You are on page 1of 17

การแขการแข

งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 1. รังสีเอ็กซจากกาแล็กซีกัมมันต [70 คะแนน]
นักดาราศาสตรสามารถตรวจจับรังสีเอ็กซไดจากใจกลางกาแล็กซีกัมมันต (Active Galactic Nuclei,
AGN) ซึ่งถูกปลดปลอยออกมาเนื่องจากอันตรกิริยาระหวางหลุมดํามวลยิ่งยวด (supermassive black hole)
และกาซรอนที่กอตัวเปนจานพอกพูนมวล (accretion disc) การสังเกตการณในยานคลื่นรังสีเอ็กซจึงชวยเปดเผย
ปรากฏการณซึ่งกําลังเกิดขึ้น ณ ใจกลางกาแล็กซีกัมมันต
รูปที่ 1 (ซาย) แสดงภาพถายยานคลื่นรังสีเอ็กซของกาแล็กซีกัมมันตแหงหนึ่งซึ่งอยูหางจากโลก 220
Mpc บันทึกภาพดวยกลอง CCD ที่ติดตั้งบนกลองโทรทรรศนอวกาศ X-ray Multi-Mirror Mission (XMM-
Newton) ที่ใชเวลาเปดหนากลองรวม (Integration time, t) เทากับ 74,000 วินาที และแตละพิกเซล (pixel)
ครอบคลุมทองฟาจริง 4 arcseconds x 4 arcseconds โทนสีออนไปเขมบงบอกถึงจํานวนโฟตอนที่ตรวจจับได
จากมากไปนอย ตามลําดับ ซึ่งจํานวนโฟตอนที่ตรวจจับไดของแตละพิกเซลแสดงเปนตาราง ไวในรูปที่ 1 (ขวา)
กําหนดใหขอมูลดังกลาวมีสัญญาณรบกวนของอุปกรณ (instrument noise) นอยมาก และจํานวนโฟตอนที่
ตรวจจับได (photon counting) มีการกระจายตัวแบบ Poisson distribution ดังนั้นคาความคลาดเคลื่อนจาก
การตรวจจับโฟตอน 𝑛𝑛 ตัวมีคา √𝑛𝑛

รูปที่ 1: ภาพถายขนาด 21 พิกเซล x 21 พิกเซล ในยานคลื่นรังสีเอ็กซของกาแล็กซีกัมมันต (ซาย) และ


ตารางแสดงจํานวนโฟตอนที่ตกกระทบพิกเซลตางๆ (ขวา) โดยตัวเลขคอลัมนขวาสุดแสดงผลรวมของจํานวน โฟ
ตอนของพิกเซลในแถวนั้นๆ

4
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
a) จงหาวาพิกเซลที่มีจํานวนโฟตอนตกกระทบมากที่สุด (pmax) มีจํานวนโฟตอนเทาใด และใหสรางกราฟแทง
2 กราฟ (กราฟ A และกราฟ B) ระหวางจํานวนโฟตอนและพิกเซลที่โฟตอนนั้นๆตกกระทบ โดยใชขอมูล
ตามแนวนอนในแถวที่มี pmax (กราฟ A) และใชขอมูลแนวตั้งในหลักที่มี pmax (กราฟ B) [12 คะแนน]

b) ในความเปนจริงกาแล็กซีกัมมันตอยูไกลจากเรามากจนถือไดวามีลักษณะปรากฏเปนจุด (point source)


แตผลของการกระเจิงและเลี้ยวเบนทําใหโฟตอนจาก point source ที่ปรากฏในภาพถาย มีการกระจาย
ออกไปเปนวงกลมรัศมี r ซึ่ง pixel ที่อยูภายในวงกลมรัศมี r นี้เรียกวา source region อยางไรก็ตาม
ภายใน source region จะไมไดมีเพียงโฟตอนจากกาแล็กซีกัมมันต แตยังมีโฟตอนจาก background
รวมอยูดวย จงใชขอมูลจากกราฟ A และ B ประมาณคารัศมี r ในหนวย arcseconds โดย สมมติใหทั้ง
กราฟ A และ B มีโฟตอน 80% อยูภ ายใน source region [12 คะแนน]

c) แรเงาพิกเซลที่อยูภายในวงกลมรัศมี r (source region) ลงในรูปที่ 1 (ขวา) และระบุจํานวนโฟตอน และ


จํานวนพิกเซลภายใน source region [10 คะแนน]

d) คํานวณ count rate per pixel (cn) ที่ไดจาก source region ในหนวย โฟตอน/พิกเซล/วินาที พรอมคา
คลาดเคลื่อน (cn,err) จาก photon counting [6 คะแนน]

e) คํานวณหา background count rate per pixel (cb) ในหนวยโฟตอน/พิกเซล/วินาที พรอมคาคลาดเคลื่อน


(cb,err) จาก photon counting [8 คะแนน]

f) คํานวณคา source count rate per pixel (cs = cn - cb) ในหนวยโฟตอน/พิกเซล/วินาที พรอมคาความ
คลาดเคลื่อน โดยคาความคลาดเคลื่อน 𝑐𝑐𝑠𝑠,𝑒𝑒𝑒𝑒𝑒𝑒 = �𝑐𝑐𝑛𝑛,𝑒𝑒𝑒𝑒𝑒𝑒
2 2
+ 𝑐𝑐𝑏𝑏,𝑒𝑒𝑒𝑒𝑒𝑒 [6 คะแนน]

g) ในการตรวจจับโฟตอน สัญญาณภายใน source region มีคาเทากับ 𝑆𝑆 = 𝐶𝐶𝑠𝑠 𝐴𝐴𝐴𝐴 เมื่อ 𝐴𝐴 คือจํานวนพิกเซล


ภายใน source region และสัญญาณรบกวนภายใน source region มีคาเทากับ 𝑁𝑁 = �𝐶𝐶𝑛𝑛 𝐴𝐴𝐴𝐴 คุณภาพของ
ขอมูลสามารถระบุไดดวยคาอัตราสวนสัญญาณตอสัญญาณรบกวน (signal to noise ratio, 𝑆𝑆/𝑁𝑁 , snr) โดยใน
เชิงสถิติถา snr เกิน 5 ขึ้นไปถือวาการแยก source จาก background มีความนาเชื่อถือ ใหคํานวณคา snr
เพื่อดูวาการตรวจวัดครั้งนี้เปนการตรวจวัด AGN ที่นาเชื่อถือหรือไม [4 คะแนน]

h) ถานักเรียนตองการใหการสังเกตการณครั้งนี้ได snr เพิ่มขึ้น 2 เทา จะตองใชเวลาเปดหนากลองรวม


(integration time) ในการทําการสังเกตการณ AGN นี้กี่วินาที [2 คะแนน]

i) คํานวณคา luminosity ของกาแล็กซีกัมมันตนี้ ในหนวย J/s โดยใหโฟตอนที่ถูกปลดปลอยออกมาจาก


กาแล็กซีกัมมันตมีพลังงานเฉลี่ย 1 keV และกําหนดให effective collecting area ของ XMM-Newton มีคา
0.4 ตารางเมตร [10 คะแนน]
5
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยขอ 1. รังสีเอ็กซจากกาแล็กซีกัมมันต [70 คะแนน]
a) พิกเซลที่มีจํานวนโฟตอนตกกระทบมากสุด มี 16 โฟตอน [2]
กราฟขอมูลแนวนอนผานพิกเซลที่มีจํานวนโฟตอนมากสุด (กราฟ A) [5]

กราฟขอมูลแนวตั้งผานพิกเซลที่มีจํานวนโฟตอนมากสุด (กราฟ B) [5]

ทั้งกราฟ A และ กราฟ B ถาพล็อตจํานวนโฟตอนในพิกเซลผิด หักพิกเซลละ 1 คะแนน

b) กราฟ A: จํานวนโฟตอน = 74 โฟตอน [2]


คิดจํานวนโฟตอน 80% จะได 0.8 x 74 = 59.2 (59 หรือ 60 โฟตอนโดยประมาณ) [2]
ได r อยูในชวง [4-4.5] pixels ซึ่งครอบคลุมชวง [16-18] arcseconds [2]
กราฟ ฺB: จํานวนโฟตอน = 62 โฟตอน [2]
คิดจํานวนโฟตอน 80% จะได 0.8 x 62 = 49.6 (49 หรือ 50 โฟตอนโดยประมาณ) [2]
ได r อยูในชวง [4-4.5] pixels ซึ่งครอบคลุมชวง [16-18] arcseconds [2]

6
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
c) แรเงาพิกเซลที่อยูภายในวงกลมจุดศูนยกลางอยูที่พิกเซลซึ่งมีโฟตอน 16 ตัวตกกระทบ รัศมีวงกลมครอบคลุม
[4 - 4.5] พิกเซล จะนับรวมพิกเซลที่เสนวงกลมผานบางสวนหรือไมนับก็ได [2]
แรเงาพิกเซลนอกเหนือจากนี้จะไมไดคะแนน

ไดจํานวนโฟตอนใน source region อยูระหวาง [170 – 225] โฟตอน [4]


ครอบคลุม [37 - 77] pixels [4]
คําตอบนอกชวงนี้ไมไดคะแนน
(upper limit คิดจากวงกลมวงนอก นับรวมพิกเซลที่เสนวงกลมผานบางสวน
lower limit คิดจากวงใน ไมนับพิกเซลที่เสนวงกลมผานบางสวน)

d) **** ถาคําตอบในขอ c) ผิดแตวิธีทําตั้งแตขอนี้เปนตนไปถูก จะไมหักคะแนน ****


ยึดจํานวนโฟตอนและจํานวนพิกเซลใน source region ที่นักเรียนไดจากขอ c) เปนหลัก
เชน ถาได 200 โฟตอน ใน 50 พิกเซล ใน 74,000 วินาที เมื่อคํานวณ count rate per pixel จะได
cn = (200/50)/74,000 = 5.4 x 10-5 photons/pixel/s [2]
error ของ total count คือ 2001/2 = 14.1 photons [2]
และได cnerr = (14.1/50)/74,000 = 3.8 x 10-6 photons/pixel/s [2]

7
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
e) โฟตอนที่ตรวจจับไดทั้งหมด 626 ตัว [1]
จํานวนพิกเซลทั้งหมด 441 พิกเซล [1]
คํานวณ background photon ได 626 - 200 = 426 โฟตอน ใน 441 – 50 = 391 พิกเซล [2]
ได cb = (426/391)/74,000 = 1.47 x 10-5 photons/pixel/s [2]
และได cberr = (4261/2/391)/74,000 = 7.13 x 10-7 photons/pixel/s [2]
(หรือสามารถหา background photon จาก region อื่นๆ (นอก source region) ซึ่งมีการระบุจํานวนโฟ
ตอน และจํานวนพิกเซลที่ชัดเจน ซึ่งครอบคลุมเกินจํานวนพิกเซลของ source ที่นักเรียนได ก็ไดคะแนน)

f) cs = cn – cb = (5.4 x 10-5) – (1.47 x 10-5) = 3.93 x 10-5 photons/pixel/s [2]


2
𝑐𝑐𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠 = �𝑐𝑐𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛𝑛 2
+ 𝑐𝑐𝑏𝑏𝑏𝑏𝑏𝑏𝑏𝑏 (แสดงใหเห็นวา errors ของ cn และ cb รวมกันแบบ quadrature) [2]
= 0.39 x 10-5 photons/pixel/s [2]
(ถึงแมคําตอบถูก แตถาไมแสดงวิธีทําในการหา error ใหเห็น ไมใหคะแนนในสวนการหา error)

g) ได snr = 3.93 / 0.39 = 10.1 [2]


𝑐𝑐𝑠𝑠 𝐴𝐴𝑡𝑡 3.93×10−5 ×50 ×74000
(หรือคํานวณจาก 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠 =
�𝑐𝑐𝑛𝑛 𝐴𝐴𝐴𝐴
=
�5.4×10−5 ×50×74000
= 10.2 )

สรุปวาเปนการตรวจวัดที่นาเชื่อถือ [2]
h) จาก 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠 = �𝑐𝑐𝑐𝑐𝑠𝑠𝑛𝑛𝐴𝐴𝑡𝑡𝐴𝐴𝐴𝐴 ∝ √𝑡𝑡 [1]
ดังนั้นถาตองการ snr เพิ่ม 2 เทา ตองเพิ่ม t ขึ้น 4 เทา
นั่นคือ t = 4 x 74,000 = 296,000 วินาที [1]
i) จากขอ f) signal cs อยูในชวง 3.93 x 10-5 photons/pixel/s
วิธีคํานวณ เชน
cs = 3.93 x 10-5 photons/pixel/s
แสดงวา 74,000 s ใน source region 50 พิกเซล มี AGN photons = 145.4 ตัว (on average) [2]
Power received มีคา
P = (145.4 photons) x (1,000 eV) x (1.6 x 10-19 J/eV) / (74,000 s) = 3.14 x 10-19 J/s [4]
AGN luminosity มีคา
L = (PA)/0.4 = (3.14 x 10-19 x 4 x pi x (220 x 3.09 x 1022)2 ) / 0.4 = 4.56 x 1032 J/s [4]
- ไมไดใชจํานวน AGN photons ที่หามาไดในการหาคา P และ L จะไมไดคะแนน
- ใชจํานวน AGN photons ที่หามาได และวิธีทําถูก (เชนสมการถูก) แตคํานวณคา P และ L ผิด ไดคะแนน
ครึ่งหนึ่งของการหาคา P และ L
ขอ 2. Supernova 1987A (SN 1987A) [80 คะแนน]
8
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

มหานวดาราหรือซูเปอรโนวา 1987A เกิดขึ้นตรงบริเวณที่เคยเปนดาวยักษน้ําเงิน Sk -69 202 (RA:5h


35m 28.03s, DEC: −69° 16′ 11.1″) ในกาแล็ กซี Large Magellanic Cloud (LMC) เมื่อวัน ที่ 24 กุมภาพั น ธ
ค.ศ.1987 ซึ่งเรายังสามารถสังเกตเห็นวงแหวนเรืองแสงของแกสจากการระเบิดอยูรอบ ๆ บริเวณที่เกิดการยุบตัว
ของแกนดาวฤกษ อยางไรก็ดีขนาดเชิงมุมของวงแหวนดังกลาวเล็กเกินกวาที่กลองโทรทรรศนเชิงแสงบนพื้นโลก
จะแยกแยะรายละเอียด (resolved) ได จึงมีการใชกลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิลทําการศึกษา SN 1987A มา
เปนเวลานาน ซึง่ เราสามารถใชขอมูลภาพและการเปลี่ยนแปลงความสวางของเสนเปลงแสง (emission line) ใน
การหาขนาดของวงแหวนและระยะทางไปยัง SN 1987A รวมถึงกาแล็กซี LMC ได

รูปที่ 1 ภาพวงแหวนรอบ SN 1987A remnant (ซากซูเปอรโนวา) ที่ผานการ process แลว ถายโดยอุปกรณ


Wide Field and Planetary Camera 2 (WFPC2) ติดตั้งบนกลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิล ดวยฟลเตอรแบบ
แคบ (Narrow-band filter) ที่ความยาวคลื่นของไนโตรเจนไอออน [N II ] 6,583 Angstrom (F658N) (ถายเมื่อ
วันที่ 24 กันยายน ค.ศ.1994) แกน x และแกน y แสดงตําแหนง RA และ DEC ตามลําดับ โดยใหถือวาทองฟา
เปนแผนราบและระยะเชิงมุมสามารถวัดไดแบบเชิงเสน

9
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

a) หากกําหนดใหวาวงแหวนแกสที่เกิดจาก shock รอบ SN 1987A มีรูปรางเปนวงกลม จงแสดงการใชรูปที่


1 ในกระดาษคําตอบ เพื่อคํานวณหามุมระหวางระนาบของวงแหวน SN 1987A และระนาบทองฟา พรอม
ทั้งคํานวณคาความคลาดเคลื่อน [12 คะแนน]

หลังจากที่เกิดการระเบิดเปนเวลา to รังสีในยาน อัลตราไวโอเลต (UV) และ X-ray เดินทางไปถึงวงแหวน


ของไอออนไนซแกส และทําใหวงแหวนเริ่มเปลงแสงที่เราสังเกตได ซึ่งเราพบวาความสวางของแสงที่เปลงจากวง
แหวนมีความสวางขึ้นเรื่อย ๆ ตามเวลาและมีคาสูงสุดที่เวลา tmax

b) ตารางดานลางเปนขอมูลการเปลี่ยนแปลงความสวางของเสนเปลงแสงของไนโตรเจนไอออน NIII] จงใช


ขอมูลที่ใหมาในตารางวาดกราฟ ลากเสนความสัมพันธจากกราฟขอมูล เพื่อหาคา to และ tmax พรอมทั้ง
ประมาณคาความคลาดเคลื่อนของทั้งสองปริมาณ (หนวยพลังงาน erg = 10−7J ) [20 คะแนน]

เวลาหลังจากการ ฟลักซ (𝑭𝑭) measurement uncertainty


ระเบิด (วัน) (10-15erg/(s cm2)) (∆𝑭𝑭 , 10-15erg/(s cm2))
14.12 1.2 2
44.15 1.1 2
81.23 10 2
93.59 74 4
153.6 207 7
277.2 327 9
360.2 421 10
377.9 449 10
404.4 448 11
441.5 400 10
496.2 325 9
616.3 220 7

รังสี UV และ X-ray จากการระเบิดของ SN 1987A เดินทางไปถึงทุกจุดบนวงแหวนพรอมกัน แตแสงที่ถูก


เปลงออกมาจากสวนของวงแหวนที่อยูหางจากผูสังเกตมากกวาจะใชเวลาในการเดินทางมาถึงผูสังเกตนานกวา

10
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(เนื่องจากระนาบของวงแหวนทํามุมกับระนาบการสังเกตการณ) ทําใหเกิด time delay ขึ้น โดยแสงจากวงแหวน
จะมีความสวางมากที่สุดเมื่อแสงจากทุกสวนของวงแหวนเดินทางมาถึงผูสังเกตการณ

c) จงคํานวณหาระยะทางระหวางจุดที่อยูใกลและไกลที่สุดของวงแหวนจากผูสังเกตการณ รวมถึงรัศมีของวง
แหวนในหนวยพารเซก (parsec) โดยใชขอมูลและกราฟจากขอ b) พรอมทั้งคํานวณคาความคลาดเคลื่อน
ของทั้งสองปริมาณ [12 คะแนน]

d) จากการสังเกตการณดวยกลองโทรทรรศนอวกาศฮับเบิลตอเนื่องเปนเวลาเกือบ 10 ปหลังการระเบิด เรา


พบวาขนาดของวงแหวนขยายใหญขึ้นดวยความเร็วที่ประมาณไดวามีคาคงที่ จากตารางขอมูลที่ใหมาจงวาด
กราฟ ประมาณคาอัตราการขยายตัวของวงแหวน และหารัศมีเชิงมุมของวงแหวน ณ เวลา tmax พรอมทั้งคา
ความคลาดเคลื่อนของทั้งสองปริมาณ [19 คะแนน]

เวลาห ลั ง จากก ารระเบิ ด ขนาดรัศ มีเชิ งมุ ม (𝜽𝜽, measurement


(วัน) milli-arcsec: mas) uncertainty(𝚫𝚫𝜽𝜽, mas)
1273 824.8 2.5
1753 847.94 2.4
2180 848.71 2.6
2518 867.22 2.3
3250 874.16 2.1

e) จงคํานวณหาระยะทางไปยัง SN 1987A พรอมทั้งคํานวณคาความคลาดเคลื่อน [5 คะแนน]

f) จงแสดงการใชขอมูลกราฟสเปกตรัมในรูปที่ 2 ในกระดาษคําตอบเพื่อหาคาเรดชิฟท (z) ของกาแล็กซี


LMC โดยใชเสนดูดกลืนแสงที่เหมาะสม ซึ่งไมมีการทับซอนกับเสนสเปกตรัมอื่นที่จะทําใหการคํานวณเรดชิฟท
มีความคลาดเคลื่อนสูง พรอมทั้งคํานวณคาความคลาดเคลื่อน
ถาหากเราใชสมมุติฐานวาดอปเพลอรชิฟทดังกลาวเกิดจากการขยายตัวของจักรวาล (Hubble flow) จง
คํานวณหาคาคงที่ของฮับเบิล (H0) จากระยะหางที่คํานวณไดในขอ e) พรอมทั้งคํานวณคาความคลาดเคลื่อน
[10 คะแนน]

g) จงพิ จารณาวาค า H0 ที่ คํานวณได ตรงกั บ หรือแตกต างจากคา H0 ที่วัดจากการทดลอง Planck CMB
(2018) ซึ่งเทากับ 67.66±0.42 km s-1Mpc-1 อยางมีนัยสําคัญหรือไม ถาตางอยางมีนัยสําคัญนักเรียนคิดวาเปน
เพราะเหตุใด
ก.) คาเรดชิฟททางจักรวาลวิทยาของกาแล็กซี LMC สูงเกินกวาที่จะใชวิธีการคํานวณแบบ non-relativistic

11
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
และคาที่คํานวณไดไมใชคาคงที่ของฮับเบิลแตเปนอัตราการขยายตัวของจักรวาลที่เรดชิฟทใด ๆ H(z) =
H(z≠ 0) ≠ H0 โดยที่ H0 คืออัตราการขยายตัวของจักรวาล ณ ปจจุบัน
ข.) กาแล็กซี LMC และกาแล็กซีทางชางเผือกอยูในบริเวณที่เรียกวา Local Group และมีการเคลื่อนที่ที่เปน
ผลมาจากแรงโนมถวงภายใน Local Group ความเร็วที่วัดไดจากสเปกตรัมจึงไมไดมาจากการขยายตัว
ของจักรวาลเพียงอยางเดียวเทานั้น
ค.) แก ส โมเลกุ ล ไฮโดรเจน (H2) มั กจะอยูในบริเวณจานและแขน (spiral arms) ของกาแล็กซี LMC และ
กาแล็กซีทางชางเผือก จึงมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูงทําใหเราวัดคาดอปเพลอรชิฟทจากเสนสเปกตรัมได
ตางจากคาที่ควรจะเปนมาก
ง.) แกสโมเลกุลไฮโดรเจน (H2) ในกาแล็กซี LMC และกาแล็กซีทางชางเผือกมีอุณหภูมิสูง จึงมีความเร็วการ
กระจายตัว (velocity dispersion) ที่สูง ทําใหเสนสเปกตรัมดูดกลืนแสงที่ไดมีความแมนยําไมเพียงพอ
สําหรับการวัดคาเรดชิฟททางจักรวาลวิทยา
จ.) ถูกทุกขอ
[2 คะแนน]

12
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รูปที่ 2 สเปกตรัมความละเอียดระดับกลางในยาน
อัลตราไวโอเลต แสดงเสนดูดกลืนแสง (absorption
lines) โดยแกสโมเลกุลไฮโดรเจน (H2) ในกาแล็กซี
LMC และกาแล็กซีทางชางเผือก (MW) ของแสงที่เดิน
ทางผานมาจากดาว Sk -67 166 ซึ่งอยูในกาแล็กซี
LMC (ขอมูลจากกลองโทรทรรศนอวกาศ Far
Ultraviolet Spectroscopic Explorer; FUSE)
Wavelength (Å)

13
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Solution ขอ 2) Supernova 1987A (SN 1987A) [80 คะแนน]
a) วัดขนาด major และ minor axis จากรูปที่ 1 เพื่อหามุม i ระหวางระนาบ
โดยวัดจากจํานวน pixel หรือ วัดขนาดเชิงมุมจาก scale ของภาพ หรือความยาวโดยใชไมบรรทัด
Major axis 2a อยูระหวาง 6.7 – 7.2 cm (หรือหนวยอื่น ๆ ที่เหมาะสม) [2 คะแนน]
Minor axis 2b อยูร ะหวาง 4.7 – 5.2 cm (หรือหนวยอื่น ๆ ที่เหมาะสม) [2 คะแนน]
หักคะแนนอยางละครึ่งคะแนนถานักเรียนวัดจากตรงกลางไปยังดานใดดานเดียว

r
rb
i

𝑟𝑟𝑏𝑏 = 𝑟𝑟 cos 𝑖𝑖 , 𝜃𝜃𝑏𝑏 = 𝑟𝑟𝑏𝑏 /𝐷𝐷 [2 คะแนน]

𝑟𝑟𝑎𝑎 = 𝑟𝑟 , 𝜃𝜃𝑎𝑎 = 𝑟𝑟𝑎𝑎 /𝐷𝐷

เมื่อ D คือระยะทางไปยัง SN1987A


r คือรัศมีของวงแหวน และ D >> r
𝜃𝜃 𝑏𝑏
∴ cos 𝑖𝑖 = 𝜃𝜃𝑏𝑏 = 𝑎𝑎
𝑎𝑎
[1 คะแนน]
𝑑𝑑𝜃𝜃𝑏𝑏 𝜃𝜃
−sin 𝑖𝑖 𝑑𝑑𝑑𝑑 = 𝜃𝜃𝑎𝑎
− 𝜃𝜃𝑏𝑏2 𝑑𝑑𝜃𝜃𝑎𝑎 [1 คะแนน]
𝑎𝑎

𝜃𝜃𝑏𝑏 2 2
∆𝑖𝑖 = 𝜃𝜃 ��∆𝜃𝜃𝑏𝑏 � + �∆𝜃𝜃𝑎𝑎 � [1 คะแนน]
𝑎𝑎 sin 𝑖𝑖 𝜃𝜃 𝜃𝜃
𝑏𝑏 𝑎𝑎

Best-estimate 2𝑎𝑎 = 7 ± 0.5 cm, 2𝑏𝑏 = 5 ± 0.5 cm


estimate uncertainty สําหรับคา 2a และ 2b ที่เหมาะสม [1 คะแนน]
𝜃𝜃 𝑏𝑏
𝑖𝑖 = cos −1 �𝜃𝜃𝑏𝑏� = cos −1 �𝑎𝑎� = 44°
𝑎𝑎
[1 คะแนน]

แทนคา ∆𝑖𝑖 = ±0.126 rad = ±7° (.2) [1 คะแนน]

14
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
b) พล็อตกราฟ ระหวาง เวลา (วัน) vs ฟลักซ
- วาดแกน x และ y ถูกตองมีสเกลที่เหมาะสม และ Label แกน ไดถูกตองพรอมหนวย [2
คะแนน]
- วาดกราฟที่ใชกระดาษไดเหมาะสม ใชพื้นที่กราฟ 50% [1 คะแนน]
- พล็อตจุดกราฟ 12 จุด x 0.5 คะแนนตอจุด [6 คะแนน]
- พล็อต error bar ของแตละจุดไดถูกตอง 12 จุด x 0.5 คะแนนตอจุด [6 คะแนน]
- ลากเสนเชื่อมผานจุดขอมูลภายใน error bar และ interpolate ระหวางจุดไดเหมาะสม
[1 คะแนน]
- ประมาณคา 𝑡𝑡0 = 70 ± 10 วัน [2 คะแนน]
คําตอบอยูระหวาง 60-80 วัน ได 1 คะแนน
Error ของ t0 อยูระหวาง 5-10 วัน ได 1 คะแนน
- ประมาณคา 𝑡𝑡𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 = 390 ± 10 วัน [2 คะแนน]
คําตอบอยูระหวาง 380-400 วัน ได 1 คะแนน
Error ของ tmax อยูระหวาง 10 - 15 วัน ได 1 คะแนน

15
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
c) หาระยะทาง
𝑙𝑙 = 𝑡𝑡𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 − 𝑡𝑡0 = 320 light − day [2 คะแนน]

∆𝑙𝑙 = �∆𝑡𝑡02 + ∆𝑡𝑡𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚


2 = ±14 light − day [2 คะแนน]

In parsec 𝑙𝑙 = 0.27 ± 0.01 pc [2 คะแนน]

2𝑟𝑟 = 𝑙𝑙�sin 𝑖𝑖 [2 คะแนน]

𝑑𝑑𝑑𝑑 𝑙𝑙
2𝑑𝑑𝑑𝑑 = sin 𝑖𝑖 − sin2 cos 𝑖𝑖 𝑑𝑑𝑑𝑑
𝑖𝑖
[1 คะแนน]

𝑑𝑑𝑑𝑑 𝑑𝑑𝑑𝑑 𝑑𝑑𝑑𝑑


𝑟𝑟
= 𝑙𝑙
− tan 𝑖𝑖

∆𝑙𝑙 2 ∆𝑖𝑖 2
∆𝑟𝑟 = 𝑟𝑟�� 𝑙𝑙 � + �tan 𝑖𝑖� [1 คะแนน]

𝑟𝑟 = 0.27� = 0.19 pc [1 คะแนน]


2sin 44°

0.01 2 0.126 rad 2


∆𝑟𝑟 = 0.19��0.27� + � tan 44°
� = ±0.03 pc [1 คะแนน]

16
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

d) พล็อตกราฟ ระหวาง เวลา (วัน) vs รัศมีเชิงมุม (mas)


- วาดแกน x และ y ถูกตองมีสเกลที่เหมาะสม และ Label แกน ไดถูกตองพรอมหนวย [2
คะแนน]
- วาดกราฟที่ใชกระดาษไดเหมาะสม ใชพื้นที่กราฟ 50% [1 คะแนน]
- พล็อตจุดกราฟ 5 จุด x 1 คะแนนตอจุด [5 คะแนน]
- พล็อต error bar ของแตละจุดไดถูกตอง 5 จุด x 0.5 คะแนนตอจุด [2.5 คะแนน]
- ลากเสนตรงผานกลุมของจุดไดเหมาะสม
1) Best-estimate เสนที่ “2” ในรูปดานลาง [0.5 คะแนน]
2) Check upper & lower limit สําหรับหา slope ลากเสนที่ “1” และ “3”
[1 คะแนน]
y= mx + c, slope m = อัตราการขยายตัว
intercept c = 𝜃𝜃0

- คํานวณคา slope best-estimate 0.022 mas/day (0.017 – 0.027 ไดคะแนนเต็ม) [1 คะแนน]


- ประมาณคา slope uncertainty +/-0.005 mas/day (0.002 – 0.008 ไดคะแนนเต็ม) [1 คะแนน]
- อัตราการขยายตัวของวงแหวน 0.022 +/-0.005 mas/day [1 คะแนน]
คํานวณรัศมีเชิงมุมที่เวลา tmax จาก 𝜃𝜃(𝑡𝑡) = (806 ± 12) + (0.022 ± 0.005)𝑡𝑡
หรือสมการที่อยูในชวงที่เหมาะสมกับกราฟที่วาด [1 คะแนน]
𝜃𝜃(𝑡𝑡𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 ) = 806 + 0.022 ∗ 390 day = 815 mas หรือ อยูในชวง 805-825 mas [1 คะแนน]

∆𝑚𝑚 2 ∆𝑡𝑡 2
∆θ = �∆𝜃𝜃02 + (𝑚𝑚𝑡𝑡max )2 �� 𝑚𝑚 � + � 𝑡𝑡 𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 � �
𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚
[1 คะแนน]

0.005 2 10 2
∆θ = �122 + (0.022 ∗ 390)2 ��0.022� + �390� � = ±12 mas [1 คะแนน]

17
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

𝑟𝑟
e) 𝐷𝐷 = 𝜃𝜃
𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚
= 48 kpc [2 คะแนน]

∆𝑟𝑟 2 ∆𝜃𝜃 2
∆𝐷𝐷 = 𝐷𝐷�� 𝑟𝑟 � + � 𝜃𝜃 𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 �
𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚
[2 คะแนน]

0.03 2 12 2
∆𝐷𝐷 = 48��0.19� + �815� = ±8 kpc [1 คะแนน]

18
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

f) ใช absorption line 4 คู ที่ไมมีเสนอื่นตกในชวงความยาวคลื่นเดียวกันทําใหหาคาไดไมแมนยํา คือ


ใชเสน R0, R1, P1, R2 (หัก 1 คะแนนถานักเรียนใช P2 หรือ R3 หรือทั้งคู)

- หาคาความยาวคลื่นจาก 4 คู (ที่ไมใช P2 หรือ R3) ไดถูกตอง [2 คะแนน]


- คํานวณคาเรดชิฟทจาก 4 คู (ที่ไมใช P2 หรือ R3) ไดถูกตอง [4 คะแนน]
- คํานวณ average redshift และ standard deviation
∑41 𝑧𝑧𝑖𝑖
〈𝑧𝑧〉 = = 0.000695 [1 คะแนน]
4

∑41(𝑧𝑧𝑖𝑖 −〈𝑧𝑧〉)2
∆𝑧𝑧 = 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠(𝑧𝑧) = � = 7 × 10−6 [1 คะแนน]
4−1

𝑐𝑐𝑐𝑐 km
𝐻𝐻0 = 𝐷𝐷
= 4330 s∙Mpc [1 คะแนน]
∆𝑧𝑧 2 ∆𝐷𝐷 2 km
∆𝐻𝐻0 = 𝐻𝐻0 �� 𝑧𝑧 � + � 𝐷𝐷 � = ±720 s∙Mpc
[1 คะแนน]

g) คา H0 ที่ได ตางจากคาปกติแบบมีนัยยะ [1 คะแนน] และเหตุผลที่ถูกตองคือ ขอ ข) [1 คะแนน]

Line lambda (Ang) z


R0 1049.58
R1 1050.17
R0' 1050.3 0.000686
R1' 1050.9 0.000695
P1 1051.24
R2 1051.7
P1' 1051.97 0.000694
R2' 1052.44 0.000704
average 0.000695
STDEV 7.2E-06
19
การแขการแข
งขันดาราศาสตร โอลิโอลิ
งขันดาราศาสตร มปมกประดั
กระดับบชาติ
ชาติ ครั
ครั้ง้งทีที่่ 16
16(ระดั
(ระดั
บมับธมัยมปลาย)
ธยมปลาย)
โรงเรียนสามเสนวิทยาลัสามเสนวิ ย จังหวัทยา ดกรุจังงหวั
เทพมหานคร
ด กทม.
ขอขสอบภาควิ
อสอบภาควิเเคราะห
คราะหขขออมูมูลล3030เมษายน
เมษายน 25622562
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

20

You might also like