You are on page 1of 21

บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง

2.1 ปริมาณต่ างๆ ของการเคลื่อนที่


2.1.1 ระยะทาง (distance) และการกระจัด (displacement )
ระยะทาง (distance) คือความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ได้จริ ง มีหน่วยเป็ นเมตร ( m ) เป็ น
ปริ มาณสเกลาร์ เพราะการคิดระยะทางไม่ตอ้ งคานึงถึงทิศทางของการเคลื่อนที่
การกระจัด (displacement) คือความยาวที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายของ
การเคลื่ อนที่ มี หน่ วยเป็ นเมตร ( m ) เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะการคิ ดการกระจัดต้องคิ ด
ทิศทางจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายด้วย
ตัวอย่างเช่ น หากวัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่จาก C
จุด A ไปจุด B แล้วเคลื่อนต่อไปจุด C ในทิศที่ต้ งั ฉาก 3 เมตร
กันดังรู ป จะได้วา่ ความยาวที่เคลื่อนได้จริ งมีค่า 7 เมตร A 4 เมตร B
ซึ่ งหาค่าได้จาก 4 เมตร + 3 เมตร ( ไม่ตอ้ งสนใจทิศ ทาง ) ความยาวเช่นนี้เรี ยก ระยะทาง
และเนื่องจากการคิดระยะทางนี้ไม่ตอ้ งคานึงถึงทิศทาง ดังนั้นระยะทางจึงเป็ นปริ มาณสเกลาร์
จากตัวอย่างเดิม หากเราหาความยาวจากจุดเริ่ มต้น
( A ) ตรงไปยังจุดสุ ดท้าย (C ) โดยใช้ทฤษฎีพีทาโกรัส C
5 เมตร
จะได้วา่ AC2 = 42 + 32 3 เมตร
AC2 = 16 + 9 A 4 เมตร B
2
AC = 25
AC = 5 เมตร
ความยาวจากจุดเริ่ มต้น( A ) ตรงไปยังสุ ดท้าย( C ) นี้เรี ยก การกระจัด ซึ่ งเป็ นปริ มาณที่มีท้ งั
ขนาดและทิศทาง ดังนั้นการกระจัดจึงเป็ นปริ มาณเวกเตอร์
2.1.2 อัตราเร็ว ( speed ) และ ความเร็ว ( velocity )
2.1.2.1 อัตราเร็วเฉลี่ย และความเร็วเฉลีย่
อัตราเร็ วเฉลี่ย คือ อัตราส่ วนของระยะทางที่เคลื่ อนที่ได้ต่อเวลาที่ ใช้ในการเคลื่ อนที่
ตลอดช่วงนั้น มีหน่วยเป็ น เมตรต่อวินาที เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v = st
เมื่อ v คืออัตราเร็ ว ( เมตร/วินาที )
8
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
s คือระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ ( เมตร )
t คือเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
ความเร็วเฉลีย่ คือ อัตราส่ วนของการกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
ตลอดช่วงนั้น มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v = dt
เมื่อ v คือความเร็ ว ( เมตร/วินาที )
d คือการกระจัด ( เมตร )
t คือเวลา ( วินาที )
2.1.2.2 ความเร็ว ณ จุดใดจุดหนึ่ง
ความเร็ ว ณ จุดหนึ่งๆ สามารถหาค่าได้จากความชันเส้นกราฟของการกระจัดกับเวลา
1. จงหาอัตราเร็ ว และ ความเร็ ว ในหน่วยเมตร/วินาทีของการเคลื่อน
ที่ตามแผนภาพ กาหนดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งั หมด 2 วินาที
5m
1. 8.5 , 6.5 2. 8.5 , 13
3. 17 , 6.5 4. 17 , 13 12 m

2.1.3 อัตราเร่ ง และ ความเร่ ง


อัตราเร่ ง คือ อัตราส่ วนของอัตราเร็ วที่เปลี่ ยนไปต่อเวลาที่ใช้ในช่ วงเปลี่ยนอัตราเร็ วนั้น
มีหน่วยเป็ น เมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v v
a = 2t 1
เมื่อ a = อัตราเร่ ง ( เมตร/วินาที2 )
v1 = อัตราเร็ วตอนแรก ( เมตร/วินาที )
v2 = อัตราเร็ วตอนหลัง ( เมตร/วินาที )
t = เวลาที่ใช้ในช่วงเปลี่ยนความเร็ ว ( วินาที )
9
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ความเร่ ง คืออัตราส่ วนของความเร็ วที่เปลี่ ยนไปต่อเวลาที่ใช้ในช่ วงเปลี่ ยนความเร็ วนั้น
หน่วยเป็ น เมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v v
a = 2t 1
เมื่อ a = ความเร่ ง ( เมตร/วินาที2 )
v 1 = ความเร็ วตอนแรก ( เมตร/วินาที )
v 2 = ความเร็ วตอนหลัง ( เมตร/วินาที )
t = เวลาที่ใช้ในช่วงเปลี่ยนอัตราเร็ ว ( วินาที )
ควรทราบ ถ้า a เป็ นบวก เรี ยกความเร่ ง จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าเพิ่มมากขึ้น
ถ้า a เป็ นลบ เรี ยกความหน่วง จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าลดลง
ถ้า a = 0 จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าคงที่
2. รถคันหนึ่ งวิ่งด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที จากนั้นลดความเร็ วลงจนเหลื อ 10 เมตร/-
วินาที ในเวลา 2 วินาที แนวเส้นตรง จงหาความเร่ งเฉลี่ยของรถในหน่วย เมตร/วินาที2
1. –5 2. –10 3. 5 4. 10

2.2 สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่ างๆ ของการเคลื่อนที่ในแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงตัว


สาหรับการคานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่ งคงที่น้ นั เราสามารถ
ใช้สมการต่อไปนี้ทาการคานวณ
ถ้าความเร่ งไม่เท่ากับศูนย์ ( a  0 ) ความเร็ วมีการเปลี่ยนแปลง ใช้สมการ
 v = u+at  s = u 2 v  t
 s = u t + 12 a t2  s = v t – 12 a t2
 v2 = u 2 + 2 a s
เมื่อ u = ความเร็ วต้น (m/s) , v = ความเร็ วปลาย (m/s)
t = เวลา (s) , a = ความเร่ ง (m/s2) , s = การกระจัด (m)
10
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ถ้าความเร่ งเท่ากับศูนย์ ( a = 0 ) ( ความเร็ วคงที่ ) ใช้สมการ
s = Vt
เมื่อ s = การกระจัด (m) , t = เวลา (s) , V = ความเร็ วซึ่งคงที่ ( m/s )
3. รถคันหนึ่ งเคลื่ อนที่จากหยุดนิ่ งด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 2 วินาที จะ
เคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร

4. วัตถุ ก้อนหนึ่ งเคลื่ อนไปข้างหน้าด้วยความเร่ ง 10 เมตร/วินาที 2 ในเวลา 2 วินาที ต่อมา


วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4 เมตร จะมีความเร็ วปลายเท่าใด
1. 8 m/s 2. 12 m/s 3. 16 m/s 4. 18 m/s

5(แนว Pat2) วัตถุเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงด้วยความ ความเร่ ง (เมตร/วินาที2)


เร่ งตามกราฟ โดยเริ่ มต้นเคลื่อนที่จากความ
2
เร็ วต้น 10 เมตร/วินาที ระยะทางที่วตั ถุ
t (วินาที)
เคลื่อนได้ในช่วงเวลา 2 วินาที เป็ นกี่เมตร 1 2
–1
1. 22.5 2. 45.0
3. 11.5 4. 23.0

11
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
เกีย่ วกับการเคลื่อนที่เป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่ง
ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งวัตถุจะถูกแรงดึง
ดูดของโลกดูดเอาไว้ ทาให้เกิดความเร่ งเนื่องจากแรง
โน้มถ่วงในทิศพุง่ ลงสู่ พ้นื โลก และมีขนาดประมาณ
9.8 เมตร/วินาที2 ความเร่ งนี้นิยมใช้สัญลักษณ์แทน
ด้วย g
6(แนว มช) นักเรี ยนโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่ งถึ งจุดสู งสุ ด 12 เมตร ก้อนหิ นหยุดนิ่ งก่อน
ตกลงมา ณ จุดสู งสุ ดก้อนหิ นมีความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. 0 2. 9.8 3. 12 4. 19.6

การคานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนทีเ่ ป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้ วยความเร็วต้ นในทิศลง


การเคลื่อนที่แบบเส้นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้วยความเร็ วต้นในทิศลง การคานวณ
ยังคงใช้สมการเดิมทั้งหมดได้ แต่มีสิ่งที่ตอ้ งรู ้เพิ่มเติมคือ
1) ให้ใช้ค่าความเร่ ง (a) เป็ น +9.8 เมตร/วินาที2 เพราะความ u
เร่ งนี้มีทิศลงเหมือนกับความเร็ วต้น (u) ของการเคลื่อนที่ a = +9.8 m/s2
2) ความเร็ วปลาย (v) และการกระจัด (s) จะมีค่าเป็ นบวก
เสมอ เพราะมีทิศเหมือนความเร็ วต้น (u) คือมีทิศลงเสมอ

7. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ใช้เวลา 3 วินาที จึงจะถึงพื้น


ถามว่าความเร็ วของลูกบอลขณะกระทบพื้นมีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 15 2. 25 3. 30 4. 40

12
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การคานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนทีเ่ ป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้ วยความเร็วต้ นในทิศขึน้
การเคลื่ อนที่แบบเส้นตรงในแนวดิ่ งบนผิวโลก ด้วยความเร็ วต้นในทิ ศขึ้น การคานวณ
ยังคงใช้สมการเดิมทั้งหมดได้ แต่มีสิ่งที่ตอ้ งรู ้เพิม่ เติมคือ v=0
2
1) ให้ใช้ค่าความเร่ งเป็ น –9.8 เมตร/วินาที เพราะความ
a = –9.8 m/s2
เร่ งนี้มีทิศลงตรงกันข้ามกับความเร็ วต้น ( u ) ของการเคลื่อนที่
u
2) ความเร็ วปลาย (v) และการกระจัด (s)
ถ้ามีค่าเป็ นบวก แสดงว่ามีทิศเหมือนความเร็ วต้น (u) คือมีทิศขึ้น
ถ้ามีค่าเป็ นลบ แสดงว่ามีทิศตรงกันข้ามกับความเร็ วต้น (u) คือมีทิศลง
8(แนว Pat2) ขว้างลูกบอลจากสนามหญ้ามายังลานหน้าบ้าน ถ้าลูกบอลลอยอยูใ่ นอากาศ
นาน 4.0 วินาที ตาแหน่งของลูกบอล ณ จุดสู งสุ ดอยูส่ ู งจากระดับที่ขว้างในแนวดิ่งกี่เมตร
(ไม่ตอ้ งคิดผลของแรงต้านของอากาศ) ( ให้ใช้ g = 9.8 เมตร/วินาที2 )

9(แนว มช) โยนวัตถุ ข้ ึนในแนวดิ่ งปรากฏว่าวัตถุ ข้ ึนได้สูง 4 เมตร ในเวลา 0.4 วินาที จง
หาอัตราเร็ วของวัตถุ ณ จุดนั้น ในหน่วยเมตร/วินาที
1. 6 m/s ในทิศขึ้น 2. 6 m/s ในทิศลง
3. 8 m/s ในทิศขึ้น 4. 8 m/s ในทิศลง

13
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
10(แนว En) เด็กคนหนึ่ งโยนพวงกุญแจขึ้ นไปในแนวดิ่ งเพื่อให้เพื่อนที่ อยู่บนระเบียงสู งขึ้ นไป
และพบว่าเพื่อนรับพวงกุญแจได้ในเวลา 2 วินาทีต่อมา ถ้าจุดที่รับสู งกว่าจุดที่โยน 4 เมตร
พวงกุญแจถึงมือผูร้ ับด้วยความเร็ วเท่าใด
1. 6 m/s ในทิศขึ้น 2. 6 m/s ในทิศลง
3. 8 m/s ในทิศขึ้น 4. 8 m/s ในทิศลง

11. โยนก้อนหิ นขึ้นไปตามแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที ถามว่าโยนขึ้นไปแล้วนาน


5 วินาที ก้อนหิ นจะอยูท่ ี่ใด
1. วัตถุอยูต่ ่ากว่าจุดที่โยน 25 เมตร 2. วัตถุอยูส่ ู งกว่าจุดที่โยน 15 เมตร
3. วัตถุอยูท่ ี่พ้นื 4. วัตถุอยูต่ ่ากว่าจุดที่โยน 15 เมตร

12. เด็กคนหนึ่ งขึ้นไปบนอาคารซึ่ งสู งจากพื้นดิน 25 เมตร ยืน่ มือออกนอกอาคารเล็กน้อยแล้ว


โยนก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศตรงๆ ด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร / วินาที นานเท่าไรหลังจาก
โยนวัตถุจึงจะตกถึงพื้นดิน
1. 2 วินาที 2. 3 วินาที 3. 4 วินาที 4. 5 วินาที

14
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.3 กราฟของการเคลื่อนทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงที่
2.3.1 กราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด ทีส่ ั มพันธ์ กนั
กราฟชุ ด ที่ 1 กราฟชุ ด นี้ จะแสดงถึ ง การเคลื่ อ นที่ ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มี ค่ า เป็ น 0 คงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่ อนที่จะคงที่ตลอดเวลา ส่ วนการกระจัด ( s ) จะเพิ่มขึ้นแปรผันตรง
ตามเวลา ( t ) กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นตรงสู งขึ้นตามเวลา

ความเร่ ง = 0 ความเร็ วคงที่ การกระจัดเพิ่มขึ้นเป็ นกราฟเส้นตรง


กราฟชุ ด ที่ 2 กราฟชุ ด นี้ จะแสดงถึ ง การเคลื่ อ นที่ ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มี ค่ า เป็ นบวกคงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นแปรผันตรงกับเวลา กราฟของความเร็ วเทียบกับเวลา
จะเป็ นเส้นตรงสู งขึ้นตามเวลา ส่ วนการกระจัดจะเพิ่มขึ้นเร็ วกว่าการเคลื่อนที่แบบความเร็ วคงที่
กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลาหงาย

ความเร่ งเป็ นบวกคงที่ ความเร็ วเพิ่มเป็ นเส้นตรง การกระจัดเพิ่มขึ้นเป็ นเส้นโค้งพาราโบลา


กราฟชุ ดที่ 3 กราฟชุดนี้ จะแสดงถึงการเคลื่อนที่ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มีค่าเป็ นลบคงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะลดลงแปรผกผันกับเวลา กราฟของความเร็ วเทียบกับเวลาจะ
เป็ นเส้นตรงลดลงตามเวลา ส่ วนการกระจัดจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าการเคลื่อนที่แบบความเร็ วคงที่
กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลาตะแคงเปิ ดขวา

ความเร่ งเป็ นลบคงที่ ความเร็ วลดลงเป็ นเส้นตรง การกระจัดเพิม่ เป็ นเส้นโค้งพาราโบลา

15
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
กราฟน่ าสนใจ พิจารณากราฟการกระจัดเทียบกับ
เวลาด้านขวา จะพบว่าการกระจัดมีค่าคงที่คือ 5 เมตร
แสดงว่าวัตถุอยูน่ ิ่งๆ กับที่ ที่ระยะห่างจากจุดเริ่ มต้น 5
เมตร ดังนั้น ความเร็ ว = 0 และ ความเร่ ง = 0
13(แนว A–net) กราฟของอัตราเร็ ว ( v ) กับเวลา ( t ) ของวัตถุ ที่ข้ ึ นอย่างอิ สระในสุ ญญากาศ
ภายใต้แรงโน้มถ่วง ควรเป็ นดังรู ปใด
1. v 2. v

t t
3. v 4. v

t t

14. วัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงโดย มีกราฟความเร็ ว–


เวลา ดังรู ปดังนั้นกราฟในข้อใดต่อไปนี้ แทนความสัมพันธ์ ระหว่างความเร่ งกับเวลา
ของการเคลื่อนที่น้ ีได้ถูก
1. ความเร่ ง 2. ความเร่ ง

0 เวลา 0 เวลา

3. ความเร่ ง 4. ความเร่ ง

0 เวลา 0 เวลา

16
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.3.2 พืน้ ทีใ่ ต้ กราฟ และ ความชันเส้ นกราฟของกราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด
สาหรับกราฟการกระจัด ( s ) และเวลา ( t ) s
ความชันเส้นกราฟจะมีค่าเท่ากับ ความเร็ ว (v ) ของการเคลื่อนที่
พื้นที่ใต้กราฟ ( พื้นที่ระหว่างเส้นกราฟถึงแกนนอน ) จะไม่เท่า
t
กับปริ มาณใดๆ ทางฟิ สิ กส์ v
สาหรับกราฟความเร็ว ( v ) และเวลา ( t )
ความชันเส้นกราฟ จะมีค่าเท่ากับ ความเร่ ง (a ) ของการเคลื่อนที่
t
พื้นที่ใต้กราฟ จะมีค่าเท่ากับการกระจัด ( s ) ที่เคลื่อนที่ได้ a
สาหรับกราฟความเร่ ง ( a ) และเวลา ( t )
ความชันเส้นกราฟ จะไม่เท่ากับปริ มาณใดๆ ทางฟิ สิ กส์ t
พื้นที่ใต้กราฟ จะมีค่าเท่ากับความเร็ วปลาย ลบ ความเร็ วต้น ( v – u )
15. จากกราฟการเคลื่อนที่ดงั รู ป จงหาการ ความเร็ ว (m/s)
กระจัดของการเคลื่อนที่
2
1. 5 เมตร 2. 10 เมตร
3. 15 เมตร 4. 20 เมตร เวลา (s)
4 5

16(แนว มช) รถคันหนึ่งวิง่ ออกจากจุดสตาร์ ทไปตาม V (m/s)


ลู่แข่งด้วยอัตราเร็ วดังแสดงในกราฟ จงหาอัตรา
เร่ งของรถขณะวิง่ ออกมาได้ 4 วินาที ในหน่วย 45
เมตรต่อวินาที2 30
t (s)
5 10 14

17
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
17(En 31) วัตถุอนั หนึ่งเคลื่อนที่จากนิ่งด้วยความเร่ ง a
a (m/s2)
ที่เวลา t ดังได้แสดงในรู ป จงหาความเร็ วของวัตถุ
2
ที่เวลา 5 วินาที 0 t (s)
1. 2 m/s 2. 1 m/s 1 2 3 4 5
–1
3. 0 m/s 4. –1 m/s

18. จากกราฟของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ จงหาระยะทาง v (m/s )


และการกระจัดของการเคลื่อนที่ตามลาดับ 10
1. 52 m , 28 m
8 10 t(s)
2. 52 m , 52 m
3. 28 m , 28 m
–12
4. 28 m , 52 m

19. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาอัตราเร็ ว และความเร็ วเฉลี่ย ตามลาดับ


1. 5.2 m/s , 2.8 m/s 2. 5.2 m/s , 5.2 m/s
3. 2.8 m/s , 2.8 m/s 4. 2.8 m/s , 5.2 m/s

18
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
เฉลยบทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบ 10 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบ 19.60
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบ 9
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1.



19
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหา วิ ท ยาลัย
บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง ชุ ด ที่ 1
2.1 ปริมาณต่ างๆ ของการเคลื่อนที่
2.1.1 ระยะทาง และการกระจัด
2.1.2 อัตราเร็ว และความเร็ว
1(En41 เม.ย.) นาย ก เดินจาก A ไป B ใช้เวลา 18 วินาที 20 m
A B
จากนั้นเดินต่อไปยัง C ดังรู ป ใช้เวลา 12 วินาที จง
หาขนาดของความเร็ วเฉลี่ยของ นาย ก ตลอดการเดินนี้ 10 m
1. 0.67 m/s 2. 0.75 m/s
3. 0.97 m/s 4. 1.00 m/s C
2(แนว Pat2) สุ ธีขบั มอเตอร์ ไซด์บนทางตรงด้วยอัตราเร็ ว 40 กิโลเมตรต่อชัว่ โมงเป็ นระยะทาง
10 กิโลเมตร แล้วขับต่อด้วยอัตราเร็ ว 60 กิโลเมตรต่อชัว่ โมงเป็ นระยะทางอีก 10 กิโลเมตร
และด้วยอัตราเร็ ว 80 กิโลเมตรต่อชัว่ โมงเป็ นระยะทางอีก 10 กิโลเมตร อัตราเร็ วเฉลี่ยของ
มอเตอร์ ไซด์คนั นี้ เป็ นเท่าใด
1. 60 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 2. มากกว่า 60 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
3. น้อยกว่า 60 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

2.1.3 อัตราเร่ ง และความเร่ ง


2.2 สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่ างๆ ของการเคลื่อนทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงตัว
3(แนว Pat2) วัตถุเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงด้วยความ ความเร่ ง (เมตร/วินาที2)
เร่ งตามกราฟ โดยเริ่ มต้นเคลื่อนที่จากความ
4
เร็ วต้น 20 เมตร/วินาที ระยะทางที่วตั ถุ
t (วินาที)
เคลื่อนได้ในช่วงเวลา 2 วินาที เป็ นกี่เมตร 1 2
–2
1. 45 2. 67
3. 92 4. 94

20
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
4(En 38) รถยนต์คนั หนึ่ งวิ่งด้วยความเร็ วคงที่ 10 เมตรต่อวินาที ขณะที่ อยูห่ ่ างสิ่ งกี ดขวาง
เป็ นระยะทาง 35 เมตร คนขับตัดสิ นใจห้ามล้อรถ โดยเสี ยเวลา 1 วินาที ก่อนที่ห้ามล้อ
จะทางาน เมื่อห้ามล้อทางานแล้ว รถจะต้องลดความเร็ วในอัตราเท่าใด จึงจะทาให้รถ
หยุดพอดีเมื่อถึงสิ่ งกีดขวางนั้น
1. 1.0 m/s2 2. 1.5 m/s2 3. 2.0 m/s2 4. 3.0 m/s2

5(En45 ต.ค.) รถยนต์ 2 คัน วิ่งคู่ ก นั มาด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วิน าที เท่ ากัน คนขับ รถคัน
หนึ่ง ลดความเร็ วลงด้วยความเร่ ง –2 เมตร/วินาที 2 แล้วหยุดเป็ นเวลา 40 วินาที จากนั้น
จึงออก รถด้ ว ยความเร่ ง 2 เมตร / วิ น าที 2 จนมี ค วามเร็ ว 20 เมตร/วิ น าที เท่ า เดิ ม
อยากทราบว่า ขณะนี้รถทั้งสองคันอยูห่ ่างกันกี่เมตร

6(En44 ต.ค.) รถยนต์คนั หนึ่ งกาลังเคลื่ อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วคงตัว 50 กิ โลเมตรต่อชัว่ โมง ต่อมา
รถยนต์คนั นี้ วิ่งผ่านรถยนต์อีกคันหนึ่ งซึ่ งวิ่งไปทางเดี ยวกันด้วยอัตราเร็ ว 40 กิ โลเมตรต่อ-
ชัว่ โมง และมีอตั ราเร่ งคงตัว 20 กิโลเมตรต่อ(ชัว่ โมง)2 อีกนานเท่าใดรถยนต์ท้ งั สองคันจะ
มาพบกันอีกครั้ง
1. ไม่มีทางมาเจอกันอีก 2. 1 ชัว่ โมง 3. 2 ชัว่ โมง 4. 3 ชัว่ โมง

7(En47 ต.ค.) รถบัสกาลังเคลื่อนออกจากป้ ายด้วยความเร่ ง 1.0 เมตร/วินาที2 ชายผูห้ นึ่ งวิ่งไล่


กวดรถบัสจากระยะห่ าง 6.0 เมตร ด้วยความเร็ วคงที่ 3.5 เมตร/วินาที จะต้องไล่กวดนาน
กี่วนิ าทีจึงทันรถบัส

3.5 m/s 1.0 m/s2

6.0 m
1. 2.0 2. 3.0 3. 5.0 4. 6.0

8(En42 ต.ค) ชายคนหนึ่ งขับรถด้วยความเร็ วคงที่ 72 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เมื่อผ่านด่านตรวจ


ไปได้ 10 วินาที ตารวจจึงออกรถไล่กวดและทันรถของชายดังกล่าวในเวลา 2 นาที ตารวจ
ต้องเร่ งเครื่ องยนต์ดว้ ยความเร่ งคงที่เท่าไรในหน่วยเมตรต่อวินาที2

21
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
9(แนว มช) วัตถุ A ซึ่ งมีมวลเป็ น 3 เท่าของวัตถุ B ตกจากที่สูง 3 และ 5 เมตร ตามลาดับ
ในขณะที่เหรี ยญตกเกือบถึงพื้น ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. วัตถุ B มีความเร่ งมากกว่าวัตถุ A 2. วัตถุ B มีความเร่ งน้อยกว่าวัตถุ A
3. วัตถุ B มีความเร่ งเท่ากับวัตถุ A 4. มีขอ้ ที่ไม่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

10(En44 ต.ค.) โยนวัตถุกอ้ นหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งโดยวัตถุข้ ึนถึงจุดสู งสุ ดที่ B ถ้า A และ C


เป็ นจุดที่อยูใ่ นระดับเดียวกัน ดังรู ป เมื่อไม่คิดผลของแรงต้านอากาศ B
ข้อต่อไปนี้ขอ้ ใดถูก
1. ที่จุด B วัตถุมีความเร็ วและความเร่ งเป็ นศูนย์
A C
2. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร็ วเท่ากัน
3. ที่จุด A และ C วัตถุมีความเร่ งขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงกันข้าม
4. ที่จุด A , B และ C วัตถุมีความเร่ งเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง

11(แนว Pat2) ขว้างลูกบอลจากสนามหญ้ามายังลานหน้าบ้าน ถ้าลูกบอลลอยอยูใ่ นอากาศ


นาน 2.0 วินาที ตาแหน่งของลูกบอล ณ จุดสู งสุ ดอยูส่ ู งจากระดับที่ขว้างในแนวดิ่งกี่เมตร
(ไม่ตอ้ งคิดผลของแรงต้านของอากาศ) ( ให้ใช้ g = 9.8 เมตร/วินาที2 )

12(แนว Pat2) ปาลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง ความสูง (เมตร)


จากดาวดวงหนึ่งที่มีความเร่ งเนื่องจากแรง 60
โน้มถ่วงที่ไม่เท่ากับโลก พบว่าความสัม– 50
40
พันธ์ระหว่างความสู งของลูกบอล ในแนว 30
ดิ่งกับเวลาเป็ นดังกราฟ ความเร็ วต้นของ 20
ลูกบอลเป็ นกี่ เมตรต่อวินาที 10
00
1. 20 2. 30 2 4 6 8 10
เวลา(วินาที)
3. 40 4. 50

22
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
13(แนว Pat2) โยนลูกบอลขึ้นไปในแนว ระยะทาง (เมตร)
ดิ่งบนดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง พบว่าความ 60
50
สัมพันธ์ระหว่างความสู งลูกบอลในแนว 40
ดิ่งจากพื้นกับเวลาเป็ นดังรู ป ความเร่ ง 30
เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดาวดวงนี้มีค่า 20
10
กี่เมตร/วินาที2
00 2 4 6 8 10
1. 4 2. 10 เวลา(วินาที)
3. 16 4. 20

14(En 41) โยนวัตถุสองก้อน A และ B ให้เคลื่อนที่ข้ ึนตามแนวดิ่ง ระยะทางสู งสุ ดที่วตั ถุ A


และ B เคลื่ อนที่ข้ ึนไปได้คือ 50 และ 200 เมตร ตามลาดับ อัตราส่ วนของความเร็ วต้น
ของ A ต่อของ B มีค่าเท่าใด
1. 14 2. 1 3. 12 4. 1
2 2 2

15(En42 มี.ค.) เด็กชายคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งเมื่อลูกบอลขึ้นไปได้สูง 5 เมตร


อัตราเร็ วของลูกบอลเท่ากับ 10 เมตรต่อวินาทีในแนวขึ้น อัตราเร็ วเริ่ มต้นและระยะสู งสุ ด
ที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้มีค่าเท่าใด
1. 10 m/s และ 10 m 2. 10 2 m/s และ 10 2 m
3. 10 m/s และ 10 2 m 4. 10 2 m/s และ 10 m

16(En 40) ชายคนหนึ่งโยนเหรี ยญขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที เป็ นเวลา


เท่าใดเหรี ยญจึงจะตกลงมาถึงตาแหน่งเริ่ มต้นฺ
1. 1 s 2. 2 s 3. 3 s 4. 4 s

17(มช 33) จุกคอร์ กกระเด็นหลุดจากปากขวดขึ้นในแนวดิ่ งกระทบหลอดไฟซึ่ งอยูส่ ู งขึ้นไป 4


เมตร จากปากขวดในเวลา 0.4 วินาที จงหาอัตราเร็ วของจุกคอร์ กขณะกระทบหลอดไฟ
ในหน่วยเมตร/วินาที
1. 7 2. 8 3. 12 4. 16

23
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
18(En 45 ต.ค.) เด็กคนหนึ่ งโยนพวงกุญแจขึ้นไปในแนวดิ่งเพื่อให้เพื่อนที่อยูบ่ นระเบียงสู งขึ้น
ไป และพบว่าเพื่อนรับพวงกุญแจได้ในเวลา 2 วินาทีต่อมา ถ้าจุดที่รับสู งกว่าจุดที่โยน
4 เมตร พวงกุญแจถึงมือผูร้ ับด้วยความเร็ วเท่าใด
1. 12 m/s ในทิศขึ้น 2. 12 m/s ในทิศลง
3. 8 m/s ในทิศขึ้น 4. 8 m/s ในทิศลง

19(มช 30) ชายคนหนึ่งยืนอยูบ่ นดาดฟ้าของตึกเขาขว้างก้อนหิ นมวล 0.1 กิโลกรัม ขึ้นไปใน


อากาศในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที หลังจากก้อนหิ นหลุดจากมือเขา 6 วินาที
ก็ตกถึงพื้นดินความสู งของตึกเป็ นเท่าไร
1. 125.0 เมตร 2. 150.0 เมตร 3. 151.25 เมตร 4. 152.5 เมตร
20(มช 41) เด็กคนหนึ่งโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที ก้อนหิ น
ตกถึงพื้นซึ่ งอยูต่ ่ากว่าตาแหน่งมือที่กาลังโยนเป็ นระยะทาง 15 เมตร จงหาว่าก้อนหิ น
เคลื่อนที่อยูใ่ นอากาศเป็ นเวลานานกี่วนิ าที
21(En 36) จุดบั้งไฟขึ้นไปในอากาศด้วยความเร่ งคงที่ 8 เมตร/วินาที 2 ในแนวดิ่ ง ขึ้นไปได้
10 วินาที เชื้อเพลิงหมด บั้งไฟจะขึ้นไปได้สูงจากพื้นกี่เมตร
1. 400 เมตร 2. 720 เมตร 3. 810 เมตร 4. 1,710 เมตร

2.3 กราฟของการเคลื่อนทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงที่


2.3.1 กราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด ทีส่ ั มพันธ์ กนั
22(En 35) จงพิจารณากราฟต่อไปนี้
v
ก. ข. v ค. v

t t t
จากกราฟที่ปรากฏข้างบนนี้ มีกรณี ใดสอดคล้องกับกราฟเหล่านี้
กรณีทหี่ นึ่ง มีการโยนวัตถุข้ ึนไปแนวดิ่งจนวัตถุข้ ึนไปถึงตาแหน่งสู งสุ ด
กรณีทสี่ อง มีการปล่อยวัตถุตกในแนวดิ่งภายใต้แรงดึงดูดของโลก
24
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
1. กรณี ที่หนึ่ง กับ ก. กรณี ที่สอง กับ ข. 2. กรณี ที่หนึ่ง กับ ข. กรณี ที่สอง กับ ก.
3. กรณี ที่หนึ่ง กับ ข. กรณี ที่สอง กับ ค. 4. กรณี ที่หนึ่ง กับ ค. กรณี ที่สอง กับ ก.
23. (En45 มี.ค.) ถ้ากราฟระหว่างความเร็ วของวัตถุ v v
ที่เวลา t ต่างๆ เป็ นดังรู ป กราฟของความเร่ ง a
l
กับเวลา t ต่างๆ จะเป็ นตามรู ปใด
t
t1 t2 t3
1. a 2. a

l
t2 t3 t t
t1 t1 t2 t3

3. a 4. a

t2 t3 t t
t1 t1 t2 t3

24(En43 ต.ค.) จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรงโดยใช้เครื่ องเคาะสัญญาณ


เวลา ได้จุดบนแถบกระดาษดังรู ป โดยที่ระยะห่างระหว่างจุดจะมีช่วงเวลาเท่ากัน

กราฟรู ปใดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่ งของวัตถุกบั เวลา


a
1. 2. a

0 t 0 t

3. a 4. a

0 t 0 t

25
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
25(En43 มี.ค.) ถ้ากราฟการกระจัด x กับเวลา t
ของรถยนต์ ก. และ ข. มีลกั ษณะดังรู ปข้อใด x รถยนต์ ก
ต่อไปนี้ถูกต้อง
1. รถยนต์ ก. และ ข. จะมีความเร็ วเท่ากัน รถยนต์ ข
เมื่อเวลาผ่านไป 2 นาที
2. รถยนต์ ก. มีความเร็ วไม่คงที่ t (นาที)
0 1 2 3 4
ส่ วนรถยนต์ ข. มีความเร็ วคงที่
3. รถยนต์ ก. มีความเร่ งมากกว่าศูนย์ ส่ วนรถยนต์ ข. มีความเร็ วเท่ากับศูนย์
4. ทั้งรถยนต์ ก. และ ข. ต่างมีความเร่ งเป็ นศูนย์

2.3.2 พืน้ ทีใ่ ต้ กราฟ และ ความชันเส้ นกราฟของกราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด


26(En45 ต.ค.) กราฟระหว่างความเร็ วของวัตถุ v(m/s)
เคลื่อนที่ในแนวแกน X เป็ นดังรู ป จาก
กราฟจงหาค่าความเร่ งที่เวลา t = 4 วินาที 3
1. 1.0 m/s2 t(s)
0
2. –1.0 m/s2 2 4 6 8
3. 1.5 m/s2 –3
4. –1.5 m/s2
27(En41 ต.ค) จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ วกับเวลาของการเคลื่อนที่เป็ นดังรู ป
พบว่าภายหลังการเดิ นทางไปได้ 4 วินาที ระยะทางการเคลื่ อนที่ มีค่า 16 เมตร จงหา
ความเร่ งที่เวลา 3 วินาที ความเร็ ว (m/s)
1. +2 m/s2
2. –2 m/s2
3. +3 m/s2
4. –4 m/s2 0 2 4 6
เวลา (s)

26
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
28(En48 มี.ค.) ให้กราฟระหว่างความเร็ ว v และเวลา t V(m/s)

ของการเคลื่อนที่เชิงเส้นของวัตถุเป็ นดังรู ป จงหา 4


3
เวลาที่วตั ถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4.5 เมตร
2
1. 1.0 s 2. 2.0 s 1
3. 3.0 s 4. 4.0 s 1 2 3 4
t(s)

29(En42 ต.ค.) รถเริ่ มแล่นจากจุดหยุดนิ่ง โดยมี a(m.s2)


ความเร่ งตามที่แสดงในกราฟ จงหาความเร็ ว 4
2
ของรถที่เวลา 30 วินาที จากจุดเริ่ มต้น 0 10 20 30 t(s)

1. 40 m/s 2. 20 m/s -2
-4
3. 10 m/s 4. 0 m/s

30(En47 มี.ค.) วัตถุเคลื่อนที่ใน 1 มิติ โดยมี V(m/s)


ความเร็ วที่เวลาต่างๆ เป็ นดังกราฟ ถามว่าเมื่อ 3
เวลา t = 6 วินาที วัตถุน้ ีอยูห่ ่างจากตาแหน่ง 2
1
เริ่ มต้น ( เมื่อเวลา t = 0 ) กี่เมตร
0
2 4 6 t(s)
–1
–2



27
สร ุปเข้มฟิสิกส์ เล่ม 1 www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
เฉลยตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบ 1000 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบ 0.36
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบ 4.90 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบ 3
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบ 4



28

You might also like