You are on page 1of 1

ระยะที่ 1 เจ็บครรภจริง - ปากมดลูกเปดหมด ระยะที่ 2 ปากมดลูกเปดหมด - ทารกคลอด

- ประเมินภาวะของทารกในครรภ (fetal condition) ตองฟง FHS ทุก 5 นาทีหรือฟงหลัง


มารดา จากมดลูกหดรัดตัวแลวทุกครั้งเพือประเมินภาวะขาดออกซิเจนถา FHS < 120 ครังตอ นาทีหรือ>
- สรางสัมพันธภาพกับผูคลอดในระยะแรกดวยการพูดคุยอยางเปนกันเอง 160 ครั้ังตอนาทีตองใหการชวยเหลือคลอดโดยเร็ว
- ใหความรูเกี่ยวกับการคลอดผล PV ความกาวหนาของการคลอด - ประเมินภาวะของผูคลอดโดยสังเกตเกียวกับสิงผิดปกติ เชน อาการออนเพลีย ขาดนํ้า กระสับกระ
- จัดสิ่งแวดลอมใหสะอาดสวยงาม มีรูปวิวทิวทัศน รูปภาพเด็กประดับ บริเวณผนังหอง สายคลืนไสอาเจียน
- เบี่ยงเบนความสนใจลดอาการปวด เชน - จับสัญญาณชีพทุก 10 นาทีและสัญญาณชีพไมควรเกิน 100 ครังตอนาที ในรายทีีมีระยะเวลา
-หายใจแบบชา(slow-deep) ของการคลอดยาวนานและชีพจรเกิน 100 ครั้งตอ นาทีตองรายงานแพทย
-หายใจตื้น เร็ว เบา(shallow accelerated)
-หายใจตื้น เร็ว เบา เปาปาก (pant-blow) - สังเกตผูคลอดอยางใกลชิด ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกปกติระยะน้ีมดลูกจะหดตัวนาน
ทารก ประมาณ 50 ถึง 60 วินาทีไมเกิน 90 วินาทีและหดรัดตัวทุก2- 3 นาที สิงที่ควรระวังคือการหด
- ฟง FHS ตองอยูในชวง 110 - 160 ครั้งตอนาทีและฟงในชวงมดลูกคลายตัว รัดตัวของมดลูกไมคลาย ซ่ึงอาจเกิดภาวะมดลูกแตกได

กาาพยาบาลระยะที่ 1 -4
ของการคลอด

ระยะที่ 3 ทารกคลอด - รกคลอด ระยะที่ 4 2 ชั่วโมงหลังคลอด

- จัดใหผูคลอดนอนหงายราบในทาทีสบาย
- วัด V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ัง และ 30 นาที 2 ครั้ง
- สังเกตุการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาทีใน 1 ชัวโมงแรกหลังคลอด
- ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
- สังเกตจํานวนและลักษณะของนํ้าคาวปลาที่ออกจากชองคลอด
- สอบถามอาการผูคลอด เชน เหนือย ออนเพลีย หนามืด เวียนศรีษะ ใจสั่น
- ตรวจดูกระเพาะปสสาวะใหวางอยูเสมอ
- ตรวจดูปริมาณเลือดทีออก โดยตรวจดูผาอนามัย
- ดูแลใหผูคลอดไดรับอาหารหลังคลอด

You might also like