You are on page 1of 43

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

การควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
และการตอบสนองของพืช
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
• ฮอร์โมนพืช (Plant horemone)
สิ่งเร้า
เป็นสารเคมีที่ทาหน้าทีค่ วบคุม เข้าหาสิ่งเร้า ออกจากสิ่งเร้า
การเจริญเติบโต การพัฒนาของส่วน
ต่างๆ และการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
• ตัวอย่างสิ่งเร้า เช่น แสง
แรงโน้มถ่วง
• การตอบสนองโดยการโค้งหรือโน้ม
เอียงของพืช ไม่ว่าจะมีทิศทางที่ เข้า
หา หรือ ออกจาก สิ่งเร้า เรียกว่า
Tropism
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
• ในปี พ.ศ. 2423 สองพ่อลูก Charles Darwin และ Francis Darwin ได้ทาการทดลองการ
ตอบสนองของต้นหญ้าต่อแสง
Phototropism

• จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า หญ้าต้นที่มีส่วน coleoptile ได้รับแสงเท่านั้นที่จะมี


การตอบสนองโดยการโน้มปลายยอดเข้าหาแสง
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
• ต่อมามีการศึกษาเกี่ยวกับกลไกที่ทาให้พืชเกิดการโน้มเข้าหาแสง
• พบว่า สาเหตุที่ปลายยอดโคลีออพไทล์สามารถโน้มเอียงเข้าหาแสงได้ เนื่องจากบริเวณปลายยอดจะมียอด
แรกเกิด หรือ plumule อยู่
• สารที่สร้างจาก plumule จะไปกระตุ้นให้เซลล์เกิดการขยายตัวตามยาว (Cell elongation)
• ในสภาวะปกติสารชนิดนี้จะเคลื่อนที่ไปทั่วบริเวณยอด ทาให้ส่วน coleoptile ยืดเป็นแนวตรง
• แต่เมื่อมีแสง แสงจะทาให้สารเคลือ่ นที่จากด้านที่มีความเข้มแสงมากไปยังด้านที่มีความเข้มแสงน้อย
ทาให้เซลล์ด้านที่มีความเข้มแสงน้อยเกิดการยืดยาวได้มากกว่า ปลายยอดจึงโน้มเข้าหาแสง

ทิศทางการเคลือ
่ นทีข
่ องสาร
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
• การทดลองของฟริตส์
เวนต์ (Frits went)
• เวนต์พบว่าปลาย
coleoptile สามารถ
สร้างสารบางชนิดที่ทา
ให้ coleoptile โค้งงอ
ได้
• เวนต์ เรียกสารนี้ว่า
ออกซิน (Auxin)
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
• ต่อมานักวิทยาศาสตร์สามารถทาการศึกษาและค้นพบสารชนิดต่างๆ ที่เป็นฮอร์โมนพืช
ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็น 5 กลุ่ม ดังนี้

ออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทีลีน กรดแอบไซซิก


(Auxin) (Cytokinin) (Gibberellin) (Ethylene) (Abscisic acid)

• ฮอร์โมนเหล่านี้จะถูกสร้างขึ้นมาในปริมาณที่น้อยๆ แต่มีผลสาคัญในการกระตุ้นให้พืช
เกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือการเจริญเติบโต เช่น
• Cell division
• Cell elongation
• Cell differentiation
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

1. Auxinsมการเจริญเติบโตของพืช กลุ่มที่ 1:
สารควบคุ Auxins

• ฮอร์โมนออกซินมีหลายชนิด ที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ คือ กรดอินโดลแอซิติก (Indoleacetic acid


หรือ IAA) ซึ่งสร้างจากบริเวณปลายยอด (Apical meristem) แล้วลาเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของพืช เพื่อ
กระตุ้นให้ส่วนนั้นๆเจริญเติบโตสูงขึ้นและมีขนาดใหญ่ขึ้น
• แหล่งที่สร้าง
• Shoot apical meristem และ
มี auxin มาก = โตมาก
Root apical meristem (สร้างน้อยกว่ายอด) (เซลล์ด้านล่างเจริญดีกว่า)
• ใบอ่อน
• ผลและเมล็ดที่กาลังพัฒนาหลังการปฏิสนธิ
• ลาเลียงจากบนลงล่าง และเคลื่อนที่หนีแสง เซลล์ลาต้น
เซลล์ราก

• เนื้อเยื่อพืชต่างกัน จะตอบสนองต่อออกซินต่างกัน
= เซลล์ที่มี auxin มาก
• ปริมาณออกซินที่สูงจะกระตุ้นให้เซลล์ที่ยอดยืด มี auxin มาก = โตน้อย
(เซลล์ด้านบนเจริญดีกว่า)
ยาวออก แต่จะยับยั้งการยืดตัวของเซลล์ที่ราก
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

บทบาทของ Auxins
1. กระตุ้น cell elongation
2.กระตุ้น cambium ให้สร้าง xylem Cell elongation
3.การตอบสนองต่อแสง (Phototropism)
• ยอด : โค้งเข้าหาแสง (กระตุ้นการยืดยาวของเซลล์)
• ราก : โค้งหนีแสง (ยับยั้งการยืดยาวของเซลล์)
4. ทาให้เกิด apical dominance หรือ ตายอดข่มตาข้าง
5. เร่งการงอกรากของกิ่งที่ตอนหรือปักชา
6. ควบคุมการออกดอก ของ สัปปะรด มะม่วง ลิ้นจี่
7. ช่วยในการเปลี่ยนเพศดอกบางชนิด เช่น เงาะ
8. เร่งการเจริญของผล เช่น สตรอเบอรี่
9. กระตุ้นการเกิด Parthenocarpic fruit เช่น กล้วย ส้ม
มะเขือเทศ
10. ยับยั้งการหลุดร่วงของใบ ดอก ผล
11. ใช้ออกซินที่ความเข้มข้นสูงๆ เช่น 2,4-D ในการกาจัดวัชพืช
12. ฝนเหลือง ในสงครามเวียดนาม
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

บทบาทของ Auxins กระตุ้นการตอบสนองต่อแสงและแรงโน้มถ่วงของโลก

ยอดเข้าหาแสง รากหนีแสง
(เหตุผลเพราะตอบสนองต่อออกซินต่าง
กัน)
ช่วยให้พืชสามารถโค้งยอดเข้าหา
แสงได้ ทาให้พืชได้รับแสงอย่าง
เต็มที่

ยอดชูขึ้นด้านบน รากลงด้านล่าง
(เหตุผลเพราะตอบสนองต่อออกซินต่างกัน)

ช่วยให้พืชสามารถโค้งยอดเข้าหาแสงได้ ทาให้
พืชได้รับแสงอย่างเต็มที่ และรากสามารถ
เจริญลงด้านล่างที่มีแหล่งน้าอยู่ได้
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

1. Auxins ผลของออกซินที่มีต่อการเจริญของตา แหล่งผลิตของ auxin คือ ยอด เมื่อ auxin


เคลื่อนที่มาด้านล่าง จะไปยับยั้งไม่ให้ตา
ผลการทดลอง
ข้าง (axillary bud) เจริญ จึงไม่เกิดกิ่งใหม่
2 อาทิตย์ เรียก ตายอดข่มตาข้าง (Apical
dominance)
ต้นที่ 1 ต้นไม้เจริญตามปกติ เป็นการป้องกันไม่ใช่ตาข้างโตมากเกินไป
เพื่อลดการแข่งขันการรับแสงระหว่างตา
ยอดกับตาข้าง
ตัดยอดออก
เกิดการแตกกิ่งใหม่ที่ ดังนั้นถ้าอยากให้ต้นไม้ที่ปลูกเป็นไม้พุ่มไม่สูง
ต้นที่ 2 บริเวณตาข้าง
มีกิ่งเยอะ สามารถทาได้โดยตัดยอดเพื่อไม่ให้
เกิด apical dominance นั่นเองงงง
ตัดยอดแล้วเอาวุ้นที่ ตาข้างไม่เจริญ ตายอด กิ่งใหม่ที่เกิดจาก
จุ่มออกซินวางไว้
ต้นที่ 3 ตาข้าง ตาข้าง

ตัดยอดแล้วเอาวุ้นเปล่า
(ไม่จุ่มออกซิน) วางไว้
ตาข้างเจริญเช่นเดียวกับ
ต้นที่ 4
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 1. Auxins
Auxins
ผลของออกซินที่มีต่อการเจริญของราก ผลของออกซินที่มีต่อการเจริญของผล

ขณะที่กาลังพัฒนาเป็นผล ทา
การแกะเมล็ด (ผลที่แท้จริง)
หลังปฏิสนธิแล้ว ออก ทาให้ฐานรองดอกไม่
เจริญไม่ขยายขนาด แต่ลูกที่
ฐานรองดอกมีการ พ่นออกซินพบว่าฐานรองดอกมี
จุ่มออกซิน ไม่จุ่มออกซิน ขยายขนาดขึ้นเป็น การเจริญและขยายขนาดขึ้น
ต้นหรือกิ่งที่จุ่มออกซินก่อนนามาแช่ ผลสตรอว์เบอรี่ปกติ เกือบจะเท่าสตรอว์เบอรี่ทไี่ ม่
น้ามีรากเกิด ในขณะที่ต้นไม่ได้จุ่มไม่ ถูกแกะเมล็ด
เกิดราก แสดงว่า auxin สร้างจากเมล็ด (ผล) และมีผล
กระตุ้นการเจริญของฐานรองดอก
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช Auxins
1. Auxins

ความเข้มข้นของระดับออกซินท่มีี ต่อการเจริญของส่วนต่างๆ ของพืช


ลาต้น
Auxin มีผลต่อการเจริญของ
ตา เนื้อเยื่อส่วนต่างๆ ต่างกัน เช่น
ความเข้มข้นที่เหมาะสมที่ทา
ราก ให้ลาต้นเจริญเติบโตดีที่สุด
แต่ยับยั้งการเจริญของราก
เป็นต้น
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 1. Auxins
Auxins

Agent Orange (ฝนเหลือง) ในสงครามเวียดนาม 1961-1971

ในสมัยสงครามเวียดนาม ฝ่ายอเมริกาใช้ 2,4-D โปรยหรือพ่นลงบนพื้นที่เกษตรกรรมของเวียดนาม


เพื่อทาลายพืชผล และโปรยในพื้นที่ป่าเพื่อให้สามารถเห็นศัตรูที่หลบซ่อนในป่าได้
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 2. Cytokinins
Auxins
• Cytokinins ถูกตั้งชื่อตามคุณสมบัติของมันเอง คือกระตุ้นการแบ่งเซลล์ (Cytokinesis) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ
cell division
• แหล่งที่สร้าง : เนื้อเยื่อเจริญปลายราก
• หน้าที่ : กระตุ้น cell division และ cell differentiation
• ตัวอย่างฮอร์โมนไซโทไคนินในธรรมชาติ : ซิเอทิน (Zeatin) พบใน endosperm ของข้าวโพด มะพร้าว กระตุ้น
ให้เกิดการแบ่งเซลล์ สร้างตาใหม่ หน่อใหม่
• ไซโทไคนินสังเคราะห์ เช่น 6-benzylamino acid purine (BA), Tetrahydropyranyl benzyladenine
(PBA)
• การประยุกต์ใช้ในการเกษตร
• ผสมน้ามะพร้าวในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
• เป็น anti-aging ยืดอายุของใบและผลใช้ยืดอายุของไม้ดอกบางชนิด
• ใช้กระตุ้นการเกิดกิ่งแขนง (ตรงข้ามกับออกซิน)
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 2.Auxins
Cytokinins
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 2. Cytokinins
Auxins
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 2. Cytokinins
Auxins

• อัตราส่วนของ auxin และ Cytokinin ในการเพาะเลีย


้ งเนื้อเยือ

การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 3. Gibberellins (GA)

• หน้าที่ : กระตุ้นให้เซลล์ที่ลาต้นเกิดการแบ่งตัวและยืดยาวออก ทาให้ลาต้นยาวขึ้น


• แหล่งที่สร้าง : เมล็ดขณะกาลังพัฒนาปลายยอด ปลายราก อับเรณู ใบอ่อนและผล
• การประยุกต์ใช้ในการเกษตร
• ใช้ในการกระตุ้นการงอกของเมล็ด
• ใช้ในการยืดช่อผลและปรับปรุงคุณภาพขององุ่น
• คนที่ปลูกไม้ดอกไม้ประดับจะใช้สารระงับจิบเบอเรลลิน เพราะต้องการให้ต้นไม้โตช้า
ขนาดเล็กสวยงาม
• กระตุ้นการงอกของเมล็ด โดยเร่งการสร้าง amylase เพื่อย่อยอาหารจาก
endosperm
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 3. Gibberellins

• การนาจิบเบอเรลลินมาใช้ในการเกษตร
ทาให้ลาต้นยืดยาวขึ้น ขืดขยายพวงองุ่น ทาให้ได้ผลที่ใหญ่ขึ้น
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 3. Gibberellins

เมื่อน้าเข้าไปภายในเมล็ด embryo จะสร้าง Gibberellins (GA) ไป


กระตุน้ เซลล์ที่อยู่ในชั้นอาลูโรน (aleurone) ให้หลั่ง amylase ออกมา
ย่อยแป้งใน endosperm เป็นน้าตาลเลี้ยง embryo ต่อไป
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 4. Ethylene

• เป็นฮอร์โมนพืชที่มีคุณสมบัติเป็นแก๊ส เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึมของพืช
• หน้าที่ :
• กระตุ้นการสุกของผลไม้
• กระตุ้นการร่วงของใบ
• กระตุ้นการเกิดรากฝอยและรากแขนง
• เอทีลีนสังเคราะห์ เช่น สารเอทิฟอน (ethephon)
• การประยุกต์ใช้ในการเกษตร
• ใช้ในการกระตุ้นการไหลของน้ายางพารา
• ใช้ในการเพิ่มปริมาณน้ายางมะละกอเพื่อผลิตปาเปน (Papain) เพื่อนาไปใช้ในการ
ประกอบอาหาร เช่น ช่วยทาให้ไวน์ใสขึ้น ช่วยในการหมักเนื้อให้นุ่ม เป็นต้น
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 4. Ethylene

• กระตุ้นการสุกของผลไม้

Triple response >>>


ยับยั้งการยืดของลาต้น
ลาต้นหนาขึ้น
เจริญในแนวราบ
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 5. Abscisic acid (ABA)

• แหล่งที่สร้าง : เมล็ด ใบ ราก


• หน้าที่ :
• ยับยั้งการเจริญและการยืดตัวของเซลล์
• กระตุ้น seed dormancy เพื่อให้มั่นใจว่าเมล็ดจะงอกเมื่ออยู่ในสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสมเท่านั้น
• ช่วยให้พืชสามารถทนแล้งได้
• กระตุ้นให้พืชเข้าสู่การเสื่อมตามอายุ (Senescence)
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 5. Abscisic acid

• พืชสร้าง ABA ไปปกระตุ้นเซลล์ที่แก่ให้สร้าง ethylene


• ethylene กระตุ้นให้เซลล์โคนใบด้านที่ติดกับลาตัน (Protective layer) ให้สร้างสาร
เคลือบรอยที่จะเกิดแผลจากการร่วงของใบทาให้แยกกับเซลล์ด้านก้านใบ (Abscission
layer)
• เซลล์ด้านก้านใบ (Abscission layer) สร้างสารที่มีความอ่อนนุ่มทาให้เซลล์ไม่แข็งแรง
ใบจึงร่วงหล่นไป
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 5. Abscisic acid


การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สรุป
การควบคุมการเจริญเติบโต กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

สรุป
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
• พืชไม่มีระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อเหมือนในสัตว์ ทาให้พืชไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
• การตอบสนองของพืชจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ เนื้อเยื่อ โครงสร้างต่างๆ
ทาให้แสดงรูปแบบการตอบสนองในลักษณะการเคลื่อนไหว (Movement)
สิ่งเร้า สิ่งเร้า
(Stimulus) (Stimulus)

การส่งสัญญาณ
(Transduction)

การรับสัญญาณ การตอบสนอง
(Reception) (Response)
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Movement ของพืช

ทิศทางสั มพันธกั
์ บสิ่ งเรา้ ทิศทางไมสั
่ มพันธกั
์ บสิ่ งเรา้

Tropic movement Nastic movement


(Tropism)
เกี่ยวกับแรงดันเต่ง ไม่เกี่ยวกับแรงดันเต่ง
Postitive
เขาหาสิ่ งเรา้
Negative
ออกจากสิ่ งเรา้
Photonasty, Thermonasty

ตัวอย่าง Phototropism, Geotropism (Gravitropism), Thigmotropism, Hydrotropism,
Chemotropism
ถ้าจะบอกทิศทางการตอบสนองของพืช ก็เอา positive หรือ negative
มานาหน้าชื่อ tropic movement นั้นๆ เช่น
ยอดพืชเจริญเข้าหาแสง = positive phototropism
รากเจริญหนีแสง = negative phototropism
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Tropic movement (Tropism)
• เป็น Tropism ที่ตอบสนองต่อแสง
Phototropism
• ส่วนต่างๆ ของพืชจะมีการตอบสนองต่อแสงต่างกัน
• ส่วนปลายยอดของพืชจะเบนเข้าหาแสง
(Postitive phototropism)
• ส่วนปลายรากจะเบนหนีแสง
(Negative phototropism)
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Tropic movement (Tropism)

Geotropism • เป็น Tropism ที่ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก


หรือ Gravitropism
• ส่วนต่างๆ ของพืชจะมีการตอบสนองต่อแสงต่างกัน
• ส่วนปลายยอดจะยืดทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วง
(Negative gravitropism)
• ส่วนปลายรากจะยืดทิศเดียวกับแรงโน้มถ่วง
(Positive gravitropism)

แรงโน้มถวง

การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Tropic movement (Tropism)
Geotropism
หรือ Gravitropism
พืชสามารถรับรู้ทิศทางของแรงโน้ม
ถ่วงได้จากตาแหน่งของ statolith
(เม็ดแป้งที่สะสมอยู่ในปลายราก)

ด้านที่มี statolith สะสมมากจะมี


auxin มาก ทาให้เซลล์ด้านบนยืด
ยาวมากกว่า รากจึงโค้งลงด้านล่าง
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Tropic movement (Tropism)
Thigmotropism
• เป็น Tropism ที่ตอบสนองต่อการสัมผัส
• เช่น การเลื้อยพันหลักของไม้เลื้อย การเลื้อยเกาะ
กาแพง (Postitive thigmotropism) เช่น ตาลึง
แตงกวา กระทกรก
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Tropic movement (Tropism)

Hydrotropism • เป็น Tropism ที่ตอบสนองต่อน้า


และความชื้น
• เช่น รากพืชจะเจริญเข้าหาน้า
(Postitive hydrotropism)
Chemotropism • เป็น Tropism ที่ตอบสนองต่อสารเคมี
• เช่น รากพืชจะเจริญเข้าหาสารอาหารในดิน
(Postitive chemotropism) แต่จะหนีดินที่มี
ความเป็นกรด (Negative chemotropism)
• การงอกของหลอดละอองเรณูเข้าหารังไข่
(Postitive chemotropism)
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองอาจจะเกิดจากการเจริญของเซลล์หรือไม่ก็ได้
Nastic movement (เช่น เกิดการเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่งของเซลล์) แต่ทิศทาง
การหุบบานของดอกไม้ การตอบสนองต้องไม่สัมพันธ์กับสิ่งเร้า
เกิดจากเซลล์ทั้งสองด้านของดอกมีอัตราการเจริญเติบโตที่ไม่เท่ากัน

ไม่มีแสง>>> <<<มีแสง
กลุ่มเซลล์ด้านนอกมีการ กลุ่มเซลล์ด้านในมีการ
ขยายขนาดออกมากกว่า ขยายขนาดออกมากกว่า
กลุ่มเซลล์ด้านใน กลุ่มเซลล์ด้านนอก
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Nastic movement
การหุบใบของไมยราบ
เป็นการตอบสนองเนื่องจาก
การเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่ง
จึงเรียก Turgor movement
เมื่อถูกสัมผัส เซลล์ที่อยู่ใน
โคนก้านใบ (pulvinus)
บริเวณด้านใน จะสูญเสียน้า
ให้แก่เซลล์ข้างเคียงอย่าง
รวดเร็วทาให้เซลล์เหี่ยว
ใบจึงหุบ
เมื่อมีน้ากลับเข้ามาในเซลล์ทา
ให้แรงดันเต่งมากขึ้น ใบก็จะ
กลับมากางได้อีกครั้ง
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม การหุบใบของพืชวงศ์ถวั ่
Nastic movement Turgor movement อื่นๆ
การหุบใบของกาบหอยแครงเมือ่ มีแมลงมาเกาะ

Sleep movement เป็น turgor


movement ของพืชวงศ์ถั่ว เช่น แค
กระถิน จามจุรี กาหลง ที่หุบใบในตอน
พลบค่าและจะกางอีกครั้งในตอนเช้า
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Nutation movement
การหมุนแกว่งของยอดพืชขณะมีการเจริญเติบโต
กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
References โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

1. Reece, J. B., & Campbell, N. A. (2011). Campbell biology. Boston: Benjamin


Cummings. Pearson.
, สถาบัน. กระทรวงศึ กษาธิการ. หนังสือเรียน
2. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

รายวิชาเพิม่ เติม ชีววิทยา เล่ม 3. พิมพครั
์ ง้ ที่ 2 (พิมพเพิ
์ ม
่ เติมครัง้ ที่ 1). กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ ์ สกสค., 2555.
3. ศุภณัฐ ไพโรหกุล. Biology. พิมพครั
์ ง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษท
ั แอคทีฟ พริน
้ ท ์ จากัด,
2559.
การตอบสนองของพืช กลุม่ สาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรี ยนอุดรพิทยานุกลู

กลไกที่พืชใช้ในการป้องกันตนเองจากสัตว์

You might also like