You are on page 1of 87

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒


ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านบทเรียน เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๒ / ๑ ระบุขอ้ คิดที่ได้จากการอ่านหรื อการฟังวรรณกรรม
สำหรับเด็กเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
- การอ่านวรรณกรรม
การอ่านบทเรี ยนเป็ นการเพิม่ ประสบการณ์ดา้ นการอ่าน ปลูกฝังให้ผเู้ รี ยนรักการ
อ่านและศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม ขยายขอบเขตการเรี ยนรู ้ให้ผเู้ รี ยนได้เปิ ดโลกทัศน์ที่กว้าง
ไกล รู ้จกั คิดวิเคราะห์เรื่ องที่อ่านและนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. การอ่านบทเรี ยนแล้วแล้วตอบคำถาม
๓.๒. การอ่านออกเสี ยง
๓.๓. การนำแนวคิดของเรื่ องมาเขียนเรื่ องบรรยายภาพ
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การเขียนบันทึก
๖.๒ การทำฝึ กหัด

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน บทเรี ยนที่ ๔ ไก่แจ้แซ่เสี ยง เสร็ จแล้วครู
ประกาศผลเป็ นคะแนนให้นกั เรี ยนทราบโดยที่ยงั ไม่ตอ้ งเฉลย

๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย


นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. นักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับชนิดของไก่ ที่นกั เรี ยนรู ้จกั
๗.๓. นำบัตรคำศัพท์ จากเรื่ อง ไก่แจ้แช่เสี ยง และ บทร้อยกรองมาชุให้นกั เรี ยนอ่าน
พร้อมกัน และอ่านทีละกลุ่ม
๗.๔. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อภาษาไทย เล่มวรรณคดีล ำนำ เรื่ อง ไก่แจ้แช่เสี ยง แล้ว
อ่าน
คนละ ๒ ประโยค
๗.๕. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับเนื้อหาของเรื่ อง เช่น
- ไก่แก่ มีชื่อว่าอะไร
- เจ้าสวยเป็ นไก่แจ้พนั ธุอะไร
๗.๖. ให้นกั เรี ยนเลือกท่องกลอนดอกสร้อย ไก่เอ๋ ยไก่แจ้ พร้อมกัน
๗.๗. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันตอบคำถามในแบบฝึ ก ชุดที่ ๑
๗.๘. ให้นกั เรี ยนอ่านบทร้อยกรองแล้วตอบคำถามใน แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒
๗.๙. นักเรี ยนออกไปอ่านหน้าชั้นเรี ยนทีละคน
๗.๑๐. ให้นกั เรี ยนเขียนตามคำบอกในบทเรี ยน
๗.๑๒. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปบทเรี ยน
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. บทอ่าน
๒. รู ปภาพ
๓. หนังสื อเรี ยนชุด วรรณคดีล ำนำ ชั้น ป.๒
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑ – ๒
๕. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบทดสอบก่อนเรี ยน
- การทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การตอบคำถาม - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านได้ดี ชัดเจนถูกอักขรวิธีดีมาก
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านได้ดี ชัดเจนถูกอักขรวิธี
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง อ่านได้ ไม่ค่อยถูกอักขรวิธี
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับ ๒ ขึ้นไป หรื อได้คะแนนร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ ๔

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. ชื่อใดไม่ใช่ชื่อไก่ของฉันในบทเรี ยน “ ไก้แจ้แซ่เสี ยง”


ก. เจ้าสร้อย ข. เจ้าสวย
ค. เจ้าสาย
๒. ลักษณะใดไม่ใช่ลกั ษณะของไก่แจ้
ก. ลำตัวเล็กและเตี้ย ข. ตัวผูม้ ีหงอนเป็ นแฉก
ค. หางใหญ่เป็ นพวง
๓. ไก่แจ้เป็ นไก่สายพันธุ์ใด
ก. ไทย ข. พม่า
ค. ลาว
๔. คนเราต้อง “ตื่นก่อนไก่” หมายความว่าอย่างไร
ก. ตื่นสาย ข. ตื่นเช้า
ค. ตื่นก่อนที่ไก่จะตื่น
๕. ไก่แจ้ เปรี ยบกับคนที่มีพฤติกรรมเช่นใด
ก. ผูช้ ายขี้เกียจ ข. ผูห้ ญิงหลายใจ
ค. ผูช้ ายเจ้าชู ้
๖. “ ถึงยามขันขันแซ่…………..เสี ยง” ควรเติมคำใด
ก. ซ้อง ข. กระชั้น
ค. สำเนียง
๗. คำใดเขียนผิด
ก. ส้อยคอ ข. ไก่แจ้
ค. นาฬิกา
๘. คำใดเขียนผิด
ก. สงสัย ข. กลางคืน
ค. แปกใจ
๙. สำนวนเกี่ยวกับไก่สำนวนใดหมายถึง ผูห้ ญิงที่เจนจัดมีสามี
หลายคน คือสำนวนใด
ก. ไก่อ่อน ข. ไก่แก่ แม่ปลาช่อน
ค. ไก่หลง
๑๐. บทร้อยกรอง “ ไก่เอ๋ ยไก่แจ้ ” เป็ นคำประพันธ์ชนิดใด
ก. กลอนสักวา ข. กลอนดอกสร้อย
ค. กลอนตลาด
๑๑. ต้นไม้ยนื ต้น ใช้ผลเคี้ยวกับใบพลูและปูแดง คือต้นอะไร
ก. ประดู่ ข. มะพร้าว
ค. หมาก

๑๒. สำนวน “ ไก่อ่อน” มีความหมายอย่างไร


ก. ไก่ที่ก ำลังเป็ นลูกเจี๊ยบอยู่
ข. คนที่ยงั มีประสบการณ์นอ้ ย
ค. ไก่ที่ไม่เหนียว
๑๓. คนที่ชอบวิวาทกันเมื่ออยูใ่ กล้กนั ตรงกับสำนวนใด
ก. ตัดหางปล่อยวัด ข. ขมิ้นกับปูน
ค. หมาเห่าใบตองแห้ง
๑๔. รู ้ความลับซึ่ งกันและกัน ตรงกับสำนวนใด
ก. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
ข. ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง
ค. ไก่แก่แม่ปลาช่อน
๑๕. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ ไก่แจ้”
ก. ไก่อู ข. แม่งู
ค. ไก่ชน
๑๖. คำใดออกเสี ยงอย่างอักษรนำ
ก. ตะลุง ข. กระชั้น
ค. ขยัน
๑๗. ไก่ขนั ตอนเช้าเปรี ยบได้กบั สิ่ งใด
ก. นาฬิกาปลุก ข. นาฬิกาบอกเวลา
ค. นาฬิกาจับเวลา
๑๘. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของไก่
ก. เลี้ยงไว้ดูเล่น ข. เลี้ยงเป็ นอาชีพ
ค. เลี้ยงไว้ชนเอาเงินเดิมพัน
๑๙. อะไรไม่ใช่อาหารของไก่
ก. แมลง ข. น้ำตาล
ค. ข้าวเปลือก
๒๐. สถานที่ที่คนทำไว้ให้ไก่อยู่ เรี ยกว่าอย่างไร
ก. เล้า ข. กระท่อม
ค. คอก

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑

คำชี้แจง ๑. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันตอบคำถามต่อไปนี้

1. ไก่สีดอกหมากมีลกั ษณะอย่างไร………………………………
2. ไก่แจ้เป็ นไก่พนั ธ์ชนิดใด……………………………………….
3. ลักษณะของไก่แจ้เป็ นอย่างไร………………………………….
4. อาหารของไก่แจ้มีอะไรบ้าง……………………………………
5. คนเราต้อง “ตื่นก่อนไก่” หมายความว่าอย่างไร…………………
……………………………………………………………………

๖. ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง หมายความว่าอย่างไร


……………………………………………………………………
……………………………………………………………………

๒. ให้ นักเรียนเลือกคำที่ถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้อง
กับเรื่องราว ในประโยคมาเติมในช่ องว่ าง

1. แม่ไปซื้ อ…………………………..(ไม้สกั ,ผลไม้) ที่ตลาด


2. ครอบครัวอบอุ่นของฉันมี………………………..(ความสุข,ผลไม้สุก)
3. คุณยายชอบรับประทานมะม่วง……………………(สุข,สุ ก)
4. คุณพ่อให้หนังสื อนิทานเป็ น……………………(ของขวัญ,รางวัล) วันเกิด
ของฉัน
5. ครู ตน้ มอบ……………………………(ของขวัญ,รางวัล) ให้เด็กที่ต้ งั ใจเรี ยน
ทำการบ้านทุกวัน
กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๒

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนอ่านบทร้อยกรองเรื่ อง รักษาป่ า แล้วตอบคำถาม

รักษาป่ า
นกเอยนกน้อยน้อย บินล่องลอยเป็ นสุขศรี
ขนขาวราวสำลี อากาศดีไม่มีภยั
ทุกทิศเจ้าเที่ยวท่อง ฟ้ าสี ทองอันสดใส
มีป่าพาสุขใจ มีตน้ ไม้มีล ำธาร
ผูค้ นไม่มีโรค นับเป็ นโชคสุ ขสำราญ
อากาศไร้พิษสาร สัตว์ชื่นบานดินชื่นใจ
คนสัตว์ได้พ่ งึ ป่ า มารักษาป่ าไม้ไทย
สิ้ นป่ าเหมือนสิ้ นใจ ช่วยปลูกใหม่ไว้ทดแทน

๑. บทร้อยกรองนี้ ให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับอะไร


…………………………………………………………………………
2. ป่ าไม้ให้ประโยชน์อะไรบ้าง
…………………………………………………………………………
3. นักเรี ยนมีวิธีการอย่างไรที่จะช่วยกันรักษาป่ า
…………………………………………………………………………

ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............


แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๑
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านบทอ่าน
๒. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง ประกอบแผนที่ ๑ การอ่ านบทเรียน
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๑ – ๒


มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบทดสอบก่ อนเรียน
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านบทอาขยาน เวลา ๒ ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๒ / ๓ ท่องจำบทอาขยานตามที่ก ำหนด และบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความสนใจ
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
- บทอาขยาน “ไก่แจ้ ”
การอ่านหรื อท่องบทอาขยาน เป็ นการปูพ้ืนฐานในการจดจำความรู ้ ทำให้เราเป็ น
คนที่ใช้ภาษาไทยได้ดี และถูกต้อง
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม


- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. การอ่านบทอาขยาน
๓.๒. การอธิบายความหมายของบทอาขยาน
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การเขียนบันทึก
๖.๒ การทำฝึ กหัด
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน

๗.๒. ครู สนทนากับนักเรี ยนถึงบทอาขยาน เป็ นบทร้อยกรองที่เลือกขึ้นมาให้


เหมาะสมกับวุฒิภาวะของนักเรี ยน เพือ่ ให้นกั เรี ยนท่องจำให้ข้ ึนใจ เพราะมีความไพเราะถูก
ต้องตามฉันทลักษณ์ และมีขอ้ คิดที่เป็ นประโยชน์ มีคติสอนใจ จากนั้น ครู น ำแผนภูมิบท
อาขยาน “ไก่แจ้” ให้นกั เรี ยนดูแล้วครู อ่านเป็ นทำนองเสนาะให้นกั เรี ยนฟัง ให้นกั เรี ยนอ่าน
บทอาขยานให้ถูกต้องพร้อมกันทั้งชั้นและสุ่ มเรี ยกนักเรี ยนอ่านทีละคน
๗.๓. ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง บทอาขยาน ดังนี้
1) บทอาขยาน หมายถึง บทร้อยกรองที่เลือกขึ้นมาให้เหมาะสมกับวุฒิภาวะ
ของนักเรี ยน เพือ่ ให้นกั เรี ยนท่องจำให้ข้ ึนใจ เพราะมีความไพเราะ ถูกต้อง
ตามฉันทลักษณ์ และมีขอ้ คิดที่เป็ นประโยชน์ เป็ นคติสอนใจ
2) การท่องจำบทอาขยาน จะทำให้รู้คุณค่าและซาบซึ้ งในความไพเราะของบท
ประพันธ์น้ นั
๗.๔. ให้แต่ละกลุ่ม เลือกท่องจำบทอาขยาน ๑ บท โดยมีหวั หน้ากลุ่มคอยฟังว่า
เพือ่ น ๆ สามารถท่องจำได้หรื อไม่ ให้ปฏิบตั ินอกเวลาเรี ยน เมื่อกลุ่มใดท่องจำได้ครบทุก
คนแล้วให้ออกมาแสดงการท่องบทอาขยานที่หน้าชั้น พร้อมกันทั้งกลุ่ม ลงในแบบฝึ กหัด ที่

๗.๕. ครู ให้นกั เรี ยนนำคำที่ก ำหนดให้ เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง แล้วฝึ กอ่านออก
เสี ยงบทอาขยาน ในแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔
๗.๖. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม ส่ งตัวแทนออกมารายงานผลการทำกิจกรรม
๗.๗. ให้นกั เรี ยนนำผลงานมาจัดป้ ายนิเทศ
๗.๘. ให้นกั เรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้จากกิจกรรมที่ท ำไปแล้ว
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. บทอาขยาน
๒. รู ปภาพ
๓. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ชั้น ป.๒
๔. แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓ – ๔
๕. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบทดสอบการอ่าน
- การทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การท่องบทอาขยาน - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ
๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการท่องบทอาขยานมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ท่องได้ดี ชัดเจนถูกอักขรวิธีดีมาก
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ท่องได้ดี ชัดเจนถูกอักขรวิธี
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ท่องได้ไม่ครบเนื้ อหา
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับ ๒ ขึ้นไป หรื อได้คะแนนร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป
๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
บทอาขยาน

อาขยาน อ่านว่า อา – ขะ – หยาน หมายถึง บทท่องจำที่เป็ นร้อยกรอง


ที่ไพเราะ ซึ่งให้ขอ้ คิดที่เป็ นประโยชน์ส ำหรับผูอ้ ื่นถ้าเราสามารถท่องจำบท
อาขยานได้ จะทำให้รู้คุณค่าและซาบซึ้ งในความไพเราะของบทอาขยานนั้น
ด้วยนะครับ
ไก่แจ้

ไก่เอ๋ ยไก่แจ้
ถึงยามขันขันแช่กระชั้นเสี ยง
โก่งคอเรื่ อยร้อยช้องสำเนียง
ฟังเพียงบรรเลงวังเวงดัง
ถ้าตัวเราเหล่านี้หมัน่ นึก
ถึงคุณครู ผฝู้ ึ กสอนสัง่
ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง
คงตั้งแต่สุขทุกวันเอยฯ

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓


คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม เลือกท่องจำบทอาขยาน ๑ บท เมื่อ
กลุ่มใดท่องจำได้ครบทุกคนแล้ว ให้ออกมาแสดงการท่องบท
อาขยานที่หน้าชั้น

............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................

กลุ่ม ...................................................
สมาชิก : ๑. .............................................. ๒................................................
๓. .............................................. ๔. ...............................................
๕. .............................................. ๖. ...............................................
แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔

ชื่อ………………………………………เลขที่…. ….ชั้น………………………….
คำชี้แจง นำคำที่ก ำหนดให้ เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง แล้วฝึ กอ่านออก
เสี ยงบทอาขยาน
ไก่เอ๋ ยไก่……………
ถึงยามขันขันแช่…………..เสี ยง
………..คอ………..ร้อยช้อง…………
ฟังเพียง………….วังเวงดัง
ถ้าตัวเราเหล่านี้…………นึก
ถึง……………..ผูฝ้ ึ กสอนสัง่
ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง
คง………………ทุกวันเอยฯ

ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............


แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๒
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การท่องจำบทอาขยาน
๒. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๓. การทำแบบฝึ กหัด
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง ประกอบแผนที่ ๒ การท่ องบทอาขยาน
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป
มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๓


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๔
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน

ชื่อ - เลขที่
รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม

๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การอ่ านบทดอกสร้ อย เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๒ / ๓ ท่องจำบทอาขยานตามที่ก ำหนด และบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความสนใจ
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๕ วรรณคดีวรรณกรรม
- บทอ่านเสริ ม เรื่ อง “ไก่แก้ว”
- การเขียนบรรยายภาพวาดประกอบบทอ่านเสริ ม
การอ่านเสริ มบทดอกสร้อย เป็ นการอ่านเพื่อเพิม่ ทักษะทางภาษาให้มากขึ้น และ
เป็ นการส่ งเสริ มนิสยั รักการอ่านให้กบั นักเรี ยนได้ดว้ ย การอ่านนั้นสามารถอ่านได้ท้ งั ตาม
ลำพังและกับเพื่อนหรื ออ่านออกเสี ยงกับครู ผูอ้ ่านจะมีความมัน่ ใจและมีนิสยั รักการอ่าน
ภาษาไทยมากขึ้น
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. การอ่านบทอ่านเสริ มเรื่ อง “ไก่แก้ว”
๓.๒. การจับใจความ และตอบคำถามจากเรื่ องที่อ่าน
๓.๓. การเขียนเรื่ องประกอบภาพ
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การวาดภาพประกอบ
๖.๒ การทำฝึ กหัด

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน
๗.๒. ร่ วมกันร้องบทสักวา “สักวาหวานอื่นเป็ นหมื่นแสน”
๗.๓. ตัวแทนนักเรี ยนเสี ยบบัตรคำใหม่ จำนวน ๘ คำ บนกระเป๋ าผนัง ดังนี้

โก่ งคอ ขันแช่ บรรเลง ประดู่

หมาก นก เตือน ชั่วโมง


๗.๔. นักเรี ยนอ่านคำใหม่ตามครู ค ำละ ๒ ครั้ง โดยครู ชูบตั รคำประกอบด้วย เสร็ จ
แล้วเสี ยบบัตรคำศัพท์บนกระเป๋ าผนัง
๗.๕. นักเรี ยนฟังครู อธิบายความหมายของคำศัพท์ทีละคำ จนครบจำนวน ๘ คำ
๗.๖. นักเรี ยนจับฉลากชื่อเพื่อออกมาอ่านคำศัพท์บนกระเป๋ าผนัง ให้เพื่ออ่านตาม
จำนวน ๑๐ คน
๗.๗. นักเรี ยนเปิ ดหนังสื อเรี ยนภาษาไทย หน้า ๔๔ ชุด วรรณคดีล ำนำ ภายใน
เวลา
ที่เหมาะสม
๗.๘. แต่ละกลุ่มวาดภาพระบายสี แล้วเขียนบรรยายภาพประกอบลงในแบบฝึ กที่ ๕
๗.๙. ให้นกั เรี ยนอ่านและฝึ กร้องเพลง “ลุ่มเจ้าพระยา” แล้วคัดลงในแบบฝึ กที่ ๖
๗.๑๐. ร่ วมกับครู สรุ ปบทเรี ยนที่เรี ยนมา แล้วให้นกั เรี ยนหาสำนวนเกี่ยวกับไก่ลงใน
แบบฝึ กที่ ๓
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. บทดอกสร้อย
๒. รู ปภาพ
๓. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ชั้น ป.๒
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบบันทึกการอ่าน
- การทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- การวาดภาพประกอบ - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การสรุ ปใจความ - ตรวจแบบฝึ กหัด
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านบทดอกสร้อยมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ท่องได้ดี ชัดเจนถูกอักขรวิธีดีมาก
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ท่องได้ดี ชัดเจนถูกอักขรวิธี
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ท่องได้ไม่ครบเนื้ อหา
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับ ๒ ขึ้นไป หรื อได้คะแนนร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่
ใบ ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ความ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….
รูเ้ รื่อง
บท
ดอก
สร้อย

บทดอกสร้ อย ไก่แก้ว

ไก่เอ๋ ย ไก่แก้ว
ขันแว่ว ปลุกเรายามเช้าตรู่
เสี ยงไก่ขนั เตือนจิตให้คิดดู
ไฉนไก่จึงรู้จกั เวลา
ขืนนอนสายต่อไปไม่ดีแน่
คนจะแพ้ไก่แก้วเสี ยแล้วหนา
ทุกชัว่ โมงนาทีมีราคา
ลุกขึ้นมากอบกิจสัมฤทธิ์เอย

บทอาขยาน

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๕

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนอ่านบทดอกสร้อยไก่แก้วแล้วตอบคำถาม


๑. ให้นกั เรี ยนบอกชื่อพันธ์ไก่ที่นกั เรี ยนรู้จกั ว่ามีพนั ธ์อะไรบ้าง………
…………………………………………………………………….
๒. จงบอกประโยชน์ของไก่มา ๕ ข้อ
๑)…………………………………………………………………..
๒)…………………………………………………………………..
๓)…………………………………………………………………..
๔)…………………………………………………………………..
๕)…………………………………………………………………..
๓. ให้นกั เรี ยนเขียนเรื่ องไก่ มา ๑ เรื่ อง พร้อมกับวาดภาพประกอบ

ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............


แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๖

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนอ่านและฝึ กร้องเพลง ลุ่มเจ้าพระยา แล้วคัดลายมือ


คำที่ขีดเส้นใต้ดว้ ยตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม
ลุ่มเจ้ าพระยา

ลุ่มเจ้าพระยาเห็นสายธาราไหลล่อง เพียงแต่มองหัวใจให้ป่วน
น้ำไหลไปมักไม่ไหลทวน ชีวิตเราไม่มีหวนไม่กลับทวนเหมือนกัน
เราเกิดมาผูกใจรักกันดีกว่า เพราะว่าชีวาแสนสั้น
………………………………………………………………………………...
เราอย่ าได้กระเทือนหัวใจต่อกัน ทิ้งชีวิตอันสุขใจ
อย่………………………………………………………………………………...
าแตกกันเลยรักไว้ชมเชย ชิดมัน่ จงผูกพันรักกันด้วยใจ
………………………………………………………………………………...
ขอจงเป็ นเหมือนเช่นนกไพร ที่เหินบินคู่กนั ไป หัวใจคู่กนั
………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………...
ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............
แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๓
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านบทดอกสร้อย
๒. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๓. การวาดภาพและนำเสนอผลงาน
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕
ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒
๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง ประกอบแผนที่ ๓ บทดอกสร้ อย
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป
มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๕


การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๖
มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่ รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๑๐ ๔๔









๑๐
ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๘ – ๔๔ = ๓
๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถามศึกษาปี ที่ ๒
ชุด วรรณคดีลำนำ
บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง เวลา ๑๐ ชั่วโมง
เรื่อง การสะกดคำ เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สิ นใจ แก้
ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๑ อ่านออกเสี ยงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง
ง่ายๆ ได้ถูกต้อง
๒. สาระการเรียนรู้
๒.๑ สาระสำคัญและความคิดรวบยอด
- สาระที่ ๕ การอ่ าน
- บทอ่านเสริ ม เรื่ อง “ไก่แก้ว”
- การเขียนบรรยายภาพวาดประกอบบทอ่านเสริ ม
การอ่านเสริ มบทดอกสร้อย เป็ นการอ่านเพื่อเพิม่ ทักษะทางภาษาให้มากขึ้น และ
เป็ นการส่ งเสริ มนิสยั รักการอ่านให้กบั นักเรี ยนได้ดว้ ย การอ่านนั้นสามารถอ่านได้ท้ งั ตาม
ลำพังและกับเพื่อนหรื ออ่านออกเสี ยงกับครู ผูอ้ ่านจะมีความมัน่ ใจและมีนิสยั รักการอ่าน
ภาษาไทยมากขึ้น
๒.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการสื่ อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
๒.๓ ค่ านิยม คุณธรรม
- อนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมไทยไว้เป็ นมรดกของชาติ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑. การอ่านบทอ่านเสริ มเรื่ อง “ไก่แก้ว”
๓.๒. การจับใจความ และตอบคำถามจากเรื่ องที่อ่าน
๓.๓. การเขียนเรื่ องประกอบภาพ
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๕.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
๕.๓ มีวินยั ในตนเอง
๕.๔ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๕.๕ อยูอ่ ย่างพอเพียง
๕.๖ มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๕.๗ รักความเป็ นไทย
๕.๘ มีจิตสาธารณะ
๖. หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การบอกมาตราตัวสะกด
๖.๒ การทำฝึ กหัด

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทเรี ยน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มเล่นเกม
“ ปริ ศนาคำทาย” ( ท้ายแผน )
๗.๒. นักเรี ยนรับแจกกระดาษเปล่าจากครู กลุ่มละ ๑ แผ่น ครู ให้เวลา ๓ นาที ให้
ทุกกลุ่มเขียนคำศัพท์ที่เกิน ๒ พยางค์ จาก เรื่ อง” ไก่แจ้แซ่เสี ยง ” ให้ได้มากที่สุดพอหมด
เวลาให้แต่ละกลุ่มนับดูค ำศัพท์ที่เขียนได้ ว่ามีท้ งั หมดกี่ค ำ
๗.๓. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มบอกตัวสะกดในคำศัพท์ที่เขียนได้วา่ แต่ละคำสะกดด้วย
พยัญชนะตัวใดบ้าง โดยเขียนแยกเป็ นคำๆ เช่น เสร็ จ มีตวั จ จานเป็ นตัวสะกด จากนั้นครู
แจกมาตราตัวสะกดให้แต่ละกลุ่มศึกษา แล้วเปรี ยบเทียบว่าตัวสะกดในคำศัพท์ของกลุ่มของ
ตนเองอยูใ่ นมาตราแม่สะกดใดบ้าง แยกออกเป็ นคำๆ แล้วส่ งตัวแทนออกมาพูดรายงานหน้า
ชั้นเรี ยน
๗.๔. ให้นกั เรี ยนศึกษาเรื่ องมาตราตัวสะกดเพิ่มเติมในหนังสื อเรี ยนภาษาไทย
ชั้น ป. ๒ ชุดภาษาเพื่อชีวิต
๗.๕. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทำแบบฝึ กหัดชุดที่ ๗ ( ท้ายแผน ) ชุด หาคำที่มี
ตัวสะกดตามมาตราที่ก ำหนดให้ เสร็ จแล้วนำส่ งครู ตรวจสอบและประกาศผลเป็ นคะแนน
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. ใบความรู ้
๒. แบบทดสอบหลังเรี ยน
๓. หนังสื อเรี ยนชุด ภาษาพาที ชั้น ป.๒
๔. แบบฝึ กหัด
๕. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
๖. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล
๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ตรวจสอบความถูกต้อง - แบบบันทึกการอ่าน
- การทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน - สังเกต - แบบฝึ กหัด
- ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การบอกตัวสะกด - ตรวจแบบฝึ กหัด
- การสรุ ปใจความ
• ด้านพฤติกรรมความพอเพียง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
กิจกรรม
• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการสรุ ปใจความ แบบประเมินผลงานรายบุคคล
การร่ วมสรุ ปใจความ

๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล
๑) เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมความพอเพียงรายบุคคลมีคะแนน ๓
ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๑๓ – ๑๖
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๐ – ๑๒
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๙
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำแบบฝึ กหัดรายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการทำแบบทดสอบหลังเรี ยนมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๑๕ – ๒๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๑๑ – ๑๔
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๐
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๖๐% ขึ้นไป

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………..
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………….
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…........

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

เกมกระซิบปริศนา
จุดประสงค์
๑. เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถจับใจความจากประโยคหรื อข้อความสั้น ๆ ได้
๒ . เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถอ่านและแยกคำควบกล้ำ ร ล และ ว ได้
๓ . เพื่อให้นกั เรี ยนมีสมาธิในการฟัง

อุปกรณ์
แถบประโยคปริศนา

สั ตว์ ตัวหนึ่ง มีตัวสี ขาวเหมือนปุยฝ้ าย


วิธีเล่น
๑ . แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น ๕ กลุ่ม แล้วให้นกั เรี ยนตั้งชื่อกลุ่มของตนเอง
๒ . ให้แต่ละกลุ่มเข้าแถวและเลือกตัวแทนกลุ่ม
๓. ตัวแทนกลุ่มอ่านข้อความและกลับไปกระซิบบอกข้อความแก่คนต่อ
ไป กระซิบต่อไปเรื่ อย ๆ จนถึงคนสุ ดท้าย
๔. คนสุ ดท้ายเขียนข้อที่ตนได้ยนิ บนกระดาน กลุ่มใดมีขอ้ ความตรงกับ
ข้อความในแถบประโยคจะเป็ นฝ่ ายชนะ

แบบฝึ กหัด ชุดที่ ๗

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย x หน้าข้อความที่ เขียนผิด

๑. ก. ปากปาก ข. หลอกรวง ค. หลบหลีก


๒. ก. สะดวก ข. สบาย ค. สะอาด
๓. ก. ขนม ข. จมูก ค. ขโมย
๔. ก. โอกาด ข. อากาศ ค. ผัดกาด
๕. ก. สึ กษา ข. ซักผ้า ค. ตกลง
๖. ก. สงสัย ข. กลางคืน ค. แปกใจ
๗. ก. กรางมุง้ ข. ห้องนอน ค. หิวข้าว
๘. ก. ยุง่ ยาก ข. ข้าวสุ ก ค. ข้าวสาร
๙. ก. ส้อยคอ ข. ไก่แจ้ ค. นาฬิกา
๑๐. ก. กิจการ ข. สัมริ ด ค. ทิศทาง
ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

แบบประเมินการตรวจผลงานรายกลุ่ม
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
รายการตรวจและให้ คะแนน
๑. การอ่านคำ
๒. การร่ วมสรุ ปบทเรี ยน
๓. การนำเสนอผลงาน
๔. ความสามัคคีภายในกลุ่ม
๕. การแสดงบทบาทชองสมาชิกในกลุ่ม
รายการตรวจให้คะแนน รวม ผลการ
ชื่อกลุ่ม ประเมิน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓๐
๕ ๑๐ ๕ ๕ ๕

ความหมายระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๒


๑ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๑
๐ หมายถึง ปรับปรุ ง ๐ - ๑๗ = ๐
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผูป้ ระเมิน
(…………………………….)
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้น ป. ๒
ชุ ด วรรณคดีลำนำ บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง ประกอบแผนที่ ๔ การสะกดคำ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ผลงาน สรุ ป

มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การทำแบบฝึ กหัด ชุดที่ ๗


มีความซื่อสั ตย์ สุจริต

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มุ่งมั่นในการทำงาน
ชื่อ - เลขที่

รักความเป็ นไทย
อยู่อย่างพอเพียง
มีวนิ ัยในตนเอง

มีจิตสาธารณะ

รวม
๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๐ ๓๔









๑๐

ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๒๘ – ๓๔ = ๓


๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๗ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุ ง ๑ - ๑๙ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้ คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ วรรณคดีลำนำ แผนที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒
บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง เวลา ๑๐ ชั่วโมง
หัวข้ อเรื่อง ร้ องเพลง “ กุ๊ก กุ๊ก ไก่ ” เวลา ๑ ชั่วโมง
วันที่ ....................................... ผู้ใช้ แผน ................................

สาระที่ ๕ วรรณคดีวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
ไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
๑. สาระสำคัญ
๑.๑ ความคิดรวบยอด
การเรี ยนปนเล่นประกอบเพลงร้องเล่น เป็ นการฝึ กทักษะนักเรี ยนใน
หลายๆด้านทำให้ผเู้ รี ยนเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนทั้งด้าน
ทักษะกระบวนการเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิจริ ง
๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการเรี ยนรู ้ค ำ
- ความสามารถในการร้องเพลงร้องเล่น
๒. ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๒ / ๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรื อการฟังวรรณกรรม
ร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑ นักเรี ยนท่องจำบทเพลงร้องเล่นได้
๓.๒ นักเรี ยนแสดงท่าทางประกอบเพลงร้องเล่นได้
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๔.๑ มีเจตคติที่ดีต่อวัฒนธรรมและภาษาไทย
๔.๒ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๔.๓ ช่วยเหลือและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
๔.๔ มีความรอบคอบในการทำงาน
๔.๕ ประหยัดและอยูอ่ ย่างพอเพียง
๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ สาระการเรียนรูแ ้ กนกลาง
๏ วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ( บทร้องเล่น )
๕.๒ สาระการเรียนรูย ้ ่อย
๏ เพลงร้องเล่น “ กุ๊ก กุ๊ก ไก่”
๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทำใบงาน
๖.๒ แบบบันทึกผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ แบ่งกลุ่มนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่มละ ๕ คน ให้แต่ละกลุ่มเตรี ยมตัวฝึ กซ้อมการ
แสดงประกอบเพลงร้องเล่น “ กุ๊ก กุ๊ก ไก่” ( ท้ายแผน ) ให้แต่ละกลุ่มอ่านและท่องจำเพลงร้อง
เล่น “ กุ๊ก กุ๊ก ไก่” ให้ได้
๗.๒ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มแสดงประกอบเพลงร้องเล่น “ กุ๊ก กุ๊ก ไก่” ทีละกลุ่ม
ร่ วมกันวิจารณ์และชมเชยกลุ่มที่แสดงได้ดี
๗.๓ นักเรี ยนร้องเพลง “ กุ๊ก กุ๊ก ไก่” พร้อมกันอีกครั้ง ร่ วมกันสนทนาเกี่ยวกับ
เพลงร้องเล่นอื่นๆที่นกั เรี ยนเคยได้ยนิ อีก ครู อธิบายเกี่ยวกับการใช้ค ำสัมผัสคล้องเล่น
พร้อมทั้งยกตัวอย่างคำคล้องจอง ๒ พยางค์ ให้นกั เรี ยนสังเกตคำคล้องจองในเพลงร้องเล่น
“ กุ๊ก กุ๊ก ไก่” มีค ำใดคล้องจองกันบ้าง
๗.๔ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทำใบงาน ชุดที่ ๘ ( ท้ายแผน ) ชุดเลือกคำคล้องจองกับ
คำที่ก ำหนดให้ นักเรี ยนนำส่ งครู เฉลยตรวจสอบและประเมินผล
๗.๕ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทำใบงาน ชุดที่ ๙ ( ท้ายแผน ) ชุดหาคำคล้องจองกับคำ
ที่ก ำหนดให้ เสร็ จแล้วครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. รู ปภาพ
๒. หนังสื อภาษาไทย ชั้น ป.๒ ชุด วรรณคดีล ำนำ
๓. เพลงร้องเล่น “ กุ๊ก กุ๊ก ไก่”
๔. ใบงาน ชุดที่ ๘ – ๙
๕. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - สังเกต - เพลง “ กุก๊ กุ๊ก ไก่”
- การแสดงประกอบเพลง - ซักถาม - ใบงาน ชุดที่ ๘ – ๙
- การตอบคำถาม - ตรวจใบงาน - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การทำใบงาน
• ด้านคุณลักษณะอันพึง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
ประสงค์ กิจกรรม

• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการร่ วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล


การร่ วมสนทนา

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล


๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การประเมินการแสดงประกอบเพลง มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี แสดงได้ดี สอดคล้องกับเนื้อเพลง
ร้องเพลงได้ราบรื่ น ชัดเจน
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ แสดงได้เกือบดี สอดคล้องกับ
เนื้อเพลงร้องเพลงได้ราบรื่ น ชัดเจน
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง แสดงได้ไม่คอ่ ยดี
สอดคล้องกับเนื้อเพลงร้องเพลงได้ไม่ค่อยราบรื่ น ชัดเจน
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุ ง (๐)
สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม
มีเจตนคติที่ดตี ่ อ กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา
วัฒนธรรมไทย ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน
และภาษาไทย และมีความสุ ขตลอด และมีความสุ ขเกือบ และมีความสุ ขเป็ นบาง
เวลา ตลอดเวลา ครั้ง
กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า
แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ
มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้
โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก
ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก
ให้ความร่ วมมือและ ให้ความร่ วมมือและ ให้ความร่ วมมือและ
ช่ วยเหลือและทำงาน
ช่วยเหลือเพื่อนทุกครั้ง ช่วยเหลือเพื่อนเกือบทุก ช่วยเหลือเพื่อนเป็ นบาง
ร่ วมกับผู้อนื่ ได้
ในการทำกิจกรรม ครั้งในการทำกิจกรรม ครั้งในการทำกิจกรรม
มีความรอบคอบในการ มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข
การกระทำที่ไม่ถูกต้อง
การกระทำที่ไม่ถูกต้อง การกระทำที่ไม่ถูกต้อง
ทุกครั้งทำใบงานได้
ทำงาน เกือบทุกครั้ง ทำใบงาน เป็ นบางครั้งทำใบงาน
สะอาดเรี ยบร้อยและถูก
ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย
ต้อง
ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน
ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน
ประหยัดและอยู่อย่าง ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ
ที่ราคาค่อนข้างแพงและ
พอเพียง คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่หมด
ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด
ค่อยซื้ อใหม่ แล้วซื้ อใหม่

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….…………………………………………….…………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

เพลง กุก๊ กุก๊ ไก่

กุ๊ก ก๊ก ไก่


เลี้ยง ลูก มา จน ใหญ่
ไม่ มี นม ให้ ลูก กิน
ลูก ร้อง เจี๊ยบ เจี๊ยบ
แม่ ก็ เรี ยก ไป คุย้ ดิน
ทำ มา หา กิน
ตาม ประสา ไก่ เอย
ใบงาน ชุดที่ ๘

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนหาคำคล้องจองกับคำที่ก ำหนดให้


ต่อไปนี้ ด้วยการเขียนวงกลมครอบไว้
ตัวอย่ าง แม่ไก่ = ลูกไก่ ไล่ตี
๑. คุย้ ดิน = คุย้ หิน ดินแมลง
๒. ร้องเล่น = เต้นรำ ร้องเพลง
๓. นักเรี ยน = นักเล่น เขียนอ่าน

๔. ลูกร้อง = ของเล่น ลูกรัก


๕. เดินตาม = หน้าเดิน ถามหา
๖. เลี้ยงลูก = ถูกทาง ลูกเลี้ยง
๗. ไม่มี = ไม่หมด ที่ไป

ใบงาน ชุดที่ ๙
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคำคล้องจองกับคำที่
กำหนดให้ต่อไปนี้

๑. กุ๊ก ไก่ =

๒. ประสา =

๓. คุย้ เขี่ย =

๔. หากิน =

๕. ลูกร้อง =

๖. เรี ยกขาน =

๗. น้องนอน =
๘. เดินตาม =
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒
ชุดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๕ ร้ องเพลง กุ๊ก กุ๊ก ไก่
ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน
เลข
ที่ ชื่อ – สกุล

ช่ วยเหลือและทำงานร่ วมกับผู้อนื่

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ
มีเจตคติทดี่ ตี ่ อวัฒนธรรมและ

ประหยัดและอยู่อย่ างพอเพียง
มีความรอบคอบในการทำงาน

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน
การทำใบงาน ชุดที่ ๘
มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

การทำใบงาน ชุดที่ ๙

รวม
ภาษา
๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐









๑๐
๑๑
๑๒
ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๓
๒ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๑๗ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ วรรณคดีลำนำ แผนที่ ๖


กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒
บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง เวลา ๑๐ ชั่วโมง
หัวข้ อเรื่อง สำนวนไทย เวลา ๒ ชั่วโมง
วันที่ ....................................... ผู้ใช้ แผน ................................
สาระที่ ๔ หลักภาษา
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ
ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย
ไว้เป็ นสมบัติของชาติ
๑. สาระสำคัญ
๑.๑ ความคิดรวบยอด
การรู ้หลักเกณฑ์ทางภาษาเรื่ องคำและสำนวน ช่วยทำให้การใช้ภาษาในการ
สื่ อสารได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิภาพ และให้อารมณ์ ความรู ้สึกเป็ นพื้นฐานที่สำคัญใน
การใช้ภาษาไทยทั้งในการพูดและการเขียน
๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการเรี ยนรู ้ค ำ
- ความสามารถในการบอกความหมายของสำนวน
๒. ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๒ / ๕ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถิ่นได้เหมาะสม
กับกาลเทศะ
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑ นักเรี ยนอ่านสำนวนต่างๆได้
๓.๒ นักเรี ยนบอกความหมายของสำนวนได้
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๔.๑ มีเจตคติที่ดีต่อวัฒนธรรมและภาษาไทย
๔.๒ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๔.๓ ช่วยเหลือและทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
๔.๔ มีความรอบคอบในการทำงาน
๔.๕ ประหยัดและอยูอ่ ย่างพอเพียง
๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ สาระการเรียนรูแ
้ กนกลาง
๏ ภาษาไทยมาตรฐาน
๏ ภาษาถิ่น
๕.๒ สาระการเรียนรูย ้ ่อย
๏ สำนวนไทย
๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ การทำใบงาน
๖.๒ แบบบันทึกผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงาน
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย
นักเรี ยนที่มีระดับภูมิปัญญาสูง กลาง และต่ำ ให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม รองหัวหน้า
กลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม ควรใช้กลุ่มเดิมตลอดบทที่ ๒
๗.๒ ครู แจ้งให้นกั เรี ยนทราบว่า นับแต่ชวั่ โมงนี้ เป็ นต้นไป นักเรี ยนจะได้ท ำ
พจนานุกรมความหมายของสำนวนภาษาเป็ นของตนเองทุกคน ในครั้งแรกจะเป็ นสำนวน
ภาษาจากบทเรี ยนเรื่ อง “ไก่แจ้แซ่เสี ยง ” จากนั้นให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่ม ช่วยกันหาสำนวน
ภาษาที่ปรากฏในบทเรี ยนเรื่ องนี้ พร้อมทั้งให้นกั เรี ยนฝึ กค้นหาความหมายจากพจนานุกรม
หรื อสื่ อแหล่งอื่นๆ ให้แต่ละกลุ่มหาสำนวนออกมากลุ่มละ ๑๐ สำนวน พร้อมทั้งบอกความ
หมายของสำนวนที่หามาทั้งหมด
๗.๓ ให้แต่ละกลุ่ม ส่ งตัวแทนอ่านสำนวนภาษาที่กลุ่มของตนเองหามาได้
ที่หน้าชั้นเรี ยน จากนั้นศึกษาใบความรู ้เรื่ อง “ สำนวนไทย ” ( ท้ายแผน )
๗.๔ ครู แจกกระดาษ A ๔ ให้สมาชิกในกลุ่มทุกคน คนละ ๑ แผ่น จากนั้น
ให้แต่ละคนพับ ครึ่ งแบ่งกระดาษออกเป็ น ๖ ส่ วนเท่าๆกัน แล้วออกแบบวาดลวดลายกรอบ
ในกระดาษแต่ละแผ่น เขียนสำนวนภาษาพร้อมทั้งบอกความหมายคนละ ๖ สำนวน นำไป
ติดลงในสมุดวาดเขียนเล่มใหญ่ ( ควรใช้สมุดวาดเขียนที่มีขนาดเท่ากันทุกคน ) ให้แต่ละคน
ออกแบบทำปกเขียนชื่อ เลขที่ ชั้นติดทับปกสมุดวาดเขียนอีกครั้ง นำส่ งครู ตรวจสอบและเก็บ
ผลงานนั้นลงใน กล่องเก็บผลงานที่ท ำในชัว่ โมงที่แล้ว
๗.๕ นักเรี ยนทุกคนทำแบบฝึ กหัดชุดที่ ๑๐ ( ท้ายแผน ) ชุด จับคู่สำนวนภาษาและ
ความหมาย เสร็ จแล้วครู เฉลยบนกระดาน นักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจผลงานครู ประกาศผล
จำนวนข้อที่แต่ละคนทำได้ถูกต้อง
๗.๕ นักเรี ยนทุกคนทำแบบฝึ กหัดชุดที่ ๑๑ ( ท้ายแผน ) ชุด จับคูส่ ำนวนภาษาและ
ความหมาย เสร็ จแล้วครู เฉลยบนกระดาน นักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจผลงานครู ประกาศผล
จำนวนข้อที่แต่ละคนทำได้ถูกต้อง

๖. สื่ อ / แหล่ งเรียนรู้ / บุคคล


รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่ งที่ได้ มา
ลำดับที่
๑ บัตรคำศัพท์ นักเรี ยนเรี ยนรู ้ค ำศัพท์และบอก ครู จดั เตรี ยม
ความหมาย
๒ แฟ้ มสะสมผลงาน นักเรี ยนเก็บสะสมผลงาน ครู จดั ทำ
๓ กรรไกร กาว กระดาษ A ๔ นักเรี ยนทำพจนานุกรมสำนวน ครู จดั เตรี ยม
ดินสอสี ไม้บรรทัด ภาษาไทย
๔ แบบฝึ กหัดชุดที่ ๑๐ – ๑๑ นักเรี ยนทำใบงานกลุ่ม ครู จดั ทำ
๕ ใบความรู้เรื่ อง “สำนวนไทย” นักเรี ยนศึกษาเรื่ อง สำนวนไทย ครู จดั ทำ
๖ หนังสื อเรี ยน ชุด วรรณคดี นักเรี ยนดูภาพและฝึ กอ่าน ครู จดั หา
ลำนำ ชั้น ป.๒
๗ เฉลยแบบฝึ กหัด ตรวจสอบแบบฝึ กหัด ครู จดั ทำ
๘ แบบประเมินผลงานรายกลุ่ม ประเมินผลงานกลุ่ม ครู จดั ทำ
๙ แบบประเมินการสังเกต บันทึกการสังเกตพฤติกรรม และ ครู จดั ทำ
พฤติกรรม และแบบประเมิน บันทึกผลงานรายบุคคล
ผลงานรายบุคคล
๗. วัดผลประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้ ใน วิธีการประเมิน เกณฑ์ การประเมิน


กิจกรรมที่ประเมิน การประเมิน
๑. สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบประเมินการสังเกต ๑๖ = ดีมาก
คุณลักษณะ พฤติกรรม และแบบ สังเกตรายบุคคล ๑๓ – ๑๕ = ดี
ประเมินผลงาน ๑๐ – ๑๔ = พอใช้
ต่ำกว่า ๑๐ = ปรับปรุ ง
๒. นักเรี ยนหาสำนวนภาษา แบบบันทึกผลงานรายกลุ่ม ตรวจงานรายกลุ่ม ๕ = ดีมาก
และบอกความหมาย ๔ = ดี
๓ = พอใช้
ต่ำกว่า ๓ = ปรับปรุ ง
๓. นักเรี ยนรายงาน แบบบันทึกผลงานรายกลุ่ม ตรวจงานรายกลุ่ม ๘ - ๑๐ = ดีมาก
หน้าชั้นเรี ยน ๖ – ๗ = ดี
๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง
๔. นักเรี ยนทำแบบฝึ กหัด แบบประเมินรายกลุ่ม ๘ - ๑๐ = ดีมาก
สังเกตรายกลุ่ม ๖ – ๗ = ดี
๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง
๔. นักเรี ยนทำพจนานุกรม แบบประเมินการสังเกต ๘ - ๑๐ = ดีมาก
สำนวนภาษา พฤติกรรม และแบบ ตรวจงานรายบุ ค คล ๖ – ๗ = ดี
ประเมินผลงาน ๕ = พอใช้
ต่ำกว่า ๕ = ปรับปรุ ง
การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุ ง (๐)
สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม
มีเจตนคติที่ดตี ่ อ กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา
วัฒนธรรมไทย ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน
และภาษาไทย และมีความสุ ขตลอด และมีความสุ ขเกือบ และมีความสุ ขเป็ นบาง
เวลา ตลอดเวลา ครั้ง
กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า
แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ
มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้
โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก
ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก
ให้ความร่ วมมือและ ให้ความร่ วมมือและ ให้ความร่ วมมือและ
ช่ วยเหลือและทำงาน
ช่วยเหลือเพื่อนทุกครั้ง ช่วยเหลือเพื่อนเกือบทุก ช่วยเหลือเพื่อนเป็ นบาง
ร่ วมกับผู้อนื่ ได้
ในการทำกิจกรรม ครั้งในการทำกิจกรรม ครั้งในการทำกิจกรรม
มีการตรวจสอบแก้ไข
มีการตรวจสอบแก้ไข มีการตรวจสอบแก้ไข
การกระทำที่ไม่ถูกต้อง
มีความรอบคอบในการ การกระทำที่ไม่ถูกต้อง การกระทำที่ไม่ถูกต้อง
ทุกครั้งทำใบงานได้
ทำงาน เกือบทุกครั้ง ทำใบงาน เป็ นบางครั้งทำใบงาน
สะอาดเรี ยบร้อยและถูก
ได้สะอาดเรี ยบร้อย ไม่ค่อยสะอาดเรี ยบร้อย
ต้อง
ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน
ใช้วสั ดุอุปกรณ์การเรี ยน
ประหยัดและอยู่อย่าง ที่ราคาถูกและใช้อย่าง ที่ราคาค่อนข้างแพงและ
ที่ราคาค่อนข้างแพงและ
พอเพียง คุม้ ค่าใช้จนหมดแล้ว ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้ไม่หมด
ใช้อย่างคุม้ ค่าใช้จนหมด
ค่อยซื้ อใหม่ แล้วซื้ อใหม่

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….…………………………………………….…………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ใบความรู ้ เรือ
่ ง
สำนวนไทย
สำนวน คือ ถ้อยคำ หรื อ ข้อความที่สืบต่อกันมาช้านาน มีความหมายไม่
ตรงตามตัว หรื อมีความหมายอื่นแฝงอยูใ่ นเชิงเปรี ยบเทียบ สำนวนหมายรวมถึงคำ
พังเพย สุภาษิต ด้วย
คำพังเพย สุ ภาษิต
กงเกวียนกำเกวียน เป็ นคำพังเพย หมายถึง
ทำกรรมอย่างไรก็ได้รับกรรมอย่างนั้น
กระต่ายตื่นตูม เป็ นคำพังเพยหมายถึง คนที่แสดงอาการตื่นตกใจ
ง่ายโดยไม่ทนั ไตร่ ตรอง
ให้ถ่องแท้
จับปลาสองมือ เป็ นคำพังเพยหมายถึง มีใจไม่แน่นอน หมายจะ
เอาให้ได้ท้ งั สองอย่าง ซึ่ง
อาจไม่สำเร็ จทั้งสองอย่าง
ธรรมย่อมรักษาผูป้ ระพฤติธรรม เป็ นสุ ภาษิต
ความไม่มีโรคเป็ นลาภอันประเสริ ฐ เป็ นสุ ภาษิต
ความประมาทเป็ นทางแห่งความตาย เป็ นสุ ภาษิต
จะเห็นได้วา่ คำพังเพย เป็ นคำกล่าวเชิงเปรี ยบเทียบ แฝงด้วยข้อคิดเตือนใจ
ส่ วน สุภาษิต เป็ นคำกล่าวที่ดีงาม ใช้ถอ้ ยคำสั้น ๆ แต่กินความลึกซึ้ ง เป็ นคำสอน
หรื อหลักความจริ ง

ประเภทของสำนวนไทย
สำนวนไทยแบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท ดังนี้
๑. ประเภทคล้องจอง ๒. ประเภทเปรี ยบเทียบ
๓. ประเภทซ้ำคำ ๔. สำนวนไทยอื่น ๆ
๑. ประเภทคล้องจอง
ประเภทนี้มีการเรี ยงคำเป็ น ๔ คำ ๖ คำ ๘ คำ และ ๑๐ คำ มีเสี ยง
สัมผัส คล้องจอง ทำให้จ ำง่ายและไพเราะ
เรี ยง ๔ คำ มีสมั ผัส
- กว้างใหญ่ไพศาล
- ก่อกรรมทำเข็ญ
- เกิดดอกออกผล
- เก็บหอมรอมริ บ
- คอขาดบาดตาย
- ครู บาอาจารย์
- ฉกชิงวิ่งราว
- ชำรุ ดทรุ ดโทรม
เรียง ๖ คำ มีสัมผัส
- ขิงก็รา ข่าก็แรง
- ชัว่ เจ็ดที ดีเจ็ดหน
- นกมีหู หนูมีปีก
- หลังสู่ ฟ้า หน้าสู้ดิน
- ขุดด้วยปาก ถากด้วยขา
- ทรัพย์ในดิน สิ นในน้ำ
- มือถือสาก ปากถือศีล
- สวยแต่รูป จูบไม่หอม
เรียง ๘ คำ มีสัมผัส
- กินอยูก่ บั ปาก อยากอยูก่ บั ท้อง
- คับที่อยูไ่ ด้ คับใจอยูย่ าก
- เพื่อนกินหาง่าย เพื่อนตายหายาก
เรียง ๑๐ คำ มีสัมผัส
- สี่ เท้ายังรู้พลาด นักปราชญ์ยงั รู้พลั้ง
- ดูชา้ งให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่
- น้ำมาปลากินมด น้ำลดมดกินปลา
- มีทองเท่าหนวดกุง้ นอนสะดุง้ จนเรื อนไหว

๒.ประเภทเปรียบเทียบ
ประเภทนี้แต่ละสำนวนมีค ำตั้งแต่ ๓ – ๗ คำ ลักษณะเด่นของสำนวน
เป็ นการกล่าวถึงสิ่ งหนึ่งแทนอีกสิ่ งหนึ่ง
1) เรี ยง ๓ คำไม่มีสมั ผัส

เกลือจิม้ เกลือ ก้ างขวางคอ กาคาบพริก


ขมเป็ นยา
ไข่ในหิ น ถ่านไฟเก่า เด็กอมมือ แพะรับบาป
๒) เรี ยง ๔ คำไม่มีสมั ผัส

กระดี่ได้น ้ำ แกว่งเท้าหาเสี้ ยน ใจเป็ นปลาซิว


ผักชีโรยหน้า ลิงตกต้นไม้ หวังน้ำบ่อหน้า
๓) เรี ยง ๖ – ๗ คำไม่มีสมั ผัส

กว่าถัว่ จะสุ ก งาก็ไหม นิ้วไหนร้าย ตัดนิ้วนั้น


ตำน้ำพริ กละลายแม่น้ำ ข่มเขาโคขืนให้กินหญ้า
นกน้อยทำรังแต่พอตัว เขียนด้วยมือ ลบด้วยเท้า

๓. ประเภทซ้ำคำ
ประเภทนี้มีการเรี ยงคำ ๔ คำ คำที่ ๑ ซ้ำกับคำที่ ๓ เช่น

กินนอกกินใน ข้ามหน้าข้ามตา เข้าด้ายเข้าเข็ม คงเส้นคงวา


กินบ้านกินเมือง ต่อปากต่อคำ ตัวใครตัวมัน เต้นแร้งเต้นกา

๔. สำนวนไทยเกีย่ วกับไก่
ไก่แจ้ ความหมาย ผูช้ ายที่เจ้าชูห้ ลายใจ
ไก่ตื่น ความหมาย กลัวเพราะรู้แผนการของศัตรู
ไก่ตาแตก ความหมาย มึนงง คิดอะไรไม่ออก
ไก่หลง ความหมาย ผูห้ ญิงสำส่ อน คบชายไม่เลือกหน้า
ไก่ตาฟาง ความหมาย หลงผิดเป็ นชอบ
ไก่อ่อน ความหมาย ประสบการณ์นอ้ ย ยังไม่ช ำนาญพอ
ไก่ได้พลอย ความหมาย มีของมีค่าอยูก่ บั ตัวแต่มองไม่เห็นคุณค่า
ไก่แก่แม่ปลาช่อน ความหมาย ผูห้ ญิงที่เจนจัดผ่านผูช้ ายมามาก
ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง ความหมาย ผูห้ ญิงสวยเพราะ
การแต่งตัว
ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ ความหมาย รู้ความลับของกันและกัน

ใบงาน ชุดที่ ๑๐
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเติมพยัญชนะลงในช่องว่างหน้าสำนวนให้ถูกต้อง

…….๑) ขมิ้นกับปูน ก. เพลินจนลืมตัว


…….๒) รู้อย่างเป็ ด ข. คนที่เก่งแต่พดู
…….๓) คว้าน้ำเหลว ค. เหน็ดเหนื่อยเพราะทำงานหนัก
…….๔) ตัดหางปล่อยวัด ง. มีความประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริ ต
…….๕) ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก จ. มีท่าทางดี แต่ท ำอะไรไม่ได้เรื่ อง
…….๖) ว่าวติดลม ฉ. ไม่รู้จริ งสักอย่างเดียว
…….๗) สายตัวแทบขาด ช. ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง
…….๘) มือสะอาด ซ. ไม่ได้ผลตามต้องการ
…….๙) ท่าดีทีเหลว ฌ. ดีแต่พดู แต่ท ำไม่ได้
…….๑๐) หมาเห่าใบตองแห้ง ญ. ชอบวิวาทกันเมื่ออยูใ่ กล้กนั
ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............

ใบงาน ชุดที่ ๑๑
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนบอกความหมายของสำนวนต่อไปนี้

๑. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
ความหมาย ..............................................................................................

๒. ไก่อ่อน
ความหมาย ..............................................................................................

๓. ไก่หลง
ความหมาย ..............................................................................................

๔. ไก่แจ้
ความหมาย ..............................................................................................

๕. ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง
ความหมาย ..............................................................................................
ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............
แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒
ชุดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๖ สำนวนไทย
เลข ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน
ที่
ชื่อ – สกุล

ช่ วยเหลือและทำงานร่ วมกับผู้อนื่

รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ
มีเจตคติทดี่ ตี ่ อวัฒนธรรมและ

ประหยัดและอยู่อย่ างพอเพียง
มีความรอบคอบในการทำงาน

ผ่ าน / ไม่ ผ่าน
รวม
การทำใบงาน ชุดที่ ๑๐

การทำใบงาน ชุดที่ ๑๑
มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้
ภาษา

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐









๑๐
๑๑
๑๒
ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๓
๒ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๑๗ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๗


กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒
บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง เวลา ๑๐ ชั่วโมง
หัวข้ อเรื่อง ปริศนาคำทาย เวลา ๑ ชั่วโมง
วันที่ ....................................... ผู้ใช้
แผน ................................

สาระที่ ๕ วรรณคดี วรรณกรรม


มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม
ไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
๑. สาระสำคัญ
๑.๑ ความคิดรวบยอด
การเรี ยนรู ้ดว้ ยปริ ศนาคำทายเป็ นกระบวนการที่สามารถกระตุน้ และเร้าให้ผเู้ รี ยน
ฝึ กคิดวิเคราะห์หาคำตอบด้วยตนเองโดยใช้เหตุผลหลายๆอย่างช่วยในการคิดวิเคราะห์ เมื่อได้
รับการฝึ กประสบการณ์เป็ นประจำจะทำให้ผเู้ รี ยนเป็ นคนช่างคิดช่างวิเคราะห์และมีเหตุผล
๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการค้นหาคำตอบ
- ความสามารถในการทายปัญหา
๒. ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๒ / ๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรื อการฟังวรรณกรรม
ร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
๓. จุดประสงค์ การเรียนรู้
๓.๑ นักเรี ยนบอกความหมายของคำได้
๓.๒ นักเรี ยนเล่นเกมทายปัญหาได้
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๔.๑ เป็ นผูน้ ำและผูต้ ามที่ดี
๔.๒ มีความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้
๔.๓ มีความเสี ยสละ
๔.๔ มีทศั นคติที่ดีต่อภาษาไทย
๔.๕ ประหยัดและอยูอ่ ย่างพอเพียง
๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ สาระการเรียนรูแ ้ กนกลาง
๏ วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก เช่น
- นิทาน
- เรื่ องสั้นง่ายๆ
- ปริ ศนาคำทาย
- บทร้องเล่น
- บทอาขยาน
- บทร้อยกรอง
- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรี ยน
๕.๒ สาระการเรียนรูย ้ ่อย
๏ เล่นทายปัญหา
๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่ องรอยแสดงความรู้
๖.๑ แบบบันทึกผลการประเมิน
๖.๒ การทำใบงาน
๖.๓ แบบบันทึกการประเมินผลงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

๗. กิจกรรมการเรียนรู้
๗.๑ นักเรี ยนเล่นทายปัญหากับครู จากนั้นร่ วมกันสนทนาถึงความหมายและการ
ตั้งคำถามเกี่ยวกับปริ ศนาคำทาย
๗.๒ ครู อธิบายการเล่นปริ ศนาคำทายว่ามีวิธีการทายอย่างไรบ้าง ให้นกั เรี ยนลองคิด
คำทายในลักษณะต่างๆ ทายให้เพื่อนตอบ
๗.๓ ให้นกั เรี ยน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน เล่นเกมปริ ศนาคำทาย โดยให้
แต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งปัญหาขึ้นมาให้กลุ่มอื่นทาย กลุ่มละ ๑ คำทาย
๗.๔ ร่ วมกันสรุ ปเกี่ยวกับประโยชน์ของปริ ศนาคำทาย ให้นกั เรี ยนช่วยกันบอก
ประโยชน์ของคำทายว่ามีอย่างไรบ้าง
๗.๕ นักเรี ยนทำใบงานที่ ๑๒ ( ท้ายแผน ) ชุด หาคำตอบจากคำทายที่ก ำหนดให้
เสร็ จแล้วนำส่ งครู ครู เฉลยและตรวจสอบผลงาน
๗.๖ นักเรี ยนทำใบงานที่ ๑๓ ( ท้ายแผน ) ชุด ตอบคำถามจากปริ ศนาคำทาย จาก
นั้นนำส่ งครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง
๗.๗ นักเรี ยนทำแบบทดสอบหลังเรี ยน ( ท้ายแผน ) บทเรี ยนที่ ๔ ไก่แจ้แซ่เสี ยง
จำนวน ๒๐ ข้อ เสร็ จแล้วครู เฉลยคำตอบ นักเรี ยนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถูกต้อง
นำส่ งครู ประเมินและประกาศผล
๘. สื่ อ / แหล่ งการเรียนรู้
๑. ปริ ศนาคำทาย
๒.รู ปภาพ
๓. ใบงาน ชุดที่ ๑๒ – ๑๓
๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล

๙. วัดผลประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมิน


ผล
• ด้านความรู้ความเข้าใจ - ทำแบบทดสอบหลังเรี ยน - แบบทดสอบหลังเรี ยน
- สังเกต - ใบงาน ชุดที่ ๑๒ – ๑๓
- การบอกคำ - ซักถาม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
- การตอบคำถาม - ตรวจใบงาน
- การทำใบงาน
• ด้านคุณลักษณะอันพึง - สังเกตพฤติกรรมขณะร่ วม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล
ประสงค์ กิจกรรม

• ด้านทักษะกระบวนการคิด - ประเมินการร่ วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล


การร่ วมสนทนา

๑๐. เกณฑ์ ในการวัดผลและประเมินผล


๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๑๒
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๙ ขึ้นไป
๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ได้คะแนน ๑ – ๕
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรื อได้คะแนน ๕ ขึ้นไป
๓) เกณฑ์การร่ วมสนทนาและตอบคำถามมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ร่ วมสนทนาและร่ วมกิจกรรมตลอดเวลา
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ร่ วมสนทนาและร่ วมกิจกรรมเกือบ
ตลอดเวลา
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุ ง ร่ วมสนทนาและร่ วม
กิจกรรมเป็ นบางครั้ง
เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป

การประเมิน ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์ การให้ ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุ ง (๐)
พาเพื่อทำกิจกรรม ให้ พาเพื่อทำกิจกรรม ให้ พาเพื่อทำกิจกรรม ให้
เกียรติเพื่อน รู ้จกั แสดง เกียรติเพื่อน รู ้จกั แสดง เกียรติเพื่อน ไม่กล้า
ความคิดเห็นและเปิ ด ความคิดเห็นและเปิ ด แสดงความคิดเห็นและ
โอกาสให้เพื่อนได้ โอกาสให้เพื่อนได้ ไม่เปิ ดโอกาสให้เพื่อน
เป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี
แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็นเป็ น ได้แสดงความคิดเห็น
กล้าตัดสิ นใจและ บางครั้ง กล้าตัดสิ นใจ ไม่กล้ากล้าตัดสิ นใจ
ยอมรับการตัดสิ นใจ และยอมรับการตัดสิ น และไม่ค่อยยอมรับการ
ของเพื่อน ใจของเพื่อน ตัดสิ นใจของเพื่อน
มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า กล้าซักถามกล้าพูดกล้า
แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ
โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก โต้แย้งในสิ่ งที่ไม่ถูก
ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก ต้อง กล้าแสดงออก
รู้จกั แบ่งปันของกินหรื อ ไม่ค่อยรู ้จกั แบ่งปั น ไม่แบ่งปั นของกินหรื อ
สิ่ งของและช่วยเหลือ ของกินหรื อสิ่ งของและ สิ่ งของและช่วยเหลือ
มีความเสียสละ
เพื่อนตามความเหมาะ ช่วยเหลือเพื่อนตาม เพื่อนตามความเหมาะ
สม ความเหมาะสม สม
สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม สนใจและตั้งใจร่ วม
กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา กิจกรรมการเรี ยนภาษา
มีทัศนคติที่ดตี ่ อภาษา
ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน ไทยอย่างสนุกสนาน
ไทย
และมีความสุ ขตลอด และมีความสุ ขเกือบ และมีความสุ ขเป็ นบาง
เวลา ตลอดเวลา ครั้ง

๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.
…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………
๑๑. บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยน.............................
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………..
( ............................................... )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….

ความรูส้ ำหรับครู

ปริศนาคำทาย

ปริ ศนาคำทาย คือ ถ้อยคำที่ผกู ขึ้นเป็ นเงื่อนงำสำหรับทาย จะผูก


เป็ นถ้อยคำสั้นๆมีสมั ผัสคล้องจอง ฟังแล้วรื่ นหู แสดงถึงความเป็ นเจ้าบทเจ้า
กลอนของคนไทย
การเล่นปริ ศนาคำทาย เป็ นการฝึ กเชาวน์ไหวพริ บทั้งผูผ้ กู ปริ ศนาและ
ผูท้ ายปริ ศนาให้รู้จกั คิดวิเคราะห์ รู ้จกั สังเกต รู ้จกั เปรี ยบเทียบและสรุ ปเป็ น
คำตอบอย่างมีเหตุผล นับเป็ นการละเล่นที่ทา้ ทายความทสามารถ จึงเป็ นที่
นิยมของคนทัว่ ไป
ปริ ศนาคำทายมักจะเล่นในยามว่าง มีสมาชิกสังสรรค์ สนทนา
หรื อทำกิจกรรมร่ วมกัน มีการเล่นปริ ศนาคำทายกันเพื่อความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน เชื่อมความสามัคคีในหมู่เพื่อนหรื อสมาชิกในครอบครัวและยัง
เป็ นการฝึ กสมองลองภูมิปัญญาซึ่ งกันและกันอีกด้วย
คุณค่ าของปริศนาคำทาย

๑. รู ้จกั ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลิน


เป็ นการผ่อนคลายความตรึ งเครี ยด
๒. กระชับความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างเพื่อนฝูง และในครอบครัว
๓. ฝึ กให้เป็ นคนช่างสังเกต ช่างคิด ช่างจดจำฝึ กปฏิภาณไหวพริ บ
สติปัญญา
ฝึ กให้เป็ นคนทันคนมีความรู ้กว้างขวางขึ้น
๔. สะท้อนสภาพสังคม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ การดำเนิน
ชีวติ และความเจริ ญทางวัตถุและจิตใจของคนไทย
๕. แสดงภูมิปัญญาของผูผ้ กู ปั ญหาและผูท้ ายปั ญหา ว่าเป็ นผูม้ ีความ
รอบรู ้มีไหวพริ บ ทันต่อเหตุการณ์
๖. เป็ นการฝึ กใช้ภาษา โดยการผูกประโยค สำนวน วลี ทำให้รู้จกั คำ
หรื อศัพท์มากยิง่ ขึ้น
ประเภทของปริศนาคำทาย
๑. ปริ ศนาเกี่ยวกับพืช เช่น อะไรเอ่ย ต้นเท่าลำหอก เก็บดอกไปขาย
( ข้าวโพด )
๒. ปริ ศนาเกี่ยวกับสัตว์ เช่น อะไรเอ่ย หน้าแล้งอยูถ่ ้ำ หน้าน้ำอยู่
ดอน เกล้าผมเป็ นมอญใหม่ ( หอยโข่ง )
๓. ปริ ศนาเกี่ยวปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น อะไรเอ่ย เขียวชอุ่มพุม่
ไสว ไม่มีใบ แต่มีเม็ด ( ฝน )
๔. ปริ ศนาเกี่ยวกับอาชีพ หรื อของเครื่ องใช้ในการอุปโภค บริ โภค
เช่น อะไรเอ่ย ตีนหนึ่งเหยียบธรณี สองปี กราวี ร้องก้องเวหา ( กังหัน )
๕. ปริ ศนาเกี่ยวกับร่ างกายหรื อคน เช่น
อะไรเอ่ยผ้าเหลืองผืนน้อย คนทั้งร้อยตากไม่แห้ง ( ลิ้น )
๖. ปริ ศนาเกี่ยวกับศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เช่น อะไรเอ่ย เป็ น
แผ่นแต่เรี ยกใบ ตั้งไว้บนฐานอิฐ เป็ นสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ อยูใ่ นวัดในวา
( ใบเสมา )
๗. ปริ ศนาเกี่ยวกับเชาวน์ปัญญา เช่น หัวอะไรใหญ่ที่สุด
( หัวเมือง )
๘. ปริ ศนาเกี่ยวกับภาษา การเล่นคำ วรรณกรรม เช่น อะไรเอ่ย
หมาเดินหน้า พอไก่ตามมา คนชราชอบนัก ( หมาก )

ใบงาน ชุดที่ ๑๒
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนฟังครู อ่านคำทายต่อไปนี้แล้ว
ตอบคำถาม
๑. อะไรเอ่ยตัดหลังตัดหน้าเหลือกลางวาเดียว
๒. อะไรเอ่ยยิง่ ตัดยิง่ ยาว
๓. อะไรเอ่ยอยูห่ ลังโรงเรี ยนประจำ
๔. นกอะไรเอ่ยแต่งงานแล้ว
๕. นกอะไรเอ่ยไม่มีตวั ผู้
๖. อะไรเอ่ยเป็ นพืชอยูใ่ นน้ำ เป็ นคำตามหลัง “ หวง”
๗. อะไรเอ่ยไม่มีกระดูกแต่ลุกได้
๘. ฉันคืออะไร ปรุ งในอาหาร
เพื่อให้รสหวาน มดมันชอบกิน
๙. ฉันคืออะไร ขี่ได้ใช้ปั่น
มีสองล้อนั้น ขี่กนั ไปมา
๑๐. ฉันคืออะไร มีไว้หนุนนอน
ล้มตัวพักผ่อน นอนหลับฝันดี
ใบงาน ชุดที่ ๑๓

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนฟังครู อ่านคำทายต่อไปนี้แล้ว


ตอบคำถาม
๑. อะไรเอ่ย หุบเท่าแขน แบนเท่าถาด มีความสามารถ
กันแดดกันฝน
๒. อะไรเอ่ย ต้นเท่าลำหวาย ใบกระจายเต็มคลอง
๓. อะไรเอ่ย น้ำใสๆ ถ้าใครชอบดื่ม สติหลงลืม เอะอะ
โวยวาย
๔. อะไรเอ่ย คนหน้าเหนื่อยล้า คนหลังสบาย
พอถึงจุดหมาย คนหลังจ่ายเงิน
๕. อะไรเอ่ย สู งกว่าน้ำ ต่ำกว่าเรื อ
๖. อะไรเอ่ย ปิ ดหน้าเห็นนม ปิ ดหลังเห็นขน
๗. อะไรเอ่ยตัดโคนไม่ตาย ตัดปลายไม่เน่า
๘. พระอะไรใหญ่ที่สุด
๙. อะไรเอ่ยตั้งอยูห่ น้าโรงเรี ยนเสมอ
เฉล
๑๐. อะไรเอ่ย ตัดหลัยใบ งตัดหน้า เหลือกลางวาเดียว
งาน
ชุด
ที่
๑๓

๑. ร่ ม ๒. แห
๓. เหล้า ๔. สามล้อ
๕. ฟองน้ำ ๖. ขนม
๗. เส้นผม ๘. พระนคร
เฉล
๙. สระ โอ ยใบ ๑๐. กวาง
งาน
ชุด
ที่
๑๕
๑. ขวาน ๒. ถนน
๓. เรี ยน ๔. นกนางนวล หรื อนกนางแอ่น
๕. นกนางนวล หรื อนกนางแอ่น
๖. หวงแหน ๗. ขน
๘. น้ำตาล ๙. จักรยาน
๑๐. หมอน

แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ ๔

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย  ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. ชื่อใดไม่ใช่ชื่อไก่ของฉันในบทเรี ยน “ ไก้แจ้แซ่เสี ยง”


ก. เจ้าสร้อย ข. เจ้าสวย
ค. เจ้าสาย
๒. ลักษณะใดไม่ใช่ลกั ษณะของไก่แจ้
ก. ลำตัวเล็กและเตี้ย ข. ตัวผูม้ ีหงอนเป็ นแฉก
ค. หางใหญ่เป็ นพวง
๓. ไก่แจ้เป็ นไก่สายพันธุ์ใด
ก. ไทย ข. พม่า
ค. ลาว
๔. คนเราต้อง “ตื่นก่อนไก่” หมายความว่าอย่างไร
ก. ตื่นสาย ข. ตื่นเช้า
ค. ตื่นก่อนที่ไก่จะตื่น
๕. ไก่แจ้ เปรี ยบกับคนที่มีพฤติกรรมเช่นใด
ก. ผูช้ ายขี้เกียจ ข. ผูห้ ญิงหลายใจ
ค. ผูช้ ายเจ้าชู ้
๖. “ ถึงยามขันขันแซ่…………..เสี ยง” ควรเติมคำใด
ก. ซ้อง ข. กระชั้น
ค. สำเนียง
๗. คำใดเขียนผิด
ก. ส้อยคอ ข. ไก่แจ้
ค. นาฬิกา
๘. คำใดเขียนผิด
ก. สงสัย ข. กลางคืน
ค. แปกใจ
๙. สำนวนเกี่ยวกับไก่สำนวนใดหมายถึง ผูห้ ญิงที่เจนจัดมีสามี
หลายคน คือสำนวนใด
ก. ไก่อ่อน ข. ไก่แก่ แม่ปลาช่อน
ค. ไก่หลง
๑๐. บทร้อยกรอง “ ไก่เอ๋ ยไก่แจ้ ” เป็ นคำประพันธ์ชนิดใด
ก. กลอนสักวา ข. กลอนดอกสร้อย
ค. กลอนตลาด
๑๑. ต้นไม้ยนื ต้น ใช้ผลเคี้ยวกับใบพลูและปูแดง คือต้นอะไร
ก. ประดู่ ข. มะพร้าว
ค. หมาก

๑๒. สำนวน “ ไก่อ่อน” มีความหมายอย่างไร


ก. ไก่ที่ก ำลังเป็ นลูกเจี๊ยบอยู่
ข. คนที่ยงั มีประสบการณ์นอ้ ย
ค. ไก่ที่ไม่เหนียว
๑๓. คนที่ชอบวิวาทกันเมื่ออยูใ่ กล้กนั ตรงกับสำนวนใด
ก. ตัดหางปล่อยวัด ข. ขมิ้นกับปูน
ค. หมาเห่าใบตองแห้ง
๑๔. รู ้ความลับซึ่ งกันและกัน ตรงกับสำนวนใด
ก. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
ข. ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง
ค. ไก่แก่แม่ปลาช่อน
๑๕. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ ไก่แจ้”
ก. ไก่อู ข. แม่งู
ค. ไก่ชน
๑๖. คำใดออกเสี ยงอย่างอักษรนำ
ก. ตะลุง ข. กระชั้น
ค. ขยัน
๑๗. ไก่ขนั ตอนเช้าเปรี ยบได้กบั สิ่ งใด
ก. นาฬิกาปลุก ข. นาฬิกาบอกเวลา
ค. นาฬิกาจับเวลา
๑๘. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของไก่
ก. เลี้ยงไว้ดูเล่น ข. เลี้ยงเป็ นอาชีพ
ค. เลี้ยงไว้ชนเอาเงินเดิมพัน
๑๙. อะไรไม่ใช่อาหารของไก่
ก. แมลง ข. น้ำตาล
ค. ข้าวเปลือก
๒๐. สถานที่ที่คนทำไว้ให้ไก่อยู่ เรี ยกว่าอย่างไร
ก. เล้า ข. กระท่อม
ค. คอก

เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บทที่ ๔

ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕


ค ค ก ข ค
ข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๙ ข้อ ๑๐
ข ก ค ข ข
ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๒ ข้อ ๑๓ ข้อ ๑๔ ข้อ ๑๕
ค ข ข ก ข
ข้อ ๑๖ ข้อ ๑๗ ข้อ ๑๘ ข้อ ๑๙ ข้อ ๒๐
ค ก ค ข ก

แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒


ชุดวรรณคดีลำนำ บทที่ ๔ ไก่ แจ้ แซ่ เสี ยง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๗ ปริศนาคำทาย
เลข ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้ านผลงาน
ที่
ชื่อ – สกุล
รวมคะแนนด้ านคุณลักษณะ ฯ
ประหยัดและอยู่อย่ างพอเพียง

การทำใบงาน ชุดที่ ๑๒ – ๑๓

การทำแบบทดสอบหลังเรียน
มีทัศนคติที่ดตี ่ อภาษาไทย
เป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้

มีความเสี ยสละ
๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๔๐









๑๐
๑๑
๑๒
ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ ระดับคะแนน ๓๕ – ๔๐ = ๓
๒ หมายถึง พอใช้ ๒๕ – ๓๔ = ๒
๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๒๔ = ๑
เกณฑ์ การผ่ าน ได้คะแนน ๑ ขึน้ ไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )

You might also like