิทธิ และขายเสียง
12. วัฒนธรรมไทยมีคุณค่าต่อสังคมไทยอย่างไร
ก. เป็นระเบียบแบบแผนการดาเนินชีวิตของสังคมไทย
ข. เป็นวัฒนธรรมที่มี เอกลักษณ์โดดเด่นกว่าชาติอื่น
ค. เป็นวัฒนธรรมที่ชาวต่างชาติให้การยกย่อง
ง. เป็นวัฒนธรรมที่ผสมผสานมาจากวัฒนธรรมอื่น
13. การช่วยเหลือกัน มีความรัก ความสามัคคี ตรงกับ
ความหมายของวัฒนธรรมในข้อใด
ก. คติธรรม
ข. วัตถุธรรม
ค. เนติธรรม
ง. สหธรรม
14. ข้อใด ไม่ใช่ วัฒนธรรมไทย
ก. เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตร
ข. เป็นวัฒนธรรมยึดพิธีกรรม
ค. เป็นวัฒนธรรมยึดการกุศล
ง. เป็นวัฒนธรรมที่ไม่มีเการเปลี่ยนแปลง
15. ข้อใดปฏิบัติได้ถูกต้องตามมารยาทไทยในการเดินผ่านผู้ใหญ่
ก. เดินผ่านให้เร็วที่สุด
ข. เดินผ่านตามปกติ
ค. ค้อมตัวเมื่อใกล้ถึงผู้ใหญ่
ง. ให้คลานกับพื้นขณะผู้ใหญ่ยืนอยู่
16. การรักษาและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมของท้ องถิ่นมีผลดีอย่ างไร
ก. ทาให้วัฒนธรรมของตนเองโดดเด่นกว่าภาคอื่น
ข. ทาให้ได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น
ค. ทาให้เป็นบุคคลตัวอย่างของท้องถิ่น
ง. ทาให้วัฒนธรรมท้องถิ่นมีการสืบต่อและดารงอยู่
ระบอบเผด็จการ ระบอบประชาธิปไตย

ระบอบปกครอง
ประชา + อธิปไตย

อัตตาธิปไตย คอมมิวนิสต์ ทางตรง ทางอ้อม


สมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ บริหารประเทศพรรคเดียว ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรง ประชาชนส่งตัวแทน
มุ่งล้มนายทุน

คณาธิปไตย
คณะทหาร

• รัฐ สำคัญกว่ำ ประชาชน • ประชาชน สำคัญกว่ำ รัฐ


• ประชำชนเชือ่ ฟั งรัฐ • ประชำชนมีสทิ ธิเสรีภำพ
• สร้ำงควำมก้ำวหน้ำและแก้วกิ ฤตได้เร็ว • แก้วกิ ฤตได้ช้า
• ผูน้ ำไม่ดี ประเทศพัฒนำช้ำ • มีกระบวนกำรตรวจสอบชัดเจน
โอกำสพลำดน้อย
ก า ร มี สิ ท ธิ แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช้ สิ ท ธิ 7 - 70 ปี ทาบัตรประชาชน

15 ปี ทาพินัยกรรม + ใบขับขี่รถจักรยานยนต์

17+ ปี ทาการหมัน้ สมรส (บรรลุนิติภาวะ) / ผูป้ กครองอนุญาต

18+ ปี เลือกตัง้ / ใบขับขี่รถยนต์

20+ ปี บรรลุนิติภาวะ

25+ ปี รับบุตรบุญธรรม แต่ต้องห่างกัน 15 ปี


อานาจอธิปไตย

หน้ าที่ หน้ าที่ หน้ าที่


ออกกฎหมาย นิติบญ
ั ญัติ บริ หารประเทศ บริหาร พิ จารณา กม. ตุลาการ
ตรวจสอบ รัฐบาล บังคับใช้ กม.

ผูใ้ ช้อานาจ
รัฐสภา ผูใ้ ช้อานาจ
คณะรัฐมนตรี ผูใ้ ช้อานาจ ศาล
ประกอบด้วย สส. + สว. ประกอบด้วย นายก + ครม. ประกอบด้วย รัฐ ยุติ ปก ทหาร

อานาจการบริหาร
ส่วนกลาง (รวม) กระทรวง ทบวง กรม

ส่วนภูมิภาค (แบ่ง) จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น


ส่วนท้องถิ่น (กระจาย) อบจ. อบต. เทศบาล (กรุงเทพฯ + พัทยา)
ความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐ และประชาชน
ความสัมพันธ์ รัฐ ประชาชน
ชำติ ศำสนำ พิทกั ษ์รกั ษำ (หน้ำที)่ พิทกั ษ์รกั ษำ (หน้ำที)่
พระมหำกษัตริย์
กฎหมำย บังคับใช้ (หน้ำที)่ ปฏิบตั ติ ำม (หน้ำที)่
กำรศึกษำ เรียนฟรี 12 ปี (ม.3) (หน้ำที)่ จบกำรศึกษำภำคบังคับ (ม.3) (หน้ำที)่
สำธำรณูปโภคพืน้ ฐำน จัดกำรให้ทวถึ
ั ่ ง (หน้ำที)่ ได้รบั บริกำร (สิทธิ) (ประปำ ไฟฟ้ ำ ถนน เป็ นต้น)
ศำสนำ อุปถัมภ์ (นโยบำย) อิสระในกำรนับถือศำสนำ (เสรีภำพ)
กระบวนกำรยุตธิ รรม จัดระบบบริหำร (นโยบำย) ควำมเป็ นส่วนตัว ทรัพย์สนิ รับทรำบข้อมูล (สิทธิ)
กำรชุมนุ ม เคหสถำน กำรเดินทำง (เสรีภำพ)
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนการดาเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึน้
ลักษณะทางวัฒนธรรม
1. เกิดขึน้ มำจำกกำรเรียนรูข้ องมนุ ษย์ เช่น กำรสร้ำงบ้ำน 2. เป็ นมรดกของสังคม ถ่ำยทอดจำกรุน่ สูร่ นุ่
3. เป็ นแบบแผนในกำรดำเนินชีวติ สอดคล้องกับธรรมชำติ 4. เป็ นสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ
5. เป็ นสิง่ ทีแ่ สดงถึงรูปแบบของควำมคิดร่วมกันของสมำชิกในสังคม 6. เป็ นส่วนรวม เป็ นสิง่ ทีส่ มำชิกในสังคมปฏิบตั ิ
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1. วัตถุธรรม (สิง่ ประดิษฐ์ทม่ี องเห็นและสัมผัสได้) 2. คติธรรม (หลักในกำรดำเนินชีวติ ซึง่ ได้มำจำกหลักศำสนำ)
3. เนติธรรม (กฎหมำย ข้อบังคับ จำรีตขนบธรรมเนียมฯ) 4. สหธรรม (มำรยำททำงสังคม)
ความสาคัญของวัฒนธรรม
1. เป็ นเครื่องมือสร้างระเบียบทางสังคม 2. ทาให้เกิดความเป็ นเอกภาพ เป็ นน้าหนึ่ งใจเดียวกัน
3. กาหนดรูปแบบของสถาบันทางสังคม 4. เป็ นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของมนุษย์
5. ช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้ า 6. เป็ นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ
วัฒนธรรมที่สาคัญในภูมิภาคต่างๆ
ภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
- ปอยส่ำงลอง บวชลูกแก้ว (บวชเณร) แม่ฮ่องสอน - ประเพณีผตี ำโขน (ผีตำมคน) เลย
- ตำนก๋วยสลำก (ถวำยสลำกภัตต์) - ประเพณีบุญบัง้ ไฟ และแห่นำงแมว ยโสธร
- กำรบูชำเสำอินทขิล (ใส่บำตรดอกไม้) เชียงใหม่ - งำนบุญคุนลำน บูชำพระแม่โพสพ
- เหมืองฝำย (ฝำยแม้ว) กักเก็บน้ำ - บัง้ ไฟพญำนำค หนองคำย (ปรำกฎกำรณ์ธรรมชำติ
- เกลือสินเธำว์ (เกลือใต้ดนิ )

ภาคกลาง
- เพลงอีแซว สุพรรณบุร ี
ภาคตะวันออก
- หุ่นกระบอก อยุธยำ
- วิง่ ควำย ชลบุร ี
- พิธโี ยนบัว สมุทรปรำกำร (หลวงพ่อโต ณ คลองสำโรง
- พิธที ำขวัญข้ำว ขอบคุณพระแม่โพสพ
- พิธอี ุม้ พระดำน้ำ เพชรบูรณ์ ภาคใต้
- นำเกลือ สมุทรสงครำมและสมุทรปรำกำร - ประเพณีชกั พระ (วันเทโวโรหณะ)
- ประเพณีชงิ เปรต นครศรีธรรมรำช พัทลุง สงขลำ
- เรือกอและ (เรือประมงภำคใต้)
- กำรรำโนรำห์ และรองแงง (ศิลปะพืน้ บ้ำน)
1. เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ที่ให้ ข้อมูลของพืน้ ที่ และ
รายละเอียดเกี่ยวกับตาแหน่ งระยะทิศทางขนาดและรูปร่าง
ตรงกับความหมายในข้อใด
ก. แผนผัง
ข. แผนที่
ค. ภาพถ่ายทางอากาศ
ง. ภาพจากดาวเทียม
2. ข้ อใดบอกอาณาเขตติดต่ อกับประเทศเพื่อนบ้ านของไทยไม่
สั มพันธ์ กัน
ก. ทิศเหนือ ติดกับประเทศพม่า และลาว
ข. ทิศตะวันออก ติดกับประเทศลาวและกัมพูชา
ค. ทิศตะวันตก ติดกับประเทศมาเลเซียและพม่า
ง. ทิศใต้ ติดกับประเทศมาเลเซีย
3. ลักษณะภูมิประเทศของไทยในข้อใดที่ไม่สัมพันธ์กัน
ก. ภาคเหนือ : พื้นส่ วนใหญ่เป็ นภูเขา สลับแอ่งหุบเขา
ข. ภาคกลาง: พื้นส่ วนใหญ่เป็ นที่ราบลุ่มแม่น้ า
ค. ภาคตะวันออก:พื้นที่ราบไม่ติดชายฝั่งทะเล
ง. ภาคใต้: มีเทือกเขาสู งเป็ นแกนกลางที่ราบชายฝั่งทะเล 2 ด้าน
4. ภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะแบบใด
ก. เป็นที่ราบลุ่มแม่น้า
ข. เป็นพื้นที่ภูเขาสูงอากาศแห้ง
ค. เป็นพื้นที่เนินสูงราบกว้าง
ง. เป็นพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล
5. เป็นแหล่งอู่ข้าว อู่น้า เป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้า เหมาะแก่
การเพาะปลูกทาการเกษตร เป็นลักษณะทางกายภาพของภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคตะวันออก
ค. ภาคกลาง
ง. ภาคใต้
6. ลมมรสุมชนิดใดที่ทาให้ฝนตกหรือช่วงฤดูฝนตั้งแต่เดือน
พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม
ก. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ข. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ค. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ
ง. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้
7. ปรากฏการณ์ ใดที่ทาให้ เกิดแผ่ นดินไหวหรื อเกิดคลื่นยักษ์ สึนามิ
ก. การเกิดพายุไต้ฝุ่น
ข. การเกิดพายุดีเปรสชัน
ค. การเกิดภูเขาไฟระเบิด
ง. การเกิดรอยเลื่อนใต้พ้นื ผิวโลก
8. พื้นที่บริเวณใดที่มีโอกาสเกิดดินถล่มเมื่อเกิดฝนตกหนัก
ก. บนพื้นที่ราบกว้าง
ข. บริเวณที่ลาดเชิงเขา
ค. พื้นที่ราบลุ่มแม่น้า
ง. พื้นที่บนยอดดอย
9. ความสัมพันธ์ทางกายภาพสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับ
กายภาพทางสังคม ข้อใด ไม่สัมพันธ์กัน
ก. ทาอาชีพทางเกษตรปลูกข้าวในพื้นที่ราบลุ่ม
ข. ปลูกพืชขั้นบันไดบนที่ดอยสูงอากาศเย็น
ค. ทาอาชีพบริการนักท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล
ง. ทาอาชีพประมงในพื้นที่บริเวณที่ราบสูง
10. การเพิ่มของจานวนประชากรมีผลกระทบต่อทรัพยากรอย่างไร
ก. ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น
ข. ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติลดลง
ค. ทรัพยากรธรรมชาติยังคงเดิม
ง. ทาให้มีคนใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยลง
11. การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติใดที่เกิดจากการกระทาของ
มนุษย์ทั้งหมด
ก. แผ่นดินไหว การถางป่า
ข. ภูเขาไฟปะทุ การขุดดิน
ค. ดินโคลนถล่ม ฝนตกหนัก
ง. การขุดเจาะน้าบาดาล การสร้างเขื่อน
12. การเปลี่ยนทรัพยากรธรรมชาติแบบใดที่เป็นไปอย่าง
สร้างสรรค์
ก. การตัดถนนผ่านป่าไม้
ข. การสร้างเขื่อนในพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์
ค. การปลูกป่าทดแทนฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม
ง. การพัฒนาอุทยานแห่งชาติเป็นรีสอร์ท
13. หลักการสาคัญของการวางแผนการใช้ทรัพยากรใน
ชุมชนอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ก. ให้ผู้มีอานาจในชุมชนเป็นผู้ตัดสินใจ
ข. ให้หน่วยงานของรัฐเป็นผู้วางแผนดูแล
ค. ให้คนนอกพื้นที่มาช่วยดูแลและวางแผน
ง. ให้คนในชุมชนทุกคนมีส่วนร่วมวางแผนและดูแล
14. ทรัพยากรประเภทใดควรระมัดระวังในการใช้
ก. ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
ข. ทรัพยากรที่สามารถสร้างขึ้นทดแทนได้
ค. ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่มีวันหมด
ง. ทรัพยากรที่มีใช้มากเกินความต้องการ
15. ปัญหาภาวะโลกร้ อนสามารถแก้ ไขโดยวิธีใด
ก. สร้างแหล่งน้าเพิ่มให้มาก
ข. หยุดทาการเพาะปลูก
ค. ออกกฎหมายห้ามใช้รถ
ง. ปลูกต้นไม้เพิ่มป่าไม้ให้มากขึ้น
• ปั จวัคคีย์ รับใช้ พระองค์บำเพ็ญทุกรกิรยิ ำ
• นำงสุชำดำถวำยข้ำวมธุปยำส (ข้ำวทวนน้ำ)
• เหตุให้ออกผนวช 3เห็น เทวทูต4 นำงสนม รำหูล • หลักธรรม อริยสัจ 4
ประสูติ ออกผนวช-ตรัสรู้ พุทธคยา
ลุมพินีวนั
พาราณสี เผยแผ่ธรรม ปรินิพพาน สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา
• แสดงปฐมเทศนำ – ปั จวัคคีย์
อัญญำโกณฑัญญะ เป็ นพระรูปแรก

• กิจของพระพุทธเจ้ำ
เช้า ออกบิณ เย็น แสดงธรรม คา่ ให้โอวำท
กลางคืน ตอบปั ญหำธรรม ใกล้ร่งุ ตรวจดูภพั พสัตว์
• ทำงแห่งควำมเสือ่ ม – อบายมุข6
ดื่มน้ ำเมำ, เทีย่ วกลำงคืน, ดูกำรเล่น,
เล่นพนัน, คบคนชัว,่ เกียจคร้ำน
• สิง่ ทีค่ วรศึกษำ – ไตรสิกขา
ศีล สมำธิ ปั ญญำ
• ข้อห้ำม – เบญจศีล • งำนสำเร็จ – อิทธิบาท4
(ศีล 5) ฉันทะ วิรยิ ะ จิตตะ วิมงั สำ
• ลักษณะสำมัญ – ไตรลักษณ์ • แก้ปัญหำ – อริยสัจ4
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค

การใช้ชีวิต ใช้ทางาน
สร้างความสัมพันธ์
• ทำให้คนรัก – พรหมวิหาร 4
เมตตำ กรุณำ มุทติ ำ อุเบกขำ
หลักธรรมนาชีวิต
ศาสนา ศาสดา พระเจ้า คัมภีร์ ศาสน สาวก เป้ าหมาย เอกลักษณ์
สถาน
พรำหมณ์-ฮินดู ไม่ม ี ตรีมรู ติ พระเวท เทวำลัย - โมกษะ กำรหลุดพ้น
คริสต์ พระเยซู พระยะโฮวำ ไบเบิล โบสถ์ ชำวคริตส์ อยูก่ บั พระเจ้ำ ควำมรัก
อิสลำม นบีมฮู มั มัด พระอัลเลำะฮ์ อัลกุรอำน มัสยิด มุสลิม อยูก่ บั พระเจ้ำ กำรเคำรพ
พระเจ้ำ
พุทธ พระพุทธเจ้ำ - พระไตรปิ ฎก วัด อุบำสก นิพพำน
อุบำสิกำ

พิธกี รรมศำสนำคริสต์
พิธศี ลี 7 (จุม่ กำลัง ล้ำงบำป มหำสนิท (ไวท์+ขนมปั ง) สมรส บวช เจิมคนไข้)

พิธกี รรมศำสนอิสลำม
หลักปฏิบตั ิ 5 ประกำร (ปฏิญำณตน ละหมำด ถือศีลอด บริจำคชะกำด พิธฮี จั ญ์)
มาแล้ว วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
มาไม่ถึง
โดนรถชน
มาช้า วิชยั
วินัย วิปโยค
วิภา
อาสาบวช
วิปริต
มาแล้ว วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
มาไม่ถึง

มาช้า วิชยั
วินัย วิปโยค
วิภา
อาสาบวช
วิปริต
มา3พร้อมกัน วิ6ตาย อาสาบวชบวช8

วันมาฆบูชา (3) (วันพระธรรม) วันวิสาขบูชา (6) (วันพระพุทธ) วันอาสาฬหบูชา (8) (วันพระสงฆ์)


• โอวำทปำฏิโมกข์ (ทำดี ละชัว่ ใจบริสุทธิ) • อริยสัจ 4 • ธรรมกัปวัตนสูตร (อริยสัจ4 มัชฌิมำปฏิปทำ)

วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันอัฏฐมีบชู า


• ถวำยผ้ำอำบน้ ำฝน • ทอดกฐิน
• ถวำยเทียนพรรษำ • ตักบำตรเทโว
ระบอบเผด็จการ ระบอบประชาธิปไตย

ระบอบปกครอง
ประชา + อธิปไตย

อัตตาธิปไตย คอมมิวนิสต์ ทางตรง ทางอ้อม


สมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ บริหารประเทศพรรคเดียว ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรง ประชาชนส่งตัวแทน
มุ่งล้มนายทุน

คณาธิปไตย
คณะทหาร

• สร้ำงควำมก้ำวหน้ำและแก้วกิ ฤตได้เร็ว
ก า ร มี สิ ท ธิ แ ล ะ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช้ สิ ท ธิ 7 - 70 ปี ทาบัตรประชาชน

15 ปี ทาพินัยกรรม + ใบขับขี่รถจักรยานยนต์

17+ ปี ทาการหมัน้ สมรส (บรรลุนิติภาวะ) / ผูป้ กครองอนุญาต

18+ ปี เลือกตัง้ / ใบขับขี่รถยนต์

20+ ปี บรรลุนิติภาวะ

25+ ปี รับบุตรบุญธรรม แต่ต้องห่างกัน 15 ปี


อานาจอธิปไตย

หน้ าที่ หน้ าที่ หน้ าที่


ออกกฎหมาย นิติบญ
ั ญัติ บริ หารประเทศ บริหาร พิ จารณา กม. ตุลาการ
ตรวจสอบ รัฐบาล บังคับใช้ กม.

ผูใ้ ช้อานาจ
รัฐสภา ผูใ้ ช้อานาจ
คณะรัฐมนตรี ผูใ้ ช้อานาจ ศาล
ประกอบด้วย สส. + สว. ประกอบด้วย นายก + ครม. ประกอบด้วย รัฐ ยุติ ปก ทหาร

อานาจการบริหาร
ส่วนกลาง (รวม) กระทรวง ทบวง กรม

ส่วนภูมิภาค (แบ่ง) จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น


ส่วนท้องถิ่น (กระจาย) อบจ. อบต. เทศบาล (กรุงเทพฯ + พัทยา)
ความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐ และประชาชน
ความสัมพันธ์ รัฐ ประชาชน
ชำติ ศำสนำ พิทกั ษ์รกั ษำ (หน้ำที)่ พิทกั ษ์รกั ษำ (หน้ำที)่
พระมหำกษัตริย์
กฎหมำย บังคับใช้ (หน้ำที)่ ปฏิบตั ติ ำม (หน้ำที)่
กำรศึกษำ เรียนฟรี 12 ปี (ม.3) (หน้ำที)่ จบกำรศึกษำภำคบังคับ (ม.3) (หน้ำที)่
สำธำรณูปโภคพืน้ ฐำน จัดกำรให้ทวถึ
ั ่ ง (หน้ำที)่ ได้รบั บริกำร (สิทธิ)
ศำสนำ อุปถัมภ์ (นโยบำย) อิสระในกำรนับถือศำสนำ (เสรีภำพ)
กระบวนกำรยุตธิ รรม จัดระบบบริหำร (นโยบำย) ควำมเป็ นส่วนตัว ทรัพย์สนิ รับทรำบข้อมูล (สิทธิ)
กำรชุมนุ ม เคหสถำน กำรเดินทำง (เสรีภำพ)
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนการดาเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึน้
ลักษณะทางวัฒนธรรม
1. เกิดขึน้ มำจำกกำรเรียนรูข้ องมนุ ษย์ เช่น กำรสร้ำงบ้ำน 2. เป็ นมรดกของสังคม ถ่ำยทอดจำกรุน่ สูร่ นุ่
3. เป็ นแบบแผนในกำรดำเนินชีวติ สอดคล้องกับธรรมชำติ 4. เป็ นสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ
5. เป็ นสิง่ ทีแ่ สดงถึงรูปแบบของควำมคิดร่วมกันของสมำชิกในสังคม 6. เป็ นส่วนรวม เป็ นสิง่ ทีส่ มำชิกในสังคมปฏิบตั ิ
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1. วัตถุธรรม (สิง่ ประดิษฐ์ทม่ี องเห็นและสัมผัสได้) 2. คติธรรม (หลักในกำรดำเนินชีวติ ซึง่ ได้มำจำกหลักศำสนำ)
3. เนติธรรม (กฎหมำย ข้อบังคับ จำรีตขนบธรรมเนียมฯ) 4. สหธรรม (มำรยำททำงสังคม)
ความสาคัญของวัฒนธรรม
1. เป็ นเครื่องมือสร้างระเบียบทางสังคม 2. ทาให้เกิดความเป็ นเอกภาพ เป็ นน้าหนึ่ งใจเดียวกัน
3. กาหนดรูปแบบของสถาบันทางสังคม 4. เป็ นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของมนุษย์
5. ช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้ า 6. เป็ นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ
วัฒนธรรมที่สาคัญในภูมิภาคต่างๆ
ภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
- ปอยส่ำงลอง บวชลูกแก้ว (บวชเณร) แม่ฮ่องสอน - ประเพณีผตี ำโขน (ผีตำมคน) เลย
- ตำนก๋วยสลำก (ถวำยสลำกภัตต์) - ประเพณีบุญบัง้ ไฟ และแห่นำงแมว ยโสธร
- กำรบูชำเสำอินทขิล (ใส่บำตรดอกไม้) เชียงใหม่ - งำนบุญคุนลำน บูชำพระแม่โพสพ
- เหมืองฝำย (ฝำยแม้ว) กักเก็บน้ำ - บัง้ ไฟพญำนำค หนองคำย (ปรำกฎกำรณ์ธรรมชำติ
- เกลือสินเธำว์ (เกลือใต้ดนิ )

ภาคกลาง
- เพลงอีแซว สุพรรณบุร ี
ภาคตะวันออก
- หุ่นกระบอก อยุธยำ
- วิง่ ควำย ชลบุร ี
- พิธโี ยนบัว สมุทรปรำกำร (หลวงพ่อโต ณ คลองสำโรง
- พิธที ำขวัญข้ำว ขอบคุณพระแม่โพสพ
- พิธอี ุม้ พระดำน้ำ เพชรบูรณ์ ภาคใต้
- นำเกลือ สมุทรสงครำมและสมุทรปรำกำร - ประเพณีชกั พระ (วันเทโวโรหณะ)
- ประเพณีชงิ เปรต นครศรีธรรมรำช พัทลุง สงขลำ
- เรือกอและ (เรือประมงภำคใต้)
- กำรรำโนรำห์ และรองแงง (ศิลปะพืน้ บ้ำน)
Organization Title Here

Thanks For
Watching

20XX XXXX

You might also like