You are on page 1of 141

คู่มือ

การขอรับการสนับสนุนเงิน
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรกร
กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
1
www.opsmoac.go.th/fund
คำนำ
คณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกรได้จัดทา “คู่มือการขอรั บการสนั บสนุนเงินกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร” ภายใต้พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2517 ขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2548 ต่อมากองทุน
สงเคราะห์เกษตรกรได้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2517 เป็น พระราชบัญญัติกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม 2554 เป็นต้นไป จึงได้ปรับปรุง “คู่มือการขอรับ
การสนับสนุนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร” ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการให้คาปรึกษา ตรวจสอบ
วิเคราะห์โครงการ ติดตามและประเมินผลโครงการที่ขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ที่จะศึกษาเพื่อนาความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริง
หากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้

กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
มกราคม 2564
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 ความเป็นมาและนโยบายของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 1
1. ความเป็นมา 1
2. นโยบาย 1
2.1 นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1
2.2 นโยบายกองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 1
3. รูปแบบการบริหารงาน 2
บทที่ 2 คานิยาม เงื่อนไข และหลักเกณฑ์ 5
1. คานิยามเฉพาะ 5
2. เงื่อนไขการให้การสนับสนุน 6
2.1 ผู้มีสิทธิ์เสนอรับการสนับสนุน 6
2.2 ประเภทกิจการโครงการที่ให้การสนับสนุน 8
2.3 รายชื่อผลิตผลเกษตรกรขั้นต้นและผลิตภัณฑ์อาหาร 8
3. หลักเกณฑ์การขอรับการสนับสนุนจากกองทุน 9
3.1 การยื่นขอรับการสนับสนุน 9
3.2 การกาหนดวงเงินกู้ยืม อัตราดอกเบี้ย ค่าบริหารโครงการและติดตามงาน 11
3.3 หลักประกันการกู้ยืม 12
บทที่ 3 การขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 13
1. ขั้นตอนการขอรับการสนับสนุน 13
1.1 หน่วยงานของรัฐ/องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคลดาเนินการมาแล้ว 2 ปี 13
1.2 องค์กรเกษตรกรไม่เป็นนิติบุคคล หรือองค์กรเกษตรกร 14
ที่เป็นนิติบุคคลและดาเนินกิจการมาแล้วน้อยกว่า 2 ปี
2. พิจารณากลั่นกรองของโครงการเบื้องต้น 15
2.1 การพิจารณาเงื่อนไขตามกฎหมาย 15
2.2 การพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนของโครงการ 16
2.3 การตรวจสอบเอกสารประกอบการพิจารณา 18
3. แบบฟอร์มการขอรับการสนับสนุน 19
บทที่ 4 การทาสัญญา และการเบิกจ่ายเงิน 32
1. การทาสัญญา 32
1.1 สัญญาเงินกู้ 32
1.2 สัญญาค้าประกัน 41
1.3 บันทึกคารับรองผู้เบิก 47
2. การเบิกจ่ายเงิน 51
2.1 เบิกจ่ายครั้งเดียว 51
2.2 เบิกจ่ายเป็นงวด 55
หน้า
บทที่ 5 การติดตามผลการดาเนินงานโครงการและหนี้สินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 67
1. การติดตามโครงการที่ใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 67
2. ขั้นตอนการติดตามโครงการ 73
2.1 การจัดทาแผนการติดตาม 74
2.2 ประเด็นการติดตามโครงการ 75
3. กรอบแนวทางแก้ไขปัญหาการดาเนินงานโครงการ 79
4. แนวทางการแก้ปัญหาการดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผนของโครงการและหนี้สิน 80
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
4.1 โครงการที่อยู่ระหว่างดาเนินการ 80
4.2 โครงการที่สิ้นสุดระยะเวลาการดาเนินงาน 81
5. แบบฟอร์มการติดตามผลการดาเนินงานโครงการและหนี้สินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 83
ภาคผนวก
 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 98
 ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร 108
- ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ 108
และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔
- ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงิน 115
การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สิน
จากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. ๒๕๕๖
 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 122
- ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 122
เรื่อง การกาหนดผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น ออกตามความในพระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔
- ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงพาณิชย์ 125
เรื่อง การกาหนดผลิตภัณฑ์อาหาร ออกตามความในพระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔
- ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 126
เรื่อง การช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ประสบความเดือดร้อน
 มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร 127
- มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ครั้งที่ 4/2557
เรื่อง แนวทางการจัดสรรเงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ของกิจการตามโครงการที่จะใช้จ่ายเงินกองทุนมาตรา 7
- มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ครั้งที่ 1/2559 131
เรื่อง แนวทางการจัดเก็บดอกเบี้ย และค่าบริหารโครงการ
ที่ขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
หน้า
- มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ครั้งที่ 5/2559 132
เรื่อง แนวทางการปฏิบัติในการยกเว้นค่าเบี้ยปรับ
- มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ครั้งที่ 5/2562 134
เรื่อง หลักเกณฑ์คุณสมบัติ และเงื่อนไขในการเสนอขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร ขององค์กรเกษตรกรที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลหรือ องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล
น้อยกว่า ๒ ปี
- มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ครั้งที่ 3/2563 136
เรื่อง แนวทางการจัดสรรเงินจ่ายขาด ให้แก่หน่วยงานของรัฐ
ที่จะทาหน้าที่กากับดูแลโครงการที่ได้รับอนุมัติเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตาม
ผลการดาเนินงานขององค์กรเกษตรกรประเภทที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
1

บทที่ 1
ความเป็นมาและนโยบายของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
1. ความเป็นมา
กองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรตั้ งขึ้น เพื่อเป นทุนหมุนเวียนและใช้จ่ายช่วยเหลื อหรือส่ งเสริ ม
เกษตรกร ซึ่งได้มีการตราพระราชบัญญัติขึ้นเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเพื่อ ให้เป็นไปตามวั ตถุประสงค์
ดั งกล่ าวเรี ย กว่ า "พระราชบั ญญั ติ กองทุ นสงเคราะห์ เกษตรกร พ.ศ. 2517" และต่ อมาได้ ปรั บปรุ งแก้ ไข
พระราชบัญญัติดังกล่าวในปี พ.ศ. 2554 เป็น "พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554" ซึ่งมีผล
บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม 2554 เป็นต้นไป โดยให้สานักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เกบรักษาเงิน
ทรัพย์สินของกองทุน และดาเนินการเบิกจ่ายเงินกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้
2. นโยบาย
2.1 นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1) เกษตรกรกรรมยั่งยืน ประกอบด้วย เกษตรผสมผสาน เกษตรปลอดภัย เกษตรกร
ทฤษฎีใหม่ ลด ละ เลิกการใช้สารเคมี วนเกษตร พัฒนาสารชีวภัณฑ์ เกษตรอินทรีย์ และฮอร์โมนพืช
2) แก้ ไ ขปั ญ หาเฉพาะหน้ า ประกอบด้ ว ย รั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น จ้ า งงานฤดู แ ล้ ง
ปฏิบัติการฝนหลวง จัดสรรที่ดินทากิน ส่งเสริมการเลี้ยงปศุสัตว์ ป้องกันการระบาดศัตรูพืช ป้องกันโรคสัตว์
และปลูกพืชใช้น้าน้อย
3) ข้อมูลด้านการเกษตร ประกอบด้วย Big Data ด้านการเกษตร ปรับปรุงทะเบียน
เกษตรกร และAgri-Map
4) การประมงยั่งยืน ประกอบด้วย แก้ไขปัญหา IUU จัดตั้งกองทุนประมงแห่งชาติ
ส่งเสริมอาชีพและจัดหาตลาด การประมงพื้นบ้าน และฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้าในแหล่งน้าธรรมชาติ
5) บริหารจัดการแหล่งน้าทังระบบ ประกอบด้วย เพิ่มพื้นที่ชลประทาน ผันน้าจาก
ลุ่มน้าแม่กลอง วางแผนจัดสรรน้า ปฏิบัติการฝนหลวงเติมน้าในเขื่อน และขุดสระน้านอกเขตชลประทาน
6) ตลาดน้าการผลิต ประกอบด้วย ขยายช่องทางตลาด/หาตลาดใหม่ สร้างตลาด
ออนไลน์ พัฒนา Smart Farmer/Young สร้างความเข้มแข็งวิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์ แปรรูปเพิ่มมูลค่า และ
แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร
7) ลดต้ น ทุ น การผลิ ต ประกอบด้ ว ย ใช้ปั จจั ยการผลิ ตที่เ หมาะสม ใช้เ ทคโนโลยี
เครื่องจักรกลทางการเกษตร พัฒนาระบบและเพิ่มประสิทธิภาพโลจิสติกส์การเกษตร-แปลงใหญ่ และจัดตั้ง AIC
8) พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)
2.2 นโยบายกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

วิสัยทัศน์ • การบริ ห ารและจั ด การเงิ น ทุ น ที่ ดี ใ นการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น องค์ ก ร
เกษตรกร

• พัฒนาระบบการจัดการกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามหลักธรรมาภิบาล
พันธกิจ • ส่ง เสริม และสนั บ สนุ น องค์กรเกษตรกรให้เข้า ถึง กองทุ น อย่ า งครอบคลุ ม
ทุกภูมิภาคและสาขาอาชีพ
2

• เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนและใช้จ่ายช่วยเหลือหรือส่งเสริมเกษตรกรในกิจการตาม
มาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 ดังนี้
1. ส่งเสริมการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
2. การส่งเสริมการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานคุณภาพของผลิต
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
3. การรักษาเสถียรภาพของราคาและการจาหน่ายผลิตผลเกษตรกรรม
วัตถุประสงค์ ขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
4. การดาเนินการที่จาเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันและขจัดภัยอันจะเป็น
ผลเสียหายแก่เกษตรกร
5. การศึกษาวิจัยเพื่อการพัฒนาการผลิต การแปรรูป หรือการตลาด
ซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยให้เกษตรกร
มีส่วนร่วมในการดาเนินการ
6. การติดตามผลการดาเนินการตามโครงการที่ได้รับการช่วยเหลือหรือ
ส่งเสริมจากกองทุน

3. รูปแบบการบริหารงาน
การบริ ห ารงานกองทุน สงเคราะห์ เกษตรกรดาเนินงานในรูปของคณะกรรมการสงเคราะห์
เกษตรกร โดยให้ ปลั ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จ่ายเงิน จากกองทุนแก่ห น่ว ยงานของรัฐ หรือองค์กร
เกษตรกร ซึง่ ได้รับอนุมัติจัดสรรเงินจากคณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรี
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 2 คณะ ดังนี้
1) คณะอนุ ก รรมการพิ จ ารณากลั่ น กรอง ติ ด ตามและประเมิ น ผลโครงการที่ ข อใช้
เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
2) คณะอนุกรรมการพิจารณาเรื่องหนี้สินของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
3
โครงสร้างการบริหาร

อานาจหน้าที่คณะกรรมการฯ
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร 1. อนุมัติโครงการในวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท
2. วงเงินเกิน 100 ล้านบาทเสนอ
คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัตโิ ครงการ

คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรอง ติดตาม
และประเมินผลโครงการที่ขอใช้เงิน คณะอนุกรรมการพิจารณาเรื่องหนี้สินของ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

อานาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการฯ อานาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการฯ
1. พิจารณาและวิเคราะห์โครงการ 1. วางมาตรการตรวจสอบ ติดตาม และเร่งรัดลูกหนี้
2. เสนอความเหนให้คณะกรรมการ สงเคราะห์ 2. พิจารณาคาขอผ่อนผันหนี้ จาหน่ายหนี้สญ

เกษตรกรพิจารณาต่อไป และคาขออื่นเกี่ยวกับหนี้

สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

หน้าที่สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
 องค์
1. เกบรักษาเงินและทรั พย์สกินระกอบคณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกร
กองทุนและดาเนินการเบิกจ่ายเงินกองทุ น
2. ดาเนินการด้านเลขานุการกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
- ตรวจสอบเงื่อนไขตามกฎระเบียบโครงการที่ขอใช้เงิน/ขอปรับปรุง/ขอปรับโครงสร้างหนี้
- ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนวิเคราะห์ความเป็นไปได้
- ให้คาปรึกษาและแนะนาเกี่ยวกับวิธีการขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร/แนวทางการ
แก้ไขโครงการ
- อานวยการด้านการประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการสงเคราะห์ฯ พิจารณาต่อไป
4

 องค์ประกอบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ส่วนราชการ/ รัฐวิสาหกิจ กรรมการอื่น
(13 คน) (10 คน)
1. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งรัฐ มนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
2. ปลัดกระทรวงพาณิชย์ และสหกรณ์แต่งตั้ง จากเกษตรกรจานวน 10 คน
3. ปลัดกระทรวงการคลัง ประกอบด้วย
4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 1. ผู้แทนเกษตรกรด้านพืช
5. ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 2. ผู้แทนเกษตรกรด้านสัตว์
6. สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ 3. ผู้แทนเกษตรกรด้านการประมง
สังคมแห่งชาติ 4. ผู้แทนสหกรณ์นิคม
7. ผู้อานวยการสานักงบประมาณ 5. ผู้แทนสหกรณ์ประมง
8. อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ 6. ผู้แทนกลุ่มเกษตรกร
9. อธิบดีกรมการค้าภายใน 7. ผู้แทนชุมนุมสหกรณ์ด้านการเกษตร
10. อธิบดีกรมบัญชีกลาง 8. ผู้แทนวิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตร
11. อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร 9 ผู้แทนสภาเกษตรแห่งชาติ
12. อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ 10. ผู้แทนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วย
13. ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตร
การเกษตร (ด ารงต าแหน่งคราวละ 3 ปี และด ารงตาแหน่ ง
ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระ)

 อานาจหน้าที่คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
๑. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ห รื อ เสนอความเห นต่ อ คณะรั ฐ มนตรี ใ นการอนุ มั ติ จั ด สรร
เงินกองทุนตามโครงการที่หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรเสนอ
๒. ติดตามผลการดาเนินการตามโครงการที่ได้รับการช่วยเหลือหรือส่งเสริมจาก
กองทุนและเร่งรัดการชาระเงินคืนกองทุน
๓. ออกระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนให้
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
๔. ออกระเบี ย บเกี่ยวกับการรับ จ่ายเงิน การเก บรัก ษาเงิ น การใช้จ่ ายเงิ นเป็ น
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สิน
จากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ โดยความเหนชอบของกระทรวงการคลัง
๕. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
หรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย
5

บทที่ 2
คำนิยำม เงื่อนไข และหลักเกณฑ์
1. คำนิยำมเฉพำะ
“กองทุน” หมายความว่า กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
“เกษตรกร” หมายความว่า ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และให้หมายความรวมถึงองค์กร
เกษตรกรซึ่งประกอบกิจการเกี่ยวกับเกษตรกรรม
“องค์กรเกษตรกร” หมายความว่า สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม ชุมนุม
สหกรณ์ดังกล่าว กลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบีย นตามกฎหมายว่า
ด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน องค์กรเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรหรือ
องค์กรเกษตรกรอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
“เกษตรกรรม” หมายความว่า การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง และเกษตรกรรมอื่น
ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศกาหนด
“ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น ” หมายความว่ า ผลิ ต ผลอั น เกิ ด จากเกษตรกรรมโดยตรง
ตลอดจนผลิตผลพลอยได้อันเกิดจากผลิตผลเกษตรกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ประกาศกาหนด แต่ไม่รวมถึงผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นที่มีกฎหมายเฉพาะกาหนดหลั กเกณฑ์ใน
การช่วยเหลือไว้แล้ว
“ผลิตภัณฑ์อำหำร” หมายความว่า ผลิตผลเกษตรกรรมที่ใช้เป็นอาหารหรือส่วนประกอบ
ของอาหารสาหรับคนหรือสัตว์ไม่ว่าจะแปรรูปแล้วหรือไม่ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดแต่ไม่รวมถึง
ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีกฎหมายเฉพาะกาหนดหลักเกณฑ์ในการช่วยเหลือไว้แล้ว
“หน่วยงำนของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่าง
อื่นและมีฐานะเป็นกรม จังหวัด และให้หมายความรวมถึงรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีกฎหมายจัดตั้ง
“โครงกำรที่ได้รับอนุมัติ” หมายความว่า โครงการส่งเสริมการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
หรือผลิตภัณฑ์อาหาร โครงการส่งเสริมการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานคุณภาพของผลิตผลเกษตรกรรม
ขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โครงการรักษาเสถียรภาพของราคาและการจาหน่ายผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
หรือผลิตภัณฑ์อาหาร โครงการดาเนินการที่จาเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันและขจัดภัยอันจะเป็นผลเสียหายแก่
เกษตรกร โครงการศึกษาวิจัย เพื่อการพัฒนาการผลิต การแปรรูปหรือการตลาด ซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
หรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการดาเนินการ โครงการติดตามผลการดาเนินการตาม
โครงการที่ได้รับการช่วยเหลือหรือส่งเสริมจากกองทุน ที่คณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้จัดสรรเงิน
จากกองทุนเพื่อดาเนินการ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะจัดสรรสาหรับเป็นเงินหมุนเวียนหรือเงินจ่ายขาด
“ปั จ จั ย กำรผลิ ต ” หมายความว่ า พั น ธุ์ พื ช พั น ธุ์ สั ต ว์ ปุ๋ ย เคมี ปุ๋ ย หมั ก ปุ๋ ย หมั ก
ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ยาปราบศัตรูพืช เครื่องจักรกลทางการเกษตร เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร
ในด้านการผลิต รวมทั้งที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์
6
2. เงื่อนไขกำรให้กำรสนับสนุน
2.1 ผู้มีสิทธิ์เสนอขอรับกำรสนับสนุน
ผู้ที่มีสิทธิ์เสนอโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ตามพระราชบั ญญัติกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 ประกอบด้ว ย หน่ว ยงานของรัฐ และองค์กร
เกษตรกร รายละเอียด ดังนี้
1. หน่วยงำนของรัฐ คือ
(1) กระทรวง หมายถึง หน่วยงานของรัฐในราชการบริหารส่วนกลางมีรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้กากับดูแล และมีปลัดกระทรวง เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการประจาใน
กระทรวงรองจากรัฐมนตรี
(2) ทบวง หมายถึง หน่วยงานของรัฐ ที่มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง หรือทบวงซึ่ง
สั ง กั ดส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ กระทรวง แต่ ปั จจุ บั นไม่ มีท บวงซึ่ ง มีฐ านะเทีย บเท่ า กระทรวง และทบวง
ซึ่งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงนั้น ไม่ปรากฏว่ามีการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการแต่อย่างใด
(3) กรม หมายถึ ง ส่ ว นราชการบริ ห ารส่ ว นกลางสั ง กั ด ส านั ก นายกรั ฐ มนตรี
กระทรวงหรือทบวง มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการส่วนใดส่วนหนึ่งของกระทรวงหรือทบวงตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการของกรม หรือตามกฎหมายว่าด้วยอานาจหน้าที่ของกรมนั้น โดยมีอธิบดีเป็น
ผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรม
(4) ส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม หมายถึง ส่วนราชการที่
อยู่ในสังกัดของกระทรวงหรือทบวง หรือไม่อยู่ในสังกัดของกระทรวงหรือทบวง โดยมีเลขาธิการ ผู้อานวยการ
หรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่ าอธิบดี เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการของส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด
(5) จังหวัด หมายถึง ส่วนราชการที่รวมท้องที่หลายๆ อาเภอและกิ่งอาเภอเข้า
ด้วยกันแล้วตั้งขึ้นเป็นจังหวัดซึ่งต้องตราเป็นพระราชบัญญัติ จั งหวัดมีฐานะเป็ นนิติบุคคล โดยมีผู้ว่าราชการ
จังหวัดเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหารซึ่งปฏิบัติหน้าที่ ในราชการส่วนภูมิภาคในเขต
จังหวัดนั้น
(6) รัฐวิสำหกิจ หมายถึง องค์การ หรือบริษัท หรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐเป็น
ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ รัฐ วิสาหกิจเป็นหน่วยงานที่ดาเนินกิจการเพื่อแสวงหาผลกาไร เช่นเดียวกับองค์กรธุรกิจ
เอกชน บางรัฐวิสาหกิจก็เป็นธุรกิจผูกขาด ซึ่งหมายถึงรัฐดาเนินการได้แต่เพีย งผู้เดียว ห้ามเอกชนดาเนินการ
เช่น สลากกินแบ่ง เป็นต้น จุดมุ่งหมายของการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจนั้น นอกเหนือจากผลกาไรแล้ว บางรัฐวิสาหกิจ
ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นระบบสาธารณูปโภคให้กับประชาชน เพื่อความมั่นคงด้านพลังงาน หรือบางครั้งเพราะไม่มี
เอกชนที่มีความสามารถพอที่จะดาเนินกิจการประเภทนั้นๆ ปัจจุบันมีรัฐวิสาหกิจดาเนินกิจการอยู่ทั้งหมด 56 แห่ง
(7) หน่วยงำนอื่น ของรัฐที่ มีกฎหมำยจัดตั้ง หมายถึง บรรดาหน่วยงานของรัฐ
ทั้งหลายที่ไม่ใช่หน่วยงานตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และไม่ใช่รัฐวิสาหกิจ
ที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือโดยพระราชกฤษฎีกา เช่น สานักงานสภาเกษตรกรแห่งชาติ สานักงานกองทุน
ฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร เป็นต้น
7
2. องค์กรเกษตรกร หมายความว่า สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม
ชุมนุมสหกรณ์ดังกล่าว กลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียนตามกฎหมาย
ว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน องค์กรเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรหรือ
องค์กรเกษตรกรอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง ซึ่งองค์กรเกษตรกรที่มีสิทธิ์ใช้เงินกองทุนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) องค์ก รเกษตรกรที่ เ ป็ น นิติ บุ ค คล หมายถึง องค์ กรเกษตรกรที่ จ ดทะเบี ย น
อย่ า งเป็ น ทางการภายใต้ ก ฎหมายที่ ก าหนดให้ ก ลุ่ ม ที่ ม าจดทะเบี ย นมี ส ถานะเป็ น นิ ติ บุ ค คล ซึ่ ง จะต้ อ งมี
การติดตาม ประเมิน และตรวจสอบตามกฎ ระเบียบของกฎหมายนั้นๆ องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคลที่มีสิทธิ์
ใช้เงินกองทุน ได้แก่
(1) สหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม ชุมนุม
สหกรณ์ดังกล่าว โดยจั ดตั้งตามพระราชบัญญัติส หกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ อยู่ภ ายใต้การดูแลของกรมส่ งเสริม
สหกรณ์
(2) กลุ่มเกษตรกรตำมกฎหมำยว่ำด้วยสหกรณ์ ซึง่ จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกา
ว่าด้ว ยกลุ่ มเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๔๗ มี ๖ ประเภทย่ อยๆ ได้แ ก่ กลุ่ มเกษตรกรทานา กลุ่ ม เกษตรกรทาไร่
กลุ่มเกษตรกรทาสวน กลุ่มเกษตรกรทาประมง กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ และกลุ่มเกษตรกรอื่นๆ อยู่ภายใต้
การดูแลของกรมส่งเสริมสหกรณ์
2) องค์ ก รเกษตรกรที่ ไ ม่ เ ป็ น นิ ติ บุ ค คล หมายถึ ง องค์ ก รเกษตรกรที่ เ กิ ด จาก
การส่ ง เสริ ม ของหน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งและมี ก ารจดทะเบี ย นกั บ ทางราชการ มี โ ครงสร้ า ง
การดาเนินงานและระเบียบข้อบังคับที่ชัดเจน แต่กฎหมายที่จัดตั้งยังไม่รองรับว่ามีฐานะเป็นนิติบุคล ได้แก่
(1) กลุ่มวิสำหกิจชุมชน หมายถึง คณะบุคคลที่มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกัน
เพื่อประกอบกิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ เพื่อสร้างรายได้และเพื่อ
การพึ่งพาตนเองของครอบครั ว ชุมชนและระหว่างชุมชน ไมว่าจะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบใดหรือไมเป็นนิติบุคคล
ซึง่ อยู่ภายใต้การดูแลของกรมส่งเสริมการเกษตร
(2) องค์กรเกษตรกรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกองทุนฟื้นฟูและพัฒนำเกษตรกร
หมายถึ ง กลุ่ ม หรื อ คณะของเกษตรกรที่ ม ารวมกั น เพื่อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการประกอบเกษตรกรรมร่ ว มกั น
โดยจะเป็นหรือไม่เป็นนิติบุคคลก็ได้ และได้ขึ้นทะเบียนต่อสานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรหรือ
สานักงานสาขา
(3) องค์กรเกษตรกรอื่นที่มีกฎหมำยจัดตั้ง เช่น องค์กรเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน
ตามกฎหมายว่าสภาเกษตรกรแห่งชาติ เป็นต้น
8
2.2 ประเภทกิจกำรโครงกำร ที่ได้รับกำรสนับสนุน
โครงการที่ เ สนอเพื่ อ ขอรั บ การ สนั บ สนุ น เงิ น จากกองทุ น สงเคราะห์ เ กษตรกร
ต้องมีวัตถุประสงค์เป็นไปตามกิจการโครงการที่จะใช้จ่ายเงินจากกองทุนตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 ได้แก่ กิจการดังต่อไปนี้
(๑) การส่งเสริมการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดย
(ก) จัดหาปัจจัยการผลิตต่างๆ ที่มีคุณภาพเพื่อจาหน่ายให้แก่เกษตรกรในราคาที่เป็นธรรม
(ข) ให้เกษตรกรกู้เพื่อการลงทุนในการผลิต เก็บรักษา หรือจาหน่ายผลิตผลเกษตรกรรม
ขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
(ค) ดาเนินการจัดหาแหล่งน้าหรือที่ดินให้เกษตรกรเข้าทากิน การจัดหากรรมสิทธิ์หรือสิทธิ
ในที่ดินให้แก่เกษตรกร การปฏิรูปที่ดินและการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
(ง) ดา เนินการอื่นใดอันจะก่อประโยชน์ในการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์
อาหาร รวมทั้งการส่งเสริมการผลิตวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมการเกษตร
(๒) การส่งเสริมการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานคุณภาพของผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
หรือผลิตภัณฑ์อาหาร
(๓) การรั ก ษาเสถี ยรภาพของราคาและการจ าหน่ ายผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ
ผลิตภัณฑ์อาหาร โดย
(ก) ซื้ อ หรื อ รั บ จ า น า ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารในราคา
ที่คณะกรรมการกาหนด
(ข) จ าหน่ า ยภายในหรื อ นอกราชอาณาจั ก รซึ่ ง ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ
ผลิตภัณฑ์อาหาร
(ค) ดาเนินการอื่นใดอันจาเป็นเพื่อประโยชน์แห่งกิจการตาม (๓)
(๔) การดาเนินการที่จาเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันและขจัดภัยอันจะเป็นผลเสียหายแก่เกษตรกร
(๕) การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาการผลิ ต การแปรรู ป หรื อ การตลาด ซึ่ ง ผลิ ต ผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการดาเนินการ
(๖) การติดตามผลการดาเนินการตามโครงการที่ได้รับการช่วยเหลือหรือส่งเสริมจากกองทุน
2.3 รำยชื่อผลิตผลเกษตรกรรมขั้นและผลิตภัณฑ์อำหำร
ในการเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กิจการ
โครงการในการผลิตพืชและสัตว์จะต้องสอดคล้องกับ รายชื่อผลิตผลเกษตรกรรมขั้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่
ประกาศกาหนด ดังนี้
2.3.1 ผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น หมายความว่า ผลิตผลอันเกิดจากเกษตรกรรมโดยตรง
ตลอดจนผลิตผลพลอยได้อันเกิดจากผลิตผลเกษตรกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ประกาศกาหนด แต่ไม่รวมถึงผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นที่มีกฎหมายเฉพาะกาหนดหลักเกณฑ์ในการ
ช่วยเหลือไว้แล้ว
9
ปั จจุ บั นรั ฐมนตรีว่ าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ออกประกาศกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การกาหนดผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นไว้แล้ว 3 ฉบับ ซึ่งมีรายชื่อ ดังนี้
1) ประกำศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำรกำหนดผลิตผลเกษตรกรรม
ขั้นต้น (ฉบับที่ 1)
1. พื ช ได้ แ ก่ มั น ส าปะหลั ง กระเที ย ม หอมแดง หอมหั ว ใหญ่ มั น ฝรั่ ง
มะพร้าวแห้ง ปาล์มน้ามัน ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วฮามาต้า ข้าวโพด ข้าวฟ่าง พืชผัก ผลไม้ ชา กาแฟ
มะพร้าว ไม้ยูคาลิปตัส ไม้ดอกไม้ประดับ พรรณไม้น้า ฝ้าย พริกไทย และข้าวเปลือก
2. สัตว์และผลผลิตจากสัตว์ ได้แก่ โค กระบือ แพะ สุกร ไก่ เป็ด และผึ้ง
3. สัตว์น้าจากการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง สัตว์น้าชายฝั่ง กุ้งทะเล ปลาทะเล ปลาน้า
จืด กุ้งน้าจืดและสาหร่ายเพื่อการบริโภค
4. หม่อน ไหม
5. เกลือทะเล
2) ประกำศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำรกำหนดผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
(ฉบับที่ 2) ได้แก่ แกะ และโกโก้
3) ประกำศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำรกำหนดผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
(ฉบับที่ 3) ได้แก่ แมลงเศรษฐกิจ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า สัตว์เลื้อยคลาน นก ไส้เดือน หอย ปู และหนู
2.3.2 ผลิ ตภั ณฑ์ อำหำร หมายความว่ า ผลิ ตผลเกษตรกรรมที่ ใช้ เป็ นอาหารหรื อ
ส่วนประกอบของอาหารสาหรับคนหรือสัตว์ไม่ว่าจะแปรรูปแล้วหรือไม่ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดแต่ไม่
รวมถึงผลิตภัณฑ์อาหารที่มีกฎหมายเฉพาะกาหนดหลักเกณฑ์ในการช่วยเหลือไว้แล้ว
ปัจจุบันรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
พาณิชย์ ได้ออกประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง การกาหนดผลิตภัณฑ์อาหารไว้
แล้ว 1 ฉบับ ซึ่งมีรายชื่อ ดังนี้
ผลิตภัณฑ์อำหำร ได้แก่ ผลิตผลเกษตรกรรมที่ใช้เป็นอาหารหรือส่วนประกอบ
ของอาหารสาหรับคนหรือสัตว์ไม่ว่าจะแปรรูปแล้วหรือไม่ ที่เกิดจาก. ธัญพืช. ข้าว พืชไร่ พืชหัว พืชน้ามัน ถั่วต่างๆ
ผัก ผลไม้ ปศุสัตว์ และสัตว์น้า
3. หลักเกณฑ์กำรขอรับกำรสนับสนุนจำกกองทุน
3.1 กำรยื่นขอรับกำรสนับสนุน
3.1.1 กรณีหน่วยงำนของรัฐ
หน่วยงานของรัฐสามารถขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนเพื่อดาเนินโครงการ
โดยเสนอโครงการและแผนการดาเนินงาน (โครงการ) ต่อหน่วยงาน ดังนี้
(1) กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม และ
รั ฐวิ สาหกิ จหรื อหน่ วยงานอื่ นของรั ฐที่ มี กฎหมายจั ดตั้ ง เสนอต่ อกองบริ หารงานกองทุ นสงเคราะห์ เกษตรกร
สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(2) จั งหวัด เสนอต่อ กองบริ ห ารงานกองทุ นสงเคราะห์ เกษตรกร ส านัก งาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือเสนอผ่านสานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
10
3.1.2 กรณีองค์กรเกษตรกร ขอรับกำรสนับสนุนเงินกองทุนแบ่งเป็น 2 ประเภท
1) กรณียื่นคำขอรับกำรสนับสนุนเงินโดยตรง
กรณี ที่ อ งค์ ก รเกษตรกร ที่ ป ระสงค์ จ ะขอยื่ น เสนอโครงการที่ เ พื่ อ ขอรั บ
การสนับสนุนเงิ นจากกองทุนโดยตรง สามารถเสนอโครงการต่อส านักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด หรือกอง
บริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ส านักงานปลั ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งแบ่งตามประเภทของ
องค์กรเกษตรกร ดังนี้
องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล มีเงื่อนไขการขอรับการสนับสนุนเงิน ดังนี้
1) ขอยื่นคาขอรับการสนับสนุนโดยตรงเฉพาะกรณีตามพระราชบัญญั ติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 มาตรา 7 (๑) (ก) และ (ข) และ (๕)
2) ดาเนินกิจการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี
3) มีการตรวจสอบบัญชีและงบการเงิน
4) มีมติที่ประชุมใหญ่ขององค์กรเกษตรกรให้ความเห็นชอบ
องค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็นนิติบุคคล หรือเป็นนิติบุคคลและดำเนินกิจกำร
น้อยกว่ำ 2 ปี มีเงื่อนไขการขอรับการสนับสนุนเงิน ดังนี้
1) ขอยื่นคาขอรับการสนับสนุนโดยตรงเฉพาะกรณีตามพระราชบัญญั ติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 มาตรา 7 (๑) (ก) และ (ข) และ (๕)
2) องค์กรเกษตรกรที่ยังไม่ได้ดาเนินกิจการจะต้องได้รับการรับรองคุณสมบัติ
และความพร้อม ในการดาเนินกิจการจากหน่วยงานรัฐที่กากับดูแล
3) องค์กรเกษตรกรที่ดาเนินกิจการอยู่แล้ว
(1) ต้องมีการจัดทาบัญชีของกลุ่มเป็นปัจจุบัน
(2) มี ก ารตรวจสอบบั ญ ชี แ ละงบการเงิ น (กรณี ว่ า จ้ า งผู้ ส อบบั ญ ชี
(Auditor) องค์กรเกษตรกรต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง)
(3) มีการสะสมทุนเรือนหุ้น หรืออย่างน้อยต้องมีการออมร่วมกันอย่าง
สม่าเสมอ เช่น รับฝากเงินจากสมาชิกในรูปเงินสัจจะออมทรัพย์
4) สมาชิกส่วนใหญ่ของกลุ่มต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในกิจการหรือโครงการ
ที่เสนอ เช่น ประกอบเป็นอาชีพอยู่แล้ว หรือได้ผ่านการอบรมจากภาครัฐ
5) โครงการที่เสนอต้องผ่านการประเมินเบื้องต้น จากหน่วยงานที่มีอานาจ
หน้าที่ดูแล ส่งเสริม การประกอบอาชีพเกษตรกรรมในพื้นที่ระดับอาเภอหรือระดับจังหวัด
6) มีการประชุมร่วมกันเป็นประจา และมีการบันทึกรายงานการประชุมไว้
เพื่อเป็นหลักฐาน ทั้งนี้ ภายหลังที่โครงการได้รับอนุมัติต้องกาหนดให้มีแผนการประชุมร่วมกันอย่างน้อยทุก
3 เดือนและรายงานผลการประชุมให้กองทุนฯทราบ
7) ให้รายงานผลการดาเนินโครงการเป็นประจาทุกเดือน ตามแบบที่กองทุน
กาหนด
2) กรณี ยื่นค ำขอรั บกำรสนับสนุน เงิน โดยผ่ำ นหน่วยงำนของรั ฐที่กำกับดูแ ล
(หน่วยงำนกู้ยืมแทน) แยกเป็น 2 กรณี ดังนี้
(1) องค์กรเกษตรกรทุกประเภท สามารถจัดทาโครงการโดยยื่นต่อหน่วยงาน
ของรัฐที่กากับดูแล เพื่อให้หน่วยงานของรัฐเสนอโครงการ (หน่วยงานของรัฐกู้ยืมแทนองค์กรเกษตรกร)
(2) องค์กรเกษตรกรขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนเพื่อเป็นสินเชื่อแก่สมาชิก
ขององค์กรเกษตรกรจะต้องเสนอผ่านหน่วยงานของรัฐที่เป็นผู้กากับดูแล (หน่วยงานของรัฐ กู้ยืมแทนองค์กร
เกษตรกร)
11
3.2. กำรกำหนดวงเงินกู้ยืม อัตรำดอกเบี้ย และค่ำบริหำรโครงกำรและติดตำมงำน
3.2.1 กำรกำหนดวงเงินกู้ยืม
กรณีหน่วยงำนของรัฐ
หน่วยงานของรัฐสามารถจัดทาโครงการ เพื่อขอรับการจัดสรรเงินจากกองทุน
สงเคราะห์ เ กษตรกร ตามกิ จ การโครงการในมาตรา 7 (1) – (6) โดยวงเงิ น กู้ ยื ม ให้ เ ป็ น ไปตามแผน
การดาเนินงานโครงการและประโยชน์ที่จะได้รับ
กรณีองค์กรเกษตรกร แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
(1) องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล
1) ให้พิจารณาอนุมัติวงเงินได้ไม่เกิน ๕ เท่าของทุนเรือนหุ้นรวมกับทุนสารอง
ขององค์กรเกษตรกร
2) การกู้ยื มเกิน กว่ า ๕ เท่า ของทุ นเรือ นหุ้ นรวมกั บทุ นส ารองขององค์ ก ร
เกษตรกร ต้องเป็นมติที่ประชุมใหญ่ขององค์กรเกษตรกรเห็นชอบ
3) กรณีองค์ กรเกษตรกรไม่ มีทุ นเรื อนหุ้ น หรือทุนส ารองและวงเงินที่ ได้ รั บ
จัดสรรไม่เหมาะสมสาหรับกิจกรรมหรือโครงการที่เสนอขอให้คณะกรรมการพิจารณาตามความเหมาะสมและ
ความจาเป็น
(2) องค์กรเกษตรกรทีไ่ ม่เป็นนิติบุคคล
1) กรณีองค์กรเกษตรกรมีทุนเรือนหุ้นหรือทุนสารอง ให้พิจารณาอนุมัติวงเงิน
ได้ไม่เกิน ๕ เท่าของทุนเรือนหุ้นรวมกับทุนสารองขององค์กรเกษตรกร
2) ในกรณีองค์กรเกษตรกรไม่มีทุนเรือนหุ้นหรือทุนสารอง หรือจดทะเบียน
หรือได้ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายที่จัดตั้งมาแล้วน้อยกว่า 2 ปี ให้อนุมัติวงเงินได้ไม่เกิน 5,000,000 บาท หรือ
คณะกรรมการพิจารณาได้ตามความเหมาะสมและความจาเป็น
3.2.2 กำรกำหนดอัตรำดอกเบี้ย
ตามมติค ณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกร ครั้ งที่ 1/2559 ได้ก าหนดแนว
ทางการจัดเก็บอัตราดอกเบี้ย ตามกิจการโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากเงินกองทุน ดังนี้
กรณีหน่วยงำนของรัฐ
หน่วยงานของรัฐเสนอและดาเนินโครงการ ตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร มาตรา 7 (1) – (6) จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตรำร้อยละ 0
กรณีองค์กรเกษตรกร
องค์กรเกษตรกรสามารถยื่นคาขอรับจัดสรรเงินโดยตรง ตามพระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 เฉพาะกรณีตามมาตรา 7 (๑) (ก) และ (ข) และ (๕) โดยจัดเก็บอัตรา
ดอกเบี้ยในแต่ละกิจกรรม ดังนี้
(1) มาตรา 7 (1) (ก)จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1
(2) มาตรา 7 (1) (ข)จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2
(3) มาตรา 7 (5) จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 0
12
3.2.3 กำรกำหนดค่ำบริหำรโครงกำรและค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตำมงำน
(1) แนวทางการกาหนดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานและค่าบริหารโครงการ ดังนี้
1) กรณี ห น่ ว ยงานของรั ฐ หากไม่ มี ง บประมาณส าหรั บ ค่ า ใช้ จ่ า ยใน
การปฏิบัติงานและค่าบริหารโครงการ สามารถขอรับจัดสรรเป็นเงินจ่ายตามความจาเป็นและเหมาะสม
2) กรณี อ งค์ ก รเกษตรกร ให้ น าดอกผลหรื อ ดอกเบี้ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก
การดาเนินโครงการ สามารถจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานและค่าบริหารโครงการ
(2) แนวทางการกาหนดค่าใช้จ่ายในการในการติดตามงาน
หน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ องค์ ก รเกษตรกรสามารถจ่ า ยเป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยใน
การติดตามงานตามความจาเป็น และให้นาส่งเงินคืนกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กรณีเหลือจ่าย) ภายในสิบห้า
วันนับแต่วันสิ้นสุดโครงการ
3.3. หลักประกันกำรกู้ยืม
ในการขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กาหนดให้มีหลักประกัน ดังนี้
กรณีหน่วยงำนของรัฐ
กรณีห น่ ว ยงานของรัฐ เป็นผู้ เสนอโครงการ ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์
เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ฯ ไม่ต้องยื่นหลักทรัพย์เป็นหลักประกัน
กรณีองค์กรเกษตรกร
(1) กำรใช้บุคคลค้ำประกัน
1) องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล ให้คณะกรรมการบริหารองค์กร และผู้จัดการ
หรื อ ผู้ ที่ ท าหน้ า ที่ ใ นลั ก ษณะดั ง กล่ า ว ค้ าประกั น การกู้ ยื ม ในฐานะส่ ว นตั ว ในกรณี ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง
คณะกรรมการบริหารองค์กร ต้องจัดให้คณะกรรมการชุดใหม่ค้าประกันเพิ่มเติม
2) องค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็นนิติบุคคล ให้ค้าประกันด้วยสมาชิกทุกคนในกลุ่ม
(2) กำรใช้หลักทรัพย์เป็นหลักประกัน
กรณีองค์กรเกษตรกรกู้ยืม ไม่ว่าจะเป็นองค์กรเกษตรกรที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
และทีไ่ ม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล อาจกาหนดให้มีหลักทรัพย์เป็นหลักประกันเพิ่มเติม โดยพิจารณาตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
1) จานองอสั งหาริมทรัพย์ ได้แก่ โฉนดที่ดิน นส3 นส3ก สิ่งปลูกสร้างในที่ดิน
เครื่องจักรกล ของสมาชิกหรือบุคคลอื่น
2) หลักทรัพย์ที่ใช้จานองต้องมีราคาประเมิน ดังนี้
(1) วงเงินกู้ยืมมากกว่า 5,000,000 – 10,000,000 บาท : ราคาประเมินไม่
น้อยกว่าร้อยละ 30 ของวงเงินที่ขอรับการสนับสนุนเงินกองทุน
(2) วงเงินกู้ยืมมากกว่า 10,000,000 – 50,000,000 บาท : ราคาประเมินไม่
น้อยกว่าร้อยละ 40 ของวงเงินที่ขอรับการสนับสนุนเงินกองทุน
(3) วงเงินกู้ยืมมากกว่า 50,000,000 บาทขึ้นไป : ราคาประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ
50 ของวงเงินที่ขอรับการสนับสนุนเงินกองทุน
3) หลักทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักประกันควรปลอดภาระผูกพัน กรณีที่มีภาระผูกพัน
เมื่อหักออกชาระหนี้แล้ว ราคาประเมินต้องมีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 - 50 ตามแต่ละวงเงินที่เสนอขอรับ
จัดสรร ตามข้อ 2.2
4) กรณีไม่มีหลักทรัพย์ หรือหลักทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักประกันมีราคาประเมินน้อย
กว่าหลักเกณฑ์ที่กาหนด ให้คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติได้ตามความจาเป็นและเหมาะสม โดยคานึงถึง
(1) ความจาเป็นของการใช้เงินกู้ตามแผนการดาเนินโครงการ
(2) ศักยภาพการดาเนินธุรกิจขององค์กรเกษตรกร
(3) เป็ น โครงการเร่ ง ด่ ว น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรที่ ป ระสบความ
เดือดร้อน
13

บทที่ 3
การขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
1. ขั้นตอนการขอรับการสนับสนุน
1.1 หน่วยงานของรัฐ/องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคลและดาเนินกิจการไม่น้อยกว่า 2 ปี
เมื่ อมี ห น่ ว ยงานของรั ฐ หรื อองค์ กรเกษตรเสนอโครงการเพื่ อขอรั บการสนั บสนุ นเงิ นกองทุ นมาที่
กองบริหารงานทุนสงเคราะห์เกษตรกร เจ้าหน้าที่กลุ่มวิเคราะห์โครงการจะต้องดาเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อ
เสนอข้อมูลประกอบการพิจารณาต่อคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรอง ติดตามและประเมินผล โครงการที่ขอใช้
เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โดยการจัดทาเอกสารวาระการประชุมให้ทันตามกาหนดเวลา ถูกต้อง และเป็นไปตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามกฎหมายของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ซึ่งขั้นตอนการขอใช้เงินและขั้นตอนการ
พิจารณาอนุมัติ มีดังนี้

หน่วยงานของรัฐ/องค์กรเกษตรกร
ปรับปรุง/ทบทวน
นาเสนอโครงการ
กองบริหารงานกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร ไม่ผ่าน
จะต้องดาเนินการ ดังนี้ ตรวจสอบและวิเคราะห์โครงการ
1. พิจารณาเงื่อนไขต่าง ๆ
2. ตรวจสอบเอกสารโครงการ ครบถ้วน ถูกต้อง มีความเป็นไปได้ของโครงการ

ไม่ผ่าน แจ้งผล
คณะอนุกรรมการพิจารณากลัน่ กรอง ติดตามและประเมินผล
โครงการทีข่ อใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

ผ่าน
ไม่ผ่าน
วงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ผ่าน
วงเงินเกิน 100 ล้านบาท ไม่ผ่าน
ครม.
ผ่าน

จัดทาคารับรองผู้เบิก

เบิกจ่ายเงินกองทุน
1.2 องค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็นนิติบุคคล หรือเป็นนิติบุคคลและดาเนินกิจการน้อยกว่า 2 ปี
14
กระบวนงานสนับสนุนและติดตามโครงการที่ขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (องค์กรเกษตรกร)

คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรอง ติดตาม
องค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็น 3 กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 4 และประเมินผลโครงการที่ขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
นิติบุคคล
 กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ขอรับ
 องค์กรเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วย คาปรึกษา สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด/ 5 คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
กองทุนฟื้นฟูฯ 1 2 กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
 องค์กรเกษตรกรอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง เสนอ
(สภาเกษตรฯ) โครงการ 1) ให้คาปรึกษาและแนะนาเกี่ยวกับวิธีการขอใช้เงิน สัญญาเงินกู้และ/หรือสัญญาค้าประกัน
6
- วิธีการขอใช้เงินกองทุนที่สอดคล้องกับกฎหมายกองทุนที่เกีย่ วข้อง และคารับรองผู้เบิก
องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล - ขั้นตอนการเสนอขอการรับเงินสนั บสนุนเงินกองทุน
และดาเนินกิจการน้อยกว่า 2 ปี - แนวทางการจัดทาโครงการ (เขียนโครงการ)
7 เบิกจ่ายเงินกองทุนฯ และแจ้งผลการเบิกจ่าย
 สหกรณ์ตั้งใหม่
 กลุ่มเกษตรกรตั้งใหม่ 2) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการที่ขอสนับสนุนเงินกองทุน
- หน่วยงานกับกากับดูแลองค์กรเกษตรกร ขั้นตอนการติดตาม ของสานักงานเกษตร
- หน่วยงานที่มภี ารกิจส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรม ในระดับอาเภอ/จังหวัด และสหกรณ์จังหวัด
- และสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์
8
วงเงิน 1) ดาเนินการตามแผนการติดตามโครงการ
ที่คณะกรรมการฯ ให้ความเห็นชอบ
3) พิจารณากลั่นกรองของโครงการเบื้องต้น
เงื่อนไข - สอดคล้องกับกฎหมายกองทุน ที่เกีย่ วข้อง
 วงเงินกู้ยืมไม่เกิน 5 เท่าของทุนเรือนหุ้น - รายละเอียดโครงการ ถูกต้อง เอกสารครบถ้วน
- ตรวจสอบเอกสาร ถูกต้อง ครบถ้วน 2) ประเด็นการติดตาม
รวมกับทุนสารองขององค์กรเกษตรกร 2.1 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
2.2 การดาเนินงาน ตามแผนกิจกรรมโครงการ
2.3 ผลการดาเนิน
4) สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดจัดทารายละเอียดเสนอต่อ
 กรณีไม่มีทุนเรือนหุ้นหรือทุนสารอง หรือจดทะเบียน 2.4 การใช้จ่ายเงิน/การชาระเงินคืน
สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กองบริหารงานกองทุน สงเคราะห์
หรือได้ขึ้นทะเบียนตามทีกฎหมายกาหนดที่จัดตั้ง 2.5 ปัญหา อุปสรรค ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงาน
เกษตรกร) เพื่อนาเสนอคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร พิจารณาต่อไป ดังนี้
มาแล้วน้อยกว่า 2 ปี อนุมัติวงเงินได้ไม่เกิน 5 ล้าน 2.6 ผลลัพธ์/ผลกระทบ
1 โครงการที่ขอรับการสนับสนุนขององค์กรเกษตรกร พร้อม
บาท หรือคณะกรรมการพิจารณาได้ตามความ 2.7 การประเมินผล
เอกสารประกอบการพิจารณา
เหมาะสม และความจาเป็น 2.8 ข้อเสนอแนะ
2 โครงการและแผนการติดตามโครงการตามข้อ (1)
ทั้งนี้กรอบวงเงินการติดตามไม่เกินร้อยละ 3 ของวงเงินโครงการ
15
2. การพิจารณากลั่นกรองของโครงการเบื้องต้น
2.1 การพิจารณาเงื่อนไขตามกฎหมาย เมื่อมีหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรเสนอโครงการมายัง
กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขั้นแรกเจ้าหน้าที่
วิเคราะห์โ ครงการจะต้องทาการตรวจสอบว่า โครงการที่เสนอมานั้ น มีความสอดคล้องกับกฎหมายต่างๆ
ของกองทุนฯ ที่กาหนดไว้หรือไม่ โดยเงื่อนไขตามกฎหมายที่ต้องตรวจสอบ หากมีความสอดคล้องในทุกหัวข้อที่
กาหนดไว้ จึงแสดงให้เห็นว่าโครงการดังกล่าวสามารถให้การสนับสนุนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ ซึ่งได้
กาหนดรายการพิจารณาไว้ตามตารางดังต่อไปนี้
ผลการพิจารณา
รายการพิจารณา รายละเอียด
สอดคล้อง ไม่สอดคล้อง
1. พระราชบัญญัติกองทุน 1. ต้องพิจารณาว่าหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร
สงเคราะห์เกษตรกร มีคุณสมบัติการขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. 2554 สอดคล้ อง กั บ พ.ร.บ.กองทุ นฯ พ.ศ. 2554 มาตรา 4
หรือไม่
2. ต้องพิจารณาว่าหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร
นาเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรไปใช้ในกิจกรรมใด
สอดคล้องกับ พ.ร.บ.กองทุนฯ พ.ศ. 2554 มาตรา 7
หรือไม่
2. ระเบียบหลักเกณฑ์ 1. ต้องพิจารณาว่าหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร
วิธีการและเงื่อนไข นาเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรไปใช้ในกิจกรรมใด
ในการจัดสรรเงินกองทุน สอดคล้ องกั บ ระเบี ย บหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และ
สงเคราะห์เกษตรกร เงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2554 ข้อ 4 หรือไม่
2. ต้ องพิ จารณาหากกรณี องค์ กรเกษตรกรขอรั บ การ
สนั บสนุนเงิ นกองทุ นสงเคราะห์ เกษตรกรโดยตรง
เงื่อนไขการขอจัดสรรเป็นอย่างไรและ สอดคล้อง
กั บ ระเบี ยบหลั กเกณฑ์ วิ ธี การ และเงื่ อนไขในการ
จัดสรรเงิ นกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร พ.ศ. 2554
ข้อ 10 หรือไม่
3. ประกาศกระทรวงเกษตร ต้องพิ จารณาว่าโครงการนาเงิ นไปใช้ ในการผลิตพื ช
และสหกรณ์และ หรื อสั ตว์ ชนิ ดใด สอดคล้ องกั บ รายชื่ อ ในประกาศ
กระทรวงพาณิชย์ เรื่อง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงพาณิ ชย์
การกาหนดผลิตผล เรื่ อง การก าหนดผลิ ตผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น ออกตาม
เกษตรกรรมขั้นต้นออก ความในพระราชบัญญัติกองทุนฯ พ.ศ. 2554 หรือไม่
ตามความใน
พระราชบัญญัติกองทุนฯ
พ.ศ. 2554
4. ประกาศกระทรวงเกษตร ต้องพิจารณาว่าโครงการนาเงินไปใช้ในการผลิตพื ช
และสหกรณ์และกระทรวง หรือสัตว์ชนิดใด สอดคล้องกับ ประกาศกระทรวงเกษตรและ
พาณิชย์ เรื่อง การ สหกรณ์และกระทรวงพาณิชย์เรื่ อง การกาหนดผลิตภัณฑ์
กาหนดผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารออกตามความในพระราชบั ญญั ติ กองทุ นฯ พ.ศ.
ออก 2554 หรือไม่
ตามความในระราช
บัญญัติกองทุนฯ พ.ศ.
2554
16
2.2 การพิจารณาความถูกต้อง ครบถ้วนของโครงการ
2.2.1 การพิจารณาความครบถ้วนของส่วนประกอบโครงการ
เมื่อพิจารณาว่าโครงการที่เสนอมานั้นสอดคล้องกับเงื่อนไขตามกฎหมายของกองทุน สงเคราะห์
เกษตรกรแล้ ว ขั้ น ตอนต่ อ ไปจะต้ อ งพิ จารณาความครบถ้ ว นของส่ ว นประกอบโครงการ ซึ่ งจะมี แนวทาง
การพิจารณาตามหัวข้อรายละเอียดโครงการตามที่ได้กาหนดไว้ หากโครงการใดที่เสนอมานั้นมีหัวข้อรายละเอียดไม่
เป็นตามที่กาหนดไว้ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์โครงการจะต้องทาหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานหรือองค์กรเกษตรกรนั้น
เพื่อให้ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ครบถ้วนเสียก่อน เนื่องจากรายละเอียดโครงการเป็นสิ่งสาคัญต่อการพิจารณา
ความเหมาะสมและความเป็น ไปของโครงการ ในการตรวจสอบเจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาว่า ในรายละเอียด
โครงการมีหัวข้อและรายละเอียดชัดเจนแล้วหรือไม่ ตามตารางดังต่อไปนี้
หัวข้อ ตรวจสอบรายละเอียด
1. ชื่อโครงการ - พิจารณาว่าโครงการทาอะไร เรื่องอะไร
- ต้องสอดคล้องกับกิจกรรมหลัก หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
โครงการ
2. หน่วยงานรับผิดชอบ - พิจารณาชื่อบุคคลหรือคณะทางานที่รับผิดชอบในการจัดการโครงการ
- พิจารณารูปแบบขององค์กรโครงการ
3. หน่วยงานกากับดูแล - พิจารณาว่ามีหน่วยงานกากับดูแลในพื้นที่หรือไม่
4. ที่ตั้งสานักงาน - พิจารณาถึงสถานที่และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- พิจารณาว่าที่ตั้งสานักงานที่สามารถติดต่อได้หรือไม่
5. หลักการและเหตุผล - พิจารณาความเป็นมาของโครงการ
- พิจารณาสภาพหรือสถานการณ์ปัจจุบัน
- พิจารณาสภาพปัญหาหรือความต้องการ รวมทั้งสาเหตุตา่ ง ๆ
- พิจารณาโอกาสถ้ามีการลงทุนในโครงการนี้
- พิจารณาข้อจากัดหากไม่มีโครงการนี้
- พิจารณาความสาคัญของโครงการที่จะมีต่อนโยบาย
6. วัตถุประสงค์ - พิจารณาผลลัพธ์ที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นเมื่อเสร็จโครงการ
7. เป้าหมาย - พิ จ ารณาปริ ม าณและคุ ณ ภาพของผลงาน หรื อ ผลผลิ ต ต่ า ง ๆ ที่ เ มื่ อ ท าได้ จ ะ
ทาให้เกิดผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
- พิจารณาถึงเวลาที่ผลงานจะแล้วเสร็จ
8. ระยะเวลาดาเนินงาน - พิจารณาระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินงานของแต่ละกิจกรรม
9. งบประมาณ - พิจารณาค่าใช้จ่ายของโครงการตามหมวดหมู่ของค่าใช้จ่าย
ตามระเบียบการจัดทางบประมาณ
10. แผนการดาเนินงาน - พิจารณาแผนย่อยตามแผนการดาเนินงาน โดยมีรายละเอียดประกอบด้วย
1) แผนการปฏิบัติงานโครงการ โดยมีรายละเอียดประกอบด้วย
งาน/ปริมาณงาน โดยแบ่งตามช่วงเวลา
2) แผนการใช้เงินตามโครงการ
3) แผนการส่งเงินคืนกองทุน
11. วิธีการดาเนินงาน - พิจารณากิจกรรมโครงการทั้งหมด
- พิจารณาขั้นตอนในการดาเนินกิจกรรม
- พิจารณาเทคนิคที่ใช้ในการปฏิบตั ิการ
17
หัวข้อ ตรวจสอบรายละเอียด
12. การบริหารโครงการ - พิจารณาแผนการบริหารโครงการ
- พิจารณาระบบการประสานงานระหว่างองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- พิจารณาการมีส่วนร่วมของประชาชน องค์การพัฒนาเอกชน หน่วยงาน
ราชการระดับพื้นที่
13. การติดตาม - พิจารณาวิธีการ เกณฑ์วดั และระยะเวลาที่จะติดตามโครงการ
ประเมินผลโครงการ - พิจารณาเกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมินผล
14. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - Output พิจารณาว่าจะได้รับอะไรจากการดาเนินงานหรือกิจกรรมนัน้ ๆ
14.1 ตัวชี้วัดผลผลิต โดยควรกาหนดตัวชี้วัดผลผลิตแบบเชิงปริมาณเป็นรูปธรรมหรือรับรูไ้ ด้
(Output) - Outcome พิจารณาว่าเกิดประโยชน์ที่ได้มาจากผลผลิต ผลประโยชน์ที่กลุ่ม
14.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ บุคคลหรือพื้นที่ หรือสังคมโดยรวมจะได้รบั ผลกระทบในด้านบวกทีจ่ ะตามมา
(Outcome) จากการมีโครงการ
15. การบริหารความเสี่ยง - พิจารณาปัจจัยต่าง ๆ (ความไม่แน่นอน) ที่จะเป็นปัญหาและอุปสรรค ซึ่งจะ
ส่ งผลกระทบต่ อความส าเร็ จตามวั ตถุ ประสงค์ /เป้ าหมายที่ โครงการตั้ งไว้
ทั้งความเสี่ย งในด้ า นการด าเนิน การและด้า นการเงิน ของโครงการพร้ อ ม
แนวทางในการแก้ไขและการจัดการความเสี่ยง
16. การศึกษา - พิจารณาความเป็นไปได้ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
ความเป็นไปได้ 1) ด้านเทคนิคหรือด้านวิชาการ
2) ด้านการจัดการ
3) ด้านการตลาด
4) ด้านการเงิน
5) ด้านเศรษฐกิจ
6) ด้านสังคมและการเมือง
7) ด้านสภาพแวดล้อมและสภาวะนิเวศน์
2.2.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบโครงการ
เมื่ อตรวจสอบความครบถ้ วนของโครงการแล้ ว ขั้ นตอนต่ อมาจะต้ องพิ จารณาถึ ง
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของโครงการ ดังนี้
1) โครงการกับแผนงาน
2) ชื่อโครงการกับหลักการและเหตุผล
3) หลักการและเหตุผลกับวัตถุประสงค์
4) วัตถุประสงค์กับเป้าหมาย
5) เป้าหมายกับวิธีดาเนินการ
6) วิธีการกับงบประมาณ
7). วิธีการดาเนินการกับการติดตาม และประเมินโครงการ
2.2.3 วิเคราะห์ความถูกต้องของรายละเอียดโครงการ ดังนี้
1) มีข้อมูลยืนยันชัดเจนเหตุผลและความจาเป็น
2) โครงการตอบสนองเหตุผลและความจาเป็น
3) วัตถุประสงค์ของโครงการมีความเป็นไปได้ในการดาเนินการ
4) วัตถุประสงค์ของโครงการสามารถวัดได้ประเมินได้
5) วัตถุประสงค์ของโครงการสามารถจัดกิจกรรมดาเนินงานให้บรรลุได้
6) โครงการมีขอบเขตเวลาที่แน่นอนในการปฏิบัติงาน
7) วัตถุประสงค์ของโครงการสมเหตุสมผลสอดคล้องกับปัญหา
8) วิธีดาเนินการของโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
18
9) ความสัมพันธ์ต่อเนื่องระหว่างกิจกรรม
10) กิจกรรมเป็นไปตามทฤษฎีหรือหลักการที่เหมาะสม
11) ระยะเวลาเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่จะทางานให้บรรลุเป้าหมายได้
12) ค่าใช้จ่ายเหมาะสมกับโครงการ
13) มีการติดตามประเมินผลที่ชัดเจน
14) ประโยชน์ของโครงการเหมาะสม
15) มีผู้รับผิดชอบโครงการชัดเจน
2.3 การตรวจสอบเอกสารประกอบการพิจารณา
หากเป็นกรณีองค์กรเกษตรกรเป็นผู้ขอยื่นรับการสนับสนุนโดยตรงกับกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
จาเป็นจะต้องยื่นเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา ดังนี้
2.3.1 กรณี อ งค์ ก รเกษตรกรที่ เ ป็ น นิ ติ บุ ค คล เช่ น สหกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร ซึ่ ง จะต้ อ ง
มีเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา ดังนี้
1) ใบสาคัญจดทะเบียนสหกรณ์
2) หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542
3) รายงานการประชุมใหญ่ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๙
ข้อ 4 วรรค 4
4) รายงานงบแสดงฐานะทางการเงินย้อนหลัง 3 ปี (สาหรับองค์กรเกษตรกรทีเ่ ป็นนิติบุคคล)
5) หนังสือของนายทะเบียนสหกรณ์ที่ให้ความเห็นชอบวงเงินกู้ยืมประจาปี
6) เอกสารประกอบอื่นๆ ที่เสนอ
2.3.2 กรณีองค์กรเกษตรกรที่มีไม่เป็นนิติบุคคล หรือเป็นนิติบุคคลและดาเนินกิจการ
น้อยกว่า 2 ปี เช่น วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตั้งใหม่ จะต้องเสนอเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา ดังนี้
1. ก่อนการจดทะเบียน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีเอกสาร/ข้อกาหนดดังนี้
1) บันทึกการประชุมเพื่อจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน
1.1 รายชื่อผู้เข้าร่วมจัดตั้ง (ชื่อ/ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์/เลข ปชช./ทะเบียนบ้าน)
1.2 รายงานบันทึกเหตุการณ์การประชุมที่มีวาระสาคัญ คือ
- การตั้งชื่อวิสาหกิจชุมชน
- การตั้งคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน
- การเลือกคณะกรรมการของกลุ่มในตาแหน่งต่าง ๆ
- ยืนยันจานวนสมาชิกในปัจจุบัน (มีกี่คน)
- การมอบหมายบุคคลให้มีอานาจลงนามในการทาธุรกรรมทางการเงินของกลุ่ม
- กาหนดข้อบังคับกลุ่ม มีผู้จดบันทึก/ตรวจรายงานการประชุม
2) แบบคาขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน (แบบ สวช.01)
- ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิก
19
2. เมื่อได้รับการจดทะเบียน (ให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ
ชุมชน) มีเอกสาร/ข้อกาหนดดังนี้
1) หนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน (ท.ว.ช. 2)
- ชื่อวิสาหกิจชุมชนหรือเครือข่ายที่ขอจดทะเบียนที่ตั้ง
- จานวนสมาชิก (ที่เป็นปัจจุบัน)
- ที่อยู่ของสมาชิกที่มีอานาจในการดาเนินกิจการแทน
- ทะเบียนคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน ฯ (ฉบับปัจจุบัน)
2) เอกสารสาคัญแสดงการดาเนินกิจการ (ท.ว.ช. 3)
3) แบบคาร้ องขอปรับปรุงทะเบียนวิส าหกิจชุมชน (แบบ สวช.05) (กรณีมีการ
เปลี่ยนแปลงทางทะเบียน, สมาชิก, วัตถุประสงค์)
3. การขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร มีเอกสาร/ข้อกาหนดดังนี้
1) มติเห็นชอบให้กู้เงินจานวน (บาท) /ยินยอมค้าประกันการกู้ยืมในวงเงิน (บาท)
2) บันทึกรายงานการประชุมกลุ่ม (ประชุมร่วมกันเป็นประจา)
3) รายงานการประชุมที่กาหนดมอบหมายผู้มีอานาจกระทาการแทนวิสาหกิจชุมชนฯ
4) หนังสือมอบอานาจให้ผู้แทนดาเนินการแทนวิสาหกิจชุมชนฯ ในโครงการฯ จานวน 2 คน
5) บัญชีรายรับ – รายจ่าย ของวิสาหกิจชุมชนฯ ที่เป็นปัจจุบัน
6) หลักฐานการสะสมทุนเรือนหุ้น หรือการออมร่วมกันอย่างสม่าเสมอ
7) หลั กฐานแสดงการผ่ านการตรวจสอบบั ญ ชีแ ละงบการเงิ น (ส าหรับ องค์ ก ร
ที่ดาเนินการแล้ว)
8) ข้อมูลสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ/ความต้องการต่อราย
9) แบบคารับรององค์กรเกษตรกร (องค์กรที่ยังไม่ดาเนินการ)
10) แบบประเมินโครงการเบื้องต้น
11) เอกสารเรื่องการฝึกอบรมอาชีพ
12) บันทึกข้อตกลง (MOU) ของโครงการ
13) ประธานวิสาหกิจชุมชนฯ เซ็นต์รับรองเอกสารให้ครบถ้วนทุกหน้า
14) หนังสือยินยอมให้สมาชิกทุกคน/คู่สมรส (สามีภรรยา) เป็นผู้ค้าประกันวงเงินกู้เต็มจานวน
4. การค้าประกันวงเงินกู้
1) เอกสารประกอบ บัตรประชาชน/ทะเบียนบ้าน ของคณะกรรมการ (รับรองสาเนา)
2) เอกสารประกอบ บัตรประชาชน/ทะเบียนบ้าน ของผู้ค้าประกัน (รับรองสาเนา)
3. แบบฟอร์มการขอรับการสนับสนุน มีดังนี้
3.1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการ (กคค 01)
3.2 แบบคารับรององค์กรเกษตรกร เพื่อเสนอขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
(สาหรับองค์กรเกษตรกรที่ยังไม่ได้ดาเนินกิจการ) (กกค 02)
3.3 แบบการประเมินเบื้องต้น เพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์ ความถูกต้อง และความเป็นไปได้ของ
โครงการที่เสนอขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กกค 03)
3.4 แบบตรวจสอบเอกสาร (กกค 04)
20
กกค 01

โครงการเพื่อขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
กรณีองค์กรเกษตรกร

1. ชื่อโครงการ ………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2.1 หน่วยงานหลัก
…………………………………..............................................................................................................….…

3. หน่วยงานสนับสนุน/กากับดูแล
1) ………………………………………………….................................................................................................
2) …………………………………………….……...............................................................................................

4. ที่ตั้งสานักงาน
........................................................................................................................................................................

5. หลักการและเหตุผล
•……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…............................................................................................................................. .............................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
•……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
...…...………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
..…........................................................................................................................................................................
•……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
...…....…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
6. วัตถุประสงค์โครงการ
6.1 ...........................................................................................
6.2 ...........................................................................................
6.3 ...........................................................................................

7. เป้าหมายโครงการ
7.1 ...........................................................................................
7.2 ...........................................................................................
7.3 ...........................................................................................
21

8. ระยะเวลาดาเนินงาน
.........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
9. งบประมาณ
งบประมาณ จะประกอบด้วยวงเงินที่ขอกู้จากกองทุนฯ และ อาจมี เงินจ่ายขาด (ค่าบริหารโครงการ
และติดตามงาน) ซึ่งต้องเป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงินจ่ายขาดที่ชัดเจนและสอดคล้องกับการดาเนินโครงการ
สาหรับองค์กรเกษตรกร สามารถขอรับเงินจ่ายขาดในกรณีที่หน่วยการกากับดูแลดาเนินการบริหารและติดตาม
โครงการตามวัตถุประสงค์โครงการ

9.1 เงินยืมจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จานวน .................................. บาท


เป้าหมาย รายการค่าใช้จ่าย วงเงิน
กิจกรรม
(ราย) ปริมาณ รายละเอียดราคา/หน่วย (ล้านบาท)
1. ................... ...... ......... .................................................................................. .......................
2. ................... ...... ......... .................................................................................. .......................
3. ................... ...... ......... .................................................................................. .......................
รวมทั้งสิ้น ………………..

9.2 เงินจ่ายขาด เป็นค่าบริหารโครงการและค่าใช้จ่ายในการติดตามงานของหน่วยงานที่กากับดูแล


แผนงาน/กิจกรรม จานวนเงิน
(รายละเอียดค่าใช้จ่ายแต่ละกิจกรรม) (บาท)
1. ............................................................................................. .............................................
2. ............................................................................................. ............................................
รวมทั้งสิ้น …………........................……..

9.3 การจาแนกต้นทุนและรายได้
หมายเหตุ :
ปี ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น รายได้ทั้งสิ้น รายได้สุทธิ

256.. ………….. ………….. …………..


256.. ………….. ………….. …………..
256.. ………….. ………….. …………..
256.. ………….. ………….. …………..
256.. ………….. ………….. …………..
22

10. แผนการดาเนินงาน
10.1 แผนปฏิบัติงานโครงการ

มค......-ธค......
หน่วยงาน

กพ. .....
มค. .....

มีค. .....
เมย......

ส.ค......
พค......

พย......
ธค. .....
มิย......
กค......

ตค......
กย......
ลาดับ แผนงาน/กิจกรรม
รับผิดชอบ

1 .................................................. ...........................
2 .................................................. ...........................
3 .................................................. ...........................
4 .................................................. ...........................
5 .................................................. ...........................
6 .................................................. ...........................
7 .................................................. ...........................
8 .................................................. ...........................
9 .................................................. ...........................

10.2 แผนการใช้เงิน (เบิกจ่ายเงิน)


หน่วย : บาท
รายการ วงเงินเบิกจ่าย ระยะเวลาเบิกจ่าย หมายเหตุ

รวม

10.3 แผนการส่งเงินคืนกองทุน เช่น วงเงินกู้ยืม ............ บาท สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ........ ราย

หน่วย : บาท
แผนการส่งเงินคืน
ระยะเวลา เกษตรกรต่อราย สหกรณ์การเกษตรฯ
เงินต้น ดอกเบี้ย เงินต้น ดอกเบี้ย
ปีที่ 1 ............. ………………. ………………. ……………….
ปีที่ 2 ............. ………………. ………………. ………………. ……………….
ปีที่ 3 ............. ………………. ………………. ………………. ……………….
รวม ………………. ………………. ………………. ……………….
23

11. วิธีดาเนินงาน
11.1 ...........................................................................................
11.2 ...........................................................................................
ฯลฯ
ทั้งนี้องค์กรเกษตรกรต้องกาหนดเงื่อนไขในการเข้าร่วมโครงการของสมาชิกทุกรายโดยระบุคุณสมบัติ
ของสมาชิก (นอกเหนือจากคุณสมบัติข้ออื่น ๆ ที่องค์กรเกษตรกรกาหนด) ดังนี้
คุณสมบัติของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ
1) สมาชิกทุกรายต้องค้าประกันร่วมกันและรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมกัน
2) สมาชิกทุกรายต้องมีผลผลิต หรือปัจจัยการผลิตเป็นหลักประกันเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
เช่น โครงการรวบรวมข้าว เกษตรกรทุกรายต้องใช้ข้าวเป็นหลักประกันเงินกู้กองทุนฯ หรือโครงการเลี้ยงโคเนื้อ
เกษตรกรทุกรายต้องมีโคเนื้อเป็นหลักประกันในโครงการ

12. การบริหารโครงการ

13. แผนการบริหารโครงการ
1) แนวทางการบริหารสหกรณ์
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
2) แนวทางการบริหารเงินกู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................

3) แนวทางการบริหารด้านตลาด
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
4) แนวทางการบริหารจัดการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
5) แนวทางการบริหารจัดการหนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
24

14. การติดตามประเมินผลโครงการ
14.1 วิธีการ เกณฑ์วัดและระยะเวลาที่จะติดตามโครงการ
1) การกากับติดตามการดาเนินโครงการ
………………………………………………………………………………....…......................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
2) การตรวจเยี่ยมติดตามและประเมินผลโครงการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....….............................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
3) การติดตามโครงการ/ติดตามหนี้โครงการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....….......................................................................................................................................... ....................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
14.2 เกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมินผล
1) จัดทาเกณฑ์การประเมินผล
1.1) ……………………………………………………………………………………
1.2) ……………………………………………………………………………………
2) ตัวชี้วัด
2.1) ……………………………………………………………………………………
2.2) ……………………………………………………………………………………
15. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
15.1 ผลผลิต (Output)
1....………………………………………………………………………………………………………………………………….
2……………………………………………………………………………………………………………………………………..
3.……………………………………………………………………………………………………………………………………
15.2 ผลลัพธ์ (Outcome)
1………………………………………………………………………………………………………………………………………
2………………………………………………………………………………………………………………………………….......
3………………………………………………………………………………………………………………………………………
15.3 ผลกระทบ (Impact)
เชิงบวก
1……………………………………………………………………………………………………………………………………...
2………………………………………………………………………………………………………………………………………
เชิงลบ
1………………………………………………………………………………………………………………………………………
2………………………………………………………………………………………………………………………………………
25

16. การบริหารความเสี่ยง
ผลการประเมินความเสี่ยง
มาตรการ/
ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น โอกาสเกิด ระดับความ ความสามารถ
แนวทางการควบคุมความเสี่ยง
ความเสี่ยง รุนแรง ในการจัดการ
1. ด้านการดาเนินการของโครงการ   

1.1 ด้านจัดหาปัจจัยการผลิต

1.2 ด้านราคาปัจจัยการผลิต

1.3 ด้านการตลาด

2. ด้านเทคโนโลยี

3. ด้านสิ่งแวดล้อม

17. การศึกษาความเป็นไปได้
17.1 ด้านเทคนิคหรือด้านวิชาการ เช่น มีหน่วยงานรัฐหรือภาคเอกชนให้องค์ความรู้การดาเนินโครงการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
17.2 ด้านการจัดการ/การบริหารโครงการ เช่น กาหนดผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมให้ชัดเจน
………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………....…............................................................................................................................. ................................
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
………....…............................................................................................................................................... ...............
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
17.3 ด้านการตลาด เช่น ตลาดรองรับ มี MOU
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
………....…............................................................................................................................. ................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..................
17.4 ด้านการเงิน เช่น มีการออม การสะสมทุนเรือนหุ้น มีผลกาไรจากการดาเนินธุรกิจ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
………....…............................................................................................................................................... ...............
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....................
26

17.5 ด้านเศรษฐกิจ
หน่วย : ล้านบาท
NPV
PVB PVC
ปีที่ รายได้ รายจ่าย (มูลค่าปัจจุบนั ของ
(รายได้ปัจจุบัน) (รายจ่ายปัจจุบนั )
ผลตอบแทนสุทธิ)
0 ............. ............. ............. ............. .............
1 ............. ............. ............. ............. .............
2 ............. ............. ............. ............. .............
3 ............. ............. ............. ............. .............
4 ............. ............. ............. ............. .............
5 ............. ............. ............. ............. .............
6 ............. ............. ............. ............. .............
รวม ............. ............. ............. ............. .............

17.6 ด้านสังคมและการเมือง เช่น นโยบายของรัฐ


………………………………………………………………………………………………………………………………………
………....…............................................................................................................................. .................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………...................
………....…............................................................................................................................. .................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................
...........................................................................................................................................................................
27

กกค 02

แบบคำรับรององค์กรเกษตรกร
เพื่อเสนอขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
(สำหรับองค์กรเกษตรกรที่ยังไม่ได้ดำเนินกิจกำร)

เขียนที…่ ………………………………………………………..
วันที่ …………...เดือน………………… พ.ศ. ………….....

ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)...................................นามสกุล.................................อายุ............ปี
อยู่บ้านเลขที่.........................หมู่ที่..........................ตาบล/แขวง...........................อาเภอ/เขต.................................
จังหวัด..............................................รหัสไปรษณีย์...........................โทรศัพท์.......................โทรสาร......................
ตาแหน่งในหน่วยงาน...............................................................................................................................................
ขอรับรองว่า (ระบุชื่อองค์กรเกษตรกร).........................................................................................
ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่.............เดือน............................พ.ศ. ..................มีสานัก งานตั้งอยู่เลขที่...............หมู่ที่...............
ตาบล/แขวง......................................อาเภอ/เขต.........................................จังหวัด.................................................
รหัสไปรษณีย์.......................................โทรศัพท์...................................โทรสาร.......................................................
ซึ่งเสนอขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรในโครงการ.............................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มีคุณสมบัติและความพร้อมในการดาเนินกิจการในโครงการดังกล่าว เนื่องจาก..........................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... ........................
.................................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)....................................................
(...................................................)
ตาแหน่ง...................................................
ผู้รับรอง

หมายเหตุ ผู้ให้การรับรองต้องเป็นหัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่กากับดูแลองค์กรเกษตรกรในระดับจังหวัด/อาเภอ
28

กกค 03
แบบการประเมินเบื้องต้น
เพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์ ความถูกต้อง และความเป็นไปได้ของโครงการ
ที่เสนอขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
(โดยหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ดูแล ส่งเสริม การประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ในพื้นที่ระดับอาเภอ / ระดับจังหวัด)

1. ผู้ประเมิน (ผู้แทนหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ดูแล ส่งเสริม การประกอบอาชีพเกษตรกรรม (พืช/สัตว์/ประมง/อื่นๆ)


ในพื้นที่ระดับอาเภอ / ระดับจังหวัด)
ชื่อ : ...............................................................................................................................................................
ตาแหน่ง : .......................................................................................................................................................
หน่วยงาน : ....................................................................................................................................................
ที่ตั้งหน่วยงาน : ........................................................................................................................... ..................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
วันที่ประเมิน : ................................................................................................................................................
2. ประเภทองค์กรเกษตรกร : ............................................................................................................................
ชื่อองค์กรเกษตรกร : ………………………………………………………………………………………………………….………......
3. ชื่อโครงการ : ………………………………………………………………….…………………………………………………….….........
ประเภท/ชนิด ของเกษตรกรรมในโครงการ (เป็นไปตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การกาหนด
รายชื่อผลิตผลเกษตรกรรมข้นต้นและผลิตภัณฑ์อาหาร)
 พืช ระบุ : .......................................................................................................................................
 สัตว์ ระบุ : ......................................................................................................................................
 ประมง ระบุ : ......................................................................................................................................
 อื่นๆ ระบุ : .......................................................................................................................................
4. การประเมินเบื้องต้นเพื่อวิเคราะห์ความสมบูรณ์ ความถูกต้อง และความเป็นไปได้ของโครงการที่เสนอ
ขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (คะแนน 1 หมายถึง น้อยหรือ ไม่มี, คะแนน 2 หมายถึง
ปานกลาง, และ คะแนน 3 หมายถึง มาก)
ค่าคะแนนที่ได้
ประเด็นโครงการ ประเด็นการวิเคราะห์ รวม
1 2 3
1. ชื่อโครงการ 1.1 ความถูกต้อง ชัดเจน
1.2 สอดคล้องกับกิจกรรม
1.3 อ่านเข้าใจง่าย
2. หลักการและ 2.1 ความเป็ น มา ความส าคั ญ ของโครงการที่ จ ะมี ต่ อ
เหตุผล นโยบายต่าง ๆ
2.2 ระบุความต้องการแก้ปัญหาหรือพัฒนา
2.3 เงินกองทุนฯ เกิดจากความต้องการของสมาชิก
3. วัตถุประสงค์ 3.1 บอกสิ่งที่ต้องการให้เกิดหลังดาเนินโครงการ
29

ค่าคะแนนที่ได้
ประเด็นโครงการ ประเด็นการวิเคราะห์ รวม
1 2 3
3.2 มีความเป็นไปได้
3.3 สอดคล้องกับกิจกรรมที่ทา
4. เป้าหมาย 4.1 แสดงผลงานในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ
4.2 ระบุกลุ่มหรือสมาชิกที่จะดาเนินงาน
4.3 ระบุจานวนหรือวันเวลาสถานที่ที่จะดาเนินการ
5. กิจกรรมและ 5.1 ลาดับกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ดาเนินงาน 5.2 กิจกรรมระบุวันเวลาที่ดาเนินการ
5.3 กิจกรรมระบุผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม
6. รายละเอียด 6.1 การเขียนงบประมาณคานึงถึงความประหยัด
การใช้งบประมาณ 6.2 ความคุ้มค่า เหมาะสม เพียงพอของงบประมาณ
7. การประเมินผล 7.1 ตัวชีว้ ัดสามารถวัดได้
7.2 บอกวิธีการที่จะประเมิน
7.3 บอกเครื่องมือที่ใช้ประเมิน
8. ผลที่คาดว่าจะ 8.1 บอกผลที่คาดว่าจะได้รับหลังสิ้นสุดโครงการ
ได้รับ 8.2 ผลที่คาดว่าจะได้รับบอกเป็นผลลัพธ์ (Outcomes)
8.3 ผลที่คาดว่าจะได้รับสูงกว่าวัตถุประสงค์
รวม
ได้คะแนน 60 – 69 คะแนน เป็นโครงการที่ดี
ได้คะแนน 50 – 59 คะแนน เป็นโครงการที่พอใช้
ได้คะแนนต่ากว่า 49 คะแนน เป็นโครงการที่ยังต้องปรับปรุงเพิ่มเติม
สรุปผลการประเมิน
ได้คะแนน......................................เป็นโครงการที.่ ................................................................................................
ความเห็นของผู้ประเมิน
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ข้าพเจ้า ขอรับรองว่าจะประเมินโครงการดังกล่าวด้วยความถูกต้อง และเป็นความจริง

(ลงชื่อ) ..................................................... ผู้ ประเมิน


( )
ตาแหน่ง ...............................................................
วันที่ ........ เดือน ............................. พ.ศ. ...........
30
กกค 04
แบบฟอร์มตรวจสอบคุณสมบัติ เงื่อนไข ในการเสนอขอรับการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการ

ชื่อวิสาหกิจชุมชน เลขทะเบียน
จำนวนงบประมาณ บาท
ที่อยู่ :
พื้นที่เขต (นส.3/ส.ป.ก./ฯลฯ)
วัน/เดือน/ปี ที่จัดตั้งวิสาหกิจชุมชน จำนวนสมาชิก คน
พิกัด : X Y Z

ลำดับ ขั้นตอน เอกสาร/ข้อกำหนด Check List 


1 ก่อนการจดทะเบียน 1. บันทึกการประชุมเพื่อจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน  มี  ไม่มี
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 1.1 รายชื่อผู้เข้าร่วมจัดตั้ง (ชื่อ/ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์/เลข ปชช./ทะเบียนบ้าน)  มี  ไม่มี
1.2 รายงานบันทึกเหตุการณ์การประชุมที่มีวาระสำคัญ คือ  มี  ไม่มี
- การตั้งชื่อวิสาหกิจชุมชน  มี  ไม่มี
- การตั้งคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน  มี  ไม่มี
- การเลือกคณะกรรมการของกลุม่ ในตำแหน่งต่าง ๆ  มี  ไม่มี
- ยืนยันจำนวนสมาชิกในปัจจุบัน (มีกี่คน)  มี  ไม่มี
- การมอบหมายบุคคลให้มีอำนาจลงนามในการทำธุรกรรมทางการเงินของกลุ่ม  มี  ไม่มี
- กำหนดข้อบังคับกลุ่ม มีผจู้ ดบันทึก/ตรวจรายงานการประชุม  มี  ไม่มี
2. แบบคำขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน (แบบ สวช.01)  มี  ไม่มี
- ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิก  มี  ไม่มี
2 เมื่อได้รับการจดทะเบียน 3. หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน (ท.ว.ช. 2)  มี  ไม่มี
(ให้เป็นไปตามระเบียบ - ชื่อวิสาหกิจชุมชนหรือเครือข่ายที่ขอจดทะเบียนที่ตั้ง  มี  ไม่มี
คณะกรรมการส่งเสริม
- จำนวนสมาชิก (ที่เป็นปัจจุบัน)  มี  ไม่มี
วิสาหกิจชุมชน)
- ที่อยู่ของสมาชิกที่มีอำนาจในการดำเนินกิจการแทน  มี  ไม่มี
- ทะเบียนคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน ฯ (ฉบับปัจจุบัน)  มี  ไม่มี
4. เอกสารสำคัญแสดงการดำเนินกิจการ (ท.ว.ช. 3)  มี  ไม่มี
5. แบบคำร้องขอปรับปรุงทะเบียนวิสาหกิจชุมชน (แบบ สวช.05)  มี  ไม่มี
(กรณีมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ,สมาชิก,วัตถุประสงค์)
3 การขอใช้เงินกองทุน 6. มติเห็นชอบให้กู้เงินจำนวน (บาท) /ยินยอมค้ำประกันการกูย้ ืมในวงเงิน (บาท)  มี  ไม่มี
สงเคราะห์เกษตรกร 7. บันทึกรายงานการประชุมกลุ่ม (ประชุมร่วมกันเป็นประจำ)  มี  ไม่มี
8. รายงานการประชุมที่กำหนดมอบหมายผูม้ ีอำนาจกระทำการแทนวิสาหกิจชุมชน ฯ  มี  ไม่มี
9. หนังสือมอบอำนาจให้ผู้แทนดำเนินการแทนวิสาหกิจชุมชน ฯ ในโครงการ ฯ จำนวน 2 คน  มี  ไม่มี
10. บัญชีรายรับ – รายจ่าย ของวิสาหกิจชุมชน ฯ ที่เป็นปัจจุบัน  มี  ไม่มี
11. หลักฐานการสะสมทุนเรือนหุน้ หรือการออมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ  มี  ไม่มี
12. หลักฐานแสดงการผ่านการตรวจสอบบัญชีและงบการเงิน (สำหรับองค์กรที่ดำเนินการแล้ว)  มี  ไม่มี
13. ข้อมูลสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ/ความต้องการต่อราย  มี  ไม่มี
14. แบบคำรับรององค์กรเกษตรกร (องค์กรที่ยังไม่ดำเนินการ)  มี  ไม่มี
15. แบบประเมินโครงการเบื้องต้น  มี  ไม่มี
31

ลำดับ ขั้นตอน เอกสาร/ข้อกำหนด Check List 


3 การขอใช้เงินกองทุน 16. เอกสารเรื่องการฝึกอบรมอาชีพ  มี  ไม่มี
สงเคราะห์เกษตรกร 17. บันทึกข้อตกลง (MOU) ของโครงการ  มี  ไม่มี
(ต่อ) 18. ประธานวิสาหกิจชุมชน ฯ เซ็นต์รับรองเอกสารให้ครบถ้วนทุกหน้า  มี  ไม่มี
19. หนังสือยินยอมให้สมาชิกทุกคน/คูส่ มรส (สามีภรรยา) เป็นผู้คำ้ ประกันวงเงินกูเ้ ต็มจำนวน  มี  ไม่มี
4 การค้ำประกันวงเงินกู้ 20. เอกสารประกอบ บัตรประชาชน/ทะเบียนบ้าน ของคณะกรรมการ (รับรองสำเนา)  มี  ไม่มี
21. เอกสารประกอบ บัตรประชาชน/ทะเบียนบ้าน ของผู้ค้ำประกัน (รับรองสำเนา)  มี  ไม่มี

ชื่อผู้ประสานงาน...........................................................ตำแหน่ง..........................................โทรศัพท์.......................................E-mail……........…………....
32
บทที่ 4
การทาสัญญา และการเบิกจ่ายเงิน
1. การทาสัญญา
1.1 สัญญาเงินกู้
1.1.1 กรณีหน่วยงานของรัฐ สำนักงำนอัยกำรสูงสุดได้พิจำรณำตำมระเบียบคณะกรรมกำร
สงเครำะห์เกษตรกรว่ำด้วยกำรรับจ่ำยเงินกำรใช้จ่ำยในกำรเงินเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนของกองทุนกำรจัดหำ
ผลประโยชน์ของกองทุนและกำรจำหน่ำยทรัพย์สินจำกบัญชีของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. 2556 แล้ว กำหนดให้สัญญำ
ระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนฯ ตำมโครงกำรให้ใช้คำว่ำ บันทึกคำรับรองผู้เบิก เนื่องจำกกรณี
หน่วยงำนรัฐ จะไม่ใช้คำว่ำกู้เงินเหมือนกับกรณีองค์กรเกษตรกร แต่ จะมีกำหนดไว้ว่ำจะชำระหนี้เงินหมุนเวียน
ดังกล่ำวคืนแก่กองทุนสงเครำะห์เกษตรกรภำยในระยะเวลำโครงกำรที่ได้รับอนุมัติ
เอกสารที่ใช้ในการทาสัญญา
1. มติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
2. โครงกำรฉบับสมบูรณ์ ที่เป็นไปตำมมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
3. หนังสือขอเบิกเงินจำกหน่วยงำนของรัฐ

*ตัวอย่างหนังสือคารับรองผู้เบิกกรณีหน่วยงานของรัฐ

บันทึกคารับรองผู้เบิก
(ใช้สำหรับกรณีผู้กู้ยืมเป็นหน่วยงำนของรัฐ)

เลขที่....................
โครงกำร......................................................................
วันที่..........เดือน........................พ.ศ. ................
ด้วยที่ประชุมคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร ครั้งที่....../....... เมื่อวันที่......เดือน.....................
พ.ศ. ............ (และตำมมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่.........เดือน...........................พ.ศ. .............)* ได้อนุมัติจัดสรร
เงินจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ให้ .....(หน่วยงำนของรัฐ)............................ (“ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุน”)
เพื่อดำเนินกำรตำมโครงกำร .........................................…… (“โครงกำร”) มีกำหนดชำระคืนภำยใน ..... (...) ปี
ระยะเวลำโครงกำร พ.ศ.๒๕....... ถึ ง พ.ศ.๒๕...... โดยอนุ มั ติ ว งเงิ น .......................................บำท
(...............................................................) เป็นเงิ นยืม (เงินหมุน เวียน) จำนวน......................บำท
(................................................) และเงิน จ่ำยขำด จำนวน….........................บำท (......................................) อัตรำดอกเบี้ย
ร้อยละ ... (...) ต่อปี โดยให้มีระยะเวลำปลอดกำรชำระหนี้ใน .... (...) ปีแรก
บั ดนี้ ผู้ ได้ รั บจั ดสรรเงิ นกองทุ น โดย .................................. ต ำแหน่ ง......(หั วหน้ ำหน่ วยงำนของรั ฐ)….
ขอเบิกเงินที่ได้รับจัดสรรจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรเพื่อเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินกำรโครงกำรดังกล่ำว
ซึ่ ง เบิ ก เงิ น ครั้ ง นี้ งวดที่ …....... ปี ง บประมำณ ........เป็ น เงิ น หมุ น เวี ย น จ ำนวน.............บำท (..........)
เงิ น จ่ ำยขำด จ ำนวน…...........................................บำท (..............) โดยโอนเงิ นเข้ ำบั ญชี เงิ นฝำกออมทรั พย์
ธนำคำร.....(ธนำคำรที่เป็นรัฐวิสำหกิจ)..................................... ดังนี้
33
ชื่อบั ญชี “เงินกองทุน สงเครำะห์ เกษตรกร โครงกำร.......................................... ” (เงินหมุนเวียน)
บั ญชี เลขที่ ...................................................จำนวน.................................บำท (......................................)
ชื่อบัญชี “เงินจ่ำยขำดเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โครงกำร.....................................” (เงินจ่ำยขำด)
บัญชีเลขที่................................................... จำนวน...................................................บำท (...............................................)
โดยผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนขอรับรองว่ำ
๑. ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนจะใช้จ่ำยเงินที่ได้รับจัดสรรตำมวัตถุประสงค์ของโครงกำรที่ได้รับอนุมัติ
และใช้ จ่ ำ ยเงิ น ตำมรำยกำรหรื อ กิ จ กรรมที่ ข อเบิ ก เท่ ำ นั้ น จะน ำไปใช้ จ่ ำ ยเพื่ อ กำรอื่ น ไม่ ไ ด้ และใช้ จ่ ำ ย
เป็นค่ำใช้จ่ำยตำมที่กำหนดในแผนกำรดำเนินโครงกำร
ในกรณีเงินหมุนเวียน ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนจะต้องจ่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยตำมที่กำหนดในแผนกำร
ดำเนิ น โครงกำรอย่ ำ งช้ ำ ไม่ เกิ น ๑๕ (สิ บ ห้ ำ ) วั น นั บแต่วั นที่ เงิ น โอนเข้ำ บัญ ชี และให้ นำส่ งคื นส ำนั กงำน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วัน นับแต่วันครบกำหนดให้ใช้เงิน โดยระบุชื่อโครงกำร
ประเภทของเงินที่นำส่งและปีที่เบิกเงินไปจำกกองทุน
ในกรณีเงินจ่ำยขำด ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนสำมำรถจ่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตำมงำนตำมที่จำเป็น
และให้นำส่งเงินคืนที่เหลือจ่ำยสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วัน นับแต่
วันสิ้นสุดโครงกำร
๒. ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนจะนำส่งดอกผลที่เกิดขึ้นจำกบัญชีเงินฝำกธนำคำรดังกล่ำว และดอกผล
หรือรำยได้อื่นที่เกิดจำกกำรดำเนินโครงกำร (หำกมี) คืนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร อย่ำงน้อยปีละ ๑ (หนึ่ง)
ครั้ง ตำมปีปฏิทิน ตำมที่ผู้ให้กู้ยืมกำหนด และภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วันนับแต่วันสิ้นสุดโครงกำร
๓. ผู้ ได้รับ จั ดสรรเงินกองทุนจะช ำระหนี้เงินหมุนเวียนดังกล่ ำวคืนแก่กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
ภำยในระยะเวลำ ........ (...) ปี โดยแบ่งชำระเป็น ...... (...) งวด ดังนี้
งวดที่ ๑ ชำระคืนวันที่.............ส่งคืนเงินต้น.............บำท (.............) พร้อมดอกเบี้ย.........บำท (..........)
งวดที่ ๒ ชำระคืนวันที่..............ส่งคืนเงินต้น............บำท (.............) พร้อมดอกเบี้ย.........บำท (..........)
งวดที่ ๓ ชำระคืนวันที่..............ส่งคืนเงินต้น............บำท (.............) พร้อมดอกเบี้ย.........บำท (..........)
หำกผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนไม่สำมำรถชำระหนี้ให้เสร็จสิ้นตำมกำหนด ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุน
ยินยอมเสียเบี้ยปรับเพิ่มในอัตรำร้ อยละ ๓ (สำม) ต่อปี สำหรับเงินต้นของเงินหมุนเวียนที่ค้ำงชำระนับแต่
วันผิดนัดช ำระหนี้จ นถึงวันที่ชำระเสร็จสิ้น ในกรณีที่ผู้ ได้รับจัดสรรเงินกองทุนไม่สำมำรถส่งเงินคืนกองทุน
สงเครำะห์ เกษตรกรได้ ภ ำยในก ำหนด อำจขอลดหรื องดเบี้ย ปรั บต่ อ คณะกรรมกำรสงเครำะห์ เ กษตรกร
ในเหตุต่อไปนี้
(๑) ภัยธรรมชำติ
(๒) โครงกำรที่ได้รับอนุมัติเป็นกำรดำเนินกำรตำมโครงกำรของรัฐบำล
(๓) ยังไม่ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณชดเชย
(๔) เหตุอื่นๆ อันสมควรที่คณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรเห็นชอบ
ในกรณี ที่ จะต้ องส่ งเงิ นคื นให้ แก่ กองทุ นสงเครำะห์ เกษตรกรตำมข้ อ ๑ และข้ อ ๒ ให้ ผู้ ไ ด้รั บ จั ด สรร
เงิน กองทุน โอนเงิน ดัง กล่ ำ ว เข้ำบั ญชี ธนำคำรเพื่ อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร สำขำนำงเลิ้ ง ชื่อบัญชี
“กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร” บัญชีเลขที่ ๐๑๐๐๐-๒-๐๓๔๔๐-๓
๕. ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนต้องควบคุมกำรใช้จ่ำยเงินและเอกสำรหลักฐำนกำรเบิกจ่ำยเงินให้เป็นไป
ตำมระเบียบของทำงรำชกำรที่เกี่ยวข้อง
34
ผู้ ไ ด้ รั บ จั ด สรรเงิ น กองทุ น ต้ อ งจั ด ท ำรำยงำนกำรรั บ -จ่ ำ ยเงิ น และรำยงำนผลกำรปฏิ บั ติ ง ำน
ตำมโครงกำร ส่ งให้ ส ำนั กงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นรำยไตรมำส และเมื่อสิ้นสุ ดโครงกำร
ภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วัน นับแต่วันสิ้นสุดของไตรมำส หรือวันสิ้นสุดโครงกำร แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ก ำรจัดทำและ
จัดส่งรำยงำนจะต้องปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์ และวิธีกำรที่คณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร และสำนักงำน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนด
๖. ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนต้องจัดทำงบกำรเงินของโครงกำร พร้อมทั้งรวบรวมใบสำคัญจ่ำยและ
เอกสำรอื่นอันเป็นหลักฐำนแห่งหนี้ส่งให้สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบภำยใน ๖๐ (หกสิบ) วัน
นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ จนกว่ำจะเสร็จสิ้นโครงกำร
เมื่อสำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน ได้ตรวจสอบงบกำรเงินของโครงกำรพร้อมหลักฐำนแล้ว จะจัดส่ง
ส ำเนำผลกำรตรวจสอบงบกำรเงิ น ของโครงกำรดั งกล่ ำวให้ ส ำนัก งำนปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ทรำบภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วันนับแต่วันที่ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนทรำบผลกำรตรวจสอบจำกสำนักงำนกำร
ตรวจเงินแผ่นดินแล้ว
๗. ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนต้องปฏิบัติตำมระเบียบคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรว่ำด้วยกำร
รับจ่ำยเงิน กำรเก็บรักษำเงิน กำรใช้จ่ำยเงินเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนของกองทุน กำรจัดหำผลประโยชน์
ของกองทุน และกำรจำหน่ำยทรัพย์สินจำกบัญชีของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. ๒๕๕๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ำมี)
โดยเคร่งครัด รวมถึงตำมระเบียบ และหลักเกณฑ์อื่นๆ ของคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรและสำนักงำน
ปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ เกี่ ยวข้ องทั้ งในปัจจุ บันและอนำคต และตำมเงื่อ นไขเฉพำะโครงกำร
แนบท้ำยบันทึกคำรับรองผู้เบิกนี้
๘. ถ้ำผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนปฏิบัติผิดบันทึกคำรับรองผู้เบิกข้อหนึ่งข้อใด สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์มีสิทธิระงับกำรจ่ำยเงินที่ได้รับกำรจัดสรร และมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนชำระคืน
เงิ นหมุ นเวี ยนที่ ได้ รั บกำรจั ดสรรพร้ อมดอกเบี้ ยและเบี้ ยปรั บตำม ข้ อ ๓ (หำกมี ) และเงิ นจ่ ำยขำดที่ ได้ เบิ กจ่ ำยแล้ ว
ตำมจ ำนวนที่ส ำนั ก งำนปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดได้ ทั น ที รวมถึ ง มี สิ ท ธิ เ รี ยกค่ ำ เสี ย หำย
ตำมกฎหมำย และค่ำเสียหำยอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในกำรดำเนินกำรเพื่อติดตำมทวงถำมให้ชำระหนี้
๙. ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตกลงให้ผลงำนหรือสิทธิในผลงำนหรือทรัพย์สินทำงปัญญำที่เกิดขึ้นจำก
งำนวิจั ยกรณีโครงกำรสนับสนุนงำนวิจัย ตกเป็นกรรมสิทธิ์หรือสิ ทธิของสำนักงำนปลั ดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์
ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนได้รับ ทรำบและยินยอมที่จะปฏิบัติตำมข้อตกลงในบันทึกคำรับรองผู้เบิก
ฉบับนี้ โดยได้ทำควำมเข้ำใจ ในสำระสำคัญแห่งบันทึกนี้แล้วจึงได้ลงนำมเพื่อใช้เป็นหลักฐำนต่อไป

ลงชื่อ......................................................
(.....................................................)
ตำแหน่ง .....หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐ.............
วันที่.......เดือน.........................พ.ศ. ........
35
1.1.2 กรณี องค์กรเกษตรกร ส ำนักงำนอัยกำรสูงสุ ดได้พิจำรณำตำมระเบียบคณะกรรมกำร
สงเครำะห์เกษตรกร ว่ำด้วยกำรรับจ่ำยเงินกำรใช้จ่ำยในกำรเงินเป็นค่ำใช้จ่ำ ยในกำรดำเนินงำนของกองทุนกำร
จั ด หำผลประโยชน์ ข องกองทุน และกำรจ ำหน่ ำยทรั พย์ สิ นจำกบั ญ ชีข องกองทุ น เป็น สู ญ พ.ศ.2556 แล้ ว
กำหนดให้สัญญำใช้คำว่ำ สัญญำกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
1) กรณีองค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล
เอกสารที่ใช้ในการทาสัญญา
1. มติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
2. ทำหนังสือขอเบิกเงินมำที่กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
3. โครงกำรฉบับสมบูรณ์ ที่เป็นไปตำมมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
พร้อมมีกำรประทับตรำองค์กรเกษตรกร และลงนำมผู้ที่ได้รับมอบหมำย
4. รำยงำนที่ประชุมขององค์กรเกษตรกร ที่ระบุว่ำ
4.1 มีมติเห็นชอบให้มีกำรกู้เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
4.2 มีมติมอบหมำยผู้มีอำนำจทำนิติกรรม ลงนำมสัญญำกู้กับ กองทุนสงเครำะห์
เกษตรกร จำนวน 2 คน ในคณะกรรมกำรบริหำรองค์กรชุดปัจจุบัน
ทั้งนี้ ให้มีกำรประทับตรำองค์กรเกษตรกร พร้อมลงนำมผู้ที่ได้รับมอบอำนำจตำม ข้อ 4.2
5. บัญชีธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร โดยให้เปิดบัญชีชื่อว่ำ เงินกองทุน
สงเครำะห์เกษตรกรโครงกำร………………………… (ผู้ที่เปิดบัญชีกับธนำคำรจะเป็นคนเดียวกับผู้ที่ได้รับมอบหมำย
ให้ทำนิติกรรม)
2) กรณีองค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็นนิติบุคคล
เอกสารที่ใช้ในการทาสัญญา
1. มติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
2. ทำหนังสือขอเบิกเงินมำที่กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
3. โครงกำรฉบับสมบูรณ์ ที่เป็นไปตำมมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
พร้อมมีกำรประทับตรำองค์กรเกษตรกร(ถ้ำมี) และลงนำมผู้ที่ได้รับมอบหมำย
4. รำยงำนที่ประชุมขององค์กรเกษตรกร ที่ระบุว่ำ
4.1 มีมติเห็นชอบให้มีกำรกู้เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
4.2 มีมติมอบหมำยผู้มีอำนำจทำนิติกรรม ลงนำมสัญญำกู้กับ กองทุนสงเครำะห์
เกษตรกร จำนวน 2 คน ที่เป็นสมำชิกขององค์กรเกษตรกร
ทั้งนี้ ให้มีกำรประทับตรำองค์กรเกษตรกร พร้อมลงนำมผู้ที่ได้รับมอบอำนำจตำม ข้อ 4.2
5. บัญชีธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร โดยให้เปิดบัญชีชื่อว่ำ เงินกองทุน
สงเครำะห์เกษตรกรโครงกำร………………………… (ผู้ที่เปิดบัญชีกับธนำคำรจะเป็นคนเดียวกับผู้ที่ได้รับมอบหมำย
ให้ทำนิติกรรม)
6. หนังสือมอบอำนำจจำกสมำชิกทุกคนของวิสำหกิจชุมชนที่มอบให้ ประธำน กับรอง
ประธำน หรือเลขำนุกำร เป็นผู้มีอำนำจกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร (ตำมแบบฟอร์มของกองทุนสงเครำะห์
เกษตรกร)
36
*ตัวอย่างสัญญากู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

สัญญากู้ยืมเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

โครงกำร...............................................................................
สัญญำเลขที่.....................

สัญญำฉบับนี้ทำขึ้น ณ .........................................................................................................
แขวง/ตำบล..............................เขต/อำเภอ.......................................จังหวัด............................... .....................
เมื่อวันที่.........เดือน....................................พ.ศ................. ระหว่ำง สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สำนักงำนตั้งอยู่เลขที่ ๓ ถนนรำชดำเนินนอก แขวงบ้ำนพำนถม เขตพระนคร กรุงเทพมหำนคร ๑๐๒๐๐ โดย
............................................ตำแหน่ง ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ /............................................ตำแหน่ง
...........................................ผู้ได้รบั มอบอำนำจจำกปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตำมคำสั่งกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ที่ ................... ลงวันที่............เดือน........................... พ.ศ............ซึ่งต่อไปในสัญญำนี้ เรียกว่ำ
“ผู้ ให้ กู้ยื ม ” ฝ่ ำยหนึ่ งกับ ...............................................................ส ำนักงำนตั้งอยู่เลขที่. ...........ถนน
..................................แขวง/ตำบล...................................เขต/อำ เภอ..................................... จังหวัด
......................................โดย...............................................................ตำแหน่ง.............. ........................
ผู้มีอำนำจลงนำมผูกพันนิติบุคคลปรำกฏตำม..............................................ลงวันที่..............................................แนบ
ท้ำยสัญญำนี้ ซึ่งต่อไปในสัญญำนี้เรียกว่ำ “ผู้กู้ยืม” อีกฝ่ำยหนึ่ง
คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยได้ตกลงทำสัญญำกันมีข้อควำมดังต่อไปนี้
ข้อ ๑. ผู้ให้กู้ยืมตกลงให้กู้และผู้กู้ยืมตกลงกู้ยืมเงินจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ซึ่งเป็นเงิน
หมุนเวียนจำนวน..................................บำท (................................) เพื่อให้ผู้ กู้ยืมนำเงินจำนวนดังกล่ำวไปใช้เป็น
ทุนดำเนินกำรตำมโครงกำร...................................... ซึ่งต่อไปในสัญ ญำนี้เรียกว่ำ “โครงกำร” ปรำกฏตำม
แผนกำรดำเนินงำนโครงกำรแนบท้ำยสัญญำ และให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญำ โดยผู้ให้กู้ยืมแบ่งจ่ำยเงินกู้ยืม
ให้กับผู้กู้ยืมจำนวน.......... (...) งวด ดังนี้
งวดที่ ๑ วันที่.....เดือน......พ.ศ. .... จำนวน...............บำท (.........................................)
งวดที่ ๒ วันที่.....เดือน......พ.ศ. .... จำนวน...............บำท (.........................................)
งวดที่ ๓ วันที่.....เดือน......พ.ศ. .... จำนวน...............บำท (.........................................)
กำรกู้ยื มเงิน ดังกล่ ำวในวรรคแรกมีระยะเวลำกำรกู้ยืมเงินเป็นเวลำ ...... (.....) ปี นับแต่
วันที่.................ผู้กู้ยืมได้รับเงินกู้ยืมงวดแรกตำมสัญญำนี้ อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ ... (...) ต่อปี โดยให้มีระยะเวลำ
ปลอดกำรชำระหนี้ใน ...... (...) ปีแรก
นอกจำกเงินกู้ยืมดังกล่ำวในสองวรรคก่อน ผู้กู้ยืมได้รับจัดสรรเงินจ่ำยขำด จำนวน … บำท
(...) เพื่อใช้ในกำรดำเนินงำนโครงกำร โดยมีกำรแบ่งจ่ำยเงินจ่ำยขำดให้แก่ผู้กู้ยืมจำนวน ... (...) งวด ดังนี้
งวดที่ ๑ วันที่.....เดือน ...... พ.ศ. .... จำนวน....................บำท (......................................)
งวดที่ ๒ วันที่.....เดือน ...... พ.ศ. .... จำนวน....................บำท (......................................)
งวดที่ ๓ วันที่.....เดือน ...... พ.ศ. .... จำนวน....................บำท (......................................)
37
ข้อ ๒. ในกำรเบิกเงินกู้ยืมและ/หรือเงินจ่ำยขำดในแต่ละงวด ผู้ กู้ยืมจะต้องยื่นบันทึกคำรับรอง ผู้เบิกตำมแบบ
พร้อมเอกสำรประกอบตำมที่ผู้ให้กู้ยืมกำหนดให้แก่ผู้ให้กู้ยืมล่วงหน้ำก่อนวันกำหนดเบิกเงินกู้ยืมและ/หรือเงิน
จ่ำยขำดในแต่ละงวดเป็นเวลำไม่น้อยกว่ ำ ...... (.....) วันทำกำร เมื่อผู้ให้กู้ยืมได้ตรวจสอบแล้ว เห็นว่ำถูกต้อง
ผู้ให้กู้ยืมตกลงส่งมอบเงินกู้ยืมและ/หรือเงินจ่ำยขำดตำมข้อ ๑ ให้แก่ผู้กู้ยืมโดยวิธีโอนเงินจำนวนดังกล่ำวเข้ำ
บัญชีเงินฝำกประเภทออมทรัพย์ของผู้กู้ยืมที่ได้เปิดบัญชีเพื่อโครงกำรนี้ไว้เป็น กำรเฉพำะกับธนำคำร......(ที่เป็น
รัฐวิสำหกิจ)......... สำขำ .......................................... ในชื่อบัญชีว่ำ เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรโครงกำร
............................................................. . (...ชื่ อ ผู้ กู้ ยื ม ที่ มี อ ำนำจลงนำม...) เลขที่ บั ญชี
.............................................................. สำหรับเงินกู้ยืม และในชื่อบัญชีว่ำ ...(...ชื่อผู้กู้ยืมที่มีอำนำจลงนำม...)
เลขที่บัญชี............................................................... สำหรับเงินจ่ำยขำด และให้ถือว่ำผู้กู้ยืม ได้รับเงินที่กู้ยืมและ/
หรือเงินจ่ำยขำดตำม ข้อ ๑ ไว้ถูกต้องครบถ้วนแล้วนับแต่วันที่ผู้ให้กู้ยืมได้โอนเงินเข้ำบัญชีเงินฝำกดังกล่ำว
ข้อ ๓. ผู้กู้ยืมจะต้องชำระเงินที่กู้ยืมคืนให้แก่ผู้ให้กู้ยืมเป็นรำยปี ภำยในวันที่ ................เดือน
.....................................ของทุกปี นับแต่ปที ี่ ... (...) ของปีที่ผ้กู ู้ยมื ได้รบั เงินกู้ยมื ตำม ข้อ ๑ พร้อมดอกเบี้ย และ
ผู้กู้ยื มจะต้องชำระคืนเงิน กู้ยืมให้ เสร็ จ สิ้ นภำยในวันที่ .......... เดือน...................... พ.ศ. ............ โดยมี
รำยละเอียดกำรชำระเงินที่กู้ยืมปรำกฏตำม เอกสำรแนบท้ำยสัญญำ และให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญำนี้ ทั้งนี้
ไม่เป็นกำรตัดสิทธิ์ผู้ให้กู้ยืมที่จะเรียกให้ผู้กู้ยืมชำระเงินกู้ตำมสัญญำฉบับนี้ทั้งหมดหรือแต่บำงส่วนคืนก่อนถึง
กำหนดระยะเวลำดังกล่ำวตำมแต่ผู้ให้กู้ยืมจะเห็นสมควรโดยไม่จำต้องชี้แจงเหตุผล ในกรณีดังกล่ำวผู้กู้ยืม
จะต้องชำระเงินกู้ยืมพร้อมดอกเบี้ย และดอกเบี้ยเงินฝำกธนำคำรที่เกิดขึ้นตำมที่ กำหนดในข้อ ๑๐ คืนให้แก่ผู้ให้
กู้ยืมภำยใน................. (............) วัน นับแต่วันได้รับแจ้งเป็นหนังสือจำกผู้ให้กู้ยืม
ข้อ ๔. เพื่อเป็นหลักประกันกำรปฏิบัติตำมสัญญำ ผู้กู้ยืมได้นำหลักประกันสัญญำ (อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
หรือทั้งสองอย่ำง) เต็มวงเงินกู้ยืมมำมอบไว้แก่ผู้ให้กู้ยืมในสัญญำนี้แล้ว ดังนี้
๔.๑ สัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืมกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรที่คณะกรรมกำรบริหำร
องค์กรและผู้จัดกำรของผู้กู้ยืมหรือผู้ทำหน้ำที่ในลักษณะดังกล่ำวทั้งคณะร่วมกันเป็นผู้ค้ำประกัน
๔.๒ หลักประกันเป็น ...................... เป็นจำนวนเงิน.....................................บำท
(.....................................................) มำมอบให้แก่ผู้ให้กู้ยืมเพื่อเป็นหลักประกันกำรปฏิบัติตำมสัญญำนี้
หำกปรำกฏว่ำหลักประกันดังกล่ำวในวรรคก่อนลดน้อยถอยลง ไม่ว่ำด้วยเหตุใดๆ หรือมีกำร
เปลี่ยนแปลงบุคคลซึ่งเป็นคณะกรรมกำรบริหำรองค์กร ผู้จัดกำรของผู้กู้ยืม หรือผู้ทำหน้ำที่ในลักษณะดังกล่ำวผู้
กู้ ยื ม ตกลงที่ จ ะน ำหลั ก ประกั น ใหม่ ห รื อ หำหลั ก ประกั น มำเพิ่ ม ให้ เ ต็ ม จ ำนวนดั ง เดิ ม หรื อ ด ำเนิ น กำรให้
คณะกรรมกำรบริหำรองค์กร ผู้จัดกำรของผู้กู้ยืม หรือผู้ทำหน้ำที่ในลักษณะดังกล่ำวคนใหม่มำทำสัญญำค้ำ
ประกันเพิ่มเติม โดยผูกพันตำมระยะเวลำกำรกู้ยืมเงินตำมสัญญำนี้ แล้วแต่กรณี
หลักประกันที่ผู้กู้ยืมนำมำมอบไว้ตำมสองวรรคก่อน ผู้ให้กู้ยืมจะคืนให้เมื่อผู้กู้ยืมพ้นจำก ภำระ
ผูกพันทั้งปวงตำมสัญญำนี้แล้ว
ข้อ ๕. ผู้กู้ยืมตกลงว่ำ
๕.๑ ผู้กู้ยืมจะใช้จ่ำยเงินกู้ยืมและเงินจ่ำยขำดที่ได้รับกำรจัดสรรตำมวัตถุประสงค์ของ
โครงกำร และใช้จ่ำยเงินตำมรำยกำรหรือกิจกรรมที่ขอเบิกเท่ำนั้น จะนำไปใช้จ่ำยเพื่อกำรอื่นมิได้เป็นอันขำด
๕.๒ ผู้กู้ยืมจะใช้จ่ำยเงินกู้ยืมเป็นค่ำใช้จ่ำยตำมที่กำหนดในแผนกำรดำเนินโครงกำร
อย่ำงช้ำไม่เกิน ๑๕ (สิบห้ำ) วัน นับแต่วันที่เงินโอนเข้ำบัญชี และให้นำส่งเงินกู้ยืมที่เหลือจ่ำยหรือที่ไม่ได้ใช้
ภำยในกำหนดเวลำคืนให้แก่ผู้ให้กู้ยืมภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วัน นับแต่วันครบกำหนดให้ใช้เงิน โดยระบุชื่อโครงกำร
ประเภทของเงินที่นำส่งและปีที่เบิกเงิน
38
๕.๓ ผู้กู้ยืมจะใช้จ่ำยเงินจ่ำยขำด เป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตำมงำนตำมควำมจำเป็น
และให้นำส่งเงินเหลือจ่ำยคืนผู้ให้กู้ยืมภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วัน นับแต่วันสิ้นสุดโครงกำร
ข้อ ๖. ในกรณีผู้กู้ยืมไม่ดำเนินกำรตำมแผนกำรดำเนินงำนโครงกำรเป็นระยะเวลำ..............
(.....................) วันติดต่อกัน ผู้ ให้ กู้ยืมมีสิ ทธิบอกเลิ กสั ญญำและเรียกให้ผู้ กู้ยืมชำระเงินกู้ยืมคืนก่อนครบ
กำหนดเวลำตำมสัญญำข้อ ๓. ได้ทันที และผู้กู้ยืมจะต้องนำเงินที่กู้ยืมพร้อมดอกเบี้ย รวมถึงดอกเบี้ยเงินฝำกที่
เกิดขึ้นตำม ข้อ ๑๐ และเงินจ่ำยขำดที่ได้เบิกจ่ำยแล้วตำมจำนวนที่ผู้ให้กู้ยืมกำหนดมำชำระคืนให้แก่ผู้ให้กู้ยืม
ภำยใน ........ (........) วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจำกผู้ให้กู้ยืม
ข้อ ๗. ผู้กู้ยืมต้องจัดทำรำยงำนกำรรับ-จ่ำยเงิน และรำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนตำมโครงกำรให้
ผู้ให้กู้ยืมเป็นรำยไตรมำส และเมื่อสิ้นสุดโครงกำร ภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วัน นับแต่วันสิ้นสุดของไตรมำส หรือวัน
สิ้นสุดโครงกำร แล้วแต่กรณี ทั้งนี้กำรส่งรำยงำนจะต้องส่งภำยในระยะเวลำและตำมวิธีกำรที่ผู้ให้กู้ ยืมจะได้
กำหนด
ผู้ กู้ยื มต้อ งจั ดทำงบกำรเงินของโครงกำร พร้อมทั้ง รวบรวมใบส ำคัญจ่ำยและเอกสำรอื่ น
อันเป็นหลักฐำนแห่งหนี้ส่งให้ผู้ให้กู้ยืมภำยใน ๓๐ (สำมสิบ) วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณของแต่ละปีจนกว่ำ
จะเสร็จสิ้นโครงกำร
ข้อ ๘. ผู้ให้กู้ยืมหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมำยจำกผู้ให้กู้ยืมมีสิทธิเข้ำไปในสถำนประกอบกำร
หรือสถำนที่ดำเนินกิจกำรตำมโครงกำร ของผู้ กู้ยืม เพื่อตรวจสอบ กำกับ ดูแล ติดตำมกำรใช้จ่ำยเงินกู้ยืม
ตำมสั ญ ญำนี้ รวมทั้ ง กำรตรวจสอบเอกสำรและบั ญ ชี ใ ดๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กำรด ำเนิ น กำรตำมโครงกำร
ได้ตลอดเวลำ โดยผู้กู้ยืมจะต้องอำนวยควำมสะดวกให้ทุกประกำรโดยไม่อิดเอื้อนใดๆ ทั้งสิ้น
ข้อ ๙. ผู้ กู้ยืมจะต้องปฏิบัติตำมระเบียบ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีปฏิบัติในกำรให้กู้ยืม
เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ที่กำหนดโดยคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรและผู้ให้กู้ยืมซึ่งได้ออกใช้
บังคับอยู่แล้วในขณะทำสัญญำนี้ หรือซึ่งจะได้ออกให้ใช้บังคับต่อไปในภำยหน้ำและเงื่อนไขเฉพำะโครงกำรแนบ
ท้ำยสัญญำนี้ โดยให้ถือว่ำระเบียบ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีปฏิบัติและเงื่อนไขเฉพำะโครงกำรดังกล่ำวเป็นส่วน
หนึ่งแห่งสัญญำนี้ด้วย
ข้ อ ๑๐. ดอกเบี้ ย เงิ น ฝำกธนำคำรอั น เกิ ด จำกกำรโอนเงิ น กู้ ยื ม เข้ ำ บั ญ ชี เ งิ น ฝำกของ
ผู้กู้ยืมตำม ข้อ ๒ ให้ ตกเป็ นกรรมสิทธิ์ของผู้ให้ กู้ยืม และผู้ กู้ยืมจะต้องส่งคืนดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นทั้งจำนวนให้
ผู้ให้กู้ยืม อย่ำงน้อยปีละ ๑ (หนึ่ง) ครั้งตำมปีปฏิทิน ตำมที่ผู้ให้กู้ยืมกำหนดและภำยใน ๑๕ (สิบห้ำ) วันนับแต่
วันสิ้นสุดโครงกำร
ข้อ ๑๑. ในกรณีที่ผู้กู้ยืมไม่ได้ใช้เงินกู้ยืมหรือเงินจ่ำยขำดไปดำเนินกำรตำมหลักเกณฑ์ เงื่อนไข
และวัตถุประสงค์ของโครงกำร แต่นำเงินกู้ยืมหรือเงินจ่ำยขำดดังกล่ำวไปฝำกไว้กับธนำคำรนอกเหนือจำกที่
กำหนดไว้ตำม ข้อ ๒. หรือนำเงินกู้ยืมหรือเงินจ่ำยขำดไปใช้นอกเหนือวัตถุประสงค์ ที่กำหนดไว้ในสัญญำนี้ ให้ถือว่ำผู้กู้ยืม
ผิดสัญญำ ผู้ให้กู้ยืมมีสิทธิเรียกให้ผู้กู้ยืมส่งเงินกู้ยืมที่ยังคงค้ำงชำระอยู่ทั้งหมด พร้อมดอกเบี้ยเงินต้นที่ค้ำงชำระ
รวมถึงดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจำกกำรนำเงินกู้ไปฝำกธนำคำร และดอกผลที่เกิดจำกกำรนำเงินกู้ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์
และเงินจ่ำยขำดที่ได้เบิกจ่ำยแล้วตำมจำนวนที่ผู้ให้กู้ยืมกำหนด คืนให้แก่ผู้ให้กู้ยืมทันที
ข้อ ๑๒. ในกรณีผู้กู้ยื มไม่ช ำระเงินกู้ภำยในระยะเวลำที่กำหนด หรือไม่ปฏิบัติตำมสั ญญำ
ข้อหนึ่งข้อใด หรือไม่ปฏิบัติตำมแผนกำรดำเนินงำนโครงกำรด้วยเหตุใดๆ ก็ตำม ผู้ให้กู้ยืมมีสิทธิบอกเลิกสัญญำ
หรือใช้สิทธิระงับกำรเบิกจ่ำยเงินกู้ยืมและ/หรือเงินจ่ำยขำดที่ยังไม่ได้เบิกจ่ำย ในกรณีดังกล่ำวผู้ให้กู้ยืมมีสิทธิ
ที่จะเรียกให้ผู้กู้ยืมชำระต้นเงินที่กู้ยืมตำมสัญญำนี้พร้อมดอกเบี้ย และผู้ให้กู้ยืมมีสิทธิเรียกเบี้ยปรั บเพิ่มเติม
ในอัตรำร้อยละ ๓ (สำม) ต่อปี ของต้นเงินกู้ยืมที่ค้ำงชำระนับแต่วันที่สัญญำเลิกหรือวันผิดนัดชำระหนี้เงินกู้ยืม
39
จนกว่ ำจะช ำระคื น แก่ ผู้ ใ ห้ กู้ ยื ม เสร็ จ สิ้ น ครบถ้ ว น แล้ ว แต่ กรณี รวมทั้ ง ดอกเบี้ ยเงิ น ฝำกธนำคำรที่เ กิ ด ขึ้ น
ตำมข้อ ๑๐ เงินจ่ำยขำดที่ได้เบิกจ่ำยแล้ว ตำมจำนวนที่ผู้ให้กู้ยืมกำหนด และค่ำเสียหำยใดๆ ที่เกิดจำกกำร
ผิดสัญญำดังกล่ำวได้ทันที นอกจำกนี้ ผู้กู้ยืมจะต้องชดใช้ค่ำเสียหำย รวมทั้งค่ำใช้จ่ำยในกำรเตือน เรียกร้อง
ทวงถำม ดำเนินคดี ค่ำฤชำธรรมเนียม และค่ำใช้จ่ำยอื่นใดเพื่อกำรบังคับให้ชำระหนี้ตำมสัญญำนี้
ในกรณีตำมวรรคแรก ผู้ให้กู้ยืมมีสิทธิริบหลักประกันหรือเรียกร้องจำกผู้ค้ำประกันตำมข้อ ๔
เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บำงส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ให้กู้ยืมจะเห็นสมควร
ข้อ ๑๓. ในระหว่ำงที่ผู้กู้ยืมยังเป็นหนี้เงินกู้ยืมตำมสัญญำนี้ ผู้กู้ยืมจะต้องไม่กู้เงินจำกผู้อื่นหรื อ
แหล่งเงินกู้อื่น เว้นแต่จะได้รับอนุญำตเป็นหนังสือจำกผู้ให้กู้ยืมก่อน
ข้อ ๑๔. หำกผู้กู้ยืมได้กู้ยืมเงินไปใช้ในโครงกำรเพื่อกำรสนับสนุนงำนวิจัย ให้ผลงำนหรือ
สิทธิในผลงำนหรือทรัพย์สินทำงปัญญำที่เกิดขึ้นจำกงำนวิจัยตำมโครงกำรสนับสนุนงำนวิจัย เป็นกรรมสิทธิ์
หรือสิทธิของผู้ให้กู้ยืม
สัญญำนี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อควำมถูกต้องตรงกัน คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยได้อ่ำนและเข้ำใจ
ข้อควำมในสัญญำนี้โดยตลอดแล้ว และเห็นว่ำถูกต้องตรงตำมเจตนำ จึงได้ลงลำยมือชื่อพร้อมทั้งประทับตรำ
(ถ้ำมี) ไว้เป็นสำคัญต่อหน้ำพยำนและยึดถือไว้ฝ่ำยละฉบับ

ลงชื่อ....................................................... ผู้ให้กู้ยืม
(....................................................)
ลงชื่อ......................................................... ผู้กู้ยืม
(........................................................)
ลงชื่อ......................................................... ผู้กู้ยืม
(........................................................)
ลงชื่อ.........................................................พยำน
(........................................................)
ตำแหน่ง....................................................
ลงชื่อ........................................................พยำน
(.......................................................)
ตำแหน่ง....................................................
40
คารับรองของเจ้าหน้าที่ผู้จัดทาสัญญากู้ยืม
ข้ำพเจ้ำ.................................................................................ตำแหน่ง....................................................
ขอรับรองว่ำผู้กู้ยืมที่ลงลำยมือชื่อในสัญญำนี้ ได้ลงลำยมือชื่อต่อหน้ำข้ำพเจ้ำจริง
ลงชื่อ.........................................................
(........................................................)
ตำแหน่ง ...................................................

หนังสือมอบอานาจ

เรื่อง มอบอำนำจให้นำย........................ และนำย...................................


เขียนที่..................................................

วันที่ เดือน พ.ศ. 25....


โดยหนังสือฉบับนี้ ข้ำพเจ้ำ
อำยุ ปี เชื้อชำติ สัญชำติ อยู่บ้ำนเลขที่
ตรอก, ซอย ถนน ตำบล/ แขวง
อำเภอ/ เขต จังหวัด

ได้มอบอำนำจให้ นำย..................................... (1) อำยุ ปี


เชื้อชำติ ไทย สัญชำติ ไทย อยู่บ้ำนเลขที่ หมู่ ตำบล
อำเภอ จังหวัด และ นำย........................................ (2) อำยุ ปี
เชื้อชำติ ไทย สัญชำติ ไทย อยู่บ้ำนเลขที่ หมู่ ตำบล
อำเภอ จังหวัด เป็ น ผู้ มี อ ำนำจจั ด กำรกู้ ยื ม เงิ น กั บ กองทุ น สงเครำะห์
เกษตรกรเพื่อดำเนินโครงกำร............................................................................................................... แทนข้ำพเจ้ำจนเสร็จกำร
และข้ำพเจ้ำยอมรับผิดชอบในกำรที่ผู้รับมอบอำนำจของข้ำพเจ้ำได้ทำไปตำมที่ได้มอบอำนำจนี้เสมือนหนึ่ง
ข้ำพเจ้ำได้ทำกำรเองด้วยตนเอง เพื่อเป็นหลักฐำนข้ำพเจ้ำได้ลงลำยมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้ำพยำนแล้ว

ผู้มอบอำนำจ
41
(...................................)
ผู้รับมอบอำนำจ (1)
(...............................)
ผู้รับมอบอำนำจ (2)
(...............................)

ข้ำพเจ้ ำ ขอรั บ รองว่ำเป็ นลำยมื อหรือลำยนิ้ว มือ อันแท้ จ ริงของผู้ มอบอำนำจกับ ผู้ รับมอบ
อำนำจ และผู้รับมอบอำนำจกับผู้มอบอำนำจ ได้ลงลำยมือชื่อต่อหน้ำข้ำพเจ้ำแล้ว
พยำน
( )
พยำน
( )

1.2 สัญญาคาประกัน
สัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืมกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ใช้สำหรับกรณีองค์กรเกษตรกรเท่ำนั้น
1.2.1 กรณีองค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล เช่น สหกรณ์กำรเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม
ชุ มนุ มสหกรณ์ กลุ่ มเกษตรกร ให้ ค ณะกรรมกำรทั้ ง คณะเป็ น ผู้ ค้ ำประกั น โดยกองทุ นสงเครำะห์ เกษตรกร
จะดำเนินกำรตรวจสอบรำยชื่อกรรมกำรจำกรำยงำนกำรประชุมขององค์กรเกษตรกร ว่ำกรรมกำรชุดปัจจุบัน
มีจำนวนกี่คน
เอกสารที่ใช้ในการทาสัญญา
1. รำยงำนที่ประชุมขององค์กรเกษตรกร ที่ระบุว่ำ
1.1 มีมติรับทรำบและยินยอมกำรค้ำประกัน (หำกมีกำรเปลี่ยนแปลงคณะกรรมกำรใหม่
ต้องแจ้งกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร เพื่อทำสัญญำค้ำประกันเพิ่มเติม)
1.2 สำเนำบัตรประจำตัวประชำชน และส ำเนำทะเบียนบ้ำน พร้อมรับรองสำเนำ
ถูกต้อง
1) ประธำน/กรรมกำรและผู้จัดกำร
2) คู่สมรส ของประธำน/กรรมกำรและผู้จัดกำร
1.3 สำเนำทะเบียนสมรส (ถ้ำมี) / ใบหย่ำ / ใบมรณะบัตร ของคู่สมรส ประธำน/
กรรมกำรและผู้จัดกำร พร้อมรับรองสำเนำถูกต้อง
1.4 หนังสือยินยอมคู่สมรส (ตำมแบบฟอร์มของกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
1.5 อำกรแสตมป์ 25 บำท
1.2.2 กรณีองค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็นนิติบุคคล ให้สมำชิกทุกคนในกลุ่มต้องเป็นผู้ค้ำประกันร่วมกัน
โดยกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรจะตรวจสอบจำนวนสมำชิกปัจจุบัน จำกสำนักงำนเกษตรอำเภอในพื้นที่ (หนังสือ
สวช. 05)
42
เอกสารที่ใช้ในการทาสัญญา
1. รำยงำนที่ประชุมของวิสำหกิจชุมชน ที่ระบุ
1.1 มติที่สมำชิกทุกคนต้องรับทรำบและยินยอมกำรค้ำประกันร่วมกัน ในวงเงินกู้ของ
โครงกำร (หำกมีกำรเปลี่ยนแปลงสมำชิกใหม่ต้องแจ้งกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร เพื่อทำสัญญำค้ำประกันใหม่
พร้อมแนบรำยงำนกำรประชุมว่ำมีกำรเปลี่ยนแปลงสมำชิก และสมำชิกรำยใหม่ต้องรับทรำบและยินยอมกำรค้ำประกัน)
1.2 สำเนำบัตรประจำตัวประชำชน และสำเนำทะเบียนบ้ำน พร้อมรับรองสำเนำถูกต้อง
1) สมำชิกทุกคน
2) คู่สมรส ของสมำชิกทุกคน
1.3 สำเนำทะเบียนสมรส (ถ้ำมี) / ใบหย่ำ / ใบมรณะบัตร ของคู่สมรส ของสมำชิกทุกคน
พร้อมรับรองสำเนำถูกต้อง
1.4 หนังสือยินยอมคู่สมรส (ตำมแบบฟอร์มของกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
1.5 สมำชิกทุกคนของวิสำหกิจชุมชนต้องทำหนังสือมอบอำนำจให้ ประธำน กับ รองประธำน
หรือ ประธำน กับ เหรัญญิก หรือ ประธำน กับเลขำนุกำร เป็นผู้มีอำนำจกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
(จำนวน 2 คน ตำมแบบฟอร์มของกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
1.6 อำกรแสตมป์ 25 บำท

*ตัวอย่างสัญญาคาประกันเงินกูย้ ืมกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

สัญญาคาประกันเงินกู้ยืมกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

เขียนที่.............................................
........................................................
วันที่........................................................................
๑. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
๒. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส ............................................................................
๓. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
43
๔. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง ...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
๕. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
๖. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
๗. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
๘. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส ............................................................................
๙. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.).....................................................ตำแหน่ง...............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
๑๐. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง..............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำ นเลขที่ .....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .............................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .............................................................................
๑๑. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง..............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ ....................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด ...........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส ...........................................................................
๑๒. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ ..................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด ..........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
44
๑๓. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง...........................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
๑๔. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง...........................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวั ด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
๑๕. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง...........................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
16. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง............................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
๑๗. ข้ำพเจ้ำ(นำย/นำง/น.ส.).......................................................ตำแหน่ง........................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
๑๘. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง..........................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
๑๙. ข้ำพเจ้ำ(นำย/นำง/น.ส.).......................................................ตำแหน่ง...................... .................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
๒๐. ข้ำพเจ้ำ (นำย/นำง/น.ส.)...................................................ตำแหน่ง..........................................................
เลขประจำตัวประชำชน ...........................................อำยุ ......ปี อยู่บ้ำนเลขที่ .................................................
หมู่ ................... ตำบล/แขวง ......................อำเภอ/เขต ............................จังหวัด .........................................
สถำนภำพ.........(โสด/สมรส/หม้ำย/หย่ำร้ำง)..........ชื่อคู่สมรส .........................................................................
ปรำกฏตำมสำเนำบัตรประจำตัวประชำชนแนบท้ำยสัญญำนี้ ตกลงร่วมกันทำหนังสือสัญญำค้ำประกันไว้ใ ห้
แก่ สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ดังมีข้อควำมต่อไปนี้
ข้ อ ๑ ตำมที่ . ...................................................................................ซึ่ ง ต่ อ ไปนี้ เ รี ย กว่ ำ
“ผู้กู้ยืม” ได้กู้ยืมเงินจำก สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งต่อไปในสัญญำนี้เรียกว่ำ “ผู้ให้กู้ยืม”
จำนวน............................................บำท (..........................................) และได้รับจัดสรรเงินจ่ำยขำด
จำนวน ……. บำท (...) ตำมสัญญำกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โครงกำร ...... สัญญำเลขที่ ......
45
ลงวันที่ ..... เดือน ..... พ.ศ. ...... ปรำกฏตำมสัญญำกู้ยืมเงินแนบท้ำยสัญญำนี้ ซึ่งต่อไปในสัญญำนี้เรียกว่ำ “สัญญำ
กู้ยืม” นั้น
ข้ ำ พเจ้ ำ ตกลงร่ ว มกั น ผู ก พั น ตนเป็ น ผู้ ค้ ำประกั น ผู้ กู้ ยื ม ต่ อ ผู้ ใ ห้ กู้ ยื ม กล่ ำ วคื อ หำกผู้ กู้ ยื ม
ผิ ด นั ด ช ำระหนี้ และผู้ ใ ห้ กู้ ยื ม ได้ มี ห นั ง สื อ บอกกล่ ำ วไปยั ง ข้ ำ พเจ้ ำ ภำยใน ๖๐ (หกสิ บ ) วั น นั บ แต่ วั น ที่
ผู้กู้ยืมผิดนัดแล้ว ข้ำพเจ้ำยินยอมเข้ำรับผิดชำระหนี้ตำมจำนวนเงินที่ผู้กู้ยืม ต้องรับผิดต่อผู้ให้กู้ยืมเงิน รวมถึง
ดอกเบี้ ย เบี้ ย ปรั บ ค่ ำ ธ รรมเนี ย ม และค่ ำ เสี ย หำย ตลอดจนค่ ำ ภ ำระผู ก พั น อั น เป็ น อุ ป กรณ์
แห่ ง หนี้ อื่ น ใดตำมสั ญ ญำกู้ ยื ม ในกรณี ที่ ผู้ ใ ห้ กู้ ยื ม เงิ น มิ ไ ด้ มี ห นั ง สื อ บอกกล่ ำ วไปยั ง ข้ ำ พเจ้ ำ ภำยใน
๖๐ (หกสิ บ ) วั น นั บ แต่ วั น ที่ ผู้ กู้ ยื ม ผิ ด นั ด ก็ ใ ห้ ข้ ำ พเจ้ ำ หลุ ด พ้ น จำกคว ำมรั บ ผิ ด ในดอกเบี้ ย
และค่ ำ สิ น ไหมทดแทนตลอดจนภำระผู ก พั น อั น เป็ น อุ ป กรณ์ แ ห่ ง หนี้ เ งิ น กู้ ยื ม ตำมสั ญ ญำกู้ ยื ม
เฉพำะที่เกิดขึ้นภำยหลังจำกล่วงพ้น ๖๐ (หกสิบ) วันนั้นแล้ว
ข้อ ๒ ในกรณีทผี่ ู้ให้กู้ยืมผ่อนเวลำหรือผ่อนจำนวนเงินในกำรชำระหนี้ตำมสัญญำกู้ยืมให้แก่ ผู้กู้ยืมโดย
ได้แจ้งให้ข้ำพเจ้ำทรำบและข้ำพเจ้ำได้ตกลงยินยอมในกำรผ่อนเวลำหรือผ่อนจำนวนเงิน ในกำรชำระหนี้นั้น
ให้ถือว่ำ ข้ำพเจ้ำตกลงมิให้ถือเอำกำรผ่อนเวลำหรือผ่อนจำนวนเงิน ในกำรชำระหนี้ ดังกล่ำวเป็นเหตุปลดเปลื้อง
ควำมรับผิดของข้ำพเจ้ำและจะรับผิดในฐำนะผู้ค้ำประกันตำมสัญญำนี้ตลอดไปจนกว่ำจะมีกำรชำระหนี้พร้อม
ดอกเบี้ยและค่ำเสียหำย (ถ้ำมี) ครบเต็มจำนวน
ข้ อ ๓ บรรดำหนั ง สื อ บอกกล่ ำ วหรื อ ทวงถำม หรื อ หนั ง สื อ อื่ น ใดที่ จ ะส่ ง ให้ แ ก่ ข้ ำ พเจ้ ำ นั้ น
ถ้ำได้ส่งไปยังที่อยู่ของข้ำพเจ้ำตำมที่ปรำกฏในสัญญำนี้แล้วให้ถือว่ำ ได้ส่งถึงข้ำพเจ้ำโดยชอบ โดยถือว่ำ ที่อยู่
ดั งกล่ ำวเป็ น ภู มิ ล ำเนำของข้ ำ พเจ้ ำ และข้ ำ พเจ้ ำได้ ทรำบข้ อควำมในหนั งสื อหรื อเอกสำรดั งกล่ ำวแล้ ว
ไม่ว่ำจะมีผู้รับไว้หรือไม่ หรือส่งไม่ได้เพรำะเหตุใดๆ
หำกข้ำพเจ้ำเปลี่ยนแปลงที่อยู่ตำมที่ปรำกฏในสัญญำนี้ ข้ำพเจ้ำจะต้องมีหนังสือแจ้ง เปลี่ยนแปลงไปยัง
ผู้ให้กู้ยืมภำยใน..... (.....) วัน กำรละเลยไม่แจ้งเปลี่ยนแปลงที่อยู่ดังกล่ำว หำกผู้ให้กู้ยืมได้ส่งหนังสือบอกกล่ำวหรือ
ทวงถำม หรือหนังสื อใดๆ ไปยั งข้ำพเจ้ ำตำมที่อยู่ที่ปรำกฏในสัญญำนี้ให้ ถือเสมือนว่ำผู้ ค้ำประกันได้ทรำบ
ข้อควำมในหนังสือหรือเอกสำรดังกล่ำวแล้ว
ข้อ ๔ ข้ำพเจ้ำจะไม่เพิกถอนกำรค้ำประกันไม่ว่ำกรณีใดๆ ตรำบเท่ำที่ผู้กู้ยืมยังต้องรับผิดต่อผู้ให้ กู้ยืมตำมสัญญำ
กู้ยืมและบันทึกคำรับรองผู้เบิก
ข้ อ ๕ ข้ ำ พเจ้ ำ ขอรั บ รองว่ ำ คู่ ส มรสของข้ ำ พเจ้ ำ (หำกมี ) ได้ ยิ น ยอมให้ ข้ ำ พเจ้ ำ ท ำหนั ง สื อ
สัญญำค้ำประกันนี้แล้ว ปรำกฏตำมหนังสือยินยอมของคู่สมรสแนบท้ำยสัญญำนี้
ข้ ำ พเจ้ ำ ได้ อ่ ำ นและเข้ ำ ใจข้ อ ควำมในสั ญ ญำนี้ โ ดยละเอี ย ดตลอดแล้ ว เพื่ อ เป็ น หลั ก ฐำน
จึงได้ลงลำยมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้ำพยำน
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๑) (ลงชื่อ).............................................ผู้ค้ำประกัน (๒)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๓) (ลงชื่อ).............................................ผู้ค้ำประกัน (๔)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๕) (ลงชื่อ)............................................ผู้ค้ำประกัน (๖)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๗) (ลงชื่อ).............................................ผู้ค้ำประกัน (๘)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๙) (ลงชื่อ).............................................ผู้ค้ำประกัน (๑๐)
46
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๑๑) (ลงชื่อ)...........................................ผู้ค้ำประกัน (๑๒)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๑๓) (ลงชื่อ)...........................................ผู้ค้ำประกัน (๑๔)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๑๕) (ลงชื่อ)...........................................ผู้ค้ำประกัน (๑๖)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๑๗) (ลงชื่อ)...........................................ผู้ค้ำประกัน (๑๘)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................ผู้ค้ำประกัน (๑๙) (ลงชื่อ)...........................................ผู้ค้ำประกัน (๒๐)
....................................................... .............................................
(ลงชื่อ).......................................................พยำน (ลงชื่อ).............................................พยำน
..................................................... ...............................................
ตำแหน่ง.................................................. ตำแหน่ง.............................................
47
คารับรองของเจ้าหน้าที่
(เจ้ำหน้ำที่ผู้จดั ทำสัญญำค้ำประกัน)
ข้ำพเจ้ำ..................................................................ตำแหน่ง.......................................................
ขอรับรองว่ำผู้ค้ำประกันที่ลงลำยมือชื่อในสัญญำฉบับนี้ ได้ลงลำยมือชื่อต่อหน้ำข้ำพเจ้ำจริง

(ลงชื่อ)...................................................ผู้รับรอง
...............................................
ตำแหน่ง................................................

1.3 บันทึกคารับรองผู้เบิก
กรณีองค์กรเกษตรกร หมำยควำมถึง เป็นกำรขอเบิกเงินจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรเท่ำนั้น
เพรำะบันทึกคำรับรองผู้เบิกขององค์กรเกษตรกรจะทำภำยหลังจำกทำสัญญำกู้ และสัญญำค้ำประกันแล้ว
เท่ำนั้น

*ตัวอย่างบันทึกคารับรองผู้เบิกกรณีองค์กรเกษตรกร

บันทึกคารับรองผู้เบิก

(ใช้สำหรับกรณีผู้กู้ยืมเป็นองค์กรเกษตรกร)
โครงกำร………………………………………………..
…………………………………………………

เลขที่....................

วันที่ ...........เดือน..............พ.ศ.................

บันทึกคำรับรองผู้เบิกฉบับนี้ ............(องค์กรเกษตรกร).......... (“ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุน”) ได้


จั ด ท ำขึ้ น เพื่ อ เป็ น หลั ก ฐำนประกอบกำรเบิ ก เงิ น ที่ ไ ด้ รั บ จั ด สรรจำกกองทุ น สงเครำะห์ เ กษตรกร
โครงกำร ..................................…… (“โครงกำร”) ต่ อ ส ำนั ก งำนปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(“สำนักงำน”) ตำมมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร ในกำรประชุมคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรครั้ง
ที่.................................. เมื่อวันที่..................... และตำมมติคณะรัฐมนตรี * เมื่อวันที่.................................... ซึ่ง
ได้อนุมัติจัดสรรเงินจำกกองทุนสงเครำะห์ เกษตรกร จำนวน ........บำท (......................................................)
บำท เป็นเงินกู้ยืม (เงินหมุนเวียน) จำนวน ... บำท (...) เงินจ่ำยขำดจำนวน ... บำท (...) และ ตำมเงื่อนไขที่
กำหนดไว้ในสัญญำกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โครงกำร ... สัญญำเลขที่ ... ลงวันที่ ... เดือน ... พ.ศ. ....
(“สัญญำกู้ยืม”)
48
ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนขอรับรองว่ำ
ข้อ ๑ ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนจะเปิดบัญชีเงินฝำกกับธนำคำร .............. (ที่เป็นรัฐวิสำหกิจ
เป็ นรำยโครงกำร) ชื่อบั ญชี “เงิน กองทุนสงเครำะห์ เกษตรกร โครงกำร ..............” ส ำหรับเงินกู้ยืม และ
ชื่อบัญชี “เงินจ่ำยขำดเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โครงกำร............” สำหรับเงินจ่ำยขำด และแจ้งเลขที่
บัญชีเงินฝำกให้สำนักงำนทรำบเพื่อโอนเงินเข้ำบัญชีดังกล่ำว โดยให้ถือว่ำผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนได้รับเงินไว้
ถูกต้องครบถ้วนแล้ว
ข้อ ๒ ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตกลงจะใช้คืนเงินที่ได้รับจัดสรรตำมรำยละเอียดของบันทึกคำ
รับรองผู้เบิกฉบับนี้ พร้อมดอกเบี้ย และดอกผลอื่นๆ ตำมเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญำกู้ยืม
ข้อ ๓ ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนขอเบิกเงินที่ได้รับจัดสรร โดยเป็นเงินกู้ ยืม (เงินหมุนเวียน)
จำนวน...........................................บำท (...) ไปดำเนินกำร........................................................ .....
เงิน จ่ ำ ยขำดจ ำนวน...............................บำท (...) ไปดำเนิ นกำร................................... ....................
โดยเป็นเงินกู้ยืมตำมสัญญำกู้ยืม งวดที่ .... และเงินจ่ำยขำดตำมสัญญำกู้ยืม งวดที่ ...
**ข้อ ๔ กรณีโครงกำรที่ได้รับอนุมัติไว้แล้วและยังไม่สิ้นสุดระยะเวลำดำเนินกำร และมีเงินที่
สำนักงำนจะต้องเบิกจ่ำยให้แก่ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตำมแผนกำรดำเนินงำนโครงกำรอยู่อีกผู้ได้รับจัดสรร
เงินกองทุนยินยอมให้สำนั กงำนหักกลบลบกับจำนวนเงินที่ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุนจะต้องส่งคืนออกจำก
จำนวนเงินที่จะเบิกจ่ำย แล้วจึงโอนเงินส่วนที่เหลือให้ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุน
ข้อ ๕ ผู้ ได้ รั บจั ดสรรเงิ นกองทุ นจะต้องน ำเงิ นกู้ ยืม (เงิ นหมุ นเวี ยน) และเงิ นจ่ ำยขำดที่ เหลื อจ่ ำย
พร้อมดอกผลที่เกิดจำกกำรดำเนินงำนโครงกำรที่เกิดขึ้นคืนให้สำนักงำนเข้ำบัญชีกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร สำขำนำงเลิ้ง ชื่อบัญชี กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร บัญชีเลขที่
๐๑๐๐๐-๒-๐๓๔๔๐-๓ ตำมเงื่อนไขในสัญญำกู้ยืม
ข้อ ๖. ผู้ ได้รั บจั ดสรรเงินกองทุนตกลงว่ำ จะปฏิบัติตำมเงื่อนไขของสั ญญำกู้ยืม ระเบียบ
คณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรว่ำด้วยกำรรับจ่ำยเงิน กำรเก็บรักษำเงิน กำรใช้จ่ำยเงินเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำร
ดำเนินงำนกองทุน กำรจัดหำผลประโยชน์ของกองทุน และกำรจำหน่ำยทรัพย์สินจำกบัญชีของกองทุนเป็นสูญ
พ.ศ. ๒๕๕๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ำมี) ตลอดจนระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีกำรอื่นที่กำหนดโดยคณะกรรมกำร
สงเครำะห์เกษตรกรและสำนักงำนทั้งในปัจจุบันและในอนำคตโดยเคร่งครัด
บันทึกคำรับรองผู้เบิกนี้ ผู้ได้รับจัดสรรเงินกองทุน ได้อ่ำนและเข้ำใจข้อควำมโดยละเอียดแล้ว
เห็ นว่ำถูกต้องตรงตำมเจตนำแห่ งตนทุ กประกำร จึ งลงลำยมือชื่ อพร้อมทั้ งประทั บตรำ (ถ้ำมี) ไว้ เป็ นส ำคั ญ
ต่อหน้ำพยำน เพื่อใช้เป็นหลักฐำนต่อไป

ลงชื่อ.........................................................
(........................................................)
ตำแหน่ง....................................................
49

ลงชื่อ.........................................................
(........................................................)
ตำแหน่ง....................................................

ลงชื่อ........................................................พยำน
(.......................................................)
ตำแหน่ง...................................................

ลงชื่อ........................................................พยำน
(.......................................................)
ตำแหน่ง...................................................

* ใช้เฉพำะกรณีกำรกู้จำนวนเงินเกินหนึ่งร้อยล้ำนบำท ตำม พ.ร.บ. กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔ มำตรำ ๒๒


** หำกไม่มีกำรจ่ำยเงินเป็นรำยงวดก็มิต้องระบุในข้อนี้ไว้
50

หนังสือยินยอมของคู่สมรส

ทำที่....................................................

วันที่ ............ เดือน............................. พ.ศ..............

ข้ำพเจ้ำ.....................................................................อำยุ.................ปี อยู่บ้ำนเลขที่.................ตรอก/
ซอย …...................…..............ถนน................…........................ตำบล/แขวง.............….……............. อำเภอ/เขต
................................ จังหวัด ......................................... ซึ่งเป็นสำมี /ภรรยำโดยชอบด้ว ยกฎหมำยของ
..............................................……......... ขอทำหนังสือฉบับนี้ขึ้นไว้เพื่อเป็นหลักฐำนแสดงว่ำข้ำพเจ้ำได้รับทรำบ
และยินยอมให้...............................................................…….สำมี/ภรรยำ ของข้ำพเจ้ำ เป็นผู้มี อำนำจในกำรทำ
สัญญำค้ำประกันตำมโครงกำร...........................................................................................................
กำรใดที่ ...................................................................สำมี/ภรรยำ ของข้ำพเจ้ำ ได้กระทำไปในขอบ
อำนำจของหนังสือยินยอมนี้ ให้มีผลผูกพันข้ำพเจ้ำเสมือนหนึ่งว่ำข้ำพเจ้ำได้เข้ำร่วมกระทำด้วย
เพื่อเป็นหลักฐำนในกำรนี้ ข้ำพเจ้ำจึงลงลำยมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้ำพยำน

ลงชื่อ.........................................................สำมี/ภรรยำผู้ให้ควำมยินยอม
(.........................................................)
ลงชื่อ...........................................................พยำน
(..........................................................)
ลงชื่อ...........................................................พยำน
(..........................................................)

ข้ำ พเจ้ำ คู่สัญ ญำขอรับ รองว่ำ ผู้ใ ห้ค วำมยิน ยอมข้ำ งต้น เป็น คู่ส มรสของข้ำ พเจ้ำ ลำยมือ ชื่อ ผู้ใ ห้
ค ว ำ ม ย ิน ย อ ม เ ป ็น ล ำ ย มือ ชื ่อ จ ร ิง แ ล ะ ผู ้ใ ห้ค ว ำ ม ยิน ย อ ม ยิน ย อ ม ใ ห้ท ำ น ิต ิก ร ร ม /ส ัญ ญ ำ
……............…....................................…………………………….......ได้ หำกเกิดควำมเสียหำยอย่ำงใดๆ ขึ้น ข้ำพเจ้ำ
ขอเป็นผู้รับผิดชอบและใช้ข้อควำมนี้ยันข้ำพเจ้ำได้ทั้งในคดีแพ่งและในคดีอำญำ

ลงชื่อ............................................................ผู้รับรอง(ผู้ค้ำประกัน)
(..........................................................)
51
2. การเบิกจ่ายเงิน
2.1 เบิกจ่ายครังเดียว
2.1.1 หน่วยงานของรัฐ เมื่อหน่วยงำนของรัฐ ได้รับแจ้งมติอนุมัติโครงกำร หน่วยงำนของรัฐจะต้อง
ยื่นขอเบิกเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โดยจะต้องดำเนินกำร ดังนี้
ขันตอน รายละเอียด
1. เปิดบัญชีธนำคำร 1.ให้ ห น่ ว ยงำนของรั ฐ ที่ ไ ด้ รั บ จั ด สรรเงิ น กองทุ น เปิ ด บั ญ ชี เ งิ น ฝำกกั บ ธนำคำรเพื่ อ
กำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการ..........” และแจ้ งเลขบั ญ ชีเ งิ นฝำกให้ สำนั กงำนปลั ดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ (กองคลัง) ทรำบ เพื่อโอนเงินเข้ำบัญชี
2) กรณี มี เ งิ น จ่ ำ ยขำด ให้ เ ปิ ด บั ญ ชี เ งิ น ฝำกที่ ธ นำคำรเพื่ อ กำรเกษตรและสหกรณ์
กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) ข้ำงต้น ชื่อบัญชี“เงินจ่ายขาด โครงการ.........”

2. จัดทำหนังสือขอเบิกเงิน กำหนดให้แนบเอกสำร ดังนี้


1) สำเนำรำยละเอียดโครงกำรที่ได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรสงเครำะห์
เกษตรกร และ/หรือ คณะรัฐมนตรี
2) สำเนำมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
3) สำเนำมติคณะรัฐมนตรี (ถ้ำมี) กรณีวงเงินกู้ยืมเกิน 100 ล้ำนบำท
4) แผนกำรด ำเนิ น งำนโครงกำร ประกอบด้ ว ย แผนปฏิ บั ติ งำน แผนกำรใช้ จ่ ำ ยเงิ น
แผนกำรส่งเงินคืน ซึ่งคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรมีมติเห็นชอบ
5) สำเนำหน้ำสมุดบัญชีเงินฝำกธนำคำร ตำมข้อ 1
6) บันทึกคำรับรองผู้เบิก
หมำยเหตุ รำยละเอียดตำมตัวอย่ำง*

3. กำรเบิกจ่ำยเงิน 1) ส ำนั กงำนปลั ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จั ดส่งคำรับ รองผู้ เบิก ไปยังหน่ วยงำน


ของรัฐทีไ่ ด้รับอนุมัติเพื่อลงนำมในบันทึกคำรับรองผู้เบิก
2) หน่ ว ยงำนของรั ฐ ที่ ได้ รั บ อนุมั ติ ลงนำมในบัน ทึ ก ค ำรั บ รองผู้ เ บิ ก จ ำนวน 2 ฉบั บ
โดยหน่วยงำนของรัฐเก็บไว้ จำนวน 1 ฉบับ และส่งคืนสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ จำนวน 1 ฉบับ
3) สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กองคลัง) โอนเงินไปยังหน่วยงำนของรัฐ
ทีไ่ ด้รับอนุมัติต่อไป

ทังนีเป็นไปตาม พรบ มาตรา 23 และระเบียบรับจ่าย ข้อ 11 และข้อ 13


52

*ตัวอย่างหนังสือขอเบิกเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กรณีหน่วยงานของรัฐ)

บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ (ชื่อหน่วยงำนของรัฐ) โทร.
ที่ / วันที่
เรื่อง ขอเบิกเงินจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร สำหรับดำเนินโครงกำร...................................................
เรียน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตำมหนังสือที่ กษ ............./............. ลงวันที่ ...........................กองบริหำรงำนกองทุน
สงเครำะห์ เกษตรกร สำนั กงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐำนะฝ่ ำยเลขำนุกำรคณะกรรมกำร
สงเครำะห์เกษตรกร แจ้งมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร ครั้งที่ ................................................................
.........................................(หนังสือแจ้งมติจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)........................................................
..................................................................................................................... นั้น
ในกำรนี้…..(ชื่อหน่วยงำนของรัฐ)..............จึงขอเบิกเงินจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ใน
วงเงินรวมจำนวน.............บำท ซึ่งเป็นเงินกู้ยืม จำนวน .........บำท และเงินจ่ำยขำด จำนวน ....... บำท (ถ้ำมี)
สำหรับดำเนินโครงกำร..........................................................โดยได้แนบเอกสำรประกอบกำรขอเบิกเงิน ดังนี้
1. โครงกำร......................(ตัวโครงกำรฉบับสมบูรณ์) .............(ตำมเอกสำรแนบ 1)
2. สำเนำสมุดบัญชีเงินฝำกธนำคำร จำนวน 2 ฉบับ ได้แก่
2.1 บัญชีเงินฝำกธนำคำร.........ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรโครงกำร.........
......................(เงินหมุนเวียน)”
2.2 บัญชีเงินฝำกธนำคำร.........ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรโครงกำร.........
......................(เงินจ่ำยขำด)” (ถ้ำมี).............(ตำมเอกสำรแนบ 2)
3. คู่มือกำรดำเนินโครงกำร.................................(ตำมเอกสำรแนบ 3)
จึงเรียนมำเพื่อโปรดพิจำรณำ

(.....................................)
อธิบดี.....................
53
2.1.2 องค์กรเกษตรกร
เมื่อองค์กรเกษตรกรได้รับแจ้งมติอนุมัติโครงกำร องค์กรเกษตรกรจะต้องยื่นขอเบิกเงินกองทุน
สงเครำะห์เกษตรกร โดยจะต้องดำเนินกำร ดังนี้
ขันตอน รายละเอียด
1. เปิดบัญชีธนำคำร องค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุน เปิดบัญชีเงินฝำกกับธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและ
สหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการ..........”
แ ล ะ แ จ้ งเ ล ขบั ญ ชี เ งิ นฝ ำ กใ ห้ ส ำ นั กงำ น ป ลั ด ก ร ะ ท ร วงเ กษต ร แ ล ะ ส ห กร ณ์
(กองคลัง) ทรำบ เพื่อโอนเงินเข้ำบัญชี
2. ขอเบิกเงินกองทุน อ ง ค์ ก ร เ ก ษ ต ร ก ร จั ด ท ำ ห นั ง สื อ ข อ เ บิ ก เ งิ น ก อ ง ทุ น ส ง เ ค ร ำ ะ ห์ เ ก ษ ต ร ก ร
สงเครำะห์เกษตรกร หมำยเหตุ รำยละเอียดตำมตัวอย่ำง*
3. จัดทำเอกสำรเพื่อแนบขอ พร้อมแนบเอกสำร ดังนี้
เบิกเงินกองทุนสงเครำะห์ 1) ส ำเนำรำยละเอี ย ดโครงกำรที่ ไ ด้ รั บ ควำมเห็ น ชอบจำกคณะกรรมกำรสงเครำะห์
เกษตรกร เกษตรกร และ/หรือ คณะรัฐมนตรี
2) สำเนำมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
3) สำเนำมติคณะรัฐมนตรี (ถ้ำมี) กรณีวงเงินกู้ยืมเกิน 100 ล้ำนบำท
4) แผนกำรเบิกจ่ำยเงินกองทุนและแผนกำรชำระเงินคืนกองทุน
5) สำเนำหน้ำสมุดบัญชีเงินฝำกธนำคำร (ตำมข้อ 1)
6) กรณีมีแผนกำรเบิกจ่ำยเป็นงวด ขอให้แนบสรุปผลกำรใช้จ่ำยเงินในงวดที่ผ่ำนมำ
7) หลักฐำนกำรจดทะเบียนขององค์กรเกษตรกรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกองทุนฟื้นฟูและ
พัฒนำเกษตรกรหรือองค์กรเกษตรกรอื่นที่มีกฎหมำยจัดตั้ง
8) มติที่ประชุมใหญ่และรำยงำนกำรประชุมกำรยินยอมกำรขอใช้เงินกองทุนสงเครำะห์
เกษตรกรเพื่อดำเนินโครงกำรขององค์กรเกษตรกร
9) หนังสือมอบอำนำจจำกคณะกรรมกำรขององค์กรเกษตรกร ให้เป็นผู้แทนในกำรทำนิติ
กรรมสัญญำกับกองทุน สงเครำะห์เกษตรกร (เช่น รำยงำนกำรประชุม หรือหนังสื อ
มอบอำนำจ)
10) บันทึกคำรับรองผู้เบิก
11) สัญญำกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โดยลงลำยมือชื่อในสัญญำกู้ยืมเงินต่ อ
หน้ำเจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำกู้ยืมเงิน พร้อมทั้งให้เจ้ำหน้ำที่ลงลำยมือชื่อรับรองใน
เอกสำรสัญญำกู้ยืมเงิน (เจ้ำหน้ำที่ผู้จัดท ำสัญญำกู้ยืมเงิน หมำยถึง เจ้ำหน้ำที่กอง
บริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
12) สัญ ญำค้ ำประกั นเงิ นกู้ ยืม กองทุน สงเครำะห์ เกษตรกร โดยลงลำยมื อชื่ อ ในสัญ ญำ
ค้ำประกัน เงินกู้ ยืมต่ อหน้ำ เจ้ำ หน้ำที่ ผู้จัด ทำสั ญญำค้ ำประกัน และให้เจ้ ำหน้ ำที่ล ง
ลำยมือชื่อรับรองในเอกสำรสัญญำค้ำประกันเงิ นกู้ยืม (เจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำค้ำ
ประกัน หมำยถึง หมำยถึง เจ้ำหน้ำที่กองบริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
พร้อมทั้งแนบ สำเนำบัตรบั ตรประชำชน สำเนำทะเบี ยนบ้ำน สำเนำใบเปลี่ยนชื่ อ
(ถ้ำมี) ของผู้ค้ำประกัน
13) กรณี มี คู่ ส มรสให้ คู่ ส มรสลงลำยมื อ ชื่ อ ในหนั ง สื อ ยิ น ยอมของคู่ ส มรส ค้ ำประกั น
เงินกู้ยืม พร้อมให้แนบสำเนำทะเบียนสมรส)
14) กรณีมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ให้แนบสำเนำหลักฐำนกำรเป็นหนี้ (สัญญำจำนองขำย
ฝำก สัญญำเงินกู้) และหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์กำรจดทะเบียนทรัพย์ เช่น เครื่องจักร
ทั้งนี้ หำกหลักทรัพย์ ค้ำประกัน ติดภำระผู กพัน ต้องได้รับควำมยินยอมจำกเจ้ำหนี้
ลำดับแรกก่อน
54
15) กรณีมีกำรเปลี่ยนแปลงคณะกรรมกำรบริหำรขององค์กรเกษตรกรหรือผู้ค้ำประกัน
ต้อ งแจ้ งให้ ก องทุ น สงเครำะห์ เ กษตรกรทรำบภำยใน 15 วั น เพื่ อ ที่จ ะด ำเนิ น กำร
จัดทำสัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืมเพิ่มเติม

ทังนีเป็นไปตาม ระเบียบรับจ่าย ข้อ 11 และข้อ 1

* ตัวอย่างหนังสือขอเบิกเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กรณีองค์กรเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน)
ทำที่....................

วันที่......................
เรื่อง ขอเบิกเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
เรียน ผู้อำนวยกำรกองบริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
อ้ำงถึง หนังสือสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ กษ............ลงวันที่.............(หนังสือแจ้งมติ)
สิ่งที่ส่งมำด้วย 1)
2)

ตำมหนังสือที่อ้ำงถึง.......(หนังสือแจ้งมติ)...............................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นั้น

บัดนี้ องค์กรเกษตรกร/วิสำหกิจชุมชน................ได้จัดทำเอกสำรตำมเงื่อนไขของกำรเบิก
เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรเรียบร้อยแล้ว จึงขอจัดส่งเอกสำรดังกล่ำวมำยังกองทุนสงเครำะห์
เกษตรกร (รำยละเอียดตำมสิ่งที่ส่งมำด้วย)

จึงเรียนมำเพื่อโปรดพิจำรณำ

ขอแสดงควำมนับถือ

(.....................................)
ประธำน องค์กรเกษตรกร/วิสำกิจชุมชน...............
55
2.2 เบิกจ่ายเป็นงวด
2.2.1 หน่วยงานของรัฐ
งวดแรก เมื่อหน่วยงำนของรัฐ ได้รับแจ้งมติอนุมัติโครงกำร หน่วยงำนของรัฐจะต้องยื่นขอเบิก
เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ในกำรดำเนินกิจกรรมลำดับที่ 1 โดยจะต้องดำเนินกำร ดังนี้
ขันตอน รายละเอียด
1. เปิดบัญชีธนำคำร 1.ให้หน่วยงำนของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุน เปิดบัญชีเงินฝำกกับธนำคำรเพื่อกำรเกษตร
และสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการ..........”
และแจ้งเลขบัญชีเงินฝำกให้สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กองคลัง) ทรำบ เพื่อ
โอนเงินเข้ำบัญชี
2) กรณีมีเงินจ่ำยขำด ให้เปิดบัญชีเงินฝำกที่ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร
(ธ.ก.ส.) ข้ำงต้น ชื่อบัญชี“เงินจ่ายขาด โครงการ.........”
2. จัดทำหนังสือขอเบิกเงิน กำหนดให้แนบเอกสำร ดังนี้
1) ส ำเนำรำยละเอี ย ดโครงกำรที่ ไ ด้ รั บ ควำมเห็ น ชอบจำกคณะกรรมกำรสงเครำะห์
เกษตรกร และ/หรือ คณะรัฐมนตรี
2) สำเนำมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
3) สำเนำมติคณะรัฐมนตรี (ถ้ำมี) กรณีวงเงินกู้ยืมเกิน 100 ล้ำนบำท
4) แผนกำรด ำเนิ น งำนโครงกำร ประกอบด้ ว ย แผนปฏิ บั ติ ง ำน แผนกำรใช้ จ่ ำ ยเงิ น
แผนกำรส่งเงินคืน ซึ่งคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกรมีมติเห็นชอบ
5) สำเนำหน้ำสมุดบัญชีเงินฝำกธนำคำร ตำมข้อ 1
6) บันทึกคำรับรองผู้เบิก
หมำยเหตุ รำยละเอียดตำมตัวอย่ำง*
3. กำรเบิกจ่ำยเงิน 1) ส ำนั ก งำนปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จั ด ส่ ง ค ำรั บ รองผู้ เ บิ ก ไปยั ง หน่ ว ยงำน
ของรัฐทีไ่ ด้รับอนุมัติเพื่อลงนำมในบันทึกคำรับรองผู้เบิก
2) หน่ ว ยงำนของรั ฐ ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ลงนำมในบั น ทึ ก ค ำรั บ รองผู้ เ บิ ก จ ำนวน 2 ฉบั บ
โดยหน่วยงำนของรัฐเก็บไว้ จำนวน 1 ฉบับ และส่งคืนสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ จำนวน 1 ฉบับ
3) สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กองคลัง) โอนเงินไปยังหน่วยงำนของรัฐ
ทีไ่ ด้รับอนุมัติต่อไป
ทังนีเป็นไปตาม พรบ มาตรา 23 และระเบียบรับจ่าย ข้อ 11 และข้อ 13
งวดต่ อไป เมื่อหน่ วยงำนของรัฐดำเนินกิจกรรมในลำดับก่อนหน้ำแล้ วเสร็จ จะต้องยื่นขอเบิ ก
เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรในกำรดำเนินกิจกรรมลำดับ ต่อไป ตำมบันทึกคำรับรองผู้เบิก โดยดำเนินกำร
ดังนี้
ขันตอน รายละเอียด
1. ขอเบิกเงินกองทุน หน่วยงำนของรัฐจัดทำหนังสือขอเบิกเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร งวดต่อไป
สงเครำะห์เกษตรกร หมำยเหตุ: รำยละเอียดตำมตัวอย่ำง*
2. จัดทำเอกสำรเพื่อแนบขอ พร้อมแนบเอกสำร ดังนี้
เบิกเงินกองทุนสงเครำะห์ 1) แผนกำรด ำเนิ น งำนโครงกำร ประกอบด้ ว ย แผนปฏิ บั ติ ง ำน แผนกำรใช้ จ่ ำ ยเงิ น
เกษตรกร ในงวดต่อไป
56

*ตัวอย่างหนังสือขอเบิกเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (กรณีหน่วยงานของรัฐ)

บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ (ชื่อหน่วยงำนของรัฐ) โทร.
ที่ / วันที่
เรื่อง ขอเบิกเงินจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร สำหรับดำเนินโครงกำร...................................................
เรียน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตำมหนังสือที่ กษ ............./............. ลงวันที่ ...........................กองบริหำรงำนกองทุน
สงเครำะห์ เกษตรกร สำนั กงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐำนะฝ่ ำยเลขำนุกำรคณะกรรมกำร
สงเครำะห์เกษตรกร แจ้งมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร ครั้งที่................................................................
.........................................(หนังสือแจ้งมติจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)........................................................
..................................................................................................................... นั้น
ในกำรนี้…..(ชื่อหน่วยงำนของรัฐ)..............จึงขอเบิกเงินจำกกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ใน
วงเงินรวมจำนวน.............บำท ซึ่งเป็นเงินกู้ยืม จำนวน .........บำท และเงินจ่ำยขำด จำนวน ....... บำท (ถ้ำมี)
สำหรับดำเนินโครงกำร..........................................................โดยได้แนบเอกสำรประกอบกำรขอเบิกเงิน ดังนี้
4. โครงกำร......................(ตัวโครงกำรฉบับสมบูรณ์) .............(ตำมเอกสำรแนบ 1)
5. สำเนำสมุดบัญชีเงินฝำกธนำคำร จำนวน 2 ฉบับ ได้แก่
2.1 บัญชีเงินฝำกธนำคำร.........ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรโครงกำร.........
......................(เงินหมุนเวียน)”
2.2 บัญชีเงินฝำกธนำคำร.........ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรโครงกำร.........
......................(เงินจ่ำยขำด)” (ถ้ำมี).............(ตำมเอกสำรแนบ 2)
6. คู่มือกำรดำเนินโครงกำร.................................(ตำมเอกสำรแนบ 3)
จึงเรียนมำเพื่อโปรดพิจำรณำ

(.....................................)
อธิบดี.....................
57
2.2.2 องค์กรเกษตรกร
งวดแรก เมื่อองค์กรเกษตรกรได้รับแจ้งมติอนุมัติโครงกำร องค์กรเกษตรกรจะต้องยื่นขอเบิก
เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ในกำรดำเนินกิจกรรมลำดับที่ 1 โดยจะต้องดำเนินกำร ดังนี้
ขันตอน รายละเอียด
1. เปิดบัญชีธนำคำร องค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุน เปิดบัญชีเงินฝำกกับธนำคำรเพื่อกำรเกษตร
และสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการ
..........” และแจ้ งเลขบั ญ ชี เ งิ น ฝำกให้ ส ำนั ก งำนปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(กองคลัง) ทรำบ เพื่อโอนเงินเข้ำบัญชี
2. ขอเบิกเงินกองทุน องค์กรเกษตรกรจัดทำหนังสือขอเบิกเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร งวดที่ 1
สงเครำะห์เกษตรกร รำยละเอียดตำมตัวอย่ำง*
3. จัดทำเอกสำรเพื่อแนบขอเบิก พร้อมแนบเอกสำร ดังนี้
เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร 1) ส ำเนำรำยละเอีย ดโครงกำรที่ ไ ด้ รั บ ควำมเห็ น ชอบจำกคณะกรรมกำรสงเครำะห์
3.1 นิติบุคคล เกษตรกร และ/หรือ คณะรัฐมนตรี
2) สำเนำมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
3) สำเนำมติคณะรัฐมนตรี (ถ้ำมี) กรณีวงเงินกู้ยืมเกิน 100 ล้ำนบำท
4) แผนกำรเบิกจ่ำยเงินกองทุนและแผนกำรชำระเงินคืนกองทุน
5) สำเนำหน้ำสมุดบัญชีเงินฝำกธนำคำร (ตำมข้อ 1)
6) กรณีมีแผนกำรเบิกจ่ำยเป็นงวด ขอให้แนบสรุปผลกำรใช้จ่ำยเงินในงวดที่ผ่ำนมำ
7) มติที่ประชุมใหญ่และรำยงำนกำรประชุมกำรยินยอมกำรขอใช้เงินกองทุนสงเครำะห์
เกษตรกรเพื่อดำเนินโครงกำรขององค์กรเกษตรกร
8) บันทึกคำรับรองผู้เบิก
9) สัญญำกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โดยลงลำยมือชื่อในสัญญำกู้ยืมเงินต่อ
หน้ำเจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำกู้ยืมเงิน พร้อ มทั้งให้เจ้ำหน้ำที่ลงลำยมือชื่อรับรองใน
เอกสำรสัญญำกู้ยืมเงิน (เจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำกู้ยืมเงิน หมำยถึง เจ้ำหน้ำที่กอง
บริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
10) สัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืมกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โดยลงลำยมือชื่อในสัญญำ
ค้ำประกันเงินกู้ยืมต่อหน้ำเจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำค้ำประกัน และให้เจ้ำหน้ำที่ลง
ลำยมือชื่อรับรองในเอกสำรสัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืม (เจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำค้ำ
ประกัน หมำยถึง หมำยถึง เจ้ำหน้ำที่กองบริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
พร้อมทั้งแนบ สำเนำบั ตรบัตรประชำชน สำเนำทะเบียนบ้ำน สำเนำใบเปลี่ยนชื่อ
(ถ้ำมี) ของผู้ค้ำประกัน
11) กรณี มี คู่ ส มรสให้ คู่ ส มรสลงลำยมื อ ชื่ อ ในหนั ง สื อ ยิ น ยอมของคู่ ส มรส ค้ ำประกั น
เงินกู้ยืม พร้อมให้แนบสำเนำทะเบียนสมรส)
12) กรณีมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ให้แนบสำเนำหลักฐำนกำรเป็น หนี้ (สัญญำจำนองขำย
ฝำก สัญญำเงินกู้) และหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์กำรจดทะเบียนทรัพย์ เช่น เครื่องจักร
ทั้งนี้ หำกหลักทรัพย์ค้ำประกันติดภำระผูกพัน ต้องได้รับควำมยินยอมจำกเจ้ำหนี้
ลำดับแรกก่อน
13) กรณีมีกำรเปลี่ยนแปลงคณะกรรมกำรบริหำรขององค์กรเกษตรกรหรือผู้ค้ำประกัน
ต้องแจ้งให้กองทุนสงเครำะห์เกษตรกรทรำบภำยใน 15 วัน เพื่อที่จะดำเนินกำร
จัดทำสัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืมเพิ่มเติม
3.2 ไม่เป็นนิติบุคคล พร้อมแนบเอกสำร ดังนี้
1) ส ำเนำรำยละเอีย ดโครงกำรที่ ไ ด้ รั บ ควำมเห็ น ชอบจำกคณะกรรมกำรสงเครำะห์
เกษตรกร และ/หรือ คณะรัฐมนตรี
2) สำเนำมติคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร
3) สำเนำมติคณะรัฐมนตรี (ถ้ำมี) กรณีวงเงินกู้ยืมเกิน 100 ล้ำนบำท
58
ขันตอน รายละเอียด
4) แผนกำรเบิกจ่ำยเงินกองทุนและแผนกำรชำระเงินคืนกองทุน
5) สำเนำหน้ำสมุดบัญชีเงินฝำกธนำคำร (ตำมข้อ 1)
6) กรณีมีแผนกำรเบิกจ่ำยเป็นงวด ขอให้แนบสรุปผลกำรใช้จ่ำยเงินในงวดที่ผ่ำนมำ
7) หลักฐำนกำรจดทะเบียนขององค์กรเกษตรกรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกองทุนฟื้นฟูและ
พัฒนำเกษตรกรหรือองค์กรเกษตรกรอื่นที่มีกฎหมำยจัดตั้ง
8) มติที่ประชุมใหญ่และรำยงำนกำรประชุมกำรยินยอมกำรขอใช้เงินกองทุนสงเครำะห์
เกษตรกรเพื่อดำเนินโครงกำรขององค์กรเกษตรกร
9) หนังสือมอบอำนำจจำกคณะกรรมกำรขององค์กรเกษตรกร ให้เป็นผู้แทนในกำรทำนิติ
กรรมสัญญำกับกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร (เช่น รำยงำนกำรประชุม หรือหนังสือ
มอบอำนำจ)
10) บันทึกคำรับรองผู้เบิก
11) สัญญำกู้ยืมเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โดยลงลำยมือชื่อในสัญญำกู้ยืมเงินต่อ
หน้ำเจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำกู้ยืมเงิน พร้อมทั้งให้เจ้ำหน้ำที่ลงลำยมือชื่อรับรองใน
เอกสำรสัญญำกู้ยืมเงิน (เจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำกู้ยืมเงิน หมำยถึง เจ้ำหน้ำที่กอง
บริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
12) สัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืมกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โดยลงลำยมือชื่อในสัญญำ
ค้ำประกันเงินกู้ยืมต่อหน้ำเจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำค้ำประกัน และให้เจ้ำหน้ำที่ลง
ลำยมือชื่อรับรองในเอกสำรสัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืม (เจ้ำหน้ำที่ผู้จัดทำสัญญำค้ำ
ประกัน หมำยถึง หมำยถึง เจ้ำหน้ำที่กองบริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร)
พร้อมทั้งแนบ สำเนำบัตรบัตรประชำชน สำเนำทะเบียนบ้ำน สำเนำใบเปลี่ยนชื่อ
(ถ้ำมี) ของผู้ค้ำประกัน
13) กรณี มี คู่ ส มรสให้ คู่ ส มรสลงลำยมื อ ชื่ อ ในหนั ง สื อ ยิ น ยอมของคู่ ส มรส ค้ ำประกั น
เงินกู้ยืม พร้อมให้แนบสำเนำทะเบียนสมรส)
14) กรณีมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ให้แนบสำเนำหลักฐำนกำรเป็นหนี้ (สัญญำจำนองขำย
ฝำก สัญญำเงินกู้) และหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์กำรจดทะเบียนทรัพย์ เช่น เครื่องจักร
ทั้งนี้ หำกหลักทรัพย์ค้ำประกันติดภำระผูกพัน ต้ องได้รับควำมยินยอมจำกเจ้ำหนี้
ลำดับแรกก่อน
15) กรณีมีกำรเปลี่ยนแปลงคณะกรรมกำรบริหำรขององค์กรเกษตรกรหรือผู้ค้ำประกัน
ต้องแจ้งให้กองทุนสงเครำะห์เกษตรกรทรำบภำยใน 15 วัน เพื่อที่จะดำเนินกำร
จัดทำสัญญำค้ำประกันเงินกู้ยืมเพิ่มเติม
ทัง้ นีเ้ ป็นไปตำมระเบียบคณะกรรมกำรสงเครำะห์เกษตรกร ว่ำด้วยกำรรับจ่ำยฯ พ.ศ. 2556 ข้อ 11และ 13
59
* ตัวอย่างหนังสือขอเบิกเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

ทำที่....................

วันที่......................
เรื่อง ขอเบิกเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
เรียน ผู้อำนวยกำรกองบริหำรงำนกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
อ้ำงถึง หนังสือสำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ กษ............ลงวันที่.............(หนังสือแจ้งมติ)
สิ่งที่ส่งมำด้วย 1)
2)
ตำมหนังสือที่อ้ำงถึง.......(หนังสือแจ้งมติ)...............................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………นั้น
บัดนี้ องค์กรเกษตรกร/วิสำหกิจชุมชน................ได้จัดทำเอกสำรตำมเงื่อนไขของกำรเบิ ก
เงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกรเรียบร้อยแล้ว จึงขอจัดส่งเอกสำรดังกล่ำวมำยังกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร
(รำยละเอียดตำมสิ่งที่ส่งมำด้วย)
จึงเรียนมำเพื่อโปรดพิจำรณำ
ขอแสดงควำมนับถือ

(.....................................)
ประธำนวิสำกิจชุมชน...............
60
งวดต่อไป เมื่อองค์กรเกษตรกรดำเนินกิจกรรมในลำดับก่อนหน้ำแล้วเสร็จ จะต้องยื่นขอเบิกเงินกองทุน
สงเครำะห์เกษตรกรในกำรดำเนินกิจกรรมลำดับต่อไป ตำมสัญญำกู้ยืมเงิน โดยดำเนินกำร ดังนี้
ขันตอน รายละเอียด
1. ขอเบิกเงินกองทุน องค์กรเกษตรกรจัดทำหนังสือขอเบิกเงินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร งวดต่อไป
สงเครำะห์เกษตรกร รำยละเอียดตำมตัวอย่ำง*
2. จัดทำเอกสำรเพื่อแนบขอ พร้อมแนบเอกสำร ดังนี้
เบิกเงินกองทุนสงเครำะห์ พร้อมแนบเอกสำร ดังนี้
เกษตรกร 1) แผนกำรด ำเนิ น งำนโครงกำร ประกอบด้ ว ย แผนปฏิ บั ติ ง ำน แผนกำรใช้ จ่ ำ ยเงิ น
2.1 นิติบุคคล ในงวดต่อไป
2.2 ไม่นติ ิบุคคล พร้อมแนบเอกสำร ดังนี้
1) วิสำหกิจชุมชน รำยงำนผลกำรดำเนินงำนโครงกำร ต่อหน่วยงำนกำกับดูแลในพื้นที่ เช่น
สำนักงำนปศุสัตว์อำเภอ/เกษตรอำเภอ/ประมงอำเภอ
2) หน่วยงำนกำกับดูแลในพื้นที่ แจ้งผลรำยงำนกำรดำเนินงำนของโครงกำรต่อสำนักงำน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัด
3) สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด แจ้งผลรำยงำนกำรดำเนินงำนของโครงกำรต่อ
สำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4) จัดทำเอกสำรที่เกี่ยวข้องกับกำรใช้จ่ำยเงินในกำรดำเนินกิจกรรมลำดับที่ 1
4.1) กำรจ้ำง
- สัญญำจ้ำง/เช่ำ และสัญญำจ้ำงเหมำทั่วไป**(ถ้ำมี) โดยมีลำยมือชื่อผู้ว่ำจ้ำง ผู้รับ
จ้ำง และพยำน 2 คน
- ใบส่งมอบงำนจ้ำง*** โดยมีลำยมือชื่อ ผู้รับจ้ำง
- ใบรับเงิน**** โดยมีลำยมือชื่อ ผู้รับเงิน (ผู้รับจ้ำง) และผู้จ่ำยเงิน (ผู้ว่ำจ้ำง)
แนบสำเนำบัตรประจำตัวประชำชน และสำเนำทะเบียนบ้ำนของผู้รับเงิน
และรูปถ่ำย
4.2) กำรซื้อ
- ใบกำกับภำษี**** เต็มรูปแบบ (ตัวจริง)
- บุคคล/ร้ำนค้ำที่ไม่ได้จดทะเบียน ใช้ใบรับเงิน (ตัวจริง)
โดยมี ล ำยมื อ ชื่ อ ของผู้ รั บ เงิ น (ผู้ ข ำย) ผู้ จ่ ำ ยเงิ น (ผู้ ไ ด้ รั บ มอบอ ำนำจของ
วิสำหกิจชุมชน)
และแนบสำเนำบัตรประจำตัวประชำชนของผู้รับเงิน
4.3) รูปถ่ำยควำมก้ำวหน้ำในกำรดำเนินกิจกรรมลำดับก่อนหน้ำ
61
**ตัวอย่างสัญญาจ้าง/เช่า
สัญญาว่าจ้างก่อสร้าง
ทำที่.........
วันที่.....เดือน……….. พ.ศ. ………….
สัญญำนี้ทำขึ้นระหว่ำง .........................................อยู่บ้ำนเลขที่ .........................................
...........................................................................................................................................................
ประธำนวิสำหกิจชุมชน...........................................ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญำจะเรียกว่ำ “ผู้ว่าจ้าง” ฝ่ำยหนึ่ง
กับ ...................................................อยู่บ้ำนเลขที่ ..........................................................................ซึ่งต่อไปนี้ใน
สัญญำจะเรียกว่ำ “ผู้รับจ้าง” อีกฝ่ำยหนึ่ง
ทั้งสองฝ่ำยได้ตกลงทำสัญญำว่ำจ้ำงก่อสร้ำง ดังมีข้อควำมต่อไปนี้
ข้อ 1 ผู้ว่ำจ้ำงตกลงว่ำจ้ำง และผู้รับจ้ำงตกลงรับจ้ำงปรับปรุงโรงเรือน/ก่อสร้ำงโรงเรือน โดย
ต่อเติมโรงเรือน ขนำดกว้ำง..........เมตร ยำว.......เมตร สูงไม่น้อยกว่ำ..........เมตร ของ......(ชื่อผู้ว่ำจ้ำง).............
รำยละเอียดตำมที่กำหนด
ข้ อ 2 ผู้ รั บ จ้ ำ งตกลงจะท ำกำรก่ อ สร้ ำ งตำมสั ญ ญำ ข้ อ 1 ให้ เ สร็ จ สิ้ น ภำยในก ำหนด
วันที่ .........................
ในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยใดๆ ที่ไม่อำจหลี กเลี่ยงได้และเป็นเหตุให้กำรก่อสร้ำงดังกล่ำวต้อง
หยุดชะงักลงโดยมิใช่ควำมผิดของฝ่ำยผู้รับจ้ำงก็ให้ยืดกำหนดเวลำดังกล่ำวในวรรคก่อนออกไปเท่ำกับเวลำที่
สูญเสียไปเพรำะเหตุดังกล่ำว
ข้อ 3 ก่อนลงมือก่อสร้ ำง ผู้รับจ้ำงต้ องทำกำรตรวจสอบสถำนที่และสภำพที่เป็นอยู่รังวัด
ตรวจสอบหมุดหลักเขต จัดทำระดับแนวและระยะต่ำงๆ ในแบบก่อสร้ำง
ข้อ 4 ผู้รับจ้ำงต้องตรวจสอบและศึกษำรำยละเอียดในกำรปฏิบัติงำนโดยละเอียด
ข้อ 5 ผู้ว่ำจ้ำงตกลงชำระค่ำจ้ำงให้แก่ผู้รับจ้ำงเป็นเงินทั้งสิ้น................บำท (.........) โดยจะ
ชำระค่ำจ้ำงให้ 1 งวด จำนวน..........บำท (............) เมื่อผู้รับจ้ำงทำงำนแล้วเสร็จ ภำยในวันที่หรือก่อนวันที่
...............
ข้อ 6 วัสดุเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในกำรก่อสร้ำงรวมทั้งสัมภำระต่ำงๆ ที่จำเป็นให้ผู้รับจ้ำงเป็น
ผู้จัดหำ ซึ่งจะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ตำมขนำดและคุณภำพดังที่แจ้งไว้ในรำยละเอียดที่กำหนด
ข้อ 7 ถ้ำผู้ว่ำจ้ำงผิดนัดชำระค่ำจ้ำง ตำมข้อ 5 ผู้รับจ้ำงมีสิทธิยึดหน่วงในสิ่งก่อสร้ำงและสิ่งติด
ตรึงตรำหรือกำรงำนใดๆ ที่ผู้รับจ้ำงได้ทำสัญญำไว้ตำมสัญญำนี้และผู้รับจ้ำงมีสิทธิปฏิเสธทำกำรงำนจนกว่ำผู้ว่ำ
จ้ำงจะได้จัดกำรชำระค่ำจ้ำงแก่ผู้รับจ้ำงแล้วเสร็จ
ถ้ำผู้ว่ำจ้ำงผิดนัดชำระค่ำจ้ำงแก่ผู้รับจ้ำง ให้ถือว่ำสัญญำนี้เป็นอันยกเลิกกันทันทีโดยผู้รับจ้ำง
มิต้องบอกกล่ำวเตือนก่อนและให้ถือว่ำกรรมสิทธิ์ของอำคำรเป็นของผู้รับจ้ำ
62
ข้อ 8 ผู้ว่ำจ้ำงหรือบริวำรจะไม่เข้ำไปใช้สอยหรือเข้ำครอบครองในสิ่งก่อสร้ำง ที่ว่ำจ้ำงให้ปลูก
สร้ำงจนกว่ำผู้รับจ้ำงจะส่งมอบงำนงวดสุดท้ำย และผู้ว่ำจ้ำงได้ชำระรำคำตำมสัญญำให้แก่ผู้รับจ้ำงจนครบถ้วน
แล้ว
ให้ ถือว่ำกรรมสิ ทธิ์ในสิ่ งก่อสร้ำงและสิ่ งติดตรึงตรำที่ผู้รับจ้ำงได้ทำไว้ตำมสั ญ ญำนี้ยังเป็น
กรรมสิทธิ์ของผู้รับจ้ำงอยู่และไม่เป็นส่วนควบของที่ดินจนกว่ำผู้รับจ้ำงจะส่งมอบงำนงวดสุดท้ำยและผู้ว่ำจ้ำงได้
ชำระรำคำตำมสัญญำให้แก่ผู้รับจ้ำงจนครบถ้วนแล้ว
ข้อ 9 หำกผู้ว่ำจ้ำงประสงค์จะทำกำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงกำรก่อสร้ำงผู้ว่ำจ้ำงจะต้องแจ้งให้ผู้รับ
จ้ำงทรำบเป็นลำยลักษณ์อักษรโดยผู้ว่ำจ้ำงจะเป็นผู้ออกค่ำใช้จ่ำยเองแต่ผู้รับจ้ำงมีสิ ทธิที่จะยอมรับหรือไม่
ยอมรั บ กำรเปลี่ ย นแปลงนั้ น ๆ โดยคำนึง ถึง ควำมจำเป็น และผลเสี ย หำยที่อ ำจเกิ ดขึ้ นเนื่ องจำกกำรแก้ ไ ข
เปลี่ยนแปลงดังกล่ำว
ข้อ 10 ผู้รับจ้ำงต้องทำงำนก่อสร้ำงทั้งหมดให้ถูกต้องตำมรำยละเอียดกำรก่อสร้ำง
ข้อ 11 ผู้รับจ้ำงยินยอมให้ผู้ว่ำจ้ำงหรือตัวแทนเข้ำตรวจสิ่งก่อสร้ำงได้เป็นครั้งครำว แต่ผู้ว่ำ
จ้ำงต้องไม่ขัดขวำงหรือรบกวนกำรก่อสร้ำง
ข้อ 12 ผู้ รั บ จ้ ำงต้องปฏิบัติ งำนก่อ สร้ำงด้ ว ยควำมระมั ดระวัง ป้องกันควำมเสี ยหำยและ
อุบัติเหตุอันเกิดจำกบุคคลภำยนอกด้วย หำกเกิดอุบัติเหตุหรือควำมเสียหำยแก่บุคคลภำยนอกผู้รับจ้ำงต้องรับ
ผิดเพียงฝ่ำยเดียว
ข้อ 13 ในขณะก่อสร้ำงผู้รับจ้ำงต้องรักษำสถำนที่ให้สะอำด ปรำศจำกเศษวัสดุอันเกิดจำกกำร
ปฏิบัติงำน
ข้อ 14 เมื่อผู้รับจ้ำงได้ทำกำรก่อสร้ำงเสร็จแล้ว ผู้ รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบ
เพื่อให้ผู้ว่ำจ้ำงมำตรวจรับมอบงำนภำยในเวลำที่กำหนด 3 วัน นับแต่วันที่ผู้รับจ้ำงได้มีหนังสือแจ้งไป หำกผู้
ว่ำจ้ำงไม่ตรวจรับมอบงำนภำยในกำหนดเวลำดังกล่ำวหรือไม่ยอมรับมอบงำนโดยไม่แจ้งเหตุให้ทรำบเกินกว่ำ
กำหนดเวลำดังกล่ำวแล้ว ให้ถือว่ำผู้รับจ้ำงได้ส่งมอบงำนก่อสร้ำงให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงโดยเสร็จสิ้นสมบูรณ์ตำมสัญญำนี้
แล้ว และผู้ว่ำจ้ำงจะนำข้ออ้ำงใดๆ มำปฏิเสธกำรชำระเงินค่ำว่ำจ้ำงไม่ได้ ส่วนกำรซ่อมแซมข้อบกพร่องหรือกำร
ชำรุดเสียหำยของกำรก่อสร้ำงที่เกไดขึ้นภำยหลังเป้นควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงฝ่ำยเดียว
ข้อ 15 ภำยในระยะเวลำ 1 ปี นับจำกวันที่สิ่งปลูกสร้ำงที่ว่ำจ้ำงตำมสัญญำนี้ก่อสร้ำงเสร็จ
และมีกำรส่งมอบงำนงวดสุดท้ำยให้กับผู้ว่ำจ้ำงหรือผู้ว่ำจ้ำงได้รับมอบงำนเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น หำกส่วนใด
ของสิ่งปลูกสร้ำงเกิดชำรุดเสียหำย เนื่องจำกควำมชำรุดบกพร่องในกำรก่อสร้ำงหรือเพรำะเหตุวัสดุอุปกรณ์ใน
กำรก่อสร้ำงตำมสัญญำนี้ ผู้รับจ้ำงจะต้องทำกำรซ่อมแซมให้เรียบร้อยอยู่ในสภำพเดิมโดยไม่คิดค่ำใช้จ่ำยใดๆ
ทั้งสิ้น เว้นแต่ควำมเสียหำยนั้นเกิดจำกภัยธรรมชำติ เช่น วำตภัย อุทกภัย อัคคีภัย แผ่นดินไหว ควำมเสียหำย
จำกสัตว์ แมลง หรือควำมเสียหำยจำกกำรจลำจล โจรกรรม
63
ข้อ 16 หำกผู้ รั บ จ้ ำ งไม่ ทำกำรส่ ง มอบงำนทั้ ง หมด โดยมิ ใ ช่ ค วำมผิ ด ของผู้ ว่ำ จ้ ำ งภำยใน
ระยะเวลำทีระบุไว้ ผู้รับจ้ำงยินยอมให้ผู้ว่ำจ้ำงเรียกร้องให้ชำระค่ำปรับวันละ...........บำท (.............) จนกว่ำจะ
ส่งมอบงำนที่เสร็จสิ้นทั้งหมด
ข้อ 17 บรรดำเอกสำรหนังสือหรือหนังสือบอกกล่ำวใดๆ ของคู่สัญญำตำมภูมิลำเนำที่ปรำกฏ
ในสั ญ ญำนี้ ให้ ถือว่ ำคู่สั ญ ญำอี กฝ่ ำ ยหนึ่ งได้รั บทรำบข้ อควำมนั้น ตลอดแล้ ว กรณีที่คู่ สั ญญำย้ำ ยที่อ ยู่ห รื อ
ภูมิลำเนำให้เป็นหน้ำที่ของผู้ว่ำจ้ำงนั้นต้องแจ้งคู่สัญญำอีกฝ่ำ ยหนึ่งทรำบเป็นหนังสือ ภำยใน 3 วัน นับแต่วัน
ย้ำย มิฉะนั้นให้ถือว่ำบรรดำเอกสำรหนังสือ และหนังสือบอกกล่ำวที่ส่งไปตำมที่อยู่ของคู่สัญญำตำมสัญญำนี้
เป็นกำรส่งโดยชอบด้วยกฎหมำย
สัญญำนี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อควำมถูกต้องตรงกัน โดยคู่สัญญำยึดถือไว้ฝ่ำยละหนึ่งฉบับ
คูส่ ัญญำได้อ่ำนและเข้ำใจข้อควำมโดยตลอดแล้ว จึงลงลำยมือชื่อไว้เป็นพยำนหลักฐำน

ลงชื่อ..............................................ผู้ว่ำจ้ำง
(........................................)

ลงชื่อ..............................................ผู้รบั จ้ำง
(........................................)

ลงชื่อ..............................................พยำน
(........................................)

ลงชื่อ..............................................พยำน
(........................................)
64
**ตัวอย่างสัญญาจ้าง/เช่า
สัญญาจ้างเหมาทั่วไป
ทำที่............................................
วันที่...............................................
สัญญำนี้ทำขึ้นระหว่ำง..........(ชื่อ-สกุล ประธำนวิสำหกิจ).......ประธำนวิสำหกิจชุมชน.......
“ผู้ว่าจ้าง” อยู่บ้ำนเลขที่......................................................................................................................................
“ผู้รับจ้าง” อยู่บ้ำนเลขที่......................................................................................................................................
ข้อ 1. สัญญำนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่........................................................มีกำหนด..........วัน
ข้อ 2 สถำนที่ก่อสร้ำง..................(สร้ำงที่ไหน)..........................................................................
คู่สัญญำทั้งสองฝ่ำยตกลงกัน มีข้อควำมดังต่อไปนี้
ข้อ 3 ลักษณะ และ รำยละเอียดของงำน...(เช่น จ้ำงไถ พรวนดินปรับพื้นที่ ทำแปลงหญ้ำ
อำหำรสัตว์ ขนำดพื้นที่ จำนวน 2 ไร่ ของ......(ชื่อ-สกุล เกษตรผู้ว่ำจ้ำง)....... ตำมรำยละเอียดที่กำหนด
ข้อ 4 รำคำค่ำจ้ำงเหมำทั้งหมดเป็นเงิน......... บำท (....) โดยชำระเมื่องำนจ้ำงทั้งหมด ตำมข้อ
3 แล้วเสร็จ
ข้อ 5 กำหนดของงำนแล้วเสร็จ ของงำนทั้งหมดภำยในวันที่.........นับแต่วันทำสัญญำนี้
หำกงำนล่ำช้ำกว่ำกำหนด ผู้รับจ้ำงยินยอมให้ปรับเป็นรำยวัน ๆ ละ ........บำท (....) จนกว่ำ
งำนจะแล้วเสร็จ และส่งมอบงำน
ข้อ 6 กำรประกันคุณภำพของงำน นับจำกวันที่งำนแล้วเสร็จและมีกำรส่งมอบงำนให้กับผู้ว่ำ
จ้ำง หรือผู้ว่ำจ้ำงได้รับมอบงำนเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น หำกส่วนใดของงำนจ้ำงเกิดชำรุดเสียหำย เนื่องจำก
ควำมชำรุดบกพร่องในงำนจ้ำงตำมสัญญำนี้ ผู้รับจ้ำงจะต้องทำกำรซ่อมแซมให้เรียบร้อยอยู่ในสภำพเดิมโดยไม่
คิดค่ำใช้จ่ำยใดๆ ทั้งสิ้น เว้นแต่ควำมเสียหำยนั้นเกิดจำกภัยธรรมชำติ
ข้อ 7 เมื่อผู้รับจ้ำงได้ทำกำรจ้ำงเสร็จแล้ว ผู้รับจ้ำงจะมีหนังสือแจ้งให้ผู้ว่ำจ้ำงทรำบเพื่อให้ผู้ว่ำ
จ้ำวมำตรวจรับมอบงำนภำยในเวลำที่กำหนด 3 วัน นับแต่วันที่ผู้รับจ้ำงได้มีหนังสือแจ้งไป หำกผู้ว่ำจ้ำงไม่ตรวจ
รับมอบงำนภำยในกำหนดเวลำดังกล่ำวหรือไม่ยอมรับมอบงำนโดยไม่แจ้งเหตุให้ทรำบเกินกว่ำกำหนดเวลำ
ดังกล่ำวแล้ว ให้ถือว่ำผู้รับจ้ำงได้ส่งมอบงำนจ้ำงให้แก่ผู้ว่ำจ้ำงโดยเสร็จสิ้นสมบูรณ์ตำมสัญญำนี้แล้ว และผู้ว่ำ
จ้ำงจะนำข้ออ้ำงใดๆ มำปฏิเสธกำรชำระเงินค่ำว่ำจ้ำงไม่ได้ ส่วนกำรซ่อมแซมข้อบกพร่องหรือกำรชำรุดเสียหำ
ยำของงำนจ้ำงที่เกิดขึ้นภำยหลังเป็นควำมรับผิดชอบของผู้รับจ้ำงฝ่ำยเดียว
สัญญำนี้มีข้อควำมถูกต้องตรงกัน ผู้ว่ำจ้ำงและผู้รับจ้ำง ได้อ่ำนและเข้ำใจดีตำมควำมประสงค์
ของทั้งสองฝ่ำย ซึ่งต่ำงยึดถือไว้คนละฉบับ เพื่อเป็นหลักฐำนจึงได้ลงลำยมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้ำพยำน
ลงชื่อ...............................ผู้ว่ำจ้ำง ลงชื่อ...............................ผู้รับจ้ำง
(..............................) (..............................)
***ตัวอย่าง ใบส่งมอบงานจ้าง
ลงชื่อ...............................พยำน ลงชื่ อ ...............................พยำน
(................................) (..............................)
65
ใบส่งมอบงานจ้าง
ทำที่............................................
วันที่...............................................
เรื่อง ส่งมอบงำนจ้ำง
เรียน ......(ชื่อ-สกุล ประธำนวิสำหกิจชุมชน)...... ประธำนวิสำหกิจชุมชน...........................
ตำมที่วิสำหกิจชุมชน................ได้ตกลงจ้ำงให้ข้ำพเจ้ำ........................(ผู้รับจ้ำง) ปรับปรุง
โรงเรือนโดย .......(ก่อสร้ำงอะไรบ้ำง/ทำอะไรบ้ำง)........ของ......(ผู้ว่ำจ้ำง).....ตำมสัญญำจ้ำง ลงวันที่ ............นั้น
บัดนี้ ข้ำพเจ้ำได้ทำงำนจ้ำงดังกล่ำวเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่วันที่ ............จึงส่งงำนจ้ำงและ
ขอเบิกเงินค่ำจ้ำงให้กับข้ำพเจ้ำ ต่อไป
ขอแสดงควำมนับถือ

(.......................................)
ผู้รับจ้ำง
66
****ตัวอย่าง ใบรับเงิน
ใบรับเงิน
ทำที่............................................
วันที่...............................................
ข้ำพเจ้ำ.............................................................................(ชือ่ - สกุล ผู้รับจ้ำง)
ที่อยู่.....................................................................................................................โทรศัพท์...................................
ได้รับเงินจำก........(ชื่อกลุ่มวิสำหกิจชุมชน)........ ดังรำยกำรต่อไปนี้

ลาดับที่ รายงาน จานวน


บาท ส.ต.

รวมเงิน
(ตัวอักษร) -......................................................-
ลงชื่อ............................................ผู้รับเงิน
(.........................................)

ลงชื่อ............................................ผู้จ่ำยเงิน
(.........................................)
หมำยเหตุ: - พร้อมแนบสำเนำบัตรประจำตัวประชำชน/สำเนำทะเบียนของผู้รับจ้ำง
- ภำพประกอบกิจกรรมกำรใช้จ่ำยเงิน เช่น ภำพโรงเรือนที่ก่อสร้ำงแล้วเสร็จ เป็นต้น
67

บทที่ 5
การติดตามผลการดาเนินงานโครงการ
1. การติดตามโครงการที่ใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
หลั งจากที่หน่ วยงานรั ฐ หรื อองค์ กรเกษตรกร ได้รับอนุมัติสนับสนุ นเงินกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร
ให้ดาเนินการโครงการตามมติผู้มีอานาจอนุมัติวงเงิน (คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรมีอานาจในการพิจารณา
อนุมัติวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท หากเกิน 100 ล้านบาท เป็นอานาจของคณะรัฐมนตรี) เมื่อหน่วยงานดังกล่าวได้
เบิกจ่ายเงินกู้ยืมเพื่อดาเนินโครงการแล้ว จะต้องดาเนินการโครงการตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยการรั บจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้ จ่ายเงินเป็นค่าใช้ จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน การจั ดหา
ผลประโยชน์ของกองทุน และการจ าหน่ายทรัพย์สิ นจากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. 2556 โดยการติดตาม
โครงการมีวัตถุประสงค์และได้กาหนดแนวทางการดาเนินโครงการที่ใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ดังนี้
1) วัตถุประสงค์การติดตามโครงการที่ใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ประกอบด้วย
1.1. เพื่อติดตามการดาเนินงานโครงให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน การจัดหาผลประโยชน์
ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. 2556
1.2 เพื่ อติ ดตาม ตรวจสอบผลการด าเนิ นงานโครงการให้ เป็ นไปตามเงื่ อนไขโครงการตามมติ
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร/มติคณะรัฐมนตรี ที่อนุมัติโครงการ
1.3 เพี่ อติ ดตาม ตรวจสอบการใช้ จ่ ายเงิ น ผลการด าเนิ นโครงการ และผลการช าระเงิ นคื น
ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนการชาระเงินคืนของโครงการ รวมทั้งปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข
ปัญหาโครงการโดยรายงานผลให้คณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองติดตามประเมินผลโครงการที่ใช้เงินกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกรหรือคณะอนุกรรมการพิจารณาเรื่องหนี้สินของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร และคณะกรรมการ
สงเคราะห์เกษตรกรหรือคณะรัฐมนตรีตามอานาจวงเงินที่ได้รับอนุมัติ เพื่อพิจารณากาหนดมาตรการการแก้ไข
ปัญหาภายใต้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไป
1.4 เพื่อแจ้งเตือนและเร่งรัดการชาระเงินคืนกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ได้แก่ การแจ้งเตือนหรือ
เร่งรัดลูกหนี้ของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรล่วงหน้า ก่อนครบกาหนดการชาระเงินและดาเนินงานให้เป็นไปตาม
แผนของโครงการ แจ้งอัตราค่าเบี้ยปรับที่เกิดขึ้นหลังผิดนัดชาระ พร้อมเจรจาหาแนวทางแก้ไข หากยังไม่สามารถ
ดาเนิ นการช าระเงินคืนได้ตามที่กาหนด ต้องมีมาตรการดาเนินการเพื่อการรับสภาพหนี้ และดาเนินการฟ้อง
ดาเนินคดีตามกฎหมาย ต่อไป
1.5 เพื่อประเมินผลโครงการ โดยการตรวจสอบโครงการได้ดาเนินไปตามแผนของโครงการหรือไม่
อย่างไร มีปัญหาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุงหรือไม่ ซึ่งถ้าประเมินผลแล้วยังมีปัญหาจะได้ หาทางปรับปรุง
และแก้ไขได้ทันท่วงที เพื่อให้ผลการดาเนินงานที่ดีขึ้น และเมื่อสิ้นสุดโครงการ ต้องมีการสรุปผลการดาเนินการ
โครงการวิเคราะห์ประสิทธิผลหรือผลลัพธ์ของการจัดทาโครงการ ว่าการดาเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้
มากน้อยเพียงใด มีคุณภาพอยู่ในระดับใดบ้าง โดยนาผลการประเมินนาเสนอประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร
2) แนวทางการดาเนินโครงการที่ใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์
เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงินฯ พ.ศ. 2556 ได้กาหนดแนวทางการดาเนินโครงการ ดังนี้
2.1 โครงการที่อยู่ระหว่างดาเนินงานโครงการ (หนี้ยังไม่ถึงกาหนดชาระ)
(1) กรณีหน่วยงานของรัฐ
68

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน
ลาดับ แนวทางการดาเนินโครงการ
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็น
สูญ พ.ศ. 2556
1 หน่วยงานของรัฐที่ได้รับเงินจัดสรร ข้อ ๑๑ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนเปิดบัญชีเงิน
เปิ ดบั ญชี เงิ นฝากกับ ธนาคารที่เ ป็ น ฝาก กับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจเป็นรายโครงการ ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเคราะห์
รัฐวิสาหกิจ เกษตรกรโครงการ....” และแจ้งเลขที่บัญชีเงินฝากให้สานักงานทราบเพื่อโอนเงินเข้าบัญชี
หมายเหตุ กาหนดให้ธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตรเท่านั้น
2 หน่วยงานของรัฐ ต้องดาเนิน การใช้ ข้อ ๑๔ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนปฏิบัติ ดังนี้
จ่ า ยเงิ น เป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ (๑) การใช้จ่ายเงินกองทุนต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่ได้รับอนุมัติ และใช้
เป้ า หมาย กิ จ กรรม และแผนการ จ่ายเงินตามรายการหรือกิจกรรมที่ขอเบิกเท่านั้น จะนาไปใช้จ่ายเพื่อการอื่นมิได้
ดาเนินงานโครงการ ตามรายการหรือ (๒) การจ่ า ยเงิ น กองทุ น ให้ จ่ า ยเป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยตามที่ ก าหนดในแผนการดาเนิ น งาน
กิจกรรมที่ขอเบิกเท่านั้น จะนาไปใช้ โครงการ
จ่ายเพื่อการอื่นมิได้ กรณีเงินหมุนเวียน ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามที่
กาหนด ในแผนการดาเนินงานโครงการ อย่างช้าไม่เกินสิบห้าวันนับจากวันที่เงินโอนเข้า
บัญชี และให้นาส่งเงินคืน สานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันครบกาหนดให้ใช้เงิน โดย
ระบุชื่อโครงการ ประเภทของเงินที่นาส่ง และปีที่เบิกเงินไปจากกองทุน
กรณีเงินจ่ายขาด ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรสามารถจ่ายเป็นค่าใช้จ่าย
ใน การติดตามงานตามความจาเป็น และให้นาส่งเงินคืนสานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่
วันสิ้นสุดโครงการ
กรณี ไม่ สามารถช าระเงิ นคื นได้ ตาม (๓) หน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ องค์ ก รเกษตรกรใดไม่ น าส่ ง เงิ น คื น กองทุ นภายในก าหนด
แผนของโครงการ ขอให้รายงานปัญหา ให้สานักงาน เสนอรายงานต่อคณะกรรมการ เพื่อพิจารณามีมติไม่อนุมัติโครงการอื่นใดของ
อุ ปสรรคของโครงการ และแนวทาง หน่วยงานของรัฐหรือ องค์กรเกษตรกรนั้นอีก
แก้ ไ ขปั ญ หาให้ ก องทุ น สงเคราะห์ กรณีโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้แล้วและยังไม่สิ้นสุดระยะเวลาดาเนินการ และมีเงินที่
เกษตรกร นาเสนอคณะกรรมการเพื่อ ส านั ก งาน จะต้ อ งเบิ ก จ่ า ยให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานของรั ฐหรื อองค์ กรเกษตรกรตามแผนการ
พิจารณามีมติไม่อนุมัติโครงการอื่นใด ดาเนินงานโครงการอยู่อีก ให้สานักงานหักกลบลบกับจานวนเงินที่หน่วยงานของรัฐหรือ
ของหน่วยงานของรัฐนั้นอีก องค์กรเกษตรกรจะต้องส่งคืนออกจาก จานวนเงินที่จะเบิกจ่าย แล้วจึงโอนเงินส่วนที่เหลือ
ให้แก่ หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรนั้น
3 3.1 หน่ วยงานของรั ฐที่ ได้ รั บเงิ น ข้อ ๑๕ ให้หน่วยงานของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตามโครงการที่ได้รับอนุมัติและ
จั ด ส ร ร เ งิ น ก อ ง ทุ น ต้ อ ง จั ด ท า ประสงค์จะนาไปให้เกษตรกรกู้ยืมถือปฏิบัติ ดังนี้
รายละเอียดการจัดสรรเงินให้เกษตรกร (๑) จัดทารายละเอียดจานวนเงินที่จะจัดสรรให้เกษตรกรกู้ยืม รวมทั้งมาตรการกากับ
ที่เข้ าร่วมโครงการตามวัตถุ ประสงค์ / ดูแล การใช้เงินกองทุนที่ได้รับจัดสรร โดยคานึงถึงวัตถุประสงค์ ระยะเวลาที่จาเป็นต้อง
แผนงาน /ความสามารถในการชาระเงิน ใช้เงิน ความสามารถ ในการส่งเงินคืนกองทุน และแผนการชาระเงินคืนกองทุนของ
รวมทั้ งคู่ มื อปฏิ บั ติ งานโครงการให้ เกษตรกร เพื่อนาเสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ พิจารณาอนุมัติ
หน่วยงานพิจารณาอนุมัติ และรายงาน
ให้กองทุนสงเคราะห์ทราบ
3.2 จัดสรรเงินให้กับเกษตรกรที่ไม่ (๒) กรณีที่จะจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรที่มีหนี้ค้างชาระกองทุน หน่วยงานของรัฐจะ
มีเงินค้างชาระ เว้นแต่มิใช่ความผิด จัดสรรเงิน ให้ได้ต่อเมื่อเกษตรกรรายนั้นชาระหนี้คืนกองทุนเสร็จสิ้นแล้ว เว้นแต่หัวหน้า
ของเกษตรกร หน่วยงานของรัฐเห็นว่า มิใช่ความผิดของเกษตรกรที่ไม่สามารถชาระหนี้คืนได้
3.3 หน่วยงานรัฐจัดทาสัญญา(MOU) (๓) ให้ หั ว หน้ า หน่ ว ยงานของรั ฐ ท าสั ญ ญาการจั ดสรรเงิ น กองทุ น กั บ เกษตรกรตาม
กับเกษตรกรที่ได้รับอนุมัติในโครงการ วัตถุประสงค์ และเงื่อนไขของโครงการที่ได้รับอนุมัติ รวมทั้งสอดคล้องกับสัญญาการใช้
69

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน
ลาดับ แนวทางการดาเนินโครงการ
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็น
สูญ พ.ศ. 2556
เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เงื่อนไข เงิ น ระหว่ า งกองทุ น กั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ตลอดจนระเบี ยบและหลั ก เกณฑ์ อื่ น ๆ
โครงการที่ ส อดคล้ อ งตามบั น ทึ ก ที่คณะกรรมการกาหนด
ข้ อตกลง และระเบี ยบกฎหมายของ
ก อ ง ทุ น ร ว ม ทั้ ง ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ที่
คณะกรรมการกาหนด
3.4 รายงานผลการจั ด สรรเงิ น (๔) รายงานผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืมตามแบบที่สานักงานกาหนด
ภายใน 10 วั น นับแต่วั นที่ได้จัดสรร ภายใน สิบวันทาการนับแต่วันที่ได้จัดสรร
ตามคารับรองผู้เบิก หากหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรใดไม่ปฏิบัติตามบันทึกคารับรองผู้เบิก
หากไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม ให้ ร ะงั บ การ ให้สานักงาน ระงับการจ่ายเงินและรายงานคณะกรรมการเพื่อทราบ
จ่ายเงินและรายงานคณะกรรมการเพื่อ
ทราบ
4. หน่ วยงานของรั ฐที่ ได้ รั บเงิ นจั ดสรร ข้อ ๑๖ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตามโครงการที่
ควบคุ มการใช้ จ่ ายเงิ นให้ เป็ นไปตาม ได้รับอนุมัติติดตามและควบคุมการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
วั ตถุ ประสงค์ โครงการ หากมี ดอกผล หากมีดอกผลเกิดขึ้นให้ดาเนินการตามที่คณะกรรมการกาหนด
เ กิ ด ขึ้ น ใ ห้ ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ที่
คณะกรรมการกาหนด

5 รายงานผลการจั ด สรรเงิ น และ ข้อ ๑๗ ให้หน่ว ยงานของรัฐและองค์ กรเกษตรกรที่ไ ด้รับจัดสรรเงิ นกองทุ น จัดท า
รายงานผลการปฏิบัติงาน ตามราย รายงาน การรับ - จ่ายเงิน และรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามรายโครงการที่ได้รับอนุมัติ
โครงการที ่ไ ด้ร ับ อนุม ัต ิ เป็น ราย ให้สานักงานทราบ เป็นรายไตรมาส
ไตรมาส
6 จั ด ท างบการเงิ น ของโครงการที่ ข้อ ๑๘ ให้หน่วยงานของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนเพื่อดาเนินการโครงการ จัดทางบ
ได้รับอนุมัติ ส่งให้กองทุนสงเคราะห์ การเงิ น ของโครงการที่ไ ด้รับ อนุ มัติ ส่ งให้ส านั กงานการตรวจเงิ นแผ่น ดิน ตรวจสอบ
เกษตรเกษตรกร 60 วั น นั บ แต่ วั น ภายในหกสิบวันนับแต่วัน สิ้นปีงบประมาณ จนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ
สิ้นปีงบประมาณ ทั้งนี้ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้มีหนังสือ ที่ ตผ 0035/1281 ลงวันที่ 14
พฤษภาคม 2562 งบการเงินโครงการไม่ได้เป็นหน่วยรับตรวจของสานักงานการตรวจเงิน
แผ่นดินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561
มาตรา 4 (1) - (8) ดังนั้นสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินจะตรวจสอบและแสดงความเห็น
ต่องบการเงินของกองทุนฯ เท่านั้น
7 หน่วยงานของรัฐนาเงินส่งคืนกองทุน ข้อ ๒๐ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร ติดตามรวบรวมเงินที่ได้รับจัดสรร
พร้ อ มดอกผลของโครงการ(ถ้ า มี ) รวมทั้ง ดอกผลที่เกิดขึ้น (ถ้ามี) นาส่งเงินคืนกองทุนตามกาหนดเวลาในบันทึกคารับรองผู้
ตามคารับรองผู้เบิก กรณีไม่สามารถ เบิก
ดาเนินได้ ให้รายงานคณะกรรมการ กรณีไม่สามารถดาเนินการได้ ให้รายงานคณะกรรมการเพื่อพิจารณาภายในสิบ
เพื่อพิจารณาภายใน 15 วันนับตั้งแต่ ห้าวันนับตั้งแต่วันสิ้นสุดโครงการ
วันที่ครบกาหนดชาระ
หมายเหตุ ดอกผล หมายถึง ดอกเบี้ยและค่าปรับของโครงการ เป็นต้น
8 หากหน่ ว ยงานของรั ฐ มี ด อกเบี้ ย ข้อ ๒๑ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรนาดอกผลที่เกิดขึ้นจากการนาเงินฝาก
ที่เ กิ ดขึ้ น จากเงิ น ฝากธนาคารให้ น า ธนาคาร ตามข้อ ๑๑ ส่งเข้ากองทุนอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง หรือเมื่อสิ้นสุดโครงการที่
70

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของกองทุน
ลาดับ แนวทางการดาเนินโครงการ
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็น
สูญ พ.ศ. 2556
เงิ นส่ งคื นกองทุ น อย่ างน้ อยปี ละหนึ่ ง ได้รับอนุมัติ แล้วแต่กรณี
ครั้ง หรือเมื่อสิ้นสุดโครงการ
9 กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรจะคิดค่า ข้อ ๒๓ ให้สานักงานคิดเบี้ยปรับกับหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรร
เ บี้ ย ป รั บ อั ต ราร้ อ ยล ะ 3 ต่ อ ปี เงินกองทุนแล้วไม่สามารถส่งเงินคืนกองทุนได้ตามกาหนดเวลาในอัตราร้อยละสามต่อปี
นับแต่วันผิดนัด ในกรณีที่หน่วยงาน นับแต่วัน ผิ ดนัด ชาระหนี้จนกว่าจะชาระเสร็จสิ้น กรณี หน่วยงานของรัฐหรือองค์ก ร
ของรัฐไม่สามารถส่งเงินคืนกองทุนได้ เกษตรกรไม่สามารถส่งเงินคื นกองทุนได้ภายในก าหนดเวลา ตามแผนการส่งเงินคื น
ตามกาหนดเวลา กองทุนหรือตามข้อตกลง อาจขอลดหรืองดการคิดเบี้ยปรับต่อคณะกรรมการ ในเหตุ
ต่อไปนี้
(๑) ภัยธรรมชาติ
(๒) โครงการที่ได้รับอนุมัติ เป็นการดาเนินการตามโครงการของรัฐบาล
(๓) ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณชดเชย
(๔) เหตุอื่น ๆ ที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ
10 หลั ก เกณฑ์ อื่ น ๆ ที่ ค ณะกรรมการ -
สงเคราะห์เกษตรกรกาหนด

(2) กรณีองค์กรเกษตรกร
ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของ
ลาดับ แนวทางการดาเนินโครงการ
กองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชี
ของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. 2556
1 องค์ ก รเกษตรกรที่ ไ ด้ รับ เงิ น จั ด สรร ข้อ ๑๑ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนเปิด
เปิ ด บั ญ ชี เงิ น ฝากกับ ธนาคารที่ เ ป็ น บัญชีเงินฝาก กับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจเป็นรายโครงการ ชื่อบัญชี “เงินกองทุน
รัฐวิสาหกิจ สงเคราะห์เกษตรกร โครงการ....” และแจ้งเลขที่บัญชีเงินฝากให้สานักงานทราบ
เพื่อโอนเงินเข้าบัญชี
หมายเหตุ กาหนดให้ธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตรเท่านั้น

2 องค์ ก รเกษตรกรต้ อ งด าเนิ น การใช้ ข้อ ๑๔ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนปฏิบัติ


จ่ า ยเงิ น เป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ดังนี้
เป้ า หมาย กิ จ กรรม และแผนการ (๑) การใช้จ่ายเงินกองทุนต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่ได้รับอนุมัติ
ดาเนินงาน ตามรายละเอียดโครงการที่ และใช้ จ่ายเงินตามรายการหรือกิจกรรมที่ขอเบิกเท่านั้น จะนาไปใช้จ่ายเพื่อการ
ได้รับจัดสรร อื่นมิได้
(๒) การจ่ายเงินกองทุน ให้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามที่กาหนดในแผนการดาเนินงาน
โครงการ
กรณีเงินหมุนเวียน ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรจ่ายเป็นค่าใช้จ่าย
ตามที่กาหนด ในแผนการดาเนินงานโครงการ อย่างช้าไม่เกินสิบห้าวันนับจากวันที่
เงินโอนเข้าบัญชี และให้นาส่งเงินคืน สานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันครบ
กาหนดให้ใช้เงิน โดยระบุชื่อโครงการ ประเภทของเงินที่นาส่ง และปีที่เบิกเงินไป
71

ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของ
ลาดับ แนวทางการดาเนินโครงการ
กองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชี
ของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. 2556
จากกองทุน
(๓) หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรใดไม่นาส่งเงินคืน กองทุนภายในกาหนด
กรณี ไ ม่ส ามารถช าระเงิ น คืนได้ ต าม ให้สานักงาน เสนอรายงานต่อคณะกรรมการ เพื่อพิจารณามีมติไม่อนุมัติโครงการอื่น
แผนของโครงการ ขอให้ ร ายงาน ใดของหน่วยงานของรัฐหรือ องค์กรเกษตรกรนั้นอีก
ปั ญ หาอุ ป สรรคของโครงการ และ กรณีโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้แล้วและยังไม่สิ้นสุดระยะเวลาดาเนินการ และมีเงิน
แนวทางแก้ ไ ขปั ญ หาให้ ก องทุ น ที่สานักงาน จะต้องเบิกจ่ายให้แก่หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรตามแผนการ
สง เคร า ะห์เกษ ต รก ร น า เส น อ ดาเนินงานโครงการอยู่อีก ให้สานักงานหักกลบลบกับจานวนเงินที่หน่วยงานของรัฐ
คณะกรรมการเพื่อพิจารณามีมติไม่ไม่ หรือองค์กรเกษตรกรจะต้องส่งคืนออกจาก จานวนเงินที่จะเบิกจ่าย แล้วจึงโอนเงิน
อนุ มั ติ โ ครงการอื่ น ใดของ องค์ ก ร ส่วนที่เหลือให้แก่ หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรนั้น
เกษตรกรนั้นอีก

3 องค์ ก รเกษตรกรไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม ข้อ 15 วรรคสอง หากหน่ วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรใดไม่ป ฏิ บัติ ต าม


บั น ทึ กค ารับ รองผู้ เบิ ก ให้ระงั บ การ บันทึกคารับรองผู้เบิกให้สานักงาน ระงับการจ่ายเงินและรายงานคณะกรรมการ
จ่ า ยเงิ น และรายงานคณะกรรมการ เพื่อทราบ
เพื่อทราบ
ข้อ 19 ให้สานักงานระงับการเบิกจ่ายเงินส่วนที่เหลือ กรณีหน่วยงานของรัฐหรือ
องค์กรเกษตรกร มิได้นาเงินกองทุนไปดาเนินการตามวัตถุประสงค์และแผนการ
ดาเนินงานโครงการ และเสนอข้อเท็จจริงพร้อมหลักฐานต่อคณะกรรมการเพื่อ
พิ จ ารณาระงั บ โครงการได้ ต ามที่ เห็ น สมควร ส าหรับ โครงการที่ ไ ด้ รับ จั ด สรร
เงินกองทุนจากคณะรัฐมนตรีให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบให้สานักงานแจ้งเป็น
หนังสือลงทะเบี ยนตอบรับให้หน่ วยงานของรัฐ หรือองค์กรเกษตรกรที่ถูกระงั บ
โครงการ นาเงินส่งคืนกองทุนภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งหนังสือดังกล่าว
4 องค์ ก รเกษตรกรที่ ไ ด้ รับ เงิ น จั ด สรร ข้อ ๑๖ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตาม
ควบคุมการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตาม โครงการที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ติ ด ตามและควบคุ ม การใช้ จ่ า ยเงิ น ให้ เ ป็ น ไปตาม
วัตถุประสงค์โครงการ หากมีดอกผล วัตถุประสงค์ของโครงการ หากมีดอกผลเกิดขึ้นให้ดาเนินการตามที่คณะกรรมการ
เ กิ ด ขึ้ น ใ ห้ ด า เ นิ น ก า ร ต า ม ที่ กาหนด
คณะกรรมการกาหนด
- รายงานผลการรับ – จ่ายเงิน และ
รายงานผลการปฏิบั ติ ง าน ตามราย
โครงการที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ แบ่ ง เป็ น
2 แบบ ดังนี้
72

ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานของ
ลาดับ แนวทางการดาเนินโครงการ
กองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชี
ของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. 2556
5 1.วิสาหกิจชุมชน หรือสหกรณ์มีการ ข้อ ๑๗ ให้หน่วยงานของรัฐและองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุน จัดทา
จั ด ตั้ ง ม า แ ล้ ว น้ อ ย ก ว่ า 2 ปี รายงานการรับ - จ่ายเงิน และรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามรายโครงการที่ได้รับ
ให้รายงานผลการดาเนินโครงการเป็น อนุมัติให้สานักงานทราบ เป็นรายไตรมาส
ประจาทุกเดือน
2. วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน หรื อ สหกรณ์
มีการจัดตั้ง 2 ปีขึ้นไปให้รายงานผล
การดาเนินโครงการเป็นไตรมาส
6 จัดทางบการเงิน ของโครงการที่ได้รับ ข้อ ๑๘ ให้องค์กรเกษตรกรที่ ได้ รับจั ดสรรเงิน กองทุ นเพื่อด าเนิน การโครงการ
อนุมัติ พร้อมทั้งรวบรวมใบสาคัญจ่าย จัดทางบการเงิน ของโครงการที่ได้ รับอนุมัติ พร้อมทั้งรวบรวมใบสาคัญจ่ายและ
และเอกสารอื่นอันเป็นหลักฐานแห่ง เอกสารอื่นอันเป็นหลักฐานแห่งหนี้ ส่งให้สานักงานภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้น
หนี้ ส่งให้สานักงานภายใน 30 วันนับ ปีงบประมาณ จนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ และให้สานักงาน นาส่งงบการเงินนั้นให้
แต่วันสิ้นปีงบประมาณ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับงบ
การเงิน
ให้องค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนเพื่อเป็นสินเชื่อแก่สมาชิ ก
จัดทางบการเงิน ของโครงการที่ได้รับอนุมัติ พร้อมทั้งรวบรวมใบสาคัญจ่ายและ
เอกสารอื่น อันเป็ น หลักฐานแห่ง หนี้ส่ ง ให้หน่ ว ยงานของรัฐ ที่ กากับ ดู แ ลภายใน
สามสิ บ วั น นั บ แต่ วั น สิ้ น ปี ง บประมาณ จนกว่ า จะเสร็ จ สิ้ น โครงการ และให้
หน่วยงานของรัฐที่กากับดูแลนาส่งงบการเงินนั้นให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ตรวจสอบ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับงบการเงิน
7 องค์กรเกษตรกรนาเงินส่งคืนกองทุน ข้อ ๒๐ ให้หน่ วยงานของรัฐ หรือองค์กรเกษตรกร ติ ดตามรวบรวมเงิ น ที่ไ ด้ รับ
พร้อมดอกผลของโครงการ(ถ้ามี) ตาม จัดสรร รวมทั้ง ดอกผลที่เกิดขึ้น (ถ้ามี) นาส่งเงินคืนกองทุนตามกาหนดเวลาใน
ค ารั บ รองผู้ เ บิ ก กรณี ไ ม่ ส ามารถ บันทึกคารับรองผู้เบิก
ดาเนินได้ ให้รายงานคณะกรรมการ กรณีไ ม่ สามารถด าเนิ นการได้ ให้รายงานคณะกรรมการเพื่ อพิ จ ารณา
เพื่อพิจารณาภายใน 15 วันนับตั้งแต่ ภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันสิ้นสุดโครงการ
วันที่ครบกาหนดชาระ หมายเหตุ ดอกผล หมายถึง ดอกเบี้ยและค่าปรับของโครงการ เป็นต้น
8 หากองค์ กรเกษตรกรมี ดอกเบี้ ย ข้อ ๒๑ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรนาดอกผลที่เกิดขึ้นจากการนา
ที่ เกิ ด ขึ้ น จ า ก เงิ น ฝ า ก ธ น า ค า ร เงินฝากธนาคาร ตามระเบียบฯ ข้อ ๑๑ ส่งเข้ากองทุนอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง หรือ
ให้นาเงินส่งคืนกองทุน อย่างน้อยปีละ เมื่อสิ้นสุดโครงการที่ได้รับอนุมัติ แล้วแต่กรณี
หนึ่งครั้ง หรือเมื่อสิ้นสุดโครงการ
9 กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรจะคิดค่า ข้อ ๒๓ ให้สานักงานคิดเบี้ยปรับกับหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับ
เบี้ ย ป รั บ อั ต ร า ร้ อย ล ะ 3 ต่ อ ปี จัดสรร เงินกองทุนแล้วไม่สามารถส่งเงินคืนกองทุ นได้ตามกาหนดเวลาในอัตรา
นั บ แต่ วั น ผิ ด นั ด ในกรณี ใ ห้ อ งค์ ก ร ร้อยละสามต่อปี นับแต่วันผิดนัด ชาระหนี้จนกว่าจะชาระเสร็จสิ้น กรณีหน่วยงาน
เกษตรกรไม่สามารถส่งเงินคืนกองทุน ของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรไม่สามารถส่งเงินคืนกองทุนได้ภายในกาหนดเวลา
ได้ตามกาหนดเวลา ตามแผนการส่งเงินคืนกองทุนหรือตามข้อตกลง อาจขอลดหรืองดการคิดเบี้ยปรับ
ต่อคณะกรรมการ ในเหตุต่อไปนี้
(๑) ภัยธรรมชาติ
(๒) โครงการที่ได้รับอนุมัติ เป็นการดาเนินการตามโครงการของรัฐบาล
(๓) ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณชดเชย
(๔) เหตุอื่น ๆ ที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ
73

2. ขั้นตอนการติดตามโครงการ
หลั ง จากจ่ า ยเงิ น กู้ ยื ม ให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานรั ฐ /องค์ ก รเกษตรกรที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ เ งิ น เพื่ อ สนั บ สนุ น การ
ดาเนินงานโครงการ เจ้าหน้าที่จะต้องติดตาม ประเมินผลโครงการ และรายงานผลให้คณะอนุกรรมการ/
คณะกรรมการเพื่อทราบ/พิจาณาต่อไป โดยได้กาหนดขั้นตอนการติดตามโครงการดังนี้

กิจกรรม การดาเนินการ

เริ่มโครงการ

รูปแบบการติดตามประกอบด้วย 3 ประเภท
1. การประชุมหารือ
จัดทาแผนติดตามโครงการ 2. การลงพื้นที่ติดตาม
3. แบบรายงานผลการดาเนินการ

นาเสนอเสนอคณะอนุกรรมการ/
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร กกค. จัดประชุมเพื่อนาเสนอแผนการติดตามโครงการ
พิจารณาอนุมัติแผนติดตามโครงการ
กรอบการติดตามแผนมีประเด็นติดตาม ดังนี้
1. การตรวจสอบการใช้ จ่ า ยเงิ น /การด าเนิ น งานให้ เ ป็ น ไปตาม
การติดตามโครงการ วัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการ
ตามแผนทีไ่ ด้รับอนุมัติ 2. การดาเนินงาน ตามแผนกิจกรรมโครงการ
3. ผลการดาเนินโครงการ
4. การใช้จ่ายเงิน/การชาระเงินคืน การแจ้งเตือนและเร่งรัดหนี้
5. ปัญหา อุปสรรค ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงาน
6. ผลลัพธ์/ผลกระทบ ของโครงการ
7. การประเมินผล

การรายงานผลการติดตาม

นาเสนอเสนอคณะอนุกรรมการ/
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
รับทราบ/พิจารณาผลการดาเนินงาน
โครงการ
74

2.1. การจัดทาแผนการติดตาม
กองบริ ห ารงานกองทุ น สงเคราะห์ เ กษตรกรได้ ก าหนดรู ป แบบการติ ด ตามโครงการ
เพื่อตรวจสอบ และกากับการดาเนินงานโครงการตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน แผนการชาระเงิน และ
รั บทราบปั ญหาอุปสรรคและแนวการแก้ ไ ขปั ญ หาของโครงการ และน าเสนอคณะอนุก รรมการพิ จ ารณา
กลั่นกรอง ติดตามและประเมินโครงการที่ขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เพื่อพิจารณาแผนการติดตาม
และรายงานให้คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรเพื่อทราบ โดยแบ่งรูปแบบการติดตามเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้
1) การจัดประชุมหารือ เป็นการเชิญหน่วยงานเจ้าของโครงการเข้าร่วมประชุมหารือการใช้
จ่ายเงิน ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ติดตามความก้าวหน้าผลการดาเนินงาน การแจ้ งเตือน/
เร่ งรั ดการช าระหนี้ และรั บ ทราบปั ญ หา อุ ปสรรค แนวทางแก้ไ ขปั ญ หาของหน่ว ยงานเจ้า ของโครงการ
ส่วนใหญ่รูปแบบการติดตามแบบการประชุมหารือจะใช้ กับหน่วยงานของรัฐ สาหรับ องค์กรเกษตรกรจะเป็น
การประชุมหารือพร้อมกับการลงพื้นที่ ประเภทของการติดตามโครงการประกอบ 3 ลักษณะ ดังนี้
1.1 โครงการที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งด าเนิ น งาน ก าหนดแผนติ ด ตามเร่ ง รั ด การช าระเงิ น และ
ความก้าวหน้าการดาเนินงาน โดยการประชุมหารือ เพื่อตรวจสอบ และกากับการดาเนินงานโครงการตาม
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน แผนการชาระเงิน ผลการดาเนินงานและรับทราบปัญหาอุปสรรค พร้อม
แนวทางการแก้ไขปัญหา
1.2 โครงการที่สิ้น สุดการดาเนินงานและยังมีหนี้ค้างชาระเงินกองทุน กาหนดแผนการ
ติดตามโดยการประชุมหารือเพื่อ ตรวจสอบข้อเท็จจริง ได้แก่ ข้อมูลสถานะลูกหนี้ของโครงการ และผลการ
ดาเนินงานโครงการที่ผ่านมา รวมทั้งปัญหา อุปสรรค ที่ส่งผลให้โครงการไม่ประสบผลผลสาเร็จ ไม่สามารถ
ชาระเงินคืนกองทุนได้ทันกาหนดระยะเวลาโครงการ การเร่งรัดการชาระเงินคืนกองทุน รายงานผลการแก้ไข
ปัญหาหนี้ และกาหนดมาตรการการแก้ไขปัญหาหนี้
1.3 หนี้โครงการที่ได้รับการปรับโครงสร้างหนี้ กาหนดแผนการติดตาม โดยการประชุม
หารือ เพื่อเร่งรัดความก้าวหน้า การชาระเงินคืน การดาเนินการหลังปรับโครงสร้างหนี้ ผลการดาเนินคดี และ
ตรวจสอบอายุความ รวมทั้งความก้าวหน้าการขอตัดหนี้เป็นสูญ
2) ติดตามแบบรายงาน เป็นการติดตามความก้าวหน้า ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์
เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงินฯ พ.ศ. 2556 ข้อ 15 (4) และข้อ 17 โดยให้หน่วยงานรัฐและองค์กรเกษตรกร
รายงานผลการดาเนินงานตามแบบรายงานที่กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรจัดทาขึ้นและได้รับ
ความเห็ น ชอบจากปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ได้ แ ก่ แบบรายงานผลการจั ด สรร
เงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม แบบรายงานการรับ - จ่ายเงิน และแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ดังนี้
แบบรายงาน
การรับ - ผลการ ผลการจัดสรร กฎหมาย กาหนด
ประเภท
จ่ายเงิน ปฏิบัติงาน เงินกองทุนให้ ที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลา
เกษตรกรกู้ยืม
1.หน่วยงานของรัฐ    ตามระเบียบฯ รายไตรมาส
ข้อ 15(4) และข้อ17
2.องค์เกษตรกร    ตามระเบียบฯ รายไตรมาส
2.1 องค์กรเกษตรกรที่ ข้อ 15(4) และข้อ17
เป็นนิตบิ ุคคลและดาเนิน
กิจการมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
2.2 องค์กรเกษตรกรที่ไม่    - ตามระเบียบฯ ทุกเดือน
เป็นนิตบิ ุคคล หรือเป็นนิติ ข้อ 15(4) และข้อ17
75

แบบรายงาน
การรับ - ผลการ ผลการจัดสรร กฎหมาย กาหนด
ประเภท
จ่ายเงิน ปฏิบัติงาน เงินกองทุนให้ ที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลา
เกษตรกรกู้ยืม
บุคคลและดาเนินกิจการ - มติคณะกรรมการ
น้อยกว่า 2 ปี สงเคราะห์เกษตรกร
ครั้งที่ 5/2562
3) ลงพื้ น ที่ ติ ด ตามโครงการ เป็ น การลงพื้ น ที่ เ พื่ อ ติ ด ตามความก้ า วหน้ า โครงการตาม
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงานโครงการ แผนการชาระเงิน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข รวมทั้ง
ชี้แจง สร้างความเข้าใจแนวทางการแก้ไขปัญหา ตามระเบียบ หลักเกณฑ์ของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรและ
เงื่อนไขของโครงการให้แก่เจ้าหน้าที่พื้นที่ และเกษตรกร/องค์กรเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
ทั้ ง นี้ ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น การติ ด ตามในส่ ว นขององค์ เ กษตรกร ส าหรั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ
กาหนดการลงพื้นที่ร่วมกับโครงการที่หน่วยงานของรัฐเป็นเจ้าของโครงการ โดยการสุ่มตัวอย่างโครงการ ตาม
หลักเกณฑ์ ดังนี้
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเพื่อจัดลาดับความสาคัญ
(1) ติดตามการใช้จ่ ายเงินของโครงการให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ แผนการใช้เงินของ
โครงการที่ได้รับอนุมัติ
(2) โครงการที่มีปัญหาอุปสรรคส่งผลให้การใช้จ่ายเงินหรือผลการดาเนินงานไม่สามารถ
ดาเนินการได้ตามวัตถุประสงค์เป้าหมาย แผนงานโครงการ
(3) โครงการที่มีแผนกาหนดชาระเงินคืนในปีงบประมาณ
(4) โครงการที่คาดว่าไม่สามารถชาระเงินคืนกองทุนได้ตามแผนการชาระเงินคืน
2.2 ประเด็นการติดตามโครงการ
การกาหนดขอบเขตและประเด็นต่างๆ ในการติดตามโครงการที่มีความสาคัญในการติดตามและ
ประเมินผลโครงการ เนื่องจากมีความเกี่ยวเนื่องกับการใช้จ่ายเงิน ผลการดาเนินงาน และปัญหาอุปสรรค ของ
โครงการ ดังนั้ น การกาหนดประเด็น ต่ างๆ รวมถึงความละเอียดของการประเมินให้ ชัดเจน ตั้งแต่ เริ่มต้ น
จึงควรมีการกาหนดประเด็นการติดตามโครงการในหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้
1) กรณี โ ครงการที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งการด าเนิ น การ ตรวจสอบการใช้ จ่ า ยเงิ น ให้ ส อดคล้ อ ง กั บ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ พร้อมติดตามความก้าวหน้าของผลการดาเนินงาน ตามแผนการ
ติด ตามที่ ได้ รั บ อนุ มั ติ ในการติด ตามดู จ ากแผนการปฏิ บัติ ง านเป็น ส าคัญ แต่ ล ะช่ว งระยะเวลาโครงการ
ดาเนินงานไปทีละขั้นตอน อาจมีรายละเอียดไม่เหมือนกัน โดยจะมุ่งเน้นติดตามการดาเนินงาน ณ ปั จจุบันของ
โครงการ โดยกาหนดประเด็นการติดตาม ดังนี้
ประเด็น แนวทางการติดตาม ผลการดาเนินโครงการ
1.ตรวจสอบการใช้ ติ ด ตามการใช้ จ่ า ยเงิ น และการด าเนิ น งานให้ - การใช้จ่ายเงินและดาเนินงานเป็นไปตามได้ตาม
จ่ า ยเงิ น ให้ ส อดคล้ อ ง เป็นไปตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการ วัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการ ที่กาหนดใน
กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ / เงื่ อนไขของโครงการ และเป็ น ไปตาม พรบ. และ
เป้าหมาย ระเบียบของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
2. ก า ร ด า เนิ น ง า น การด าเนิ น งานตามแผนกิ จ กรรมที่ ก าหนดใน ผลการดาเนินงาน
ต า ม แ ผ น กิ จ ก ร ร ม โครงการ โดยพิจารณาจากขั้นตอนการดาเนิ น 𝑥
แผนการดาเนินงาน
โครงการ กิจกรรมตามระยะเวลาที่กาหนด พร้อมทั้ง ชี้แจง
76

ประเด็น แนวทางการติดตาม ผลการดาเนินโครงการ


การดาเนินงานในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการได้
3. ผลการดาเนินงาน ผลผลิ ต การด าเนิ น งานโครงการ หมายถึ ง - ผลการดาเนินโครงการในแต่ละช่วงเวลา
(Output) ผลิตผลที่เกิดขึ้นโดยตรงในกิจกรรมของโครงการ - หลักฐานประกอบการ เช่น แผนผังที่ตั้งของสมาขิก
ป้ายชื่อรายแปลง รูปถ่าย(ก่อน/หลัง) บันทึกผลผลิต
และตรวจสอบมาตรฐานผลผลิต
3. การใช้ จ่ า ยเงิ น / - ติดตามผลการใช้จ่ายเงินต้องใช้จ่ายภายใน 15 ผลการใช้จ่ายเงิน
ก า ร ช า ร ะ เ งิ น คื น / วันตามแผนการดาเนินงานโครงการ ระเบียบข้อ 𝑥
แผนการใช้จ่ายเงิน
การแจ้งเตือนและการ 14 (2) วรรค 2
เร่งรัดหนี้ กรณีแบ่งจ่ายเป็นงวด ผลการชาระคืน
1. ลงพื้ น ที่ กากั บ ดู แลการใช้ จ่ า ยเงิ น ให้เป็ น ไป 𝑥
แผนการชาระเงิน
ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ และแผนงานโครงการที่
กาหนดไว้ทุกเดือน ในระยะ 3 เดือนแรก พร้อม
ทั้งรายงานผล เพื่อได้พิจารณาเบิกงวดต่อไป
2 ติดตามผลส่งชาระเงินคืนเป็นไปตามแผนชาระ
เงิ น คื น ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ โดยเจ้ า หน้ า ที่ ต้ อ ง
ดาเนินการ ดังนี้
2.1 การแจ้งเตือน โดยหนังสือแจ้ง เตือนการ
ชาระเงินคืนก่อนถึงกาหนด 45 วัน
2.2 การเร่งรัด ดาเนินการดังหนี้ (กรรีผิดนัด
ชาระ)
(1) แจ้งเป็นหนังสือแสดงสถานะเงินต้น
ค้างชาระและเบี้ยปรับ เร่งรัดชาระหนี้/แนวทาง
เสนอขอปรับโครงสร้างหนี้
(2) กาหนดแนวทางและระยะเวลาแก้ไข
ปัญหาหนี้
(3) ด าเนิ น การตามแนวทางการแก้ ไ ข
ปัญหาหนี้ (การขอขยายระยะเวลาชาระหนี้ขอลด
ดอกเบี้ ย ค่า เบี้ย ปรับ การจ าหน่ า ยหนี้ เป็ น สู ญ
หรือฟ้องร้องการดาเนินคดี)
(๔)นาเสนอคณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ
พิจารณา
กรณีลู กหนี้ ไม่เสนอแนวทางปรับโครงสร้า ง
หนี้ ไม่ ด าเนิ น การตามแผนปรั บโครงสร้ างหนี้
ภายในระยะที่กาหนด ให้มีหนังสือบอกกล่าวทวง
ถาม(โนติส) จานวน 2 ครั้งแต่ละครั้งห่างกันไม่
น้อยกว่า 30 วัน
5. ปั ญ หา อุ ป สรรค - การติ ด ตามโครงการ เพื่ อ ทราบปั ญ หา - รายงานข้อมู ล ปั ญ หา อุป สรรค แนวทางแก้ไ ขที่
ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร อุปสรรค ที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินโครงการ เกิด ขึ้นระหว่ างการดาเนิน งานโครงการให้กองทุ น
ดาเนินงาน เพื่อเร่งรัด/หาทางปรับปรุงและแก้ไขได้ทันท่วงที สงเคราะห์เกษตรกรทราบ/พิจารณามาตรการการ
77

ประเด็น แนวทางการติดตาม ผลการดาเนินโครงการ


เพื่อให้ผลการดาเนินงานที่ดีขึ้น แก้ไขหรือการเรียกเงินคืนหรือการยุติโครงการ

6 ผลลัพธ์/ผลกระทบ - ติ ด ตามผลลั พ ธ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ของโครงการ คื อ - ผลการด าเนิ น งานที่ มี ผ ลกระทบด้ า นสั ง คม
ผลประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ จากการน าผลผลิ ต ของ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมต่อชุมชน
กิจกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ - ผลประโยชน์ที่เกษตรกรเข้าร่วมโครงการได้รับจาก
- ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น จากโครงการ หมายถึ ง การนาผลลัพธ์โครงการไปใช้
ผลที่เกิดจากการดาเนินงานโครงการมีผลกระทบ
ต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมของชุมชน
7 การประเมินผล - การประเมิ น ผลระหว่ า งด าเนิ น โครงการ - รายงานข้อมูลการประเมินผลโครงการที่สามารถ
หมายถึ ง ผล จาการตรวจสอบโครงการได้ สะท้ อ นให้ เ ห็ น ความสามารถในการช าระหนี้
ด าเนิ น ไปตามแผนของโครงการหรื อ ไม่ ข้อเสนอให้ทราบระหว่างดาเนินโครงการ และเมื่อ
อย่างไร มีปัญหาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไข สิ้ น สุ ด โครงการสามารถประเมิ น ผลส าเร็ จ ของ
ปรั บ ปรุ ง หรื อ ไม่ ซึ่ ง ถ้า ประเมิ น ผลแล้ ว ยั ง มี โครงการ รวมถึงเป็นแนวทางในการอนุมัติโครงการ
ปัญหาจะได้เป็นการหาทางปรับปรุงและแก้ไข ประเภทเดียวกัน
ได้ทันท่วงที เพื่อให้ผลการดาเนินงานที่ดีขึ้น
โดยผลการประเมิ น การด าเนิ น โครงการจะ
สะท้อนให้เห็นความสามารถในการดาเนินการ
โครงการต่อ/ความสามารถในการชาระเงิน
- การประเมินผลเมื่ อสิ้ นสุด โครงการ หมายถึง
คว า ม ส า เร็ จ ข อง โ คร ง ก า ร สรุ ป ผลการ
ดาเนินการโครงการวิเคราะห์ประสิทธิผลหรือ
ผลลั พ ธ์ ข องการจั ด ท าโครงการ ว่ า การ
ดาเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้มาก
น้อยเพียงใด มีคุณภาพอยู่ในระดับใดบ้าง โดย
น าผลการประเมิ น น าเสนอประกอบการ
ตัดสินใจของผู้บริหาร
8 ข้อเสนอแนะ  - ข้อเสนอแนะ คือ การเสนอข้อมูล - ข้อมูลข้อเท็จจริง ข้อเสนอแนะ การดาเนิน
หรือให้ข้อมูลข้อเท็จจริง ตรงประเด็น โครงการ ที่เป็นประโยชน์ต่อการทางานและการ
ตรงไปตรงมา เสนอแนะให้เกิดประโยชน์ ไร้อคติ ปรับปรุง
หรือทาให้คนอื่นเสียหาย ตลอดจนทาให้เกิด
ความขัดแย้งขึ้นในการทางาน เพือ่ ให้การเสนอแนะ
มีประสิทธิภาพนาไปสู่ทางออกที่ดีได้ง่าย และไม่
ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

2) กรณีโครงการที่สิ้นสุดระยะเวลาการดาเนินงาน
กรณีโครงการที่สิ้นสุดระยะเวลาการดาเนินงานตาม สัญญาเงินกู้ยืม/คารับรองผู้เบิก แต่โครงการ
ดังกล่าวยังไม่สามารถชาระเงินคืนได้ตามแผนการชาระเงินคืนโครงการ จึงควรกาหนดประเด็นการติดตามโครงการ
ดังนี้
78

ประเด็น รายละเอียด
1. ตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง ได้ แ ก่ - สรุปผลการดาเนินงานโครงการและแนวทางแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
ข้อมูลสถานะลูกหนี้ของโครงการ - ระบุส ถานภาพลูกหนี้ และสถานภาพของโครงการ เช่ น จานวนลู กหนี้ค งเหลื อ
และผลการดาเนินงานโครงการที่ จานวนเงินค้างชาระเงิน ศักยภาพชาระเงิน เป็นต้น
ผ่านมา รวมทั้งปัญหา อุปสรรค ที่ - ระบุสถานภาพปัจจุบันของการดาเนินงานโครงการ เช่น ยังคงดาเนินกิจกรรม เลิก
ส่ ง ผลให้ โ ครงการไม่ ป ระสบผล ดาเนินกิจกรรม เปลี่ยนการดาเนินกิจกรรมเพื่อให้เกิดรายได้ชาระเงินคืน เลิกดาเนิน
ผลสาเร็จ ไม่สามารถชาระเงินคืน กิจกรรเนือ่ งจากความบกพร่องของเกษตรกรเอง เป็นต้น
กองทุ น ได้ ทัน กาหนดระยะเวลา - รายงานสถานการดาเนินคดีลกู หนี้ต่อกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการ - ตรวจสอบหนี้ค้างชาระหว่างกองทุนและหน่วยงาน ณ สิ้นสุดโครงการและปัจจุบัน
- ปัญหาอุปสรรคโครงการที่ส่งผลให้โครงการไม่ประสบผลผลสาเร็จ ไม่สามารถ
ชาระเงินคืนกองทุนได้ทันกาหนดระยะเวลาโครงการ และแนวทางแก้ไขปัญหา

2. การเร่ ง รั ด การช าระเงิ น คื น


- การติดตาม/เร่งรัด หนี้ค้างชาระเพื่อส่งคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรมีขั้นตอน ดังนี้
กองทุน 1. แจ้งเป็นหนังสือแสดงสถานะเงินต้นค้างชาระและเบี้ยปรับ เร่งรัดชาระหนี้/แนวทาง
เสนอขอปรับโครงสร้างหนี้
2. กาหนดแนวทางและระยะเวลาแก้ไขปัญหาหนี้
๓. ดาเนินการตามแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ (การขอขยายระยะเวลาชาระหนี้ขอลด
ดอกเบี้ย ค่าเบี้ยปรับ การจาหน่ายหนี้เป็นสูญ หรือฟ้องร้องการดาเนินคดี)
๔. นาเสนอคณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ พิจารณา
กรณีลูกหนี้ไม่เสนอแนวทางปรับโครงสร้างหนี้ไม่ดาเนินการตามแผนปรับโครงสร้าง
หนี้ภายในระยะที่กาหนด ให้มีหนังสือบอกกล่าวทวงถาม(โนติส) จานวน 2 ครั้งแต่ละครั้ง
ห่างกันไม่น้อยกว่า 30 วัน
3. รายงานผลการแก้ไขปัญหาหนี้ สรุป ประเด็ น สรุ ป ประเด็ น เพื่ อพิ จ ารณา ประกอบด้ ว ย รายละเอีย ดโครงการ
และกาหนดมาตรการการแก้ไ ข ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ โดยรวบรวมเอกสาร หลักฐานที่
ปัญหาหนี้ เกี่ยวข้อง เช่น ภาพถ่าย ประกาศภัยพิบัติ/ภัยธรรมชาติ เอกสารการติดตาม เป็นต้น
และแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ หรือฟ้องร้องการดาเนินคดี

4 . ก อ ง บ ริ ห า ร ง า น ก อ ง ทุ น คณะอนุ กรรมการพิ จ ารณาเรื่องหนี้ สิ น ของกองทุ น สงเคราะห์เกษตรกร และ


สงเคราะห์เกษตรกร นาเสนอเพื่อ คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร เพื่อพิจารณากาหนดมาตรการแก้ไขปัญหาหนี้
พิจารณา หรือเข้าสู่กระบวนการปรับโครงสร้างหนี้ หรือการดาเนินคดี หรืออื่นๆ ที่ตามกฎหมาย
และระเบียบของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร และแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ หรือ
ฟ้องร้องการดาเนินคดี
5. ข้อเสนอแนะ - ข้ อ เสนอแนะ คื อ การเสนอข้ อ มู ล หรื อ ให้ ข้ อ มู ล ข้ อ เท็ จ จริ ง ตรงประเด็ น
ตรงไปตรงมา เสนอแนะให้เกิดประโยชน์ ไร้อคติ หรือทาให้คนอื่นเสียหาย ตลอดจน
ทาให้เกิดความขัดแย้งขึ้นในการทางาน การเสนอแนะมีประสิทธิภาพ นาไปสู่ทางออก
ที่ดีได้ง่าย และไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
79

3. กรอบแนวทางแก้ไขปัญหาการดาเนินงานโครงการ
กรอบแนวทางแก้ไขปัญหาการดาเนินงานโครงการ ได้กาหนด ดังนี้
การแก้ไขปัญหาหนี้

โครงการที่ดาเนินการอยู่ไม่เป็นไปตาม โครงการที่สิ้นสุดระยะเวลาโครงการ
แผนปฏิบัติงาน/แผนการส่งชาระเงินคืน แล้วมีหนี้ค้างชาระเงิน

แจ้งตือน/เร่งรัดการดาเนินการให้เป็นไปตาม ตรวจสอบข้อเท็จจริง
แผนปฏิบัติงาน/แผนการส่งชาระเงินคืน

เข้าสู่กระบวนการปรับโครงสร้างหนี้
กาหนดมาตรการแก้ไขการชาระหนี้
หรือการฟ้องร้องดาเนินคดี
- ปรับแผนการปฏิบัติงาน
- การขอขยายระยะเวลาชาระหนี้
- ปรับแผนการส่งเงินคืน
- การขอยกเว้นค่า
- การขอยกเว้นค่า
- การตั้งงบประมาณชดใช้คืน
- การตัดหนี้เป็นสูญ

นาเสนอเสนอคณะอนุกรรมการ/
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรพิจารณา

แจ้งผลมติคณะกรรมการ
และจัดทาสัญญา
80

4. แนวทางการแก้ไขปัญหาการดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผนและหนี้สินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
4.1 โครงการที่อยู่ระหว่างดาเนินการ การดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผน มีแนวทางแก้ไขปัญหา ดังนี้
4.1.1 การแจ้งเตือนและการเร่งรัดชาระหนี้ ได้แก่ การแจ้งเตือน โดยหนังสือแจ้งเตือนการชาระเงิน
คืนก่อนถึงกาหนด 45 วัน กรณีไม่ชาระเงินคืนตามแผนและเกินกาหนดชาระคืน 15 วัน กาหนดให้การเจรจากับ
หน่ ว ยงานของรัฐ/องค์กรเกษตรกร หากค้า งช าระ 3 งวดติ ด ต่อกัน ให้จั ด ท าหนั ง สื อรับ สภาพหนี้ และน าเสนอ
คณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการเพื่อดาเนินการตามขั้นตอนต่อไป
4.1.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาการดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผน แยกเป็น 2 กรณี
(1) กรณีโครงการดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน
โครงการมีการดาเนินกิจกรรมเดิม มีการเปลี่ยนแปลง เป้าหมายกิจกรรม หรือการ
ดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน ตัวอย่าง กิจกรรมส่งเสริมอาชีพเลี้ยงโคขุนจานวน 10 ตัว/ราย
ต้องการลดจานวนโคขุนเหลือ 5 ตัว/ราย เนื่องจากโคขุนมีราคาสูงขึ้นหลังจากที่ได้รับอนุมัติโครงการ ส่งผลให้
จานวนเงินไม่เพียงพอในการซื้อโคขุนให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เป็นต้น โดยหน่วยงานของรัฐ/องค์กร
เกษตรกร จัดทารายงานชี้แจงข้อเท็จจริง ผลการดาเนินงาน.ปัญหาอุปสรรค โดยเสนอกองบริหารงานกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกรเพื่อตรวจสอบและวิเคราะห์มาตรการ ความเป็นไปได้ของการขอปรับแผนการปฏิบัติงาน
ปรั บ แผนการปฏิ บั ติ ง านหรื อ แผนการส่ ง เงิ น คื น ผ่ า นคณะอนุ ก รรมการพิ จ ารณากลั่ น กรอง ติ ด ตามและ
ประเมิ น ผลโครงการที่ขอใช้เงิ น กองทุน สงเคราะห์ เกษตรกรและคณะกรรมการสงเคราะห์ เ กษตรกรเพื่ อ
พิจารณาตามลาดับ
(2) กรณีโครงการไม่สามารถชาระหนี้ได้ครบตามแผนการส่งเงินคืนดาเนินการ
เนื่ องจากเหตุ จ าเป็ น เช่ น ประสบปั ญหาภั ยธรรมชาติ อิ ทธิ ผลของปั จจั ย ภายนอก
โครงการที่ทาให้โครงการไม่สาเร็จตามเป้าหมาย และไม่ใช่ความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานรัฐ/องค์กร
เกษตรกรเจ้าของโครงการ รวมทั้ง เหตุอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินกิจกรรมโครงกาไม่ประสบผลสาเร็จ
ดังนั้ น จึ งกาหนดแนวทางการเพื่อช่วยเหลื อและให้ โอกาสลู กหนี้กองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร ในการปรับแผน
การชาระเงินคืน การขยายระยะเวลาชาระหนี้ การขอลดหรืองดการคิดค่าเบี้ยปรับ โดยหน่วยงานของรัฐ/องค์กร
เกษตรกร จัดทารายงานชี้แจงข้อเท็จจริง ผลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรคแผนปฏิบัติงาน และแผนการส่งชาระ
เงินคืนที่ปรับปรุงแล้ว ส่งมาให้กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเพื่อตรวจสอบและวิเคราะห์ ตรวจสอบ
และวิเคราะห์ มาตรการ การขอยกเว้นค่าปรับแผนการปฏิบัติงานปรับแผนการปฏิบัติงานหรือแผนการส่งเงินคืน
ผ่านคณะอนุกรรมการพิจารณาเรื่องหนี้สินของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรและคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
เพื่อพิจารณาตามลาดับ
กรณีหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรไม่ส ามารถส่งเงินคืนกองทุนได้ภายใน
ก าหนดเวลา ตามแผนการส่ ง เงิ น คื น กองทุ น หรื อ ตามข้ อ ตกลง อาจขอลดหรื อ งดการคิ ด เบี้ ย ปรั บ ต่ อ
คณะกรรมการ ในเหตุต่อไปนี้
(๑) ภัยธรรมชาติ
(๒) โครงการที่ได้รับอนุมัติ เป็นการดาเนินการตามโครงการของรัฐบาล
(๓) ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณชดเชย
(๔) เหตุอื่น ๆ ที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ
81

4.2 โครงการที่สิ้นสุดระยะเวลาการดาเนินงาน
กรณีโครงการที่สิ้นสุดระยะเวลาการดาเนินงานตาม สัญญาเงินกู้ยืม/คารับรองผู้เบิก แต่โครงการ
ดังกล่าวยังไม่สามารถชะเงินคืนได้ตามแผนการชาระเงินคืนโครงการ จึงมีการดาเนินการ ดังนี้
แนวทาง 1 การปรับโครงสร้างหนี้ 2 การฟ้อง 3 การตัด
ดาเนินการ ดาเนินคดี/เสนอข้อพิพาท หนี้เป็นสูญ
ประเภท ขอขยาย ขอยกเว้นค่า ตั้งงบประมาณ สานักงาน ศาลแพ่ง
ระยะเวลา เบี้ยปรับ ชดเชย อัยการสูงสุด
หน่วยงานของรัฐ     - 
องค์กรเกษตรกร   -  
4.2.1 การปรั บโครงสร้างหนี้ คือ กระบวนการที่ลูกหนี้กับกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกรตกลง
ร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สิน ของลูกหนี้ โดยลูกหนี้ได้รับการปรับแผนปฏิบัติงาน/แผนการชาระเงินคืนใน
ระหว่างโครงการดาเนินการอยู่/โครงการดาเนินการแล้ว เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการดาเนินการตามสัญญากับ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร แล้วไม่สามารถชาระหนี้คืนได้ จากเหตุจาเป็นที่ไม่ใช่ความผิดหรือบกพร่องของ
ลูกหนี้ การปรับโครงสร้างหนี้เป็นแนวทางการช่วยเหลือและให้โอกาสโครงการดาเนินงานต่อไปได้ และมีรายได้
เพียงพอในการนามาส่งชาระเงินคืน ทั้งลูกหนี้ที่ได้รับการปรับโครงสร้างหนี้จะได้รับการยกเว้นค่าเบี้ยปรับ นับ
จากวันที่ได้รับอนุมัติการปรับโครงสร้างหนี้ เพื่อเป็นการลดภาระหนี้สินที่เกิดขึ้นและมีระยะเวลาที่เหมาะสมใน
การส่งชาระเงินคืน โดยการปรับโครงสร้างหนี้ ประกอบด้วย
1. การขอขยายระยะเวลา สามารถจั ด ท าแผนการช าระเงิ น คื น กองทุ น เพื่ อ เสนอ
คณะกรรมการสงเคราะห์ เ กษตรกรพิ จ ารณาเห็ น ชอบ ประกอบด้ ว ย การจั ด ท าแผนการช าระเงิ น คื น
และการขยายระยะเวลาออกไปจนสิ้นสุดการบังคับคดี ทั้งนี้ อานาจการพิจารณาวงเงินการอนุมัติ ต่อไปนี้
(1) กรณีวงเงินกู้ไม่เกิน 100 ล้านบาท การขอขยายระยะเวลาชาระหนี้เป็นอานาจ
การพิจารณาของคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ตามเหตุผลและความจาเป็น
(2) กรณีวงเงินเกิน 100 ล้านบาท การขอขยายระยะเวลาชาระหนี้เป็นอานาจการ
พิจารณาของคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี
2. ขอลดหรืองดการคิดเบี้ยปรับ ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงินฯ พ.ศ. 2556 ข้อ ๒๓ ให้สานักงานคิดเบี้ยปรับกับหน่วยงานของรัฐหรื อองค์กรเกษตรกรที่ได้รับ
จั ด สรร เงิ น กองทุ น แล้ ว ไม่ ส ามารถส่ ง เงิ น คื น กองทุ น ได้ ต ามก าหนดเวลาในอั ต ราร้ อ ยละสามต่ อ ปี
นับแต่วันผิดนัด ชาระหนี้จนกว่าจะชาระเสร็จสิ้น กรณีหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรไม่สามารถส่งเงิน
คืนกองทุนได้ภายในกาหนดเวลา ตามแผนการส่งเงินคืนกองทุนหรือตามข้อตกลง อาจขอลดหรืองดการคิดเบี้ย
ปรับต่อคณะกรรมการ ในเหตุต่อไปนี้
(๑) ภัยธรรมชาติ
(๒) โครงการที่ได้รับอนุมัติ เป็นการดาเนินการตามโครงการของรัฐบาล
(๓) ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณชดเชย
(๔) เหตุอื่น ๆ ที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ
3. ตั้งงบประมาณชดเชย หน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการสามารถตั้งงบประมาณชดเชย
เพื่อนาเงินมาชาระหนี้โครงการ
4. การขอระยะเวลาปลดหนี้ เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ลูกหนี้ฟื้นฟูกิจการ
5. การลดเงินต้นหรือดอกเบี้ยค้างรับเป็นการยกหนี้บางส่วนให้กับลูกหนี้ โดยมีเงื่อนไขขอ
สัญญาว่าลูกหนี้ต้องดาเนินการตามที่กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรร้องขอ
82

6.2.2 การฟ้องดาเนินคดีกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรดาเนินการฟ้องร้องหน่วยงานของรัฐเจ้าของ
โครงการเพื่อบังคับชาระหนี้ โดยเสนอข้อพิพาทต่อสานักงานอัยการสูงสุด สาหรับองค์กรเกษตรกรดาเนินการ
ฟ้องร้องกับศาลแพ่ง
4.2.3 การตั ดหนี้ สู ญ เป็ น ไปตามระเบี ยบคณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกรว่าด้ว ยการรั บ
จ่ายเงินฯพ.ศ. 2556
ข้อ 27 การตัดหนี้เป็นสูญของลูกหนี้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรให้สานักงานนาเสนอ
คณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนดาเนินการตามกฎระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 28 วิธีปฏิบัติอื่นใดที่มิได้กาหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของทาง
ราชการโดย อนุโลม โดยกองทุนได้กาหนดตามแนวทางของ คณะกรรมการบริหารสินเชื่อเกษตรแห่งชาติ
(กบส.) รวมถึงตรวจสอบลูกหนี้และระบุหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการตัดหนี้เป็นสูญ ตามมติคณะมติรัฐมนตรีเมื่อ
วันที่ 31 มีนาคม 2558 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1) กรณีโครงการส่งเสริมหรือสงเคราะห์ของรัฐที่ไม่ประสบความสาเร็จ
2) กรณีประสบภัยพิบัติหรือภัยธรรมชาติ
3) ปัญหาเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้
4) หนี้ขาดอายุความ
5) หนี้ค้างชาระเป็นระยะเวลาเกินกว่า 10 ปีขึ้นไป
6) หนี้ไม่สามารถติดต่อตามทรัพย์เพื่อดาเนินการบังคับคดีได้
7) เกษตรกรผู้ยืมเงินเสียชีวิต สาบสูญ หาตัวไม่พบหรือละทิ้งถิ่นที่อยู่
8) เกษตรกรผู้กู้ยืมเงินพิการ ทุพพลภาพ วิกลจริตหรือเจ็บป่วยเรื้อรัง
9) ลูกหนี้ผู้กู้ยืมเงินมีรายได้น้อยหรือไม่มีความสามารถชาระหนี้
10) หนี้สินของเกษตรกรผู้กู้ยืมเงินมาจานวนต้นเงินกู้ไม่เกิน 10,000 บาท ซึ่งจาก
การดาเนินการฟ้องร้องจะไม่คุ้มกับค่าใช้จ่าย
83
แบบฟอร์มที่ 1

กรณีหน่วยงานรัฐ/
องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคลและดาเนินกิจการมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
รายงานการรับ - จ่ายเงิน
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการ.................................................................................
หน่วยงาน/องค์กรเกษตรกร..................................................
ประจาไตรมาสที่......................ปีงบประมาณ........................
รายการ จานวนเงิน (บาท) หมายเหตุ
รายรับ
ยอดยกมา
- เบิกเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
- รับชาระหนี้จากลูกหนีเ้ งินกู้ยืม
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม
(3) ค่าเบี้ยปรับ
- ดอกเบี้ยเงินฝาก
- รายได้จากการดาเนินงาน
- รายได้จากการขายสินทรัพย์
- รายได้อื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายรับ
รายจ่าย
ยอดยกมา
- เงินให้ลูกหนี้กู้ยืม
- ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
- รายจ่ายในการซื้อสินทรัพย์
- การส่งคืนเงินกองทุนฯ
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ย
(3) ค่าเบี้ยปรับ
(4) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร
(5) รายได้อื่นๆ (ถ้ามี)
- รายจ่ายอื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายจ่าย
ยอดคงเหลือตามบัญชีเงินฝาก
ชื่อผู้รายงาน................................................ตาแหน่ง....................................เบอร์โทรศัพท์....................
วันที่.................เดือน...................พ.ศ. ......................
หมายเหตุ:
1. จัดทาข้อมูลเป็นรายโครงการ
2. จัดส่งข้อมูลให้กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเป็นรายไตรมาส โดยขอให้จัดส่งเป็นไตรมาส
โทรศัพท์ 02 282 6797 โทรสาร 02 281 5798 E-mail: faf@opsmoac.go.th
แบบฟอร์มที่ 1 84

คาอธิบาย
การกรอกแบบรายงานการรับ – จ่ายเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
รายการ คาอธิบาย
โครงการ ให้ระบุชื่อโครงการที่ได้รับอนุมัติจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
หน่วยงาน/องค์กรเกษตรกร ให้ระบุชื่อหน่วยงาน/องค์กรเกษตรกรที่รับผิดชอบโครงการ
ช่องรายการ/จานวนเงิน ให้ระบุจานวนเงินของรายรับที่เกิดขึ้นในแต่ละไตรมาสตามรายการต่างๆ
รายรับ ดังนี้
- ยอดยกมา (จานวนเงินยอดยกมาของไตรมาสที่แล้ว)
- เบิกเงินกองทุนฯ (จานวนเงินที่เบิกจากกองทุนฯ เพื่อดาเนินงานตาม
โครงการที่ได้รับอนุมัติ)
- รับชาระหนี้จากลูกหนี้เงินกู้ยืม
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม
(3) ค่าเบี้ยปรับ
- ดอกเบี้ยเงินฝาก
- รายได้จากการดาเนินงาน
- รายได้จากการขายสินทรัพย์
- รายได้อื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายรับ รวมจานวนเงินของรายรับ
รายจ่าย ให้ ระบุจ านวนเงินของรายจ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละไตรมาสตามรายการ
ต่างๆ ดังนี้
- ยอดยกมา (จานวนเงินยอดยกมาของไตรมาสที่แล้ว)
- เงินให้ลูกหนี้กู้ยืม (จานวนเงินที่ให้ลูกหนี้กู้ยืมเพื่อดาเนินงานโครงการ)
- ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
- รายจ่ายในการซื้อสินทรัพย์
- การส่งคืนเงินกองทุนฯ
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ย
(3) ค่าเบี้ยปรับ
(4) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร
(5) รายได้อื่นๆ (ถ้ามี)
- รายจ่ายอื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายจ่าย รวมจานวนเงินของรายจ่าย
ยอดคงเหลือตามบัญชีเงินฝาก จานวนเงินรวมรายรับ หัก รวมรายจ่าย ซึ่งต้องเท่ากับเงินคงเหลือใน
บัญชีเงินฝากธนาคาร
---------------------------------------
แบบฟอร์มที่ 2
85

แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
โครงการ....................................................................................
หน่วยงาน/องค์กรเกษตรกร.............................................
ประจาไตรมาสที่........................ปีงบประมาณ........................
รายละเอียดแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/ เป้าหมาย/ผล แผน แผน/ผลการปฏิบตั งิ าน จานวนเงิน รายละเอียด ปัญหาอุปสรรค แนวทาง
วิธกี ารดาเนินงาน ปริมาณงาน หน่วยนับ ผล ปี พ.ศ. .................. (บาท) การดาเนินงาน การแก้ไข
(ตามโครงการทีไ่ ด้รับอนุมัต)ิ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
ชื่อผู้รายงาน...................................................................................ตาแหน่ง.........................................................................เบอร์โทรศัพท์........................................................
วันที่.................เดือน......................พ.ศ. ...........................
หมายเหตุ:
1. จัดทาข้อมูลเป็นรายโครงการ
2. จัดส่งข้อมูลให้กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นรายไตรมาส โทรศัพท์ 02 282 6797 โทรสาร 02 281 5798 E-mail: faf@opsmoac.go.th 3.
ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. - ธ.ค.) ไตรมาสที่ 2 (ม.ค. - มี.ค.) ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. - มิ.ย.) ไตรมาสที่ 4 (ก.ค. - ก.ย.)
แบบฟอร์มที่ 2 86

คาอธิบายแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน

รายการ คาอธิบาย
รายละเอียดแผนการดาเนินงาน/ ให้ ร ะบุ แ ผนการด าเนิ น งาน หรื อ กิ จ กรรม หรื อ วิ ธี ก ารด าเนิ น งาน
กิจกรรม/วิธีการดาเนินงาน โครงการตามที่ได้รับอนุมัติ
(ตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ)
เป้าหมาย/ผล
- ปริมาณงาน ให้ระบุปริมาณงานที่จะดาเนินงานตามที่ได้รับอนุมัติในแต่ละแผนการ
ดาเนินงาน/กิจกรรม/วิธีดาเนินงาน และผลการปฏิบัติงานในแต่ล ะ
แผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/วิธีดาเนินงาน
- หน่วยนับ ให้ระบุหน่วยนับของปริมาณงาน
แผน/ผลการปฏิบัติงาน ให้ระบุแผนและผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/
วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ และระยะเวลา
- แผน ให้ระบุปริมาณงานตามแผนการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน/
กิจกรรม/วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ และระยะเวลา
- ผล ให้ ร ะบุ ป ริ มาณงานตามผลการปฏิบั ติ ง านตามแผนการดาเนิ น งาน/
กิจกรรม/วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ และระยะเวลา
จานวนเงิน (บาท) ให้ร ะบุจานวนเงินที่ใช้ในแต่ล ะแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/วิธีการ
ดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ
รายละเอียดการดาเนินงาน ให้ระบุรายละเอียดผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/
วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ
ปัญหาอุปสรรค ให้ระบุสาเหตุที่ไม่สามารถดาเนินการตามแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/
วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่กาหนดไว้ หรือ ไม่สามารถชาระเงินคืน
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ตามระยะเวลาที่กาหนด
แนวทางการแก้ไขปัญหา ให้ระบุแนวทางการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่ระบุ

-----------------------------------------
แบบฟอร์มที่ 3
87
แบบรายงานผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม
โครงการ....................................................................................
หน่วยงาน.............................................
ปีงบประมาณ......................

วงเงินอนุมัติ...............................................................บาท
วงเงินเบิก..................................................................บาท
วันครบกาหนดชาระคืนเงินโครงการ.................................
ระยะเวลา แผนการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม ผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม อัตราดอกเบี้ย สถานภาพ แผนการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ดาเนินการ สหกรณ์(แห่ง)/ วงเงินกู้ยืม ระยะเวลาส่งคืน สหกรณ์(แห่ง)/ วงเงินกู้ยืม ระยะเวลาส่งคืน ลูกนีข้ อง วงเงิน ระยะเวลา วงเงิน ระยะเวลา
กลุ่มเกษตรกร(แห่ง)/ กลุ่มเกษตรกร(แห่ง)/ หน่วยงาน ต้นเงิน ดอกเบี้ย ต้นเงิน ดอกเบี้ย
สมาชิก (ราย) สมาชิก (ราย) (ถ้ามี) (ถ้ามี)

ชื่อผู้รายงาน...................................................................................ตาแหน่ง.........................................................................เบอร์โทรศัพท์........................................................
วันที่.................เดือน......................พ.ศ. ...........................
หมายเหตุ:
1. จัดทาข้อมูลเป็นรายโครงการ
2. จัดส่งข้อมูลให้กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายในสิบวันทาการนับแต่วันทีไ่ ด้จัดสรร โทรศัพท์ 02 282 6797
โทรสาร 02 281 5798 E-mail: faf@opsmoac.go.th
แบบฟอร์มที่ 3 88

คาอธิบายแบบรายงานผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม
รายการ คาอธิบาย
ระยะเวลาดาเนินการ ให้ระบุระยะเวลาที่หน่วยงานจะดาเนินการจัดสรรเงินกองทุนให้องค์กร
เกษตรกร/เกษตรกรกู้ยืม
แผนการจั ด สรรเงิ น กองทุ น ให้ ให้ ร ะบุ แ ผนการจั ด สรรเงิ น กองทุ น ให้ เ กษตรกรกู้ ยื ม ตามระยะเวลา
เกษตรกรกู้ยืม ดาเนินการ
- สหกรณ์ (แห่ ง )/กลุ่ ม เกษตรกร ให้ระบุชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกร ที่หน่วยงานมีแผนจะจัดสรร
(แห่ง)/สมาชิก (ราย) ให้เงินกองทุนให้กู้ยืม
- วงเงินกู้ยืม ให้ระบุวงเงินที่หน่วยงานมีแผนจะจัดสรรเงินกองทุนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/
เกษตรกรกู้ยืม
- ระยะเวลาส่งคืน ให้ระบุระยะเวลาการส่งคืนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรที่กู้ยืมเงิน
ผลการจั ด สรรเงิ น กองทุ น ให้ ให้ระบุผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืมตามแผนการจัดสรร
เกษตรกรกู้ยืม และระยะเวลาดาเนินการ
- สหกรณ์ (แห่ ง )/กลุ่ ม เกษตรกร ให้ ร ะบุ ชื่ อ สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกร/เกษตรกร ที่ ห น่ ว ยงานมี ผ ลการ
(แห่ง)/สมาชิก (ราย) จัดสรรให้เงินกองทุนให้กู้ยืม
- วงเงินกู้ยืม ให้ระบุวงเงินที่หน่วยงานจัดสรรเงินกองทุนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/
เกษตรกรกู้ยืม
- ระยะเวลาส่งคืน ให้ระบุระยะเวลาการส่งคืนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรที่กู้ยืมเงิน
อัตราดอกเบี้ย ให้ระบุอัตราดอกเบี้ยที่หน่วยงานนาเงินกองทุนไปจัดสรรให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรกู้ยืม (ถ้าหากมี)
สถานภาพลูกหนี้ของหน่วยงาน ให้ ร ะบุส ถานภาพลู กหนี้ของหน่ว ยงานที่ ห น่ว ยงานนาเงิ นกองทุนไป
(ระบุเป็นกลุ่มที่ ....) จัดสรรให้กู้ยืม โดยขอให้หน่วยงานวิเคราะห์และจาแนกสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกร/เกษตรกร ออกเป็นกลุ่ม จานวน 7 กลุ่ม ดังนี้
- กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ยังคงทากิจกรรมและไม่มีปัญหาในการทากิจกรรม
- กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ยังคงทากิจกรรมและมีปัญหาในการทากิจกรรม แต่ยัง
มีความสามารถในการชาระเงินกู้ยืมได้
- กลุ่มที่ 3 กลุ่ มที่เปลี่ยนไปทากิจกรรมอื่นแล้ว และมีรายได้เพียงพอ
ชาระเงินกู้ยืม
- กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ยังคงทากิจกรรมแต่มีปัญหาในการทากิจกรรม และไม่
มีความสามารถในการชาระเงินกู้ยืม
- กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่เลิกทากิจกรรมแล้ว เนื่องจากโครงการไม่เหมาะสม
- กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่เปลี่ยนไปทากิจกรรมอื่นแล้ว และมีรายได้ไม่เพียงพอ
ชาระเงินกู้ยืม
- กลุ่ ม ที่ 7 กลุ่ ม ที่เ ลิ ก ท ากิจ กรรมแล้ ว เนื่อ งจากความบกพร่ อ งของ
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรเอง
89

รายการ คาอธิบาย
แผนการช าระคื น เงิ น กองทุ น ให้ระบุแผนการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามโครงการที่
สงเคราะห์เกษตรกร ได้รับอนุมัติ
- วงเงิน ให้ระบุวงเงินตามแผนการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
- ระยะเวลา ให้ ร ะบุ ร ะยะเวลาการช าระคื น ตามแผนการช าระคื น เงิ น กองทุ น
สงเคราะห์เกษตรกร
ผ ล ก า ร ช า ร ะ คื น เ งิ น ก อ ง ทุ น ให้ระบุผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามโครงการที่
สงเคราะห์เกษตรกร ได้รับอนุมัติ
- วงเงิน ให้ระบุวงเงินตามผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
- ระยะเวลา ให้ระบุระยะเวลาการชาระคืนตามผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร
-----------------------------------------
90
แบบฟอร์มที่ 1

กรณีองค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคลและดาเนินกิจการมาแล้วน้อยกว่า 2 ปี
รายงานการรับ - จ่ายเงิน
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
โครงการ.................................................................................
หน่วยงาน/องค์กรเกษตรกร..................................................
เดือน......................ปีงบประมาณ........................
รายการ จานวนเงิน (บาท) หมายเหตุ
รายรับ
ยอดยกมา
- เบิกเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
- รับชาระหนี้จากลูกหนีเ้ งินกู้ยืม
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม
(3) ค่าเบี้ยปรับ
- ดอกเบี้ยเงินฝาก
- รายได้จากการดาเนินงาน
- รายได้จากการขายสินทรัพย์
- รายได้อื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายรับ
รายจ่าย
ยอดยกมา
- เงินให้ลูกหนี้กู้ยืม
- ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
- รายจ่ายในการซื้อสินทรัพย์
- การส่งคืนเงินกองทุนฯ
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ย
(3) ค่าเบี้ยปรับ
(4) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร
(5) รายได้อื่นๆ (ถ้ามี)
- รายจ่ายอื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายจ่าย
ยอดคงเหลือตามบัญชีเงินฝาก
ชื่อผู้รายงาน................................................ตาแหน่ง....................................เบอร์โทรศัพท์....................
วันที่.................เดือน...................พ.ศ. ......................
หมายเหตุ:
1. จัดทาข้อมูลเป็นรายโครงการ
2. จัดส่งข้อมูลให้กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรทุกเดือน
โทรศัพท์ 02 282 6797 โทรสาร 02 281 5798 E-mail: faf@opsmoac.go.th
แบบฟอร์มที่ 1 91

คาอธิบาย
การกรอกแบบรายงานการรับ – จ่ายเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
รายการ คาอธิบาย
โครงการ ให้ระบุชื่อโครงการที่ได้รับอนุมัติจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
หน่วยงาน/องค์กรเกษตรกร ให้ระบุชื่อหน่วยงาน/องค์กรเกษตรกรที่รับผิดชอบโครงการ
ช่องรายการ/จานวนเงิน ให้ระบุจานวนเงินของรายรับที่เกิดขึ้นในแต่ละไตรมาสตามรายการต่างๆ
รายรับ ดังนี้
- ยอดยกมา (จานวนเงินยอดยกมาของไตรมาสที่แล้ว)
- เบิกเงินกองทุนฯ (จานวนเงินที่เบิกจากกองทุนฯ เพื่อดาเนินงานตาม
โครงการที่ได้รับอนุมัติ)
- รับชาระหนี้จากลูกหนี้เงินกู้ยืม
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม
(3) ค่าเบี้ยปรับ
- ดอกเบี้ยเงินฝาก
- รายได้จากการดาเนินงาน
- รายได้จากการขายสินทรัพย์
- รายได้อื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายรับ รวมจานวนเงินของรายรับ
รายจ่าย ให้ ระบุจ านวนเงินของรายจ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละไตรมาสตามรายการ
ต่างๆ ดังนี้
- ยอดยกมา (จานวนเงินยอดยกมาของไตรมาสที่แล้ว)
- เงินให้ลูกหนี้กู้ยืม (จานวนเงินที่ให้ลูกหนี้กู้ยืมเพื่อดาเนินงานโครงการ)
- ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
- รายจ่ายในการซื้อสินทรัพย์
- การส่งคืนเงินกองทุนฯ
(1) เงินต้น
(2) ดอกเบี้ย
(3) ค่าเบี้ยปรับ
(4) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร
(5) รายได้อื่นๆ (ถ้ามี)
- รายจ่ายอื่นๆ (โปรดระบุ)
รวมรายจ่าย รวมจานวนเงินของรายจ่าย
ยอดคงเหลือตามบัญชีเงินฝาก จานวนเงินรวมรายรับ หัก รวมรายจ่าย ซึ่งต้องเท่ากับเงินคงเหลือใน
บัญชีเงินฝากธนาคาร
---------------------------------------
แบบฟอร์มที่ 2 92

แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
โครงการ....................................................................................
หน่วยงาน/องค์กรเกษตรกร.............................................
เดือน........................ปีงบประมาณ........................
รายละเอียดแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/ เป้าหมาย/ผล แผน แผน/ผลการปฏิบตั งิ าน จานวนเงิน รายละเอียด ปัญหาอุปสรรค แนวทาง
วิธกี ารดาเนินงาน ปริมาณงาน หน่วยนับ ผล ปี พ.ศ. .................. (บาท) การดาเนินงาน การแก้ไข
(ตามโครงการทีไ่ ด้รับอนุมัต)ิ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
แผน
ผล
ชื่อผู้รายงาน...................................................................................ตาแหน่ง.........................................................................เบอร์โทรศัพท์........................................................
วันที่.................เดือน......................พ.ศ. ...........................
หมายเหตุ:
1. จัดทาข้อมูลเป็นรายโครงการ
2. จัดส่งข้อมูลให้กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและทุกเดือน
โทรศัพท์ 02 282 6797 โทรสาร 02 281 5798 E-mail: faf@opsmoac.go.th
93
แบบฟอร์มที่ 2
คาอธิบายแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน

รายการ คาอธิบาย
รายละเอียดแผนการดาเนินงาน/ ให้ ร ะบุ แ ผนการด าเนิ น งาน หรื อ กิ จ กรรม หรื อ วิ ธี ก ารด าเนิ น งาน
กิจกรรม/วิธีการดาเนินงาน โครงการตามที่ได้รับอนุมัติ
(ตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ)
เป้าหมาย/ผล
- ปริมาณงาน ให้ระบุปริมาณงานที่จะดาเนินงานตามที่ได้รับอนุมัติในแต่ละแผนการ
ดาเนินงาน/กิจกรรม/วิธีดาเนินงาน และผลการปฏิบัติงานในแต่ล ะ
แผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/วิธีดาเนินงาน
- หน่วยนับ ให้ระบุหน่วยนับของปริมาณงาน
แผน/ผลการปฏิบัติงาน ให้ระบุแผนและผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/
วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ และระยะเวลา
- แผน ให้ระบุปริมาณงานตามแผนการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน/
กิจกรรม/วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ และระยะเวลา
- ผล ให้ ร ะบุ ป ริ มาณงานตามผลการปฏิบั ติ ง านตามแผนการดาเนิ น งาน/
กิจกรรม/วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ และระยะเวลา
จานวนเงิน (บาท) ให้ร ะบุจานวนเงินที่ใช้ในแต่ล ะแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/วิธีการ
ดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ
รายละเอียดการดาเนินงาน ให้ระบุรายละเอียดผลการดาเนินงานตามแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/
วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่ได้รับอนุมัติ
ปัญหาอุปสรรค ให้ระบุสาเหตุที่ไม่สามารถดาเนินการตามแผนการดาเนินงาน/กิจกรรม/
วิธีการดาเนินงานโครงการตามที่กาหนดไว้ หรือ ไม่สามารถชาระเงินคืน
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ตามระยะเวลาที่กาหนด
แนวทางการแก้ไขปัญหา ให้ระบุแนวทางการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่ระบุ

-----------------------------------------
แบบฟอร์มที่ 3 94

แบบรายงานผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม
โครงการ....................................................................................
หน่วยงาน/องค์กรเกษตรกร.............................................
เดือน........................ปีงบประมาณ........................

วงเงินอนุมัติ...............................................................บาท
วงเงินเบิก..................................................................บาท
วันครบกาหนดชาระคืนเงินโครงการ.................................
ระยะเวลา แผนการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม ผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม อัตราดอกเบี้ย สถานภาพ แผนการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ดาเนินการ สหกรณ์(แห่ง)/ วงเงินกู้ยืม ระยะเวลาส่งคืน สหกรณ์(แห่ง)/ วงเงินกู้ยืม ระยะเวลาส่งคืน ลูกนีข้ อง วงเงิน ระยะเวลา วงเงิน ระยะเวลา
กลุ่มเกษตรกร(แห่ง)/ กลุ่มเกษตรกร(แห่ง)/ หน่วยงาน ต้นเงิน ดอกเบี้ย ต้นเงิน ดอกเบี้ย
สมาชิก (ราย) สมาชิก (ราย) (ถ้ามี) (ถ้ามี)

ชื่อผู้รายงาน...................................................................................ตาแหน่ง.........................................................................เบอร์โทรศัพท์........................................................
วันที่.................เดือน......................พ.ศ. ...........................
หมายเหตุ:
1. จัดทาข้อมูลเป็นรายโครงการ
2. จัดส่งข้อมูลให้กองบริหารงานกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและทุกเดือน
โทรศัพท์ 02 282 6797 โทรสาร 02 281 5798 E-mail: faf@opsmoac.go.th
แบบฟอร์มที่ 3 95

คาอธิบายแบบรายงานผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืม
รายการ คาอธิบาย
ระยะเวลาดาเนินการ ให้ระบุระยะเวลาที่หน่วยงานจะดาเนินการจัดสรรเงินกองทุนให้องค์กร
เกษตรกร/เกษตรกรกู้ยืม
แผนการจั ด สรรเงิ น กองทุ น ให้ ให้ ร ะบุ แ ผนการจั ด สรรเงิ น กองทุ น ให้ เ กษตรกรกู้ ยื ม ตามระยะเวลา
เกษตรกรกู้ยืม ดาเนินการ
- สหกรณ์ (แห่ ง )/กลุ่ ม เกษตรกร ให้ระบุชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกร ที่หน่วยงานมีแผนจะจัดสรร
(แห่ง)/สมาชิก (ราย) ให้เงินกองทุนให้กู้ยืม
- วงเงินกู้ยืม ให้ระบุวงเงินที่หน่วยงานมีแผนจะจัดสรรเงินกองทุนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/
เกษตรกรกู้ยืม
- ระยะเวลาส่งคืน ให้ระบุระยะเวลาการส่งคืนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรที่กู้ยืมเงิน
ผลการจั ด สรรเงิ น กองทุ น ให้ ให้ระบุผลการจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรกู้ยืมตามแผนการจัดสรร
เกษตรกรกู้ยืม และระยะเวลาดาเนินการ
- สหกรณ์ (แห่ ง )/กลุ่ ม เกษตรกร ให้ ร ะบุ ชื่ อ สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกร/เกษตรกร ที่ ห น่ ว ยงานมี ผ ลการ
(แห่ง)/สมาชิก (ราย) จัดสรรให้เงินกองทุนให้กู้ยืม
- วงเงินกู้ยืม ให้ระบุวงเงินที่หน่วยงานจัดสรรเงินกองทุนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/
เกษตรกรกู้ยืม
- ระยะเวลาส่งคืน ให้ระบุระยะเวลาการส่งคืนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรที่กู้ยืมเงิน
อัตราดอกเบี้ย ให้ระบุอัตราดอกเบี้ยที่หน่วยงานนาเงินกองทุนไปจัดสรรให้สหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรกู้ยืม (ถ้าหากมี)
สถานภาพลูกหนี้ของหน่วยงาน ให้ ร ะบุ ส ถานภาพลู กหนี้ของหน่ว ยงานที่ห น่ว ยงานนาเงินกองทุนไป
(ระบุเป็นกลุ่มที่ ....) จัดสรรให้กู้ยืม โดยขอให้หน่วยงานวิเคราะห์และจาแนกสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกร/เกษตรกร ออกเป็นกลุ่ม จานวน 7 กลุ่ม ดังนี้
- กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ยังคงทากิจกรรมและไม่มีปัญหาในการทากิจกรรม
- กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ยังคงทากิจกรรมและมีปัญหาในการทากิจกรรม แต่ยัง
มีความสามารถในการชาระเงินกู้ยืมได้
- กลุ่มที่ 3 กลุ่ มที่เปลี่ยนไปทากิจกรรมอื่นแล้ว และมีรายได้เพียงพอ
ชาระเงินกู้ยืม
- กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ยังคงทากิจกรรมแต่มีปัญหาในการทากิจกรรม และไม่
มีความสามารถในการชาระเงินกู้ยืม
- กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่เลิกทากิจกรรมแล้ว เนื่องจากโครงการไม่เหมาะสม
- กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่เปลี่ยนไปทากิจกรรมอื่นแล้ว และมีรายได้ไม่เพียงพอ
ชาระเงินกู้ยืม
- กลุ่ ม ที่ 7 กลุ่ มที่ เลิ ก ทากิจ กรรมแล้ ว เนื่อ งจากความบกพร่ อ งของ
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรเอง
96

รายการ คาอธิบาย
แผนการช าระคื น เงิ น กองทุ น ให้ระบุแผนการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามโครงการที่
สงเคราะห์เกษตรกร ได้รับอนุมัติ
- วงเงิน ให้ระบุวงเงินตามแผนการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
- ระยะเวลา ให้ ร ะบุ ร ะยะเวลาการช าระคื น ตามแผนการช าระคื น เงิ น กองทุ น
สงเคราะห์เกษตรกร
ผล ก า ร ช า ร ะ คื น เ งิ น ก อ ง ทุ น ให้ระบุผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามโครงการที่
สงเคราะห์เกษตรกร ได้รับอนุมัติ
- วงเงิน ให้ระบุวงเงินตามผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
- ระยะเวลา ให้ระบุระยะเวลาการชาระคืนตามผลการชาระคืนเงินกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร
-----------------------------------------
ภาคผนวก
98

หน้า ๑
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

พระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
เป็นปีที่ ๖๖ ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มี พ ระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ
ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มี บ ทบั ญ ญั ติ บ างประการเกี่ ย วกั บ การจํ า กั ด สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของบุ ค คล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญ ญัติให้กระทําได้
โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา
ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ เ รี ย กว่ า “พระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สงเคราะห์ เ กษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔”
มาตรา ๒ พระราชบัญ ญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วัน ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๑๗
99

หน้า ๒
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“กองทุน” หมายความว่า กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
“เกษตรกร” หมายความว่า ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และให้หมายความรวมถึงองค์กร
เกษตรกรซึ่งประกอบกิจการเกี่ยวกับเกษตรกรรม
“องค์กรเกษตรกร” หมายความว่า สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม ชุมนุม
สหกรณ์ดังกล่าว กลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียนตามกฎหมาย
ว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน องค์กรเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร
หรือองค์กรเกษตรกรอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
“เกษตรกรรม” หมายความว่า การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง และเกษตรกรรมอื่น
ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศกําหนด
“ผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น” หมายความว่า ผลิตผลอันเกิดจากเกษตรกรรมโดยตรง ตลอดจน
ผลิตผลพลอยได้อันเกิดจากผลิตผลเกษตรกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ประกาศกําหนด แต่ไม่รวมถึงผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นที่มีกฎหมายเฉพาะกําหนดหลักเกณฑ์ใน
การช่วยเหลือไว้แล้ว
“ผลิต ภัณ ฑ์อาหาร” หมายความว่า ผลิตผลเกษตรกรรมที่ใช้เป็น อาหารหรือส่ว นประกอบ
ของอาหารสํ า หรั บ คนหรื อ สั ต ว์ ไ ม่ ว่ า จะแปรรู ป แล้ ว หรื อ ไม่ ทั้ ง นี้ ตามที่ รั ฐ มนตรี ป ระกาศกํ า หนด
แต่ไม่รวมถึงผลิตภัณฑ์อาหารที่มีกฎหมายเฉพาะกําหนดหลักเกณฑ์ในการช่วยเหลือไว้แล้ว
“ค่าธรรมเนียมการส่งออก” หมายความว่า เงินที่เรียกเก็บจากผู้ส่งออกตามพระราชบัญญัตินี้
“ค่าธรรมเนียมการนําเข้า” หมายความว่า เงินที่เรียกเก็บจากผู้นําเข้าตามพระราชบัญญัตินี้
“ผู้ส่ ง ออก” หมายความว่ า ผู้ ส่ง ของออกตามกฎหมายว่า ด้ ว ยศุ ล กากรซึ่ง ส่ งออกผลิ ต ผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อการค้า
“ผู้ นํ า เข้ า ” หมายความว่ า ผู้ นํ า ของเข้ า ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยศุ ล กากรซึ่ ง นํ า เข้ า ผลิ ต ผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อการค้า
“หน่ว ยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือ ส่ว นราชการที่เรี ย กชื่ อ
อย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม จังหวัด และให้หมายความรวมถึงรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่น ของรัฐ
ที่มีกฎหมายจัดตั้ง
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
100

หน้า ๓
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

มาตรา ๕ ให้ จั ด ตั้ ง กองทุ น ขึ้ น กองทุ น หนึ่ ง เรี ย กว่ า “กองทุ น สงเคราะห์ เ กษตรกร”
ในสํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกอบด้วย เงินและทรัพย์สินตามมาตรา ๖ เพื่อเป็น
ทุนหมุนเวียนและใช้จ่ายช่วยเหลือหรือส่งเสริมเกษตรกรในกิจการตามมาตรา ๗
ให้ สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เ ก็ บ รั ก ษาเงิ น และทรั พ ย์ สิ น ของกองทุ น
และดําเนินการเบิกจ่ายเงินกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้
เงิน กองทุน ที่สํา นักงานปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เก็บ รักษาตามวรรคสอง ให้นําไป
หาดอกผลโดยการฝากออมทรัพย์หรือฝากประจํากับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ หรือการซื้อหลักทรัพย์ของ
รัฐบาลได้
การหาดอกผลจากเงินกองทุนนอกจากที่กําหนดในวรรคสาม ต้องขออนุมัติจากกระทรวงการคลัง
มาตรา ๖ กองทุน ประกอบด้วย
(๑) เงิน ทรัพย์สิน สิทธิ และหนี้สินที่โอนมาจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามมาตรา ๒๖
(๒) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้จากงบประมาณรายจ่ายประจําปี
(๓) ค่าธรรมเนียมการส่งออกและค่าธรรมเนียมการนําเข้าที่เรียกเก็บได้ตามพระราชบัญญัตินี้
(๔) เงินกู้โดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรี
(๕) ดอกผลของเงินกองทุน
(๖) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้
มาตรา ๗ กิจการตามโครงการที่จะใช้จ่ายเงินจากกองทุน ได้แก่กิจการ ดังต่อไปนี้
(๑) การส่งเสริมการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดย
(ก) จัดหาปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ที่มีคุณภาพเพื่อจําหน่ายให้แก่เกษตรกรในราคาที่เป็นธรรม
(ข) ให้เกษตรกรกู้เพื่อการลงทุนในการผลิต เก็บรักษา หรือจําหน่ายผลิตผลเกษตรกรรม
ขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
(ค) ดําเนิน การจัด หาแหล่ งน้ํา หรื อที่ดิ น ให้เกษตรกรเข้ าทํา กิน การจัด หากรรมสิท ธิ์
หรือสิทธิในที่ดินให้แก่เกษตรกร การปฏิรูปที่ดินและการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
(ง) ดํ า เนิ น การอื่ น ใดอั น จะก่ อ ประโยชน์ ใ นการผลิ ต ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น
หรือผลิตภัณฑ์อาหาร รวมทั้งการส่งเสริมการผลิตวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมการเกษตร
(๒) การส่งเสริมการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานคุณภาพของผลิต ผลเกษตรกรรมขั้น ต้น
หรือผลิตภัณฑ์อาหาร
101

หน้า ๔
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

(๓) การรักษาเสถียรภาพของราคาและการจําหน่ายผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์
อาหาร โดย
(ก) ซื้ อ หรื อ รั บ จํ า นํ า ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารในราคา
ที่คณะกรรมการกําหนด
(ข) จําหน่ายภายในหรือนอกราชอาณาจักรซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์
อาหาร
(ค) ดําเนินการอื่นใดอันจําเป็นเพื่อประโยชน์แห่งกิจการตาม (๓)
(๔) การดํา เนิ น การที่จํ าเป็ นและเร่ งด่ ว นเพื่ อป้อ งกั นและขจั ด ภั ย อั นจะเป็ นผลเสีย หายแก่
เกษตรกร
(๕) การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาการผลิ ต การแปรรู ป หรื อ การตลาด ซึ่ ง ผลิ ต ผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการดําเนินการ
(๖) การติดตามผลการดําเนินการตามโครงการที่ได้รับการช่วยเหลือหรือส่งเสริมจากกองทุน
มาตรา ๘ ให้จัดสรรเงินกองทุน จํานวนไม่ต่ํากว่าร้อยละห้าสิบของเงิน กองทุน เป็น เงิน ทุน
หมุนเวียนเพื่อใช้จ่ายในกิจการตามมาตรา ๗
การจั ด สรรเงิ น กองทุ น ให้ คํ า นึ ง ถึ ง เกษตรกรที่ ป ระสบความเดื อ ดร้ อ นเป็ น หลั ก ก่ อ น ทั้ ง นี้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๙ รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศกําหนดชนิดหรือประเภทของ
ผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่ผู้ส่งออกหรือผู้นําเข้าต้องเสียค่าธรรมเนียมการส่งออก
หรือค่าธรรมเนียมการนําเข้า ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) การส่งออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใด
หรือประเภทใด อาจทําให้ราคาผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารชนิดนั้นหรือประเภทนั้น
มีแนวโน้มสูงขึ้น จนกระทบกระเทือนต่อการบริโภคภายในประเทศ หรืออาจก่อให้เกิดความขาดแคลน
ซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารชนิดนั้นหรือประเภทนั้นภายในประเทศ
(๒) ราคาผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใดหรือประเภทใดในต่างประเทศ
สู ง กว่ า ราคาผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารชนิ ด นั้ น หรื อ ประเภทนั้ น ในประเทศ
ทําให้กําไรจากการส่งออกสูงเกินสมควร
(๓) การนําเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใด
หรือประเภทใด อาจทําให้ราคาผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารชนิดนั้นหรือประเภทนั้น
มีแนวโน้มต่ําลงจนกระทบกระเทือนต่อการผลิตภายในประเทศ
102

หน้า ๕
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

การเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือยกเลิกประกาศตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี


มาตรา ๑๐ รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศกําหนดอัต ราค่าธรรมเนีย ม
การส่งออกหรือค่าธรรมเนีย มการนําเข้าซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้น ต้น หรือผลิต ภัณ ฑ์อาหารชนิด หรื อ
ประเภทที่ กํ า หนดตามมาตรา ๙ รวมทั้ งกํ า หนดหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารในการเรี ย กเก็ บ และชํ า ระ
ค่าธรรมเนียมการส่งออกและค่าธรรมเนียมการนําเข้า
การกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงอัตราอากร และค่าธรรมเนียมพิเศษ
ที่เรียกเก็บจากผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิต ภัณฑ์อาหารตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร กฎหมาย
ว่าด้วยการส่งออกไปนอกและการนําเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า และกฎหมายอื่นด้วย
การเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือยกเลิกประกาศตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่การส่งออกไปนอกราชอาณาจักรหรือการนําเข้ามาในราชอาณาจักร
ซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการส่งออกหรือค่าธรรมเนียม
การนําเข้า เกิดขึ้นจากการซื้อขายระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลต่างประเทศ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบ
ของนายกรัฐมนตรีมีอํานาจลดอัตราค่าธรรมเนียมการส่งออกหรือค่าธรรมเนียมการนําเข้าสําหรับผลิตผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารชนิดหรือประเภทดังกล่าวสําหรับปริมาณที่ซื้อขายกันแต่ละคราวได้
มาตรา ๑๒ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๑ ผู้ส่งออกหรือผู้นําเข้าซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้น ต้น
หรือ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหารชนิด หรื อประเภทที่ กํา หนดตามมาตรา ๙ ต้ องเสี ย ค่ าธรรมเนีย มการส่ง ออก
หรือค่าธรรมเนียมการนําเข้าตามอัตรา หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กําหนดในมาตรา ๑๐
มาตรา ๑๓ ค่ า ธรรมเนี ย มการส่ ง ออกและค่ า ธรรมเนี ย มการนํ า เข้ า ที่ เ รี ย กเก็ บ ได้
ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ส่งเข้ากองทุนเพื่อใช้ในกิจการตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๗ โดยไม่ต้องนําส่งคลัง
เป็นรายได้แผ่นดิน
มาตรา ๑๔ ให้มีค ณะกรรมการคณะหนึ่ งเรี ย กว่า “คณะกรรมการสงเคราะห์เ กษตรกร”
ประกอบด้ว ย ปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็ น ประธานกรรมการ ปลัด กระทรวงพาณิ ช ย์
เป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
เลขาธิ การคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ผู้ อํ า นวยการสํ า นั ก งบประมาณ
อธิบ ดีกรมการค้ าต่ างประเทศ อธิบ ดีกรมการค้ าภายใน อธิบ ดีก รมบั ญ ชี กลาง อธิ บดีก รมส่งเสริ ม
การเกษตร อธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม สหกรณ์ ผู้ จั ด การธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร
เป็นกรรมการโดยตําแหน่ง และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งจาก
เกษตรกรจํานวนสิบคน เป็นกรรมการ
103

หน้า ๖
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

หลักเกณฑ์ คุณสมบัติ และวิธีการในการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไป


ตามระเบียบที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กําหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
การออกระเบีย บตามวรรคสองให้คํานึงถึงผู้แ ทนองค์กรเกษตรกรและเกษตรกรโดยกระจาย
ตามภูมิภาค สาขาอาชีพ และการมีส่วนร่วมของชายและหญิง ทั้งนี้ ให้มีผู้แทนเกษตรกรด้านพืช ด้านสัตว์
และด้านการประมง อย่างน้อยด้านละหนึ่งคน
คณะกรรมการจะแต่ ง ตั้ ง กรรมการหรื อ บุ ค คลอื่ น เป็ น เลขานุ ก ารและผู้ ช่ ว ยเลขานุ ก าร
คณะกรรมการก็ได้
มาตรา ๑๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณ วุฒิขึ้นใหม่
ให้กรรมการผู้ท รงคุณ วุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่ง ตามวาระนั้น อยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนิน งานต่อไปจนกว่ า
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวัน
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดํารงตําแหน่ง
ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
มาตรา ๑๖ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่ง
เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้พ้นจากตําแหน่ง เพราะบกพร่องต่อหน้าที่
มีความประพฤติเสื่อมเสีย หย่อนความสามารถ วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
(๔) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๕) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๖) ได้ รั บ โทษจํ า คุ ก โดยคํ า พิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ให้ จํ า คุ ก เว้ น แต่ เ ป็ น โทษสํ า หรั บ ความผิ ด
ที่ได้กระทําโดยประมาท ความผิดฐานหมิ่นประมาท หรือความผิดลหุโทษ
(๗) ขาดคุณ สมบัติต ามระเบีย บที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กําหนดตาม
มาตรา ๑๔ วรรคสอง
มาตรา ๑๗ ในกรณี กรรมการผู้ท รงคุ ณ วุ ฒิพ้ นจากตํ าแหน่ง ก่อ นวาระ ให้ ค ณะกรรมการ
ประกอบด้ว ยกรรมการทั้งหมดที่เหลืออยู่จนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณ วุฒิแ ทนกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวัน เว้นแต่วาระของกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนก็ได้
104

หน้า ๗
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งแทนตําแหน่งที่ว่างอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่
เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว
มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) พิจารณาอนุมัติหรือเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการอนุมัติจัดสรรเงินกองทุนตาม
โครงการที่หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรเสนอ
(๒) ติดตามผลการดําเนินการตามโครงการที่ได้รับการช่วยเหลือหรือส่งเสริมจากกองทุนและ
เร่งรัดการชําระเงินคืนกองทุน
(๓) ออกระเบีย บกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนให้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
(๔) ออกระเบีย บเกี่ย วกับการรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงิน เป็น ค่าใช้จ่า ย
ในการดําเนินงานของกองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชี
ของกองทุนเป็นสูญ โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
(๕) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ หรือตามที่
รัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา ๑๙ การปฏิบั ติต ามอํา นาจหน้ าที่ ในมาตรา ๑๘ ให้ มีก ารประชุม คณะกรรมการ
อย่างน้อยสองเดือนต่อหนึ่งครั้ง
มาตรา ๒๐ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวน
กรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มา
ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
การวิ นิจ ฉัย ชี้ข าดของที่ ประชุ ม ให้ ถือ เสี ย งข้า งมาก กรรมการคนหนึ่ งให้มี เสี ย งหนึ่ ง ในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา ๒๑ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใด
แทนหรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้นํามาตรา ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการมีอํานาจในการอนุมัติจัด สรรเงินกองทุนตามมาตรา ๑๘ (๑)
ในวงเงินไม่เกินหนึ่งร้อยล้านบาท ถ้าวงเงินเกินหนึ่งร้อยล้านบาท ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
105

หน้า ๘
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

มาตรา ๒๓ ให้ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จ่ายเงินจากกองทุนแก่หน่วยงานของรัฐหรือ
องค์กรเกษตรกรซึ่งได้รับอนุมัติจัดสรรเงินกองทุนจากคณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรี
มาตรา ๒๔ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณของทุกปี ให้สํานักงานปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์จัดทํางบการเงินของกองทุนส่งให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบ
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนองบการเงินของกองทุนและผลการตรวจสอบ
ตามวรรคหนึ่งต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อนําเสนอสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
มาตรา ๒๕ ผู้ส่งออกหรือผู้นําเข้ารายใดไม่เสีย ค่าธรรมเนีย มการส่งออกหรือค่าธรรมเนีย ม
การนําเข้าตามมาตรา ๑๒ หรือกระทําด้วยประการใด ๆ เพื่อให้ตนเสียค่าธรรมเนียมการส่งออกหรือ
ค่ า ธรรมเนี ย มการนํ า เข้ า น้ อ ยกว่ า ที่ ต้ อ งเสี ย ต้ อ งระวางโทษจํ า คุ ก ไม่ เ กิ น สามปี หรื อ ปรั บ สิ บ เท่ า
ของค่าธรรมเนียมการส่งออกหรือค่าธรรมเนียมการนําเข้าที่ยังต้องชําระ แต่ต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นบาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผู้ใดกระทําการด้วยประการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ค วามสะดวกแก่ผู้ส่งออกหรือ
ผู้นําเข้า เพื่อให้ผู้ส่งออกหรือผู้นําเข้าไม่ต้องเสีย ค่าธรรมเนีย มการส่งออกหรือค่าธรรมเนีย มการนําเข้า
หรือให้เสีย ค่าธรรมเนีย มการส่งออกหรือค่าธรรมเนีย มการนําเข้าน้อยกว่าที่ต้องเสีย ต้องระวางโทษ
เช่นเดียวกับผู้ส่งออกหรือผู้นําเข้า ตามอัตราที่กําหนดไว้ในวรรคหนึ่ง
เงินค่าปรับตามมาตรานี้ ให้ถือเป็นค่าธรรมเนียมการส่งออกหรือค่าธรรมเนียมการนําเข้าที่เรียก
เก็บได้ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้ส่งเข้ากองทุน
มาตรา ๒๖ ให้โอนบรรดาเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ และหนี้สินของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๑๗ ที่มีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับไปเป็นของกองทุนตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๒๗ ในวาระเริ่มแรกให้ดําเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ท รงคุณ วุฒิให้แล้วเสร็จภายใน
หนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ให้คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๑๗
ปฏิบัติหน้าที่ข องคณะกรรมการตามพระราชบัญ ญัตินี้ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิตามพระราชบัญญัติน้ี
มาตรา ๒๘ บรรดาประกาศ ระเบียบ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่ออกตามพระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๑๗ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้
บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมีประกาศ ระเบียบ คําสั่ง หรือมติ
คณะรัฐมนตรีที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
106

หน้า ๙
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

มาตรา ๒๙ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
พาณิชย์รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกประกาศและระเบียบ เพื่อปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของตน
ประกาศและระเบียบนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี
107

หน้า ๑๐
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๑๖ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายว่าด้วยกองทุนสงเคราะห์


เกษตรกรซึ่งตราขึ้นเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรให้หลุดพ้นจากหนี้สิน มีที่ทํากินเป็นของตนเอง และให้สามารถ
เพิ่มผลผลิตและมีรายได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งช่วยรักษาเสถียรภาพของราคาผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นกับผลิตภัณฑ์
อาหารให้อ ยู่ในราคาที่เหมาะสม อันเป็นผลดีแก่ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโ ภคภายในประเทศ ได้ใช้บังคับมาตั้งแต่
พ.ศ. ๒๕๑๗ มีสาระสําคัญ และรายละเอียดไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปตามภาวะ
ทางเศรษฐกิจ สังคม การค้าระหว่างประเทศ และการเปลี่ยนแปลงแนวนโยบายในการสงเคราะห์เกษตรกร
ที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ประกอบกับกระทรวงการคลังมีนโยบายในการโอนกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกรที่ตั้งอยู่ในกระทรวงการคลังให้สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นผู้รับผิดชอบ ดังนั้น
เพื่อให้การบริห ารจัดการกองทุนสงเคราะห์เ กษตรกรเป็นไปอย่างมีป ระสิท ธิภาพสอดคล้อ งกับสถานการณ์
และแนวนโยบายที่เปลี่ยนไป จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
108

หน้า ๓
เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๒๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๔

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔

โดยที่เ ป็ นการสมควรกํ า หนดหลั ก เกณฑ์ วิ ธี การ และเงื่ อนไขในการจั ด สรรเงิ น กองทุ น


สงเคราะห์เกษตรกร เพื่อให้การพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร จึงออกระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ดังนี้
ข้อ ๑ ระเบีย บนี้เรียกว่า “ระเบีย บคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ในระเบียบนี้
“กองทุน” หมายความว่า กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ข้อ ๔ กิจการตามโครงการที่จะใช้จ่ายเงินจากกองทุน ได้แก่กิจการ ดังนี้
(๑) การส่งเสริมการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร ดังนี้
ก. การจัด หาปัจจัยการผลิต จะต้องเป็นปัจจัย การผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้น ต้น หรือ
ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีความจําเป็นต่อการผลิตและมีคุณภาพ เพื่อจําหน่ายให้แก่เกษตรกรในราคาที่เป็นธรรม
ข. ให้องค์กรเกษตรกรกู้ยืมเพื่อการผลิต การเก็บรักษาหรือจําหน่ายผลิตผลเกษตรกรรม
ขั้น ต้นหรือผลิตภัณ ฑ์อาหาร โดยจะต้องเสนอรายละเอีย ดของโครงการ ประโยชน์ที่จะได้รับ และ
แผนการชําระเงินกู้ยืมคืน
ค. ดําเนิน การจัด หาแหล่งน้ํา หรือที่ดิน ให้เกษตรกรเข้าทํากิน การจัด หากรรมสิท ธิ์
หรือสิทธิในที่ดินให้แก่เกษตรกร การปฏิรูปที่ดิน และจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยจะต้องพิจารณา
ถึงเหตุผลความจําเป็นของการดําเนินการดังกล่าวและประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น รวมถึงประโยชน์สาธารณะ
โดยเทียบกับการใช้จ่ายเงินกองทุน
ง. ดํ า เนิ น การอื่ น ใดอั น จะก่ อ ประโยชน์ ใ นการผลิ ต ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ
ผลิตภัณฑ์อาหาร รวมถึงการส่งเสริมการผลิตวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมการเกษตร โดยจะต้องเสนอ
โครงการเป็นรายกิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับ เมื่อเทียบกับการใช้จ่ายเงินกองทุน
(๒) การส่งเสริมการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานคุณภาพของผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
หรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยจะต้องเสนอแผนการดําเนิน การในการส่งเสริมผลิต ผลเกษตรกรรมขั้นต้น
หรือผลิตภัณฑ์อาหารเป็นรายแผนงาน ประโยชน์ที่จะได้รับหรือประโยชน์สาธารณะโดยเทียบกับการใช้จ่าย
เงินกองทุน
109

หน้า ๔
เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๒๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๔
(๓) โครงการเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาและการจําหน่ายผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือ
ผลิตภัณฑ์อาหาร ดังนี้
ก. ซื้อหรือรับจํ านําผลิต ผลเกษตรกรรมขั้น ต้น หรื อผลิต ภัณ ฑ์อ าหารไม่เกิ น ในราคาที่
คณะกรรมการกําหนด โดยจะต้องเสนอแผนการดําเนินงานและราคาซื้อหรือรับจํานําที่เหมาะสมพร้อม
เหตุผลเพื่อประกอบการพิจารณา
ข. จํ า หน่ า ยซึ่ ง ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารภายในหรื อ นอก
ราชอาณาจัก ร จะต้องเสนอแผนการดํ าเนิ น งานและราคาจําหน่า ยที่เ หมาะสม พร้อ มเหตุผลเพื่ อ
ประกอบการพิจารณา
ค. ดําเนิน การอื่น ใดอัน จํ าเป็น เพื่อ ประโยชน์ ในการรัก ษาเสถีย รภาพของราคา และ
จําหน่ายผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร จะต้องเสนอแผนการดําเนินงานหรือโครงการ
พร้อมเหตุผลเพื่อประกอบการพิจารณา
(๔) โครงการที่จําเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันและขจัดภัยอันจะเป็นผลเสียหายแก่เกษตรกร
โดยโครงการที่เสนอจะต้องแสดงให้เห็นถึงความจําเป็นเร่งด่วนและประโยชน์ในการป้องกันและขจัดภัย
อันจะเป็นผลเสียหายแก่เกษตรกร ทั้งนี้ ต้องไม่ซ้ําซ้อนหรือไม่ขัดกับกฎหมายหรือระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้อง
(๕) การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาการผลิ ต การแปรรู ป หรื อ การตลาด ซึ่ ง ผลิ ต ผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยให้เสนอรายละเอียดการศึกษาดังกล่าวรวมทั้งประโยชน์ที่
จะได้รับหรือประโยชน์สาธารณะ
กรณีที่ไม่มีกองทุนอื่นใดรับผิดชอบในกิจการตาม (๑) ถึง (๕) ให้คณะกรรมการพิจารณาให้
การสนับสนุนได้
องค์กรเกษตรกรสามารถขอยื่นคําขอรับจัดสรรเงินได้โดยตรงเฉพาะกรณีตาม (๑) ก และ ข
และ (๕) โดยจะต้องมีมติที่ประชุมใหญ่ของแต่ละองค์กรให้ความเห็นชอบและในกรณีองค์กรเกษตรกร
ขอรับการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อเป็นสินเชื่อแก่สมาชิกขององค์กรเกษตรกรจะต้องเสนอผ่านหน่วยงานของ
รัฐที่เป็นผู้กํากับดูแล
ข้อ ๕ ภายในระยะเวลา ๓ ปี นับแต่วัน ที่พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔ ใช้บังคับ ให้องค์กรเกษตรกรขอรับการจัดสรรเงิน จากกองทุน ผ่านหน่ว ยงานของรัฐ
ดังต่อไปนี้
(๑) สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม ชุมนุมสหกรณ์ดังกล่ าวและกลุ่ ม
เกษตรกร ให้ยื่นต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์
(๒) วิสาหกิจชุมชนให้ยื่นต่อกรมส่งเสริมการเกษตร
(๓) องค์ ก รเกษตรกรตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยกองทุ น ฟื้ น ฟู แ ละพั ฒ นาเกษตรกรให้ ยื่ น ต่ อ
สํานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร
(๔) องค์กรเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้ว ยสภาเกษตรกรแห่งชาติ ให้ยื่น ต่อสํานักงานสภา
เกษตรกรแห่งชาติ
110

หน้า ๕
เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๒๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๔
ในกรณีองค์กรเกษตรกรขอกู้ยืมเงิน ให้หาหลักทรัพย์หรือคณะกรรมการบริหารองค์กรและ
ผู้จัดการหรือผู้ที่ทําหน้าที่ในลักษณะดังกล่าวมาค้ําประกันการกู้ยืม
ข้อ ๖ ให้ ค ณะกรรมการมี อํ า นาจพิจ ารณาอนุ มั ติ เ งิ น กองทุ น สํ า หรั บ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ
ปฏิบัติงานและค่าบริหารโครงการตามความจําเป็นและเหมาะสม
ข้อ ๗ โครงการส่งเสริมหรือสงเคราะห์การผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นและผลิตภัณ ฑ์
อาหารที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามนโยบายของรัฐบาล หากหน่วยงานของรัฐที่เสนอโครงการมี
กองทุน ที่ให้การส่งเสริมหรือสงเคราะห์โดยเฉพาะอยู่แ ล้ว แต่จําเป็น ต้องใช้เงินทุนหมุน เวีย นเพิ่มเติม
ให้จัดสรรเงินให้หน่วยงานของรัฐนั้นได้
ข้อ ๘ ให้นําประวัติการใช้จ่ายเงินกองทุนของส่วนราชการย้อนหลัง ๓ ปี มาเป็นข้อมูลเพื่อ
ประกอบการพิจารณาจัดสรรเงินกองทุน
ข้อ ๙ การพิจารณาโครงการเพื่อส่งเสริมการผลิต ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร
ได้รับจัดสรรไม่เกินร้อยละแปดสิบของแผนการใช้เงินของโครงการ
ข้อ ๑๐ การพิจารณาจัดสรรเงิน กองทุน เพื่อดําเนิน ธุร กิจขององค์กรเกษตรกรให้พิจารณา
อนุมัติวงเงินได้ไม่เกิน ๕ เท่าของทุนเรือนหุ้นรวมกับทุนสํารองขององค์กรเกษตรกร เว้นแต่กรณีที่มติ
ที่ประชุมใหญ่ขององค์กรเกษตรกรเห็นชอบให้กู้เกินกว่า ๕ เท่าของทุนเรือนหุ้นรวมกับทุนสํารองของ
องค์กรเกษตรกร ในกรณีองค์กรเกษตรกรไม่มีทุนเรือนหุ้น หรือทุน สํารองและวงเงิน ที่ได้รับจัดสรร
ไม่เหมาะสมสําหรับกิจ กรรมหรือ โครงการที่ เสนอขอให้ค ณะกรรมการพิจารณาตามความเหมาะสม
และความจําเป็น ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงวงเงินที่กําหนดในวรรคแรกเพื่อประกอบการพิจารณา
ข้อ ๑๑ การพิจารณาโครงการที่เสนอต้องไม่ซ้ําซ้อนกับโครงการที่สถาบันการเงินหรือกองทุนอื่น
ได้อนุมัติแล้ว
ข้อ ๑๒ โครงการเพื่อสนับสนุนงานวิจัยของส่วนราชการหรือองค์กรเกษตรกร ต้องกําหนดให้
ผลงานหรือสิท ธิในผลงานหรือทรัพ ย์สิน ทางปัญญาที่เกิด ขึ้นจากงานวิจัย เป็น กรรมสิท ธิ์หรือสิทธิข อง
สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔


เฉลิมพร พิรุณสาร
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
111

หน้า ๓
เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๑๒๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๔ มิถุนายน ๒๕๕๘

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๘

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้เหมาะสม เพื่อให้
การพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ แห่งระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘


อภัย สุทธิสังข์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
112

หน้า ๔
เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
(ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๙

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
เพื่อให้การพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๙”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน ก. ของ (๑) ของข้อ ๔ แห่งระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ก. การจั ด หาปั จ จั ย การผลิ ต จะต้ อ งเป็ น ปั จ จั ย การผลิ ต เพื่ อ การผลิ ต ผลิ ต ผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่มีความจําเป็นต่อการผลิตและมีคุณภาพ เพื่อจําหน่ายให้แก่เกษตรกร
ในราคาที่เป็นธรรม”
ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในวรรคสามของข้อ ๔ แห่งระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ความ
ต่อไปนี้แทน
“องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคล สามารถขอยื่นคําขอรับจัดสรรเงินได้โดยตรงเฉพาะกรณีตาม
(๑) ก และ ข และ (๕) ซึ่งดําเนินกิจการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี มีการตรวจสอบบัญชี และงบการเงิน
โดยจะต้องมีม ติที่ประชุมใหญ่ ของแต่ละองค์กรให้ ความเห็นชอบและในกรณีอ งค์กรเกษตรกรขอรั บ
การจัดสรรเงินกองทุนเพื่อเป็นสินเชื่อแก่สมาชิกขององค์กรเกษตรกรจะต้องเสนอผ่านหน่วยงานของรัฐ
ที่เป็นผู้กํากับดูแล”
ข้อ ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสี่ของข้อ ๔ แห่งระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔
“องค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็นนิติบุคคล หรือที่เป็นนิติบุคคลน้อยกว่า ๒ ปี ให้หน่วยงานของรัฐ
ที่กํากับดูแลยื่นคําขอรับจัดสรรเงิน เพื่อนําไปจัดสรรเงินให้แก่องค์กรเกษตรกร”
113

หน้า ๕
เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙
ข้อ ๖ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ความ
ต่อไปนี้แทน
“ข้อ ๕ ในกรณีที่องค์กรเกษตรกรขอกู้ยืมเงินให้มีหลักประกัน ดังนี้
(๑) องค์กรเกษตรกรที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ให้คณะกรรมการบริหารองค์กร และผู้จัดการ
หรือผู้ที่ทําหน้าที่ในลักษณะดังกล่าว ค้ําประกันการกู้ยืมในฐานะส่วนตัว ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง
คณะกรรมการบริหารองค์กร ต้องจัดให้คณะกรรมการชุดใหม่ค้ําประกันเพิ่มเติม และอาจให้มีหลักทรัพย์
ค้ําประกันการกู้ยืมตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ
(๒) องค์ ก รเกษตรกรที่ ไ ม่ มี ฐ านะเป็ น นิ ติ บุ ค คล ให้ ค้ํ า ประกั น ด้ ว ยสมาชิ ก ทุ ก คนในกลุ่ ม
และอาจให้มีหลักทรัพย์ค้ําประกันการกู้ยืมตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ”

ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙


โอภาส กลั่นบุศย์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
114

หนา้ ๑๔
เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (ฉบับที่ 4)
พ.ศ. 2562

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 เพื่อให้การพิจารณา
จัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18 (3) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. 2554 คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสี่ของข้อ 4 ของระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“องค์กรเกษตรกรที่ไม่เป็นนิติบุคคล หรือที่เป็นนิติบุคคลน้อยกว่า ๒ ปี ให้หน่วยงานของรัฐ
ที่กากับดูแลยื่นคาขอรับจัดสรรเงิน เพื่อนาไปจัดสรรเงินให้แก่องค์กรเกษตรกร หรือกรณีจะขอยื่น
คาขอรับจัดสรรเงินโดยตรง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกาหนด”

ประกาศ ณ วันที่ 1๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕62


อภัย สุทธิสงั ข์
หัวหน้าผูต้ รวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
115

หน้า ๗
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๙ เมษายน ๒๕๕๖

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยการรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของกองทุน
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ
พ.ศ. ๒๕๕๖

โดยที่เป็นการสมควรกําหนดระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน
การบัญชี การพัสดุ และการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๔) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรโดยความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง จึงออกระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วยการรับจ่ายเงิน
การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของกองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน
และการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. ๒๕๕๖”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ในระเบียบนี้
“โครงการที่ได้รับอนุมัติ” หมายความว่า โครงการส่งเสริมการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร โครงการส่ ง เสริม การตรวจสอบและรั บ รองมาตรฐานคุ ณ ภาพของผลิ ต ผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โครงการรักษาเสถียรภาพของราคาและการจําหน่ายผลิตผล
เกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โครงการดําเนินการที่จําเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันและขจัดภัย
อั น จะเป็ น ผลเสี ย หายแก่ เ กษตรกร โครงการศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาการผลิ ต การแปรรู ป
หรื อ การตลาด ซึ่ ง ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร โดยให้ เ กษตรกรมี ส่ ว นร่ ว ม
ในการดําเนินการ โครงการติดตามผลการดําเนินการตามโครงการที่ได้รับการช่ว ยเหลือหรือส่งเสริม
จากกองทุน ที่ค ณะกรรมการหรือ คณะรัฐ มนตรีไ ด้อ นุมัติ ให้ จัด สรรเงิ นจากกองทุ น เพื่อ ดําเนิน การ
ทั้งนี้ ไม่ว่าจะจัดสรรสําหรับเป็นเงินหมุนเวียนหรือเงินจ่ายขาด
“สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข้อ ๔ ให้ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รักษาการตามระเบียบนี้
หมวด ๑
การรับเงินและทรัพย์สิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของกองทุน

ข้อ ๕ กองทุน ประกอบด้วย


(๑) เงิน ทรัพย์สิน สิทธิ และหนี้สินที่โอนมาจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรตามมาตรา ๒๖
แห่งพระราชบัญญัตินี้
116

หน้า ๘
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๙ เมษายน ๒๕๕๖
(๒) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้จากงบประมาณรายจ่ายประจําปี
(๓) ค่าธรรมเนียมการส่งออกและค่าธรรมเนียมการนําเข้าที่เรียกเก็บได้ตามพระราชบัญญัตินี้
(๔) เงินกู้โดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรี
(๕) ดอกผลของเงินกองทุน
(๖) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้
ข้อ ๖ ให้สํานักงานเก็บรักษาเงินและทรัพย์สินของกองทุนและดําเนินการเบิกจ่ายเงินกองทุน
ตามพระราชบัญญัตินี้
ข้อ ๗ ให้สาํ นักงานเปิดบัญชีเงินฝากของกองทุนไว้ที่กระทรวงการคลัง ชื่อบัญชี “กองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร” สําหรับการรับจ่ายเงินกองทุน
เพื่อความคล่องตัวในการบริหารงานกองทุน ให้สํานักงานเปิดบัญชีเงินฝากไว้กับธนาคารที่เป็น
รัฐวิสาหกิจหรือธนาคารเฉพาะกิจของรัฐชื่อบัญชีเดียวกันกับวรรคหนึ่ง ภายในวงเงิน เงื่อนไขและวิธีการ
ที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
ข้อ ๘ ให้สํานักงานมีอํานาจนําเงินกองทุนไปหาดอกผลโดยการฝากออมทรัพย์หรือฝากประจํา
กับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ หรือการซื้อหลักทรัพ ย์ข องรัฐบาลได้ โดยพิจารณาจากกระแสเงินสด
หรือสภาพคล่องของกองทุน ภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๙ ในแต่ละปีงบประมาณให้สาํ นักงานจัดทําประมาณการรายรับ - รายจ่ายประจําปีของกองทุน
เสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาให้ความเห็น ชอบ ก่อนนําเสนอขออนุมัติจากกระทรวงการคลัง
ภายในระยะเวลาที่กําหนด
ในกรณีที่มีความจําเป็นเร่งด่วนและประมาณการรายรับ - รายจ่าย ยังไม่ได้รับความเห็นชอบ
จากกระทรวงการคลังให้ใช้ประมาณการรายรับ - รายจ่ายประจําปีที่ได้รับความเห็นชอบในปีที่ล่วงมาแล้ว
ไปพลางก่อนโดยอนุมัติของคณะกรรมการ
ข้อ ๑๐ การขอรับจัดสรรเงินกองทุน
(๑) หน่ว ยงานของรัฐและองค์กรเกษตรกรสามารถขอรับจัดสรรเงินกองทุน เพื่อดําเนิน การ
โครงการได้ โดยเสนอแผนการดําเนินงานโครงการต่อสํานักงานหรือสํานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด
(๒) องค์กรเกษตรกรสามารถขอรับจัดสรรเงินกองทุนเพื่อเป็นสินเชื่อแก่สมาชิกได้ โดยเสนอ
แผนการดําเนินงานโครงการต่อหน่วยงานของรัฐที่กํากับดูแล
ข้อ ๑๑ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนเปิดบัญชีเงินฝาก
กับธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจเป็นรายโครงการ ชื่อบัญชี “เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการ....”
และแจ้งเลขที่บัญชีเงินฝากให้สํานักงานทราบเพื่อโอนเงินเข้าบัญชี
ข้อ ๑๒ กําหนดระยะเวลาการส่งเงินคืนกองทุนและอัตราดอกเบี้ย ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ
กําหนด
ข้อ ๑๓ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงิน กองทุน ขอเบิกเงินโดย
ทําเป็นหนังสือยื่นต่อสํานักงาน โดยมีเอกสารประกอบ ดังนี้
117

หน้า ๙
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๙ เมษายน ๒๕๕๖
(๑) มติคณะรัฐมนตรี (ถ้ามี)
(๒) มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
(๓) แผนการดํ า เนิ น งานโครงการ ประกอบด้ ว ย แผนปฏิ บั ติ ง าน แผนการใช้ จ่ า ยเงิ น
แผนการส่งเงินคืนกองทุน ซึ่งคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรมีมติเห็นชอบ
(๔) ชื่อบัญชีและเลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร ตามข้อ ๑๑
(๕) บันทึกคํารับรองผู้เบิก
(๖) อื่น ๆ ตามที่สํานักงานกําหนดหรือขอเพิ่มเติม
ข้อ ๑๔ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนปฏิบัติ ดังนี้
(๑) การใช้จ่ายเงิน กองทุน ต้องเป็น ไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่ได้รับอนุมัติ และใช้
จ่ายเงินตามรายการหรือกิจกรรมที่ขอเบิกเท่านั้น จะนําไปใช้จ่ายเพื่อการอื่นมิได้
(๒) การจ่ายเงินกองทุน ให้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามที่กําหนดในแผนการดําเนินงานโครงการ
กรณีเงินหมุนเวียน ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามที่กําหนด
ในแผนการดําเนินงานโครงการ อย่างช้าไม่เกินสิบห้าวันนับจากวันที่เงินโอนเข้าบัญชี และให้นําส่งเงินคืน
สํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันครบกําหนดให้ใช้เงิน โดยระบุชื่อโครงการ ประเภทของเงินที่นําส่ง
และปีที่เบิกเงินไปจากกองทุน
กรณีเ งิน จ่ ายขาด ให้ห น่ว ยงานของรั ฐหรื อองค์ กรเกษตรกรสามารถจ่ ายเป็ น ค่า ใช้จ่ ายใน
การติดตามงานตามความจําเป็น และให้นําส่งเงินคืนสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นสุดโครงการ
(๓) หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรใดไม่นําส่งเงินคืนกองทุนภายในกําหนด ให้สํานักงาน
เสนอรายงานต่อคณะกรรมการ เพื่อพิจารณามีมติไม่อนุมัติโ ครงการอื่นใดของหน่ว ยงานของรัฐหรือ
องค์กรเกษตรกรนั้นอีก
กรณีโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้แล้วและยังไม่สิ้นสุดระยะเวลาดําเนินการ และมีเงินที่สํานักงาน
จะต้องเบิกจ่า ยให้แ ก่หน่ว ยงานของรัฐหรือ องค์กรเกษตรกรตามแผนการดําเนิน งานโครงการอยู่อี ก
ให้สํานักงานหักกลบลบกับจํานวนเงิน ที่หน่ว ยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรจะต้องส่งคืนออกจาก
จํานวนเงินที่จะเบิกจ่าย แล้วจึงโอนเงินส่วนที่เหลือให้แก่หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรนั้น
ข้อ ๑๕ ให้หน่วยงานของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตามโครงการที่ได้รับอนุมัติและประสงค์
จะนําไปให้เกษตรกรกู้ยืม ถือปฏิบัติดังนี้
(๑) จัดทํารายละเอียดจํานวนเงิน ที่จะจัด สรรให้เกษตรกรกู้ยืม รวมทั้งมาตรการกํากับดูแ ล
การใช้เงินกองทุนที่ได้รับจัดสรร โดยคํานึงถึงวัตถุประสงค์ ระยะเวลาที่จําเป็นต้องใช้เงิน ความสามารถ
ในการส่งเงินคืนกองทุน และแผนการชําระเงินคืนกองทุนของเกษตรกร เพื่อนําเสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
พิจารณาอนุมัติ
(๒) กรณีที่จะจัดสรรเงินกองทุนให้เกษตรกรที่มีหนี้ค้างชําระกองทุน หน่วยงานของรัฐจะจัดสรรเงิน
ให้ได้ต่อเมื่อเกษตรกรรายนั้น ชําระหนี้คืนกองทุน เสร็จสิ้นแล้ว เว้น แต่หัวหน้าหน่ว ยงานของรัฐเห็นว่า
มิใช่ความผิดของเกษตรกรที่ไม่สามารถชําระหนี้คืนได้
118

หน้า ๑๐
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๙ เมษายน ๒๕๕๖
(๓) ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐทําสัญญาการจัดสรรเงินกองทุนกับเกษตรกร ตามวัตถุประสงค์
และเงื่ อ นไขของโครงการที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ รวมทั้ ง สอดคล้ อ งกั บ สั ญ ญาการใช้ เ งิ น ระหว่ า งกองทุ น
กับหน่วยงานของรัฐ ตลอดจนระเบียบและหลักเกณฑ์อื่น ๆ ที่คณะกรรมการกําหนด
(๔) รายงานผลการจัดสรรเงินกองทุน ให้เกษตรกรกู้ยืมตามแบบที่สํานักงานกําหนดภายใน
สิบวันทําการนับแต่วันที่ได้จัดสรร
หากหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรใดไม่ปฏิบัติตามบันทึกคํารับรองผู้เบิก ให้สํานักงาน
ระงับการจ่ายเงินและรายงานคณะกรรมการเพื่อทราบ
ข้อ ๑๖ ให้หน่ ว ยงานของรัฐ หรือ องค์ กรเกษตรกรที่ ได้รั บจัด สรรเงิน กองทุน ตามโครงการ
ที่ได้รับอนุมัติติดตามและควบคุมการใช้จ่ายเงิน ให้เป็น ไปตามวัต ถุประสงค์ของโครงการ และหากมี
ดอกผลเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการให้นําส่งดอกผลเข้ากองทุนด้วย
ข้อ ๑๗ ให้หน่วยงานของรัฐและองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัด สรรเงิน กองทุน จัดทํารายงาน
การรับ - จ่ายเงิน และรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามรายโครงการที่ได้รับอนุมัติ ให้สํานักงานทราบ
เป็นรายไตรมาส
ข้อ ๑๘ ให้หน่วยงานของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนเพื่อดําเนินการโครงการ จัดทํางบการเงิน
ของโครงการที่ได้รับอนุมัติ ส่งให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบภายในหกสิบวัน นับแต่วัน
สิ้นปีงบประมาณ จนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ
ให้ อ งค์ ก รเกษตรกรที่ ได้ รั บจั ด สรรเงิน กองทุ น เพื่ อดํ า เนิ น การโครงการ จั ด ทํ า งบการเงิ น
ของโครงการที่ได้รั บอนุมัติ พร้อมทั้ง รวบรวมใบสําคัญ จ่า ยและเอกสารอื่น อัน เป็น หลักฐานแห่งหนี้
ส่งให้สํานักงานภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ จนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ และให้สํานักงาน
นําส่ง งบการเงิ น นั้น ให้สํา นักงานการตรวจเงิ น แผ่น ดิน ตรวจสอบภายในสามสิบวัน นับแต่วัน ที่ ได้รั บ
งบการเงิน
ให้องค์กรเกษตรกรที่ไ ด้รับจั ดสรรเงิน กองทุน เพื่อเป็น สิน เชื่อแก่สมาชิก จัด ทํา งบการเงิ น
ของโครงการที่ได้รั บอนุมัติ พร้อมทั้ง รวบรวมใบสําคัญ จ่า ยและเอกสารอื่น อัน เป็น หลักฐานแห่งหนี้
ส่งให้หน่วยงานของรัฐที่กํากับดูแลภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ จนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ
และให้หน่ว ยงานของรัฐที่กํากับดูแลนําส่งงบการเงิน นั้น ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบ
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับงบการเงิน
ข้อ ๑๙ ให้สํานักงานระงับการเบิกจ่ายเงินส่วนที่เหลือ กรณีหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร
มิได้นําเงินกองทุนไปดําเนินการตามวัตถุประสงค์และแผนการดําเนินงานโครงการ และเสนอข้อเท็จจริง
พร้อมหลักฐานต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาระงับโครงการได้ต ามที่เห็น สมควร สําหรับโครงการ
ที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนจากคณะรัฐมนตรีให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
ให้สํ านัก งานแจ้ง เป็น หนัง สือลงทะเบีย นตอบรั บให้ หน่ว ยงานของรัฐ หรือ องค์ กรเกษตรกร
ที่ถูกระงับโครงการ นําเงินส่งคืนกองทุนภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งหนังสือดังกล่าว
119

หน้า ๑๑
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๙ เมษายน ๒๕๕๖
ข้อ ๒๐ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร ติดตามรวบรวมเงินที่ได้รับจัดสรร รวมทั้ง
ดอกผลที่เกิดขึ้น (ถ้ามี) นําส่งเงินคืนกองทุนตามกําหนดเวลาในบันทึกคํารับรองผู้เบิก
กรณีไม่สามารถดําเนินการได้ ให้รายงานคณะกรรมการเพื่อพิจารณาภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่
วันสิ้นสุดโครงการ
ข้อ ๒๑ ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรนําดอกผลที่เกิดขึ้นจากการนําเงินฝากธนาคาร
ตามข้อ ๑๑ ส่งเข้ากองทุนอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง หรือเมื่อสิ้นสุดโครงการที่ได้รับอนุมัติ แล้วแต่กรณี
ข้อ ๒๒ ให้หน่วยงานของรัฐที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้ได้รับเงินชดเชยค่าใช้จ่ายหรือผลขาดทุน
จากการดําเนินงานในโครงการที่ได้รับอนุมัติ นําส่งเงินชดเชยที่ได้รับคืนกองทุนภายในสี่สิบห้าวันนับแต่
วันที่ได้รับจัดสรร และให้สํานักงานรายงานคณะกรรมการเพื่อทราบ
ข้อ ๒๓ ให้สํานั กงานคิด เบี้ ย ปรับ กับหน่ว ยงานของรั ฐหรือ องค์กรเกษตรกรที่ ได้รับ จัดสรร
เงินกองทุนแล้วไม่สามารถส่งเงินคืนกองทุนได้ตามกําหนดเวลาในอัตราร้อยละสามต่อปี นับแต่วันผิดนัด
ชําระหนี้จนกว่าจะชําระเสร็จสิ้น
กรณีหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรไม่สามารถส่งเงินคืนกองทุนได้ภายในกําหนดเวลา
ตามแผนการส่งเงินคืนกองทุน หรือตามข้อตกลง อาจขอลดหรืองดการคิดเบี้ย ปรับต่อคณะกรรมการ
ในเหตุต่อไปนี้
(๑) ภัยธรรมชาติ
(๒) โครงการที่ได้รับอนุมัติ เป็นการดําเนินการตามโครงการของรัฐบาล
(๓) ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณชดเชย
(๔) เหตุอื่น ๆ ที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นชอบ
หมวด ๒
การบัญชี

ข้อ ๒๔ ให้ สํ า นั ก งานจั ด ทํ า บั ญ ชี ก องทุ น ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานการจั ด ทํ า บั ญ ชี สํ า หรั บ


หน่วยงานภาครัฐที่กระทรวงการคลังกําหนด
การปิดบัญชีให้กระทําปีละครั้งโดยถือปีงบประมาณเป็นรอบปีบัญชี และให้จัดทํางบการเงิน
ของกองทุนส่งให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นงวดบัญชี
ให้รายงานงบการเงิน ของกองทุนและผลการตรวจสอบตามวรรคสองต่อคณะกรรมการและ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อนําเสนอสภาผู้แทนราษฎรและ
วุฒิสภาเพื่อทราบ
ข้อ ๒๕ เพื่อประโยชน์ในการจัดทํางบการเงินในภาพรวมของหน่วยงานภาครัฐ ให้สํานักงาน
จัดส่งข้อมูลทางบัญชีของกองทุนเข้าสู่ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
(Government Fiscal Management Information System หรือ GFMIS) ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลาง
กําหนด
120

หน้า ๑๒
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๔๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๙ เมษายน ๒๕๕๖
ข้อ ๒๖ ให้มีการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการดําเนินงาน การเงิน การบัญชี และการพัสดุ
ของกองทุนแล้วรายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการทราบอย่างน้อยปีละสองครั้ง
หมวด ๓
การตัดหนี้เป็นสูญ

ข้อ ๒๗ การตัดหนี้เป็นสูญของลูกหนี้เงินกองทุนให้สํานักงานนําเสนอคณะกรรมการพิจารณา
ให้ความเห็นชอบก่อนดําเนินการตามกฎระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๒๘ วิธีปฏิบัติอื่นใดที่มิได้กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
โดยอนุโลม
ข้อ ๒๙ ในกรณีที่มีความจํ าเป็ นต้องปฏิบัติ นอกเหนือไปจากที่กําหนดไว้ในระเบี ยบนี้ ให้เป็นไป
ตามที่คณะกรรมการกําหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

ประกาศ ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖


โอฬาร พิทักษ์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
121

หน้า ๖
เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๖๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙

ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ว่าด้วยการรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของกองทุน
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนและการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีกองทุนเป็นสูญ
(ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงิน
การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของกองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน
และการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. ๒๕๕๖ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น เพื่อให้การใช้จ่ายเงิน
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘ (๔) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรโดยความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง จึงออกระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงิน
การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของกองทุนการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน
และการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีกองทุนเป็นสูญ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่ อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ ๑๒ แห่ งระเบี ยบคณะกรรมการสงเคราะห์
เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของกองทุน
การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนและการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. ๒๕๕๖
“อัตราดอกเบี้ยตามวรรคหนึ่ง ให้คิดในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓ ต่อปี”
ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๖ แห่งระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
การรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของกองทุน การจัดหา
ผลประโยชน์ของกองทุนและการจําหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีกองทุนเป็นสูญ พ.ศ. ๒๕๕๖ และให้ใช้ความ
ต่อไปนี้แทน
“ให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกรที่ได้รับจัดสรรเงินกองทุนตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ
ติดตามและควบคุมการใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ หากมีดอกผลเกิดขึ้นให้ดําเนินการ
ตามที่คณะกรรมการกําหนด”

ประกาศ ณ วันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙


โอภาส กลั่นบุศย์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประธานกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
122

หน้า ๓๔
เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๑๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง การกําหนดผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
ออกตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔


รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกาศกําหนดให้สิ่งต่อไปนี้เป็นผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
ข้อ ๑ พืช ได้แก่
(๑) มันสําปะหลัง
(๒) กระเทียม หอมแดง หอมหัวใหญ่ และมันฝรั่ง
(๓) มะพร้าวแห้ง และปาล์มน้ํามัน
(๔) ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และถั่วฮามาต้า
(๕) ข้าวโพด และข้าวฟ่าง
(๖) พืชผัก และผลไม้
(๗) ชา และกาแฟ
(๘) มะพร้าว และไม้ยูคาลิปตัส
(๙) ไม้ดอกไม้ประดับ และพรรณไม้น้ํา
(๑๐) ฝ้าย
(๑๑) พริกไทย
(๑๒) ข้าวเปลือก
ข้อ ๒ สัตว์และผลผลิตจากสัตว์ ได้แก่ โค กระบือ แพะ สุกร ไก่ เป็ด และผึ้ง
ข้อ ๓ สัตว์น้ําจากการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง สัตว์น้ําชายฝั่ง กุ้งทะเล ปลาทะเล ปลาน้ําจืด
กุ้งน้ําจืด และสาหร่ายเพื่อการบริโภค
ข้อ ๔ หม่อน ไหม
ข้อ ๕ เกลือทะเล
ทั้งนี้ ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


ปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
123

หนา้ ๗
เลม่ ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๗๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๒

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง การกาหนดผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
ออกตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2562

อาศั ย อ านาจตามความในบทนิ ย ามค าว่ า “ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น ” ในมาตรา 4


แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จึงออกประกาศกาหนดให้สิ่งต่อไปนี้เป็นผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
๑. แกะ
๒. โกโก้
ทั้งนี้ ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖2


ลักษณ์ วจนานวัช
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปฏิบตั ิราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
124

หนา้ ๓
เลม่ ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๑๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง การกาหนดผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
ออกตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2563

อาศั ย อ านาจตามความในบทนิ ย ามค าว่ า “ผลิ ต ผลเกษตรกรรมขั้ น ต้ น ” ในมาตรา 4


แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จึงออกประกาศกาหนดให้สิ่งต่อไปนี้เป็นผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้น
1. แมลงเศรษฐกิจ
2. สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
3. สัตว์เลื้อยคลาน
4. นก
5. ไส้เดือน
6. หอย
7. ปู
8. หนู
ทั้งนี้ ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖3


เฉลิมชัย ศรีอ่อน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
125

หน้า ๓๕
เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๑๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงพาณิชย์
เรื่อง การกําหนดผลิตภัณฑ์อาหาร
ออกตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔

อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา ๔ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น สงเคราะห์ เ กษตรกร


พ.ศ. ๒๕๕๔ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แ ละรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงพาณิ ช ย์
จึงออกประกาศกําหนดผลิตภัณฑ์อาหารไว้ ดังนี้
ผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่ ผลิตผลเกษตรกรรมที่ใช้เป็นอาหารหรือ ส่วนประกอบของอาหาร
สําหรับคนหรือสัตว์ ที่เกิดจากธัญพืช ข้าว พืชไร่ พืชหัว พืชน้ํามัน ถั่วต่าง ๆ ผัก ผลไม้ ปศุสัตว์
และสัตว์น้ํา ไม่ว่าจะแปรรูปแล้วหรือไม่
ทั้งนี้ ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ปีตพิ งศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ


รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
126

หนา ๖๔
เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๖๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๓

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ
เรื่อง การชวยเหลือผูประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ประสบความเดือดรอน
พ.ศ. ๒๕๕๓

ตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๑๗ ไดบัญญัติใหการสงเคราะห


เกษตรกรตองคํานึงถึงผูประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ประสบความเดือดรอนเปนหลักกอน โดยให
กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๐ แหงพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
พ.ศ. ๒๕๑๗ รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ เรื่อง การชวยเหลือ
ผูประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ประสบความเดือดรอน พ.ศ. ๒๕๕๓”
ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ในประกาศนี้
“การสงเคราะห” หมายความวา การใหความชวยเหลือ หรือการอุดหนุนแกองคกรเกษตรกร
สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร ที่ไดยื่นเรื่องขอความชวยเหลือผานสวนราชการ
“ปจจัยการผลิต” หมายความวา พัน ธุพืช พัน ธุสัตว ปุยเคมี ปุย หมัก ปุย อิน ทรียเ คมี
ยาปราบศัตรูพืช เครื่องจักรกลทางการเกษตร เครื่องมือและอุปกรณที่ใ ชเพื่อชวยเหลือเกษตรกร
ในดานการผลิต รวมทั้งที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์
“เงินลงทุน” หมายความวา เงิน ที่ใหองคกรเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือเกษตรกรกู
โดยผานสวนราชการ
ขอ ๔ กิจการใดที่จะไดรับการสงเคราะหตองเปนไปตามมาตรา ๑๘ (๑) แหงพระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะหเกษตรกร พ.ศ. ๒๕๑๗
ขอ ๕ กิจ การใดที่ไ ด รับ การสงเคราะห ต ามข อ ๔ ให พิ จารณาจากผู ป ระกอบอาชี พ
เกษตรกรรมที่ประสบความเดือดรอนเกี่ยวกับปจจัยการผลิตและเงินลงทุนเปนหลักกอน
ขอ ๖ ใหรัฐ มนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณมีอํานาจตีความ วินิจฉัยปญหา
เพื่อปฏิบัติการตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓


ธีระ วงศสมุทร
รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
127

มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ครั้งที่ 4/2557
วันที่ 16 กันยายน 2557
เรื่อง
แนวทางการจัดสรรเงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ในกิจการตามโครงการที่จะใช้จ่ายเงินกองทุนมาตรา 7
ตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554

1. การส่งเสริมการผลิตผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
(ก) จัดหาปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ที่มีคุณภาพเพื่อจาหน่ายให้แก่เกษตรกรในราคาที่เป็นธรรม
แนวทางการจัดสรรเงิน
1. ต้องเป็นการจัดหาปัจจัยการผลิตเรื่องผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นและผลิตภัณฑ์อาหารตามที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ประกาศกาหนด ตามพระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554
2. “ปัจจั ยการผลิ ต” หมายความว่ า พันธุ์พื ช พันธุ์สั ตว์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอิ นทรีย์ เคมี
ยาปราบศัตรูพืช เครื่องจักรกลทางการเกษตร เครื่องอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในด้านการผลิต รวมทั้งที่ดินที่
มีเอกสารสิทธ์ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องการช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ประสบ
ความเดือดร้อน พ.ศ.2553
3. ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ
จัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554
(ข) ให้เกษตรกรกู้ยืมเพื่อการลงทุนในการผลิต เก็บรักษา หรือจาหน่ายผลิตผลเกษตรกรรม
ขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
แนวทางการจัดสรรเงิน
1. ต้ องเป็ นไปตามผลิ ตผลเกษตรกรรมขั้ นต้ นหรื อผลิ ตภั ณฑ์ อาหารตามที่ รั ฐมนตรี ว่ าการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ประกาศกาหนด ตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร พ.ศ. 2554
2. ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ
จัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554
2.1 องค์กรเกษตรกรสามารถขอยื่นคาขอรับจัดสรรได้โดยตรง
2.2 กรณี องค์ กรเกษตรกรขอรั บจั ดสรรกองทุ นเพื่ อเป็ นสิ นเชื่ อแก่ สมาชิกขององค์ กร
เกษตรกรจะต้องเสนอผ่านหน่วยงานของรัฐที่เป็นผู้กากับดูแล
128

-2-

(ค) ดาเนินการจัดหาแหล่งน้าหรือที่ดินให้เกษตรกรเข้าทากิน การจัดหากรรมสิทธิ์หรือสิทธิใน


ที่ดินให้แก่เกษตรกร การปฏิรูปที่ดินและการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
แนวทางการจัดสรรเงิน
1. ตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. ต้องเป็นผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นและผลิตภัณฑ์อาหารตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ประกาศกาหนด ตามพระราชบัญญัติ กองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร พ.ศ. 2554
3. ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ
จัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 กรณีที่ไม่มีกองทุนอื่นใดรับผิดชอบ ให้คณะกรรมการพิจารณาให้
การสนับสนุนได้
2. การส่งเสริมการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน คุณภาพของผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือ
ผลิตภัณฑ์อาหาร
แนวทางการจัดสรรเงิน
1. ต้องเป็นผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นและผลิตภัณฑ์อาหารตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ประกาศกาหนด ตามพระราชบัญญัติ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
พ.ศ. 2554
2. มาตรฐานสินค้า (มกษ.) หรือเข้าสู่มาตรฐาน ASEAN โดยต้องเป็นผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นและ
ผลิตภัณฑ์อาหาร
3. เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตหรือการสร้างมูลค่าเพิ่ม
3. การรั กษาเสถียรภาพของราคาและการจาหน่ายผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรื อผลิตภัณฑ์
อาหาร
(ก) ซื้อหรือรับจานาในราคาที่คณะกรรมการกาหนด
(ข) จาหน่ายภายในหรือนอกราชอาณาจักรซึ่งผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร
(ค) ดาเนินการอื่นใดอันจาเป็นเพื่อประโยชน์แห่งกิจการตาม (3)
แนวทางการจัดสรรเงิน
1. ตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. ต้องเป็นผลิตผลเกษตรกรรมขั้นต้นและผลิตภัณฑ์อาหารตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ประกาศกาหนดตาม พ.ร.บ.กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554
3. ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจัดสรร
เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 กรณีที่ไม่มีกองทุนอื่นใดรับผิดชอบ ให้คณะกรรมการพิจารณาให้การสนับสนุนได้
4. การดาเนินการที่จาเป็นและเร่งด่วนเพื่อป้องกันและขจัดภัยจะเป็นผลเสียหายแก่เกษตรกร
แนวทางการจัดสรรเงิน
1. ตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. เป็ นการเพื่ อป้ องกั น และขจั ดภั ยจะเป็ นผลเสี ยหายแก่ เกษตรกรในเรื่ องเกี่ ยวกั บผลิ ตผล
เกษตรกรรมขั้นต้นตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศกาหนดตาม พ.ร.บ.กองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร พ.ศ. 2554
129

3. ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ


จัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 กรณีที่ไม่มีกองทุนอื่นใดรับผิดชอบ ให้คณะกรรมการพิจารณาให้
การสนับสนุนได้
5. การศึกษาวิจัย เพื่อการพัฒนาการผลิต การแปรรู ป หรื อการตลาดซึ่ง ผลิตผลเกษตรกรรม
ขั้นต้นหรือผลิตภัณฑ์อาหาร โดยให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการดาเนินการวิจัย
แนวทางการจัดสรรเงิน
1. กรอบแนวทางการวิจัย
1.1 งานวิจั ยเพื่อแก้ไขปั ญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร ในด้านการ
พัฒนาการผลิต การแปรรูป หรือการตลาด
1.2 งานวิจัยตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
1.3 งานวิจัยเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตหรือการสร้างมูลค่าเพิ่ม
1.4 งานวิจัยเพื่อขยายผลโครงการจากระดับต้นแบบสู่ระดับที่พร้อมใช้งาน โดยพัฒนาเพื่อยืนยัน
เทคโนโลยี/ การทดสอบตลาด/ ควบคุมคุณภาพ รวมทั้งขยายการผลิตเพื่อให้เกิดการยอมรับและสามารถผลักดันสู่การใช้
ประโยชน์ต่อไป
2. ข้อเสนอเพื่อการวิจัย
2.1. เงื่อนไขการเสนอข้อเสนอการวิจัย
1) มีประเด็นวิจัยตามกรอบการวิจัยตามที่ คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรกาหนด
2) ข้ อ เสนอโครงการวิ จั ยที่ เสนอขอรั บ การสนั บสนุ นทุ น วิ จั ย ต้ องมี วั ตถุ ป ระสงค์ เพื่ อ
พัฒนาการผลิต การแปรรูป หรือการตลาด และให้เกษตรกรเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการ
3) คณะผู้วิจัยมีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการทางานวิจัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
4) ข้อเสนอโครงการวิจัยที่เสนอขอรับการสนับสนุนทุนวิจัย ต้องมีเป้าหมายของผลผลิต และ
ผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง รวมทั้งการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกร
5) ข้อเสนอโครงการวิจัยหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อเสนอการวิจัยนี้ ต้องไม่อยู่ในข้อเสนอ
การวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนวิจัยอื่น
กรณีมีการต่อยอดจากงานวิจัยเดิม ต้องแสดงขอบเขตการดาเนินงานระหว่างงานเดิม และงานใหม่
และต้องมีหนังสือยินยอมจากหน่วยงานเจ้าของผลงานเดิมให้นักวิจัยนาทรัพย์สินทางปัญญาจากการวิจัยมาดาเนินการ
วิจั ยต่อยอด หากตรวจพบว่า ข้อเสนอการวิจั ยดังกล่ าวได้รับทุนซ้าซ้อนหรือมีการดาเนินการวิจัยมาแล้ ว กองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร ขอสงวนสิทธิในการยกเลิกการสนับสนุนทุนวิจัยและเรียกเงินกองทุนคืน
6) กรณีโครงการวิจัย เป็นการดาเนินงานในลักษณะการวิจัยร่วม (Co-funding)ซึ่งได้รับการ
สนับสนุนงบประมาณ ครุภัณฑ์ หรือสิ่งก่อสร้าง จากหน่วยงานอื่น ให้แสดงรายละเอียดการสนับสนุนดังกล่าวโดยระบุ
งบประมาณในแต่ละรายการในข้อเสนอการวิจัย พร้อมทั้งแสดงหนังสือรับรองจากหน่วยงานนั้นๆ
7) หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการองค์กรเกษตรกร ต้องลงนามรับรองในข้อเสนอการวิจัย
ให้ครบถ้วน
2.2. คุณสมบัติของผู้ขอรับจัดสรรเงินกองทุน เพื่อการศึกษาวิจัยผู้มีสิทธิขอรับจัดสรรเงินกองทุน
เพื่อการศึกษาวิจัย จะต้องเป็นหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรเกษตรกร ตาม พ.ร.บ. กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ.
2554 โดยมีลักษณะดังนี้
1) มีศักยภาพในการดาเนินการวิจัย
2) มีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดีในวิทยาการด้านใดด้านหนึ่งเกี่ยวกับการวิจัยในข้อเสนอ
การวิจัยที่ขอรับทุนมีศักยภาพ ความพร้อมด้านวุฒิการศึกษา หรือประสบการณ์ที่จะดาเนินการวิจัยได้สาเร็จ
130

3) สามารถปฏิบัติงานและควบคุมการวิจัยได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับทุน รวมทั้งสามารถ
ดาเนินการวิจัยให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนดอย่างมีคุณภาพ
4) ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงานของรัฐที่กากับดูแล หรือคณะกรรมการองค์กรเกษตรกร
โดยมติที่ประชุมใหญ่ของแต่ละองค์กรเกษตรกร ให้ความเห็นชอบและรับรอง
5) เป็นผู้มีจริยธรรมตามจรรยาบรรณนักวิจัย
2.3. การพิจารณาข้อเสนอการวิจัย
1) จะพิจารณาข้อเสนอการวิจัยตามแนวทางที่กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรกาหนด
2) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร จะให้ความสาคัญกับโครงการวิจัยที่มีการระบุผู้ใช้ผลงานวิจัย
อย่างชัดเจนหรือมีหลักฐานรองรับ โดยคานึงถึงเกษตรกรที่ประสบความเดือดร้อนเป็นหลักก่อน
3) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของคณะนักวิจัย
โดยจะตรวจสอบสถานภาพรับทุนและความสามารถในการปฏิบัติงานและควบคุมการวิจัย
2.4. สิทธิในผลงานหรือทรัพย์สินทางปัญญา
ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรร
เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 ข้อ 12 กาหนดให้โครงการเพื่อสนับสนุนงานวิจั ยของส่วนราชการหรือ
องค์กรเกษตรกร ต้องกาหนดให้ผลงานหรือสิทธิในผลงานหรือทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยเป็นกรรมสิทธิ์
หรือสิทธิของสานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
131

มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ครั้งที่ 1/2559
เรื่อง
แนวทางการจัดเก็บดอกเบี้ย
และค่าบริหารโครงการที่ขอใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

1. แนวทางการจัดเก็บดอกเบี้ยเงินกู้ยืมกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
1.1 หน่วยงานของรัฐเสนอและดาเนินโครงการ ตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์
เกษตรกร มาตรา 7 (1) – (6) จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 0
1.2 องค์กรเกษตรกรขอรับจัดสรรเงิน ตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
มาตรา 7 (1) ก.จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1 มาตรา 7 (1)ข. จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2 และมาตรา
7 (5) จัดเก็บดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 0
2. แนวทางการนาดอกผลหรือดอกเบี้ยที่จัดเก็บได้ เป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานและค่าบริหาร
2.1. หน่วยงานของรัฐ หากไม่มีงบประมาณส าหรับ ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานและค่า
บริหารโครงการ สามารถขอรับจัดสรรเป็นเงินจ่ายขาด ตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วย
หลักเกณฑ์ฯ ข้อ 6 ให้คณะกรรมการมีอานาจพิจารณาอนุมัติเงินกองทุน สาหรับค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน
และค่าบริหารโครงการตามความจาเป็นและเหมาะสม
2.2 องค์กรเกษตรกร ให้นาดอกผลหรือดอกเบี้ย ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการ สามารถ
จ่ ายเป็ นค่ า ใช้ จ่ า ยในการปฏิ บั ติ ง านและค่ า บริ ห ารโครงการ ทั้ ง นี้ เห็ น ควรแก้ ไ ขระเบี ย บคณะกรรมการ
สงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงินฯ ข้อ 16 ให้มีความสอดคล้องและเหมาะสม เพื่อให้องค์กรเกษตรกร
สามารถนาดอกผลหรือดอกเบี้ยไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้
132
มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ครั้งที่ 5/2559
เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2559
เรื่อง
แนวทางการปฏิบัติในการยกเว้นค่าเบี้ยปรับ
ให้กับโครงการที่ใช้เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
การยกเว้ น ค่ า เบี้ ย ปรั บ ให้ กั บ โครงการที่ ใ ช้ เ งิ น กองทุ น สงเคราะห์ เ กษตรกรตามระเบี ย บ
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร ว่าด้วยการรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินงานของกองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ
พ.ศ. 2556 ข้อ 23 มีแนวทางการปฏิบัติดังนี้
เหตุที่ขอยกเว้นค่าเบี้ยปรับ แนวทางการปฏิบัติ เอกสาร/หลักฐาน
1. ภัยธรรมชาติ
1.1 กรณีเป็นพื้นที่ที่มีการประกาศ 1. เป็นโครงการที่อยู่ในพื้นที่ที่มีการ - ประกาศพื้นที่ประสบภัย
เป็นพื้นที่ประสบภัย ประกาศเป็นพื้นที่ประสบของจังหวัด ของจังหวัดหรือของกรมป้องกัน
(ทั้งกรณีโครงการถึงกาหนดชาระหนี้ หรือของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และบรรเทาสาธารณภัย
และโครงการที่ยังไม่ถึงกาหนดชาระหนี้) 2. ภัยธรรมชาติส่งผลกระทบโดยตรงต่อ - เอกสาร/หลักฐานแสดงว่า
การดาเนินงานโครงการทาให้ไม่สามารถ ได้รับผลกระทบ/ความเสียหาย
ชาระหนี้คืนกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรได้ เช่น ภาพถ่าย รายงาน
ภายในระยะเวลาที่กาหนด ความเสียหาย เป็นต้น
1.2 กรณีเป็นพื้นที่ที่ไม่มีการ
ประกาศเป็นพื้นที่ประสบภัย
(1) กรณีโครงการถึงกาหนดชาระหนี้ เป็นโครงการที่ประสบภัยธรรมชาติ - เอกสาร/หลักฐานแสดงว่าเป็น
และภัยธรรมชาติส่งผลกระทบโดยตรง พื้นที่ที่ประสบภัยธรรมชาติ
ต่อการดาเนินงานโครงการทาให้ และได้รับผลกระทบ/ความเสียหาย
ไม่สามารถชาระหนี้คืนกองทุนสงเคราะห์ จากภัยธรรมชาติที่ได้รับการรับรอง
เกษตรกรได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด จากหัวหน้าส่วนราชการของ
หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
-เอกสาร/หลักฐานแสดงว่า
ได้รับผลกระทบ/ความเสียหาย
เช่น ภาพถ่าย รายงาน
ความเสียหาย เป็นต้น
133
-2-
เหตุที่ขอยกเว้นค่าเบี้ยปรับ แนวทางการปฏิบัติ เอกสาร/หลักฐาน
(2) กรณีโครงการที่ยังไม่ถึงกาหนด 1. เป็นโครงการที่ประสบภัยธรรมชาติ - เอกสาร/หลักฐานแสดงว่าเป็น
ชาระหนี้ และภัยธรรมชาติส่งผลกระทบโดยตรง พื้นที่ประสบภัยธรรมชาติ
ต่อการดาเนินงานโครงการทาให้ และได้รับผลกระทบ/ความเสียหาย
ไม่สามารถชาระหนี้คืนกองทุนสงเคราะห์จากภัยธรรมชาติที่ได้รับการรับรอง
เกษตรกรได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด จากหัวหน้าส่วนราชการ
2. หน่วยงานของรัฐ/องค์กรเกษตรกร หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ต้องแจ้งเหตุที่ประสบภัยธรรมชาติ -เอกสาร/หลักฐานแสดงว่า
พร้อมทั้ง รายงานข้อมูลผลกระทบ ได้รับผลกระทบ/ความเสียหาย
ให้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ภายใน 30 วัน
เช่น ภาพถ่าย รายงาน
หลังประสบภัยธรรมชาติ เพื่อตรวจสอบ/ ความเสียหาย เป็นต้น
สารวจความเสียหายเบื้องต้น - เอกสารแสดงว่าได้แจ้งเหตุ
ที่ประสบภัยธรรมชาติ
ให้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ภายใน 30 วัน หลังประสบภัย
ธรรมชาติ
2. โครงการที่ได้รับอนุมัติ 1. เป็นโครงการที่มีมติคณะรัฐมนตรี - มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง
เป็นการดาเนินการ รองรับ - เอกสารชี้แจงปัญหา
ตามโครงการของรัฐบาล 2. โครงการประสบปัญหาเป็นเหตุให้ ซึ่งเป็นเหตุให้การดาเนินงาน
การดาเนินงานหยุดชะงักหรือไม่สามารถ หยุดชะงักหรือไม่สามารถ
ดาเนินงานโครงการต่อไปได้ ดาเนินงานโครงการต่อไปได้
พร้อมเหตุผล
3. ยังไม่ได้รับการจัดสรร หน่วยงานของรัฐได้ขอตั้งงบประมาณ - เอกสารหลักฐานที่แสดงว่า
งบประมาณชดเชย ชดเชยจานวนหนี้ที่ค้างชาระกองทุน หน่วยงานของรัฐได้ขอตั้ง
สงเคราะห์เกษตรกรทั้งหมดแล้วและยัง งบประมาณชดเชย
ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณชดเชย และผลการพิจารณา
4. เหตุอื่นๆ ที่คณะกรรมการ เป็นดุลพินิจของคณะกรรมการสงเคราะห์ - เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องเพื่อ
พิจารณาเห็นชอบ เกษตรกรเป็นกรณีๆ ไป ประกอบการพิจารณา
-ข้อมูล/หลักฐานที่แสดงว่า
ลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้
ซึ่งเป็นข้อมูลในเชิงประจักษ์
เช่น ไม่สามารถชาระหนี้
ตามคาพิพากษาได้ เป็นต้น

---------------------------------------------------------------------------------
134

มติคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ครั้งที่ 5/2562
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2562
เรื่อง
หลักเกณฑ์คุณสมบัติ และเงื่อนไขในการเสนอขอรับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ขององค์กรเกษตรกรที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล หรือ องค์กรเกษตรกรที่เป็นนิติบุคคลน้อยกว่า ๒ ปี

1. วงเงิน
1. ให้ เป็ น ไปตามระเบี ยบคณะกรรมการสงเคราะห์ เกษตรกรว่าด้ว ยหลั กเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๑๐
2. ในกรณีองค์กรเกษตรกรไม่มีทุนเรือนหุ้นหรือทุนสารอง หรือจดทะเบียนหรือได้ขึ้นทะเบียน
ตามกฎหมายที่จัดตั้งมาแล้วน้อยกว่า 2 ปี ให้อนุมัติวงเงินได้ไม่เกิน 5,000,000 บาท หรือคณะกรรมการ
พิจารณาได้ตามความเหมาะสมและความจาเป็น
2. เงื่อนไขการกู้ยืม
1. องค์กรเกษตรกรที่ยังไม่ได้ดาเนินกิจการจะต้องได้รับการรับรองคุณสมบัติและความพร้อม
ในการดาเนินกิจการจากหน่วยงานรัฐที่กากับดูแล
2. สาหรับองค์กรเกษตรกรที่ดาเนินกิจการอยู่แล้ว
2.1 ต้องมีการจัดทาบัญชีของกลุ่มเป็นปัจจุบัน
2.2 มีการตรวจสอบบัญชีและงบการเงิน (กรณีว่าจ้างผู้สอบบัญชี (Auditor) องค์กรเกษตรกร
ต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง)
2.3 มีการสะสมทุนเรือนหุ้น หรืออย่างน้อยต้องมีการออมร่วมกันอย่างสม่าเสมอ เช่น รับฝาก
เงินจากสมาชิกในรูปเงินสัจจะออมทรัพย์
3. สมาชิกส่วนใหญ่ของกลุ่มต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในกิจการหรือโครงการที่เสนอ เช่น ประกอบ
เป็นอาชีพอยู่แล้ว หรือได้ผ่านการอบรมจากภาครัฐ
4. โครงการที่เสนอต้องผ่านการประเมินเบื้องต้น จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ดูแล ส่งเสริม
การประกอบอาชีพเกษตรกรรมในพื้นที่ระดับอาเภอหรือระดับจังหวัด
5. มีการประชุมร่วมกันเป็นประจา และมีการบันทึกรายงานการประชุมไว้เพื่อเป็นหลักฐาน ทั้งนี้
ภายหลังที่โครงการได้รับอนุมัติต้องกาหนดให้มีแผนการประชุมร่วมกันอย่างน้อยทุก 3 เดือนและรายงานผลการ
ประชุมให้กองทุนฯทราบ
6. ให้รายงานผลการดาเนินโครงการเป็นประจาทุกเดือน ตามแบบที่กองทุนกาหนด
ทั้งนี้ นอกจากที่กาหนดไว้ ให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วย
หลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขในการจั ด สรรเงิ น กองทุ น สงเคราะห์ เ กษตรกร พ.ศ. 2554 และระเบี ย บ
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยการรับจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงินเป็นค่าใช้จ่า ยในการ
ดาเนินงานของกองทุนการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการจาหน่ายทรัพย์สินจากบัญชีของกองทุนเป็นสูญ
พ.ศ. ๒๕๕๖
135
-2 -
3. หลักประกัน
1. กรณีวงเงินไม่เกิน 5,000,000 บาท ให้ค้าประกันเพียงสมาชิกทุกคนในกลุ่ม
2. กรณีว งเงิน เกิน 5,000,000 บาท ให้ ค้าประกันด้ว ยสมาชิกทุกคนในกลุ่ ม และอาจจัดให้ มี
หลักทรัพย์เป็นหลักประกัน ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ
กรณีใช้หลักทรัพย์ ให้มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
2.1 จานองอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ โฉนดที่ดิน ,นส3 ,นส3ก,สิ่งปลูกสร้างในที่ดินเครื่องจักรกล
ของสมาชิกหรือบุคคลอื่น
2.2 หลักทรัพย์ต้องมีราคาประเมิน ดังนี้
(1) วงเงินกู้ยืมมากกว่า 5,000,000 – 10,000,000 บาท : ราคาประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
ของวงเงินที่ขอรับจัดสรร
(2) วงเงินกู้ยืมมากกว่า 10,000,000 – 50,000,000 บาท : ราคาประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
ของวงเงินที่ขอรับจัดสรร
(3) วงเงินกู้ยืมมากกว่า 50,000,000 บาทขึ้นไป : ราคาประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ของวงเงินที่ขอรับจัดสรร
2.3 หลักทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักประกันควรปลอดภาระผูกพัน กรณีที่มีภาระผูกพัน เมื่อหักออกชาระหนี้
แล้ว ราคาประเมินต้องมีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 - 50 ตามแต่ละวงเงินที่เสนอขอรับจัดสรร ตามข้อ 2.2
2.4. กรณีไม่มีหลักทรัพย์ หรือหลักทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักประกันมีราคาประเมินน้อยกว่าหลักเกณฑ์
ที่กาหนด ให้คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติได้ตามความจาเป็นและเหมาะสม โดยคานึงถึง
(1) ความจาเป็นของการใช้เงินกู้ตามแผนการดาเนินโครงการ
(2) ศักยภาพการดาเนินธุรกิจขององค์กรเกษตรกร
(3) เป็นโครงการเร่งด่วน เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความเดือดร้อน

หมายเหตุ : 1. หลั กเกณฑ์ กรณีกาหนดให้ มีห ลั กทรัพย์ ให้ ใช้รวมถึงองค์กรเกษตรกรที่มีฐ านะเป็นนิติบุคคล


มากกว่า 2 ปี
2. การค้ าประกั น ขององค์ ก รเกษตรกรที่ เ ป็ น นิ ติ บุ ค คล ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ 5 (1) ของระเบี ย บ
คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดสรรเงินกองทุน
สงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2554 คือ ต้องค้าประกันด้ว ยคณะกรรมการบริหารองค์กร และ
ผู้จัดการหรือผู้ที่ทาหน้าที่ในลักษณะดังกล่าว ค้าประกันการกู้ยืมในฐานะส่วนตัว ในกรณีที่มีการ
เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการบริหารองค์กร ต้องจัดให้คณะกรรมการชุดใหม่ค้าประกันเพิ่มเติม
136

คณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร
ครั้งที่ 3/2563
วันที่ 22 พฤษภาคม 2563
เรื่อง
แนวทางการจัดสรรเงินจ่ายขาด
ให้แก่หน่วยงานของรัฐที่จะทาหน้าที่กากับดูแลโครงการที่ได้รับอนุมัติ
เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตามผลการดาเนินงานขององค์กรเกษตรกร
ประเภทที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล

เห็นชอบในหลักการเพื่อจัดสรรเงินจ่ายขาดไม่เกิน 3% ของวงเงินกู้ยืมในแต่ละ
โครงการ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สานักงานเกษตร
อาเภอ สานักงานปศุสัตว์อาเภอ เป็นต้น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการติดตามผลการดาเนินงานตาม
โครงการที่ได้รับอนุมัติ ขององค์กรเกษตรกรประเภทที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล เช่น วิสาหกิจชุมชน
หรือองค์กรเกษตรกรในลักษณะดังกล่าว ทั้งนี้ หน่วยงานดังกล่าวจะต้องจัดทาแผนในการติดตาม
โดยจัดทารายละเอียดกิจกรรมและวงเงิน เสนอหน่วยงานต้นสังกัด ของหน่วยงานที่จะทาหน้าที่
กากับดูแลโครงการที่ได้รับอนุมัติ เพื่อนาเสนอคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกรพิจารณาอนุมัติ
แผนการติดตามดังกล่าวต่อไป

---------------------------------------------------------------------------------

You might also like