You are on page 1of 2

11

หมวด 5
การขึน้ ทะเบียนและการโฆษณาเกี่ยวกับอาหาร
มาตรา 31 ผู้รับอนุญาตตามมาตรา 14 หรื อมาตรา 15 ผู้ใดจะผลิตหรื อนาเข้ าซึง่ อาหาร
ควบคุมเฉพาะจะต้ องนาอาหารนัน้ มาขอขึน้ ทะเบียนตารั บอาหารต่อผู้อนุญาตเสี ยก่อน และเมื่อได้ รับ
ใบสาคัญการขึ ้นทะเบียนตารับอาหารแล้ วจึงจะผลิตหรื อนาเข้ าได้
การขอขึ ้นทะเบียนและการออกใบสาคัญการขึ ้นทะเบียนตารับอาหาร ให้ เป็ นไป
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 32 เมื่อได้ มีประกาศตามมาตรา 6(1) แล้ ว ให้ ผ้ รู ับอนุญาตตามมาตรา 14 ซึง่ ผลิต
อาหารควบคุมเฉพาะอยู่ก่อนวันที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด งดผลิตอาหารจนกว่าจะได้ รับใบสาคัญการขึ ้น
ทะเบียนตารับอาหารตามมาตรา 31 เว้ นแต่ผ้ อู นุญาตจะได้ สงั่ ให้ ทาการผลิตต่อไปได้ เป็ นการชัว่ คราว
ภายในกาหนดเวลาตามที่เห็นสมควร
มาตรา 33 เมื่อได้ มีประกาศตามมาตรา 6(1) แล้ ว ให้ ผ้ รู ับอนุญาตตามมาตรา 15 ซึง่ นาหรื อ
สั่ง อาหารควบคุม เฉพาะเข้ ามาในราชอาณาจักรอยู่ก่ อ นวันที่ ป ระกาศกาหนด นาอาหารนัน้ มาขอขึน้
ทะเบียนตารับอาหารตามมาตรา 31 ภายในกาหนดหกสิบวันนับแต่วนั ที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด เว้ นแต่
ผู้อนุญาตจะผ่อนผันขยายระยะเวลาดังกล่าวให้
12
มาตรา 34 ผู้รับอนุญาตผลิตหรื อนาเข้ าซึง่ อาหารควบคุมเฉพาะต้ องผลิตหรื อนาเข้ าซึง่ อาหาร
ควบคุมเฉพาะให้ ตรงตามที่ได้ ขึ ้นทะเบียนตารับอาหารไว้
มาตรา 35 การขอขึ ้นทะเบียนตารับอาหารตามมาตรา 31 ต้ องแจ้ งรายการหรื อรายละเอียด
ดังต่อไปนี ้
(1) ชื่ออาหาร
(2) ชื่อและปริมาณของวัตถุอนั เป็ นส่วนประกอบของอาหาร
(3) ขนาดบรรจุ
(4) ฉลาก
(5) ชื่อผู้ผลิตและสถานที่ผลิต
(6) ผลการตรวจวิเคราะห์อาหารจากส่วนราชการหรื อสถาบันที่คณะกรรมการกาหนด
(7) รายการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการขอขึ ้นทะเบียนตารับอาหาร
มาตรา 36 การแก้ ไขรายการทะเบียนตารับอาหาร จะกระทาได้ เมื่อได้ รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
การขอแก้ ไ ขรายการทะเบี ย นต ารั บ อาหารและการอนุญ าตให้ แ ก้ ไ ขรายการ
ทะเบียนตารับอาหาร ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 37 ใบสาคัญการขึ ้นทะเบียนตารับอาหารให้ ใช้ ได้ ตลอดไป เว้ นแต่ทะเบียนตารับ
อาหารที่ถกู สัง่ เพิกถอนตามมาตรา 39
มาตรา 38 ในกรณีที่มีความจาเป็ น เพื่อประโยชน์แก่การควบคุมอาหารเพื่อให้ อาหารนั ้น
ปลอดภัยในการบริโภค หรือเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริ โภคผู้อนุญาตมีอานาจสัง่ ให้ แก้ ไขตารับ
อาหารที่ได้ ขึ ้นทะเบียนไว้ แล้ วได้ ตามที่เห็นสมควรหรื อตามความจาเป็ น เพื่อให้ อาหารนันปลอดภั
้ ยในการบริ โภค
มาตรา 39 อาหารใดที่ได้ ขึ ้นทะเบียนตารับอาหารไว้ แล้ ว หากภายหลังปรากฏว่าอาหารนันมี ้
รายละเอียดไม่ตรงตามตารับอาหารที่ได้ ขึ ้นทะเบียนไว้ หรื อเป็ นอาหารปลอมตามมาตรา 27 หรื อเป็ นอาหาร
ที่ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและไม่อาจแก้ ไขตารับอาหารได้ ตามมาตรา 38 ให้ รัฐมนตรี มีอานาจสัง่ ให้ เพิกถอน
ทะเบียนตารับอาหารนันได้ ้ การเพิกถอนให้ กระทาโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
คาสัง่ ของรัฐมนตรี ให้ เป็ นที่สดุ
มาตรา 40 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรื อสรรพคุณของอาหาร อันเป็ นเท็จ
หรื อเป็ นการหลอกลวงให้ เกิดความหลงเชื่อโดยไม่สมควร
มาตรา 41 ผู้ใดประสงค์จะโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรื อสรรพคุณ ของอาหารทางวิทยุ
กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ทางฉายภาพ ภาพยนตร์ หรื อทางหนังสือพิมพ์ หรื อสิ่งพิมพ์อื่น หรื อด้ วยวิธีอื่นใด
เพื่อประโยชน์ในทางการค้ า ต้ องนาเสียง ภาพ ภาพยนตร์ หรื อข้ อความที่จะโฆษณาดังกล่าวนัน้ ให้
ผู้อนุญาตตรวจพิจารณาก่อน เมื่อได้ รับอนุญาตแล้ วจึงจะโฆษณาได้
มาตรา 42 เพื่อพิทกั ษ์ประโยชน์และความปลอดภัยของผู้บริโภค ให้ ผ้ อู นุญาตมีอานาจสัง่ เป็ น
หนังสืออย่างใดอย่างหนึง่ ดังนี ้
(1) ให้ ผ้ ผู ลิต ผู้นาเข้ า หรื อผู้จาหน่ายอาหาร หรื อผู้ทาการโฆษณา ระงับการโฆษณา
อาหารที่เห็นว่าเป็ นการโฆษณาโดยฝ่ าฝื นมาตรา 41
(2) ให้ ผ้ ผู ลิต ผู้นาเข้ า หรือผู้จาหน่ายอาหาร หรือผู้ทาการโฆษณาอาหาร ระงับ
การผลิต การนาเข้ า การจาหน่าย หรื อการโฆษณา อาหารที่คณะกรรมการเห็นว่าอาหารดังกล่าวไม่มี
คุณประโยชน์ คุณภาพ หรื อสรรพคุณตามที่โฆษณา

You might also like