You are on page 1of 37

-1-

การพัฒนางานผลิ ตยาเตรียมสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะราย โรงพยาบาลท่าสองยาง จังหวัดตาก

สุนิสา บุญชู, สุชาติ เปี่ ยมปรีชา


กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริ โภค โรงพยาบาลท่าสองยาง

1. หลักการ / ความสาคัญของปัญหา
ยาเตรียมสาหรับผู้ป่วยเฉพาะราย (Extemporaneous Compounding) คือ รูปแบบยาเตรียมที่ผลิตขึ้นเอง
สาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย ซึง่ เป็ นรูปแบบยาทีไ่ ม่มจี าหน่ ายในท้องตลาด เช่น ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ Oseltamivir ชนิด
น้ า (มีจาหน่ ายเพียงรูปแบบแคปซูลเท่านัน้ จึงต้องใช้การเตรียมเป็ นรูปแบบชนิดน้ าจากเม็ดแคปซูล ) โดยทัวไปยา ่
เตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายจะเตรียมในรูปแบบของเหลวให้กบั เด็กเล็กทีม่ อี ายุน้อยกว่า 5 ปี ซึง่ ไม่สามารถกินยาเม็ด
ได้ การเตรียมยานี้ถอื เป็นงานหลักอย่างหนึ่งของกลุ่มงานเภสัชกรรม ในการเตรียมยาจาเป็ นต้องคานึงถึงองค์ประกอบที่
สาคัญหลายประการ เช่น กระสายยาทีใ่ ช้เตรียมเพราะอาจมีผลต่อการทาปฏิกริ ยิ ากับตัวยาสาคัญ ความเข้มข้นสุดท้าย
ที่เหมาะสมและง่ายต่อการบริหารยา ความคงตัวของยาหลังเตรียมเสร็จ เป็ นต้น ทัง้ นี้เพื่อให้การนายาเตรียมพิเศษ
เฉพาะรายที่ผลิตขึน้ มาไปใช้กบั ผูป้ ่วยได้อย่างสะดวก เหมาะสม ปลอดภัย และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการรักษา ไม่
แตกต่างจากยาตัง้ ต้นทีน่ ามาใช้ผลิต
จากข้อมูลในปีงบประมาณ 2562 ของโรงพยาบาลท่าสองยาง พบว่ามีผปู้ ่วยเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ทีเ่ ข้ารับการ
รักษาจานวนมาก จาแนกเป็ นผูป้ ่วยนอก จานวน 4,788 คน (18,107 visit) และผูป้ ่วยใน จานวน 2,187 คน (13,315
วันนอน) และมีการสังใช้่ ยาในโรคทีซ่ บั ซ้อนเพิม่ ขึน้ มาหลายรายการ ตัวอย่างเช่น ยา Spironolactone, Furosemide,
และ Phenytoin เป็ นต้น งานเภสัชกรรมจึงต้องผลิตยาเตรียมพิเศษเฉพาะรายให้กบั ผู้ป่วยที่มกี ารสังใช้ ่ ยาเหล่านี้ แต่
ปญั หาสาคัญที่ผ่านมาในการดาเนินงานผลิตยาเตรียมสาหรับผูป้ ่วยเฉพาะรายคือ ไม่มคี ่มู อื และระบบปฏิบตั งิ านในการ
เตรียมยาที่ชดั เจน การตรวจสอบข้อมูลการผลิตทาได้ยาก นอกจากนี้ยงั มีกรณีท่ผี ู้ป่วยได้รบั ยากลับมาจากการส่งตัว
กลับจากโรงพยาบาลอื่น เช่น โรงพยาบาลแม่สอด ซึง่ ได้รบั ยารูปแบบยาเม็ดมา ซึง่ เป็ นยาทีไ่ ม่เคยมีการผลิตยาเตรียม
เฉพาะรายมาก่อนจึงไม่มสี ูตรตารับและกระสายยาทีพ่ ร้อมสาหรับ เตรียมยา จึงต้องใช้วธิ กี ารบริหารยาโดยการแบ่งหัก
เม็ดยาหรือ ใช้ก ารบดผสมน้ าโดยพยาบาลให้ผู้ป่ว ยรับประทานแบบครัง้ ต่ อ ครัง้ เช่ น แพทย์ต้อ งการยา Phenytoin
รับประทานครัง้ ละ 20 mg แต่รปู แบบยาทีม่ คี อื ยาแคปซูลขนาด 100 mg เภสัชกรจะคานวณพร้อมระบุวธิ กี ารผสมและ
ขนาดไว้ทฉ่ี ลากยา เช่น “แกะยา 1 เม็ด ออกจากแคปซูล ใช้น้ าสะอาด 5 ซีซี ผสม เมือ่ ละลายแล้ว ดูดให้ผปู้ ่วยกิน 1 ซีซ”ี
เป็ นต้น ปญั หาที่สาคัญของการบริหารยาแบบนี้ คือ ปริมาณยาที่ได้อาจคลาดเคลื่อนจากที่ต้องการเพราะตัวยาอาจ
ละลายในน้าได้ไม่ดี หรือมีผงยาติดทีแ่ คปซูล หรือการดึงยาไปให้ผปู้ ว่ ยอาจไม่ตรงตามทีร่ ะบุไว้ นอกจากนี้รสชาติของยา
ส่วนใหญ่จะขม อาจทาให้เด็กบางคนไม่ยอมกินยาหรือกินยาแล้วแต่อาเจียนออกมา ทาให้ผู้ป่วยไม่ได้รบั ยาในขนาดที่
แพทย์สงั ่
สูตรตารับในการเตรียมยาเฉพาะรายมีตาราทีใ่ ช้อ้างอิงหลากหลายทัง้ ตาราของประเทศอเมริกา หรือตาราของ
ประเทศแถบยุโรป ซึ่งแต่ละตารับอาจมีส่วนผสมที่ต่างกัน มีความคงตัวไม่เท่ากัน และน้ ากระสายยาบาง ตัวอาจไม่ม ี
จาหน่ ายในประเทศไทย ดังนัน้ การนาสูตรตารับมาปรับใช้จงึ ต้องพิจารณาให้รอบด้าน สาหรับประเทศไทย การเตรียม
ยาเฉพาะรายของโรงพยาบาลส่วนใหญ่จะอ้างอิงจากคู่มอื ของสถาบันเด็กแห่งชาติมหาราชินีเป็นหลัก
-2-

จากปญั หาดังกล่าว กลุ่มงานเภสัชกรรมจึงได้พฒ ั นางานในส่วนของการผลิตยาเตรียมเฉพาะรายให้มคี วาม


ครอบคลุมและพร้อมใช้มากขึ้น อย่างต่อเนื่องตามลาดับ โดยยึดแนวทางของสูตรตารับจากสถาบันเด็กแห่งชาติมหา
ราชินีเป็ นสาคัญ โดยหวังว่าการพัฒนาที่เกิดขึน้ นี้จะเป็ นประโยชน์กบั ผูป้ ่วยทีม่ ารับบริการในโรงพยาบาลท่าสองยางที่
จาเป็ นต้องได้รบั ยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายรวมถึงพยาบาลวิชาชีพทีต่ อ้ งบริหารยาให้กบั ผูป้ ว่ ย ต่อไป

2. วัตถุประสงค์
1) เพื่อจัดทาคู่มอื ปฏิบตั งิ านการเตรียมยาสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย
2) เพื่อพัฒนาตารับยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายให้มจี านวนรายการครอบคลุมกับการสังใช้ ่
3) เพื่อพัฒนาระบบการรวบรวมข้อมูลการผลิตยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย
4) เพื่อให้ผปู้ ว่ ยทีม่ กี ารสังใช้
่ ยาทีเ่ ป็ นรายการยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายได้รบั ยาทุกคน
5) เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจต่อยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายในมิตขิ องการบริหารยา

3. ตัวชี้วดั
1) มีค่มู อื ปฏิบตั งิ านการเตรียมยาสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายทีน่ ามาใช้ในการปฏิบตั งิ านจริง
2) มีตารับยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องทุกปี
3) มีขอ้ มูลการผลิตยาทีค่ รบถ้วน ถูกต้อง เป็ นปจั จุบนั และตรวจสอบได้
4) กลุ่มผูป้ ว่ ยทีจ่ าเป็ นต้องได้รบั ยาเตรียมเฉพาะรายทัง้ ผูป้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยในได้รบั ยาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5) ความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อยาเตรียมเฉพาะรายทีผ่ ลิตขึน้ มาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

4. ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั
1) เจ้าหน้าทีก่ ลุ่มงานเภสัชกรรมมีค่มู อื สาหรับการผลิตยาทีเ่ ป็นมาตรฐานเดียวกัน
2) มีจานวนรายการตารับยาเตรียมเฉพาะรายมากขึน้ อย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับการสังใช้ ่ ในอนาคต
3) มีขอ้ มูลการผลิตทีถ่ ูกต้อง เข้าถึงง่าย และสามารถนาไปใช้วเิ คราะห์เพื่อต่อยอดพัฒนาได้
4) ผู้ป่ ว ยได้ร บั ประโยชน์ จ ากยาเตรีย มเฉพาะรายที่ผ ลิต ขึ้น เช่ น กินยาได้ง่า ยขึ้น ได้ป ริมาณยาที่ถู กต้อ งไม่
คลาดเคลื่อน
5) พยาบาลวิชาชีพสามารถบริหารยาให้กบั ผูป้ ว่ ยได้งา่ ยขึน้ ช่วยลดภาระงาน และลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน
จากการบริหารยาลงเมือ่ เปรียบเทียบกับใช้การบดผสมแบบครัง้ ต่อครัง้

5. วิ ธีดาเนิ นการ
ขัน้ ที่ 1 การวางแผน (Plan) เป็ นการวิเคราะห์ปญั หาและหาสาเหตุเกี่ยวกับระบบการดาเนินงานผลิตยาเตรียม
สาหรับผู้ป่วยเฉพาะรายที่ผ่านมาทัง้ ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยได้ขอ้ มูลมาจากประวัตกิ ารสังใช้
่ ยาเตรียม
เฉพาะรายทีผ่ ปู้ ่วยได้รบั จากโรงพยาบาลอื่นๆ ซึง่ ไม่มใี ช้ในโรงพยาบาลท่าสองยาง และจากการทบทวนวรรณกรรม ที่
เกีย่ วข้องเพื่อให้ได้รปู แบบยาและความเข้มข้นทีเ่ หมาะสม มีความคงตัว และมีประสิทธิภาพในการรักษา เพื่อใช้ในการ
กาหนดสูตรตารับยาสาหรับผูป้ ่วยเฉพาะราย กาหนดแนวทางปฏิบตั /ิ คู่มอื ในการผลิตยาเฉพาะรายของโรงพยาบาลท่า
สองยาง ได้แก่ การจัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ การเตรียมน้ ากระสายยา ขัน้ ตอนการผลิตยาเตรียม การเลือกภาชนะ
-3-

บรรจุ การเก็บรักษา การตัง้ เลขทีผ่ ลิตยาแต่ละครัง้ (Lot. NO) การกาหนดวันหมดอายุ การกาหนดแนวทางการจ่ายยา


เตรียมเฉพาะรายในผูป้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยใน โดยใช้เทคนิคการการระดมสมองของเจ้าหน้าทีก่ ลุ่มงานเภสัชกรรม
ขัน้ ที่ 2 ปฏิบตั ติ ามแผน (Do) เป็ นการนา แผนทีไ่ ด้จากขัน้ ตอนที่ 1 สู่การดาเนินงานผลิตยาเตรียมสาสาหรับ
ผูป้ ว่ ยเฉพาะรายตัง้ แต่ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 31 มกราคม 2564
ขัน้ ที่ 3 การตรวจสอบ ติดตามประเมินผล (Check) เครื่องมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวมรวม ข้อมูลมีดงั ต่อไปนี้ 1)
แบบบันทึกการผลิตยาเตรียมเฉพาะรายในแต่ละเดือน 2) แบบบันทึกการจ่ายยาเตรียมเฉพาะราย 3) แบบบันทึกปญั หา
ทีเ่ กีย่ วกับการผลิตและการจ่ายยาเตรียมเฉพาะรายแต่ละเดือน และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของพยาบาลต่อการ
บริหารยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย
ขัน้ ที่ 4 ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขส่วนทีม่ ปี ญั หา (Action) ใช้ผลการประเมินจากขัน้ ที่ 3 มาปรับปรุงแก้ไข
วิธกี าร ดาเนินงาน โดยนาปญั หา อุปสรรค และปจั จัยแห่งความสาเร็จ สรุปเป็ นแนวทางในการปฏิบตั งิ านในขัน้ ตอนเพื่อ
พัฒนางานต่อไป
หมายเหตุ : รายละเอียดและขัน้ ตอนของการปฏิบตั งิ านต่างๆ แสดงในภาคผนวกที่ 1 และ 3-5

6. เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล
1) เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกงานผลิตยาเฉพาะราย ดังนี้
- รายการยา (จานวนรายการยา)
- จานวน/ปริมาณทีผ่ ลิต (ครัง้ /ปริมาณ)
- ราคา (ต้นทุนการผลิต/ราคาขาย)
2) แบบบันทึกการจ่ายยาเตรียมเฉพาะราย
3) แบบบันทึกปญั หาทีเ่ กีย่ วกับการผลิตและการจ่ายยาเตรียมเฉพาะรายแต่ละเดือน
4) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการบริหารยาเฉพาะรายของพยาบาลวิชาชีพ

7. ระยะเวลาดาเนิ นการ
ตัง้ แต่ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 31 มกราคม 2564 (และยังดาเนินการต่อเนื่องถึงปจั จุบนั )

8. การประเมิ นผลและผลสาเร็จของการปฏิ บตั ิ งาน


จากการเก็บรวบรวมข้อมูล การเตรียมยาสาหรับผูป้ ่วยเฉพาะราย โดยดาเนินงานมาตัง้ แต่ปีงบประมาณ 2559
จนถึงปจั จุบนั งานเภสัชกรรมได้พฒ ั นาคุณภาพระบบงานอย่างต่อเนื่อง ประเมินผลการดาเนินการเตรียมยาสาหรับ
ผูป้ ว่ ยเฉพาะรายในแต่ละปีงบประมาณ โดยทาการประเมินผลและเปรียบเทียบผลการดาเนินงานในแต่ละปีงบประมาณ
ในประเด็นต่างๆ ประกอบด้วย รายการยาทีผ่ ลิต จานวนครัง้ ทีผ่ ลิต ปริมาณทีผ่ ลิต และจานวนผูร้ บั บริการ โดยสรุปผล
การศึกษาพัฒนางานเรียงตามแต่ละวัตถุประสงค์และตัวชีว้ ดั ดังนี้

1) จัดทาคู่มอื ปฏิบตั งิ านการเตรียมยาสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย


ได้มกี ารจัดทาคู่มอื โดยมีการปรับปรุงรายละเอียดให้เป็ นปจั จุบนั อยู่เสมอ และนาไปใช้จริง โดยคู่มอื จะวางอยู่ใน
จุดทีใ่ ช้สาหรับเตรียมยา (รูปที่ 1)
-4-

รูปที่ 1. คู่มอื ทีม่ กี ารปรับปรุงให้เป็ นปจั จุบนั และนามาใช้จริงในการปฏิบตั งิ าน

2) พัฒนาตารับยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายให้มจี านวนรายการครอบคลุมกับการสังใช้



ตัง้ แต่ปีงบประมาณ 2559 จนถึงปีงบประมาณ 2564 (31 มกราคม 2564) ได้มกี ารเพิม่ ตารับยาอย่างต่อเนื่อง
โดยมีจานวนรายการยาสะสมในปีงบประมาณ 2559 ถึง 2564(31 มกราคม 2564) เท่ากับ 5, 11, 12, 14, 15,และ16
รายการ ตามลาดับ รายละเอียดของรายการยาทัง้ หมดแสดงในตารางที่ 1 สูตรตารับและวิธเี ตรียมแสดงในภาคผนวกที่
2

3) พัฒนาระบบการรวบรวมข้อมูลการผลิตยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย
ตัง้ แต่เริม่ พัฒนา มีรายละเอียดของการบันทึกข้อมูลยาที่เป็ นระบบ ครบถ้วน และได้ข้อมูลที่มคี วามถูกต้อ ง
แม่นยาและตรวจสอบได้ มากขึ้นตามลาดับ โดยยาที่มกี ารผลิตจานวนมากที่สุดคือ Oseltamivir และน้ อยที่สุดคือ
Phenobarbital โดยมีรายละเอียดของจานวนครัง้ และปริมาณทีผ่ ลิตได้ของยาแต่ละรายการในแต่ละปีงบประมาณแสดง
ในตารางที่ 2

4) กลุ่มผูป้ ว่ ยทีจ่ าเป็ นต้องได้รบั ยาเตรียมเฉพาะรายทัง้ ผูป้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยในได้รบั ยาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รบั ยาเตรียมเฉพาะรายทัง้ ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในทุกปี งบประมาณ มากกว่าร้อยละ 80
โดยแสดงรายละเอียดในตารางที่ 3 และแยกเป็นรายละเอียดของแต่ละตัวยาแสดงในตารางที่ 4

5) ความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อยาเตรียมเฉพาะรายทีผ่ ลิตขึน้ มาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70


ร้อยละความพึงพอใจโดยเฉลีย่ จากการตอบแบบประเมินของพยาบาลวิชาชีพ 12 คน (หอผูป้ ่วยกุมารเวชกรรม
9 คน และ ICU 3 คน เพศชายและหญิง เท่ากับ 2 และ 10 คนตามลาดับ อายุเฉลีย่ 29 ปี ประสบการณ์การทางานเฉลีย่
7 ปี ) เท่ากับ 69.17 โดยข้อคาถามที่ 8 (ความพึงพอใจโดยรวมเกี่ยวกับยาเตรียมเฉพาะราย) มีคะแนนสูงทีส่ ุด(ร้อยละ
71.67) รายละเอียดตามตารางที่ 5
-5-

ตารางที่ 1. แสดงจานวนรายการยาทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปี งบประมาณ

รายการยา/ความแรง ปี งบ 59 ปี งบ 60 ปี งบ 61 ปี งบ 62 ปี งบ 63 ปี งบ 64
(ถึง 31/1/64)
Oseltamivir 10 mg/ml      
Phenytoin 25 mg/ml      
Rifampicin 20 mg/ml      
Spironolactone 10 mg/ml      
Zinc sulfate 5 mg/ml      
Baclofen 2 mg/ml     
Chloroquine 10 mg/ml     
Doxycycline 10 mg/ml     
L – thyroxine 0.02 mg/ml     
Primaquine 1 mg/ml     
Pyrazinamide 40 mg/ml     
Aminophylline 10 mg/ml    
HCTZ 10 mg/ml   
Phenobarbital 10 mg/ml   
Omeprazole 2 mg/ml  
Furosemide 2 mg/ml 
รวม (รายการ) 5 11 12 14 15 16
-6-

ตารางที่ 2. จานวนครัง้ ทีผ่ ลิตและปริมาณทีผ่ ลิตในแต่ละปีงบประมาณ

รายการยา ปี งบ 59 ปี งบ 60 ปี งบ 61 ปี งบ 62 ปี งบ 63 ปี งบ 64
ครัง้ ปริมาณ ครัง้ ปริมาณ ครัง้ ปริมาณ ครัง้ ปริมาณ ครัง้ ปริมาณ ครัง้ ปริมาณ
(ml) (ml) (ml) (ml) (ml) (ml)
Oseltamivir 25 10,250 33 15,840 59 25,300 79 34,500 78 32,200 27 11,400
Zinc sulfate 11 623 20 4,800 31 16,800 60 31,400 68 31,560 17 7500
Doxycycline - - - - 55 2,630 41 5,490 6 230 8 1020
Primaquine - - - - 14 690 5 320 1 70 1 90
Omeprazole - - - - - - - - 11 1350 13 1550
Phenytoin - - - - 6 330 4 360 1 30 6 460
Chloroquine - - - - 11 450 5 180 - - - -
HCTZ - - - - - - 1 30 1 30 13 480
Spironolactone - - - - - - 1 30 2 60 10 630
Baclofan - - - - - - 3 90 2 60 6 510
L - thyroxine - - 2 60 - - 3 90 - - 2 45
Aminophyllin - - - - 2 50 2 50 - - 1 25
furosemide - - - - - - - - - - 6 1680
Rifampicin - - - - 4 1,200 - - - - - -
Pyrazinamide - - - - 2 400 - - - - - -
Phenobarbital - - - - - - 2 60 - - - -

ตารางที่ 3. ร้อยละของผูป้ ว่ ยทีไ่ ด้รบั ยาเตรียมเฉพาะรายของผูป้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยในแยกตามปีงบประมาณ

ปี งบ จานวนผูป้ ่ วย จานวนผูป้ ่ วย ร้อยละ จานวนผูป้ ่ วย จานวนผูป้ ่ วย ร้อยละ


ประมาณ นอกที่มารับ นอกที่ได้รบั ในที่มารับ ในที่ได้รบั ยา
บริ การ (ราย) ยา (ราย) บริ การ (ราย) (ราย)
59 255 255 100 181 181 100
60 427 415 97.19 298 294 98.65
61 1033 1008 97.58 785 776 98.85
62 1801 1761 97.78 977 963 98.56
63 1210 1157 95.62 824 805 97.69
64 327 320 97.86 254 252 99.21
-7-

ตารางที่ 4. จานวนผูม้ ารับบริการทีไ่ ด้ และไม่ได้รบั ยาในยาแต่ละรายการตามปีงบประมาณ (รวมผูป้ ว่ ยนอก


และผูป้ ว่ ยใน)

รายการยา ปี งบ 59 ปี งบ 60 ปี งบ 61 ปี งบ 62 ปี งบ 63 ปี งบ 64
ได้ ไม่ได้ ได้ ไม่ได้ ได้ ไม่ได้ ได้ ไม่ได้ ได้ ไม่ได้ ได้ ไม่ได้
รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา รับยา
Oseltamivir 389 - 506 11 900 15 1,206 23 920 14 281 -

Zinc sulfate 47 - 202 5 768 9 1,387 25 1,024 16 188 -

Doxycycline - - - - 75 7 105 5 10 26 42 5

Primaquine - - - - 14 1 5 - 1 5 2 -

Phenytoin - - - - 9 1 8 1 - 6 6 -

Chloroquine - - - - 11 1 5 - - 5 - -

Omeprazole - - - - - - - - 3 - 14 -

Spironolactone - - - - - - 1 - 2 - 8 2

Furosemide 10 2

HCTZ - - - - - - 1 - 1 - 6 -

Baclofan - - - - - - 3 - 2 - 2 -
L - thyroxine - - 1 - - - 1 - - - 2 -

Aminophyllin - - - - 1 - 1 - - - 2 -

Rifampicin - - - - 4 - - - - - - -
Pyrazinamide - - - - 2 - - - - - - -

Phenobarbital - - - - - - 1 - - - - -
436 0 709 16 1,784 34 2,724 54 1,962 72 563 9
รวม (ราย)
436 725 1,818 2,778 2,034 572
ร้อยละผู้ป่วย 100% 97.79% 98.13% 98.06% 96.46% 98.43%
ได้รบั ยาเตรียม
-8-

ตารางที่ 5. ผลการประเมินความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อยาเตรียมเฉพาะรายทีผ่ ลิต (n=12)

ข้อคาถาม มากที่สุด มาก ปานกลาง น้ อย น้ อยที่สุด ร้อยละ


(5) (4) (3) (2) (1)
1.รายการยาเตรียมเฉพาะรายมีความเหมาะสม ครบ 1 คน 5 คน 4 คน 2 คน 0 คน 68.33
ตามรายการทีม่ ใี ช้ในโรงพยาบาล (8.33%) (41.67%) (33.33%) (16.67%)
2.ขนาดยามีความถูกต้องครบถ้วนไม่ผดิ พลาด 0 คน 6 คน 6 คน 0 คน 0 คน 70.00
(50%) (50%)
3.กลุ่มงานเภสัชกรรมให้ขอ้ มูลการเก็บรักษายาเตรียม 0 คน 5 คน 7 คน 0 คน 0 คน 68.33
เฉพาะรายทีเ่ ข้าใจง่าย (41.67%) (58.33%)
4.ในการเบิกจ่ายยาเตรียมเฉพาะรายมีขนั ้ ตอนทีเ่ ป็ น 0 คน 5 คน 7 คน 0 คน 0 คน 68.33
ระบบและเหมาะสม (41.67%) (58.33%)
5.ฉลากยาเตรียมเฉพาะรายมีความถูกต้องครบถ้วน 0 คน 5 คน 7 คน 0 คน 0 คน 68.33
(41.67%) (58.33%)
6.ผูป้ ว่ ยได้รบั ยาเตรียมเฉพาะรายทันเวลาตรงตามเวลา 0 คน 6 คน 5 คน 1 คน 0 คน 68.33
ทีแ่ พทย์กาหนด (50%) (41.67%) (8.33%)
7.พยาบาลมีความสะดวกในการบริหารยาให้กบั ผูป้ ว่ ย 1 คน 5 คน 5 คน 1 คน 0 คน 70.00
(8.33%) (41.67%) (41.67%) (8.33%)
8.ความพึงพอใจโดยรวมเกีย่ วกับยาเตรียมเฉพาะราย 1 คน 5 คน 6 คน 0 คน 0 คน 71.67
(8.33%) (41.67%) (50%)
เฉลี่ย 69.17

จากตารางพบว่าพยาบาลส่วนใหญ่ประเมินความพึงพอใจในข้อ 1, 2, 6 และ 7 ในระดับมาก ข้อ 3,4,5 และ 8


ในระดับปานกลาง
 จากแบบสอบถาม พยาบาลอยากให้กลุ่มงานเภสัชกรรมผลิตยาเตรียมเฉพาะรายเพิม่ ดังนี้
Azithromycin , Furozemide และ Doxycycline ซึ่งยา Azithromycin ยังไม่มผี ลวิจยั รับรอง จึงไม่สามารถผลิตยา
เตรียมได้ ส่วนยา Furozemide ได้เพิม่ ลงในตารับยาโรงพยาบาลท่าสองยางแล้ว และ Doxycycline เดิมมีอยู่ในรายการ
โรงพยาบาลอยูแ่ ล้ว แต่เนื่องจากไม่สามารถยืมกระสายจากแม่สอดได้ จึงทาให้ไม่สามารถผลิตยาเตรียมได้
 ข้อเสนอแนะอื่นๆจากพยาบาล
1) ควรเตรียมมาให้ทงั ้ หมด ทุกชนิดยาทีต่ อ้ งมาผสมและแบ่ง
2) อยากให้เตรียม IV fluid เช่น 10%DN/2 , 12%DN/2
3) อยากให้เตรียม IV ทีผ่ สม HAD
จากข้อเสนอแนะ ข้อที่ 1 ทางกลุ่มงานทางเภสัชกรรม ต้องศึกษาข้อมูลก่อน ให้มขี อ้ มูลอ้างอิงสามารถผลิตยา
เตรียมสาหรับผู้ป่วยเฉพาะรายได้ ส่วนข้อที่ 2 และข้อที่ 3 เป็ นการเตรียมยาฉีด ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับงานยาเตรียม
สาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย
-9-

9. ข้อจากัด/ปัญหาในการเตรียมยาเฉพาะราย
 เนื่องจากน้ากระสายยาเป็นรายการยายืมจากโรงพยาบาลแม่สอด บางครัง้ โรงพยาบาลแม่สอดไม่สามารถให้ยมื
ได้ ส่งผลทาให้กลุ่มงานเภสัชกรรมไม่สามารถผลิตยาเตรียมเฉพาะรายให้กบั ผูป้ ว่ ยได้
 ไม่มสี ถานทีใ่ นการผลิตยาเตรียมทีเ่ หมาะสม
 อุปกรณ์ไม่เพียงพอต่อการผลิตยา
 การเตรียมยาเฉพาะรายใช้ได้ในโรงพยาบาลเท่านัน้ ไม่สามารถนากลับไปรับประทานต่อที่บ้านได้หากไม่ม ี
ตูเ้ ย็น
 ยาเตรียมเฉพาะรายที่ผลิตขึน้ ยังไม่ตรวจสอบคุณภาพเรื่องการปนเปื้อนของเชือ้ จุลชีพ และความคงตัวของยา
ตามมาตรฐานทีก่ าหนด

10. แนวทางในการพัฒนา
 เตรียมน้ ากระสายยาเอง เพื่อลดปญั หาการยืมน้ ากระสายยาไม่ได้
 จัดสถานทีส่ าหรับเตรียมยาโดยเฉพาะให้เหมาะสม
 จัดหาอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการผลิตให้เพียงพอ
 ประเมินความพึงพอใจของผูป้ ว่ ยทีไ่ ด้รบั ยา
 พัฒนาสูตรตารับใหม่ๆ เพิม่ เติมให้มรี สชาติท่ดี ขี น้ึ มีความคงตัวนานขึน้ ซึง่ จะเป็ นประโยชน์กบั ผูป้ ่วยทีต่ ้องกิน
ยาตลอดชีวติ ทาให้ความถี่ใ นการนัดมารับบริการน้ อ ยลง ซึ่งจะตอบโจทย์ของพื้นที่ท่มี คี วามห่างไกล การ
เดินทางยากลาบาก

เอกสารอ้างอิ ง
1. กลุ่มงานเภสัชกรรม สถาบันสุขภาพเด็กมหาราชินี. ยาเตรียมพิเศษเฉพาะรายสาหรับเด็ก.พิมพ์ครัง้ ที่ 1
กรุงเทพมหานคร : ชัยเจริญ; 2552.
2. เทวฤทธิ ์ ประเพชร. ตารับยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายโรงพยาบาลอุม้ ผาง. 2556
3. ตารับยาเตรียมสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายโรงพยาบาลแม่สอด. 2557
4. นวภรณ์ วิมลสาระวงค์. ยาเตรียมพิเศษเฉพาะรายรูปแบบยาน้ าสาหรับเด็ก. กุมารเวชสาร. 2012;19(3):193-9.
5. สมศิร ิ สุขสวัสดิ ์, อโณทัย ตัง้ สาราญจิต, อรสร สารพันโชติวทิ ยา. ยาเตรียมพิเศษเฉพาะราย (Extemporaneous
Preparations). วงการยา. 2557;14:13-7.
6. อมรรัตน์ วิรยิ ะโรจน์. ยาเตรียมเฉพาะคราวรูปเเบบยาน้ ารับประทาน. วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการ
สุขภาพ. 2007;2(3):320-6.
- 10 -

ภาคผนวก
- 11 -

ภาคผนวกที่ 1

การให้ บริ การยาเตรียมสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะราย


1.หลักเกณฑ์การปฏิ บตั ิ งาน
การเตรียมยาสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายโดยเปลีย่ นจากรูปแบบยาเม็ดให้เป็ นยาน้ าสาหรับ รับประทานให้ได้ความ
เข้มข้นทีต่ ้องการ เจ้าหน้าทีผ่ เู้ ตรียมยาต้องคานึงถึงความถูกต้อง ความคงตัว ความปลอดภัย และประสิทธิภาพในการ
รักษาของยาเตรียม โดยต้องเตรียมตามเอกสารแบบบันทึกการผลิตเท่านัน้ เพื่อให้สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้หากพบ
ปญั หา และเภสัชกรผูเ้ ตรียมยาต้องสามารถเตรียมยาให้มเี พียงพอและทันเวลาต่อการจ่ายให้ผปู้ ว่ ยได้
2. ขัน้ ตอนการปฏิ บตั ิ งาน
2.1. กระบวนการเบิ กจ่ายยาเตรียมสาหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
1. เจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ว่ ยนอก/ผูป้ ว่ ยในแจ้งรายการยาและจานวนทีจ่ ะให้เตรียม
2. เจ้าหน้าทีเ่ ตรียมยาสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะรายทาตามรายการทีส่ งั ่
ผูป้ ว่ ยใน : จะต้องเตรียมยาให้เสร็จภายในวันทีส่ งก่ ั ่ อน 15.00 น. เพื่อจะจ่ายยาในกับพยาบาลตึกผูป้ ่วย
ใน ถ้าสังนอกเวลาราชการ
่ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั งิ านนอกเวลา จะต้องเตรียมยาเอง โดยทาตามแนวทางปฏิบตั งิ าน
ทีว่ างไว้
ผูป้ ่วยนอก : จะเตรียมยาที่มกี ารสังใช้ ่ จานวนมากสารองไว้ เช่น Oseltamivir เพื่อสะดวกต่อการ
ให้บริการ ส่วนรายการอื่นต้องเตรียมทันทีเพื่อให้ทนั จ่ายยาต่อผู้ป่วย โดยเจ้าหน้ าทีผ่ ู้ป่วยนอก ที่กาลังปฏิบตั ิ
หน้าอยูข่ ณะนัน้
3. เจ้าหน้าที่ ทีเ่ ตรียมยาบันทึกรายการยาและจานวนทีเ่ ตรียม ลงในแบบบันทึกยาเตรียมเฉพาะราย
4. เจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ว่ ยนอก/ผูป้ ว่ ยในจัดยาเตรียมตามจานวนทีส่ งั ่ และบันทึกลงในระบบ H.OS.
2.2. กระบวนการเตรียมยาสาหรับผูป้ ่ วยเฉพาะราย
1. เตรียมน้ากระสายโดยแจ้งเจ้าหน้าทีห่ ลักในการยืม ยืมน้ากระสาย จากโรงพยาบาลแม่สอด
2. เจ้าหน้าทีเ่ ตรียมเอกสารแบบบันทึกการผลิตของยาทีจ่ ะเตรียม
- แบบบันทึกการผลิตมีรายละเอียด เช่น ชื่อยา ความแรงของยาทีใ่ ช้เป็ นวัตถุดบิ จานวนยาทีใ่ ช้เตรียม
ปริมาตรทีเ่ ตรียม รูปแบบยาทีเ่ ตรียม น้ ากระสายยาทีเ่ ลือกใช้ วิธกี ารเตรียม ฉลากแนะนา การใช้ยา วันสิน้ อายุ
การเก็บรักษา และเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ
3. จัดเตรียมวัตถุดบิ และอุปกรณ์สาหรับการเตรียมยา
- ยาเม็ด/แคปซูล
- น้ากระสายยา
- กระบอกตวง ใช้สาหรับตวงน้าเพื่อ rinse ขวดบรรจุ
- โกร่งและลูกโกร่ง ใช้สาหรับบดยา โกร่งกระเบือ้ งมีพน้ื ผิวภายในหยาบ เหมาะสาหรับ การบดตัวยา
เพื่อลดขนาด นิยมใช้ในการเตรียมยาน้าแขวนตะกอนทีต่ อ้ งมีการลดขนาดอนุ ภาคของผงยา ไม่ใช้กบั ตารับทีม่ สี ี
เข้มมาก ๆ เพราะสีมโี อกาสติดเนื้อโกร่ง ส่วนโกร่งแก้ว พืน้ ผิวภายในเรียบกว่า นิยมใช้ในการผสมยาทีไ่ ม่
ต้องการบดเพื่อลดขนาด
- บีกเกอร์
- ขวดบรรจุและถุงป้องกันแสงสาหรับใส่ยาเตรียม
- 12 -

- ฉลากยา
4. บดเม็ดยา/ผงยาในแคปซูลให้เป็ นผงละเอียดในโกร่ง ในกรณียาเม็ดเคลือบให้ levigate ด้วยน้ า
เล็กน้อยหลังจากบดเม็ดยา เพื่อละลายส่วนทีเ่ คลือบยา
5. เติมน้ากระสายยาปริมาณเล็กน้อยลงในผงยา
6. Levigate ผงยาด้วยน้ ากระสายยาจนได้เป็ น smooth paste ซึง่ จะทาให้ผงยาไม่ฟ้ ุง กระจายขณะบด
และยังเกิดแรงฝืดทีจ่ ะช่วยในการบีบ้ ดผงยาให้ละเอียดมากขึน้
ั่
7. ค่อย ๆ เติมน้ ากระสายยาลงไปปนผสมตลอดเวลาจนส่ วนผสมเป็ นเนื้อเดียวกันและเหลวพอไหลได้
8. เทส่วนผสมลงในขวดบรรจุ
9. ล้างผงยาทีต่ ดิ ในโกร่งและลูกโกร่งด้วยน้ากระสายยาทีละน้อย
10. เทใส่ขวด และทาซ้าจนกระทังไม่ ่ มผี งยาเหลืออยูใ่ นโกร่ง
11. ปรับปริมาตรให้ถงึ จานวนทีผ่ ลิตด้วยน้ากระสายยา
12. เขย่าส่วนผสมให้เข้ากัน
13. ติดฉลากยาระบุช่อื ยา ความแรง และวันสิน้ อายุยาทีข่ วดบรรจุ
14. ตรวจสอบยาทีเ่ ตรียมซ้าทุกขัน้ ตอนทีเ่ ตรียม
2.3. ประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งาน
1. ความถูกต้องของการเตรียมยาสาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย
- เอกสารบันทึกการผลิต
- ตรวจสอบซ้าในขัน้ ตอนการผลิต
2. ความคงตัวของตารับยาน้าแขวนตะกอน
- ยามีการกระจายตัวดี
- เมือ่ ยาตกตะกอนแล้วมีการกระจายตัวยาใหม่ได้งา่ ย
- เนื้อยามีลกั ษณะเรียบนูนแลดูสวยงาม
3. เงื่อนไข/ข้อสังเกต/ข้อควรระวัง/สิ่ งที่ควรคานึ งถึงในการปฏิ บตั ิ งาน
ผูป้ ว่ ยมีความเสีย่ งในการได้รบั ยาไม่มคี ุณภาพ
1. จากการเลือกสูตรตารับ เนื่องจากยังไม่มสี ูตรตารับมาตรฐาน และยาทีเ่ ตรียมไม่ได้ทาการศึกษาข้อมูลความ
คงตัวทางด้านต่าง ๆ จึงควรต้องทาการทบทวน และค้นคว้าข้อมูล การศึกษาใหม่ ๆ อยูเ่ สมอ เพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิง
2. จากกระบวนการผลิต อาจเกิดความคลาดเคลื่อนในกระบวนการผสมทาให้ผปู้ ่วยได้รบั ยาไม่มคี ุณภาพ และ
คุณภาพของยาขึน้ กับเทคนิคการผสมของผูเ้ ตรียม
สิง่ ทีค่ วรปฏิบตั เิ พื่อป้องกันความเสีย่ งจากกระบวนการเตรียมยา
1. ควรเตรียมทีละตารับ เพื่อป้องกันการปะปน
2. เตรียมจานวนเม็ดยาให้พอดีกบั ปริมาตรของตารับยาน้าแขวนตะกอนทีจ่ ะเตรียม
3. เตรียมฉลาก และคู่มอื การผลิตให้พร้อม
4. การเตรียมยาสาหรับผูป้ ่วยเฉพาะราย ต้องเตรียมตามรายละเอียดทีไ่ ด้กาหนดไว้ในคู่มอื การผลิตของยาแต่
ละชนิดเท่านัน้ เพื่อให้สามารถติดตามและตรวจสอบได้เมือ่ พบปญั หา
5. ติดฉลากทันทีหลังเตรียมยาเสร็จ
- 13 -

ภาคผนวกที่ 2

สูตรตารับยาเตรียมเฉพาะราย กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผูบ้ ริ โภค


โรงพยาบาลท่าสองยาง อาเภอท่ าสองยาง จังหวัดตาก

รูปแบบยาตัง้
ความ ปริมาณยา
ความ ต้น / ความ
ลา แรง ชนิดของ จานวน น้าที่
รายการยา คงตัว แรง 
ดับ mg / น้ากระสายยา ยาตัง้ ต้น เตรียมได้
( วัน ) ทีใ่ ช้ในการ
ml สุดท้าย
เตรียมยา
1 Baclofen 2 Type 4 30 Tab 10 mg 6 tab  30 ml
2 Chloroquine 10 Type 1 30 Tab 150 mg 2 tab  30 ml
3 Doxycycline 10 Type 3 14 Cap 100 mg 3 tab  30 ml
7 Tab 0.1 mg 6  30 ml
4 L - thyroxine 0.02 Type 1
tab
5 Oseltamivir 10 Type 4 10 Cap 75 mg 4 cap  30 ml
6 Phenytoin 25 สูตร 14 Tab 50 mg 20 tab  40 ml
7 Primaquine 1 Type 1 30 Tab 15 mg 2 tab  30 ml
8 Pyrazinamide 40 Type 1 30 Tab 500 mg 4tab  50 ml
9 Rifampicin 20 Type 4 30 Cap 300 mg 4 tab  60 ml
10 Spironolactone 10 Type 4 30 Tab 25 mg 12 tab  30 ml
11 Zinc sulfate 5 Type 4 30 Tab 25 mg 6 tab  30 ml
12 Aminophylline 10 Type 5 30 Amp 250 mg 1 amp  25 ml
13 HCTZ 10 Type 4 14 Tab 25 mg 12 tab  30 ml
14 Phenobarbital 10 Type 4 30 Tab 60 mg 5 tab  30 ml
15 Omeprazole 2 8.4%NaHCO3 14 Cap 20 mg 5 cap  50 ml
16 Furosemide 2 สูตร 30 Tab 120 mg 3 tab  60 ml
- 14 -

Baclofen suspension 2 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Baclofan 10 mg/tab 2 60
2 Vehichle type 4 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Baclofan 10 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 15 -

Chloroquine suspension 10 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Chloroquine 150 mg/tab 10 300
2 Vehichle type 1 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Chloroquine 150 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 16 -

Doxycycline suspension 10 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Doxycycline 100 mg/cap 10 300
2 Vehichle type 3 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Doxycycline 100 mg/cap แกะผงยาออกจาก capsule บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 14 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 17 -

Levothyroxine suspension 0.02 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mcg/ml


mcg/ml
1 levothyroxine 1000 mcg/tab 200 6000
2 Vehichle type 1 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา levothyroxine 1000 mcg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 7 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 18 -

Oseltamivir suspension 10 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Oseltamivir 75 mg/cap 10 300
2 Vehichle type 4 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Oseltamivir 75 mg/cap แกะผงยาออกจาก capsule บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 10 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 19 -

Phenytoin suspension 25 mg/ml (40ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 40 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 40 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Phenytoin 50 mg/tab 25 1000
2 Vehichle type 1 0.4 16
3 Sorbital 0.2 8
4 Vehichle type 4 0.4 16

รวม 1 40

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Phenytoin 100 mg/cap บดแกะผงยาออกจาก capsule บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ค่อยๆ เท sorbitol ลงบด
3. เติม Vehichle type 1 บดผสมให้เข้ากัน
4. ปรับปริมาตรด้วย Vehichle type 4 จนครบ 40 ml

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 14 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 20 -

Primaquine suspension 1 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Primaquine 15 mg/tab 1 30
2 Vehichle type 1 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Primaquine 15 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 21 -

Pyrazinamide suspension 40 mg/ml (50ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 50 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 50 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Pyrazinamide 500 mg/tab 40 2000
2 Vehichle type 1 1 50

รวม 1 50

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Pyrazinamide 500 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 50 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 22 -

Rifampicin suspension 20 mg/ml (60ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 60 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 60 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Rifampicin 300 mg/cap 20 1200
2 Vehichle type 4 1 60

รวม 1 60

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Rifampicin 300 mg/cap บดแกะผงยาออกจาก capsule บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 60 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 23 -

Spironolactone suspension 10 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Spironolactone 25 mg/tab 10 300
2 Vehichle type 4 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Spironolactone 25 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 24 -

Zinc sulfate suspension 5 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Zinc sulfate 25 mg/tab 5 150
2 Vehichle type 4 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Zinc sulfate 25 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 25 -

Aminophylline 10 mg/ml (25ml)

ลักษณะ solution ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 25 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 25 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Aminophylline 250 mg/10 ml 250 mg 250
2 Distilled water 15 15

รวม 25 25

วิ ธีการผลิ ต
1. เช็ก Ampule ยาให้สะอาด
2. หักปลาย Ampule แรงๆ แล้วใช้ผา้ เข็ดทีค่ อขวด
3. ดูดยา 10 ml ใส่ภาชนะทีต่ อ้ งการ
4. เติมน้ากลันให้
่ ครบ 25 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 26 -

HCTZ suspension 10 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 HCTZ 25 mg/tab 10 300
2 Vehichle type 4 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา HCTZ 25 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 14 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 27 -

Phenobarbital suspension 10 mg/ml (30ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 30 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 30 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Phenobarbital 60 mg/tab 10 300
2 Vehichle type 4 1 30

รวม 1 30

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Phenobarbital 60 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. ผสมน้ ากระสายยาทีละน้อยตาม geometric proportion แล้วบดให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. เทใส่ภาชนะบรรจุทเ่ี ตรียมไว้
4. เติมน้ากระสายยาล้างยาทีเ่ หลือในโกร่งและเติมให้ครบ 30 ml
5. เขย่าแรงๆ เพื่อให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 28 -

Omeprazole suspension 2 mg/ml (50ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 50 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 50 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Omeprazole 20 mg/cap 2 100
2 8.4% NaHCO3 1 50

รวม 1 50

วิ ธีการผลิ ต
1. นา 8.4%NaHCO3 ออกจาก Amp ใส่ในภาชนะทีเ่ ตรียมไว้
2. นาเม็ดยา Omeprazole 20 mg/cap แกะแคปซูล ใส่ของ 8.4% NaHCO3
3. เขย่าเบาๆ แล้วทิง้ ตัวยาละลาย 30 นาที

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 14 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 29 -

Furosemide suspension 2 mg/ml (60ml)

ลักษณะ suspension ผลิ ตวันที่..................................................................


ขนาดบรรจุ 60 ml ผูส้ งสาร...................................................................
ั่
ปริ มาณผลิ ต 60 ml ผูผ้ ลิ ต.......................................................................
ภาชนะบรรจุ 1 ใบ เภสัชกรตรวจสอบ...................................................

สูตรการผลิ ต

ลาดับ สารเคมี สูตรแม่บท สูตรผลิ ต mg/ml


mg/ml
1 Furosemide 40 mg/tab 2 120
2 Sorbital 0.2 12
3 Vehichle type 1 0.29 17.4
4 Vehichle type 4 0.25 15
5 Purified water to 0.26 15.6
รวม 1 60

วิ ธีการผลิ ต
1. นาเม็ดยา Furosemide 40 mg/tab บดในโกร่งให้ผงละเอียด
2. เติม Sorbital ทีละน้อยลงบดให้เข้ากัน
3. เติม Vehichle type 1 ลงผสมบดให้เข้ากัน เทลงบีกเกอร์
4. ล้างโกร่งด้วย Vehichle type 4
5. ปรับปริมาตรด้วย Purified water จนครบ 60 ml

การเก็บรักษา ขวดสีชาและเก็บในตูเ้ ย็น

ความคงตัว ***ยาทีผ่ สมมีอายุ 30 วันนับจากวันทีผ่ ลิต


- 30 -

ภาคผนวกที่ 3

การตัง้ Lot NOและวันหมดอายุยาเตรียมเฉพาะราย


กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริ โภค
โรงพยาบาลท่าสองยาง อาเภอท่ าสองยาง จังหวัดตาก

การตัง้ Lot NO

…1… …2… …3… …4… …5… …6… …7… …8…

รายละเอียด :
…1… …2…  ปี พ.ศ. ทีผ่ ลิต
…3… …4…  CODE ยา / ผลิตภัณฑ์(ตามลาดับยา)
…5… …6…  เดือนทีท่ าการผลิต
…7… …8…  จานวนครัง้ ทีผ่ ลิตในเดือนนัน้ (ของยา / ผลิตภัณฑ์ แต่ละชนิด)

ตัวอย่าง : Lot NO
Lot.NO 63011001
63  ผลิตปี พ.ศ. 2563
01  ชื่อยา / ผลิตภัณฑ์ :Chloroquine
10  ผลิตเดือนตุลาคม
01  เป็น Chloroquine ทีท่ าการผลิตเป็นครัง้ ที่ 1 ของเดือนตุลาคม

ตัวอย่าง การตัง้ วันหมดอายุ


Oseltamivir ผลิต เมือ่ วันที่ 20/5/2563 มีอายุ 10 วัน
ยา Oseltamivir หมดอายุ วันที่ 29/5/2563 เป็ นต้น
- 31 -

ภาคผนวกที่ 4

รูปภาพแสดงการผลิ ตยาเตรียมเฉพาะราย
กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริ โภค
โรงพยาบาลท่าสองยาง อาเภอท่ าสองยาง จังหวัดตาก

ตัวอย่างการเตรียมยา Oseltamivir syr 10 mg/ml

รูปที่ 1 แสดงการเตรียมอุปกรณ์ น้ากระสายยา และตัวยาตัง้ ต้น

รูปที่ 2 แสดงการแกะตัวยาตัง้ ต้นออกจากแคปซูล และบดผสมยาให้ละเอียด


- 32 -

รูปที่ 3 แสดงการนาน้ากระสายยาโดยแบ่งมา 3/4 ของปริมาตรทัง้ หมด ค่อย ๆ เติมน้ า


ั่
กระสายยาลงไปปนผสมตลอดเวลาจนส่ วนผสมเป็ นเนื้อเดียวกันและเหลวพอไหลได้

รูปที่ 4 แสดงการนายาเตรียมเฉพาะรายทีเ่ ป็ นเนื้อเดียวกันเทลงขวดทีเ่ ตรียมไว้


- 33 -

รูปที่ 5 แสดงการล้างผงยาทีต่ ดิ ในโกร่งและลูกโกร่งด้วยน้ากระสายยาทีละน้อยเท แล้ว ใส่ขวดทาซ้า


จนกระทังไม่
่ มผี งยาเหลืออยูใ่ นโกร่ง ปรับปริมาตรให้ถงึ จานวนทีผ่ ลิตด้วยน้ากระสายยา และเขย่าส่วนผสมให้
เข้ากัน

รูปที่ 6 แสดงการติดฉลากยา ระบุช่อื ยา ความแรง และวันสิน้ อายุยาทีข่ วดบรรจุโดยเก็บไว้ในซองซิบสีชา


แล้วเก็บไว้ในตูเ้ ย็น
- 34 -

ภาคผนวกที่ 5
แบบบันทึกการผลิ ตยาเฉพาะราย

ครัง้ ที่ ว/ด/ป รายการยาทีผ่ ลิต จานวน Lot no Exp ผูผ้ ลิต หมายเหตุ
ทีผ่ ลิต (ml)
- 35 -

ภาคผนวกที่ 6

การประเมิ นความพึงพอใจต่อการบริ หารยาเตรียมสาหรับผู้ป่วยเฉพาะราย


1. เตรียมแบบประเมินความพึงพอใจ
2. เลือกกลุ่มตัวอย่างเป็น พยาบาลตึกกุมารเวชกรรม /ตึกผูป้ ว่ ยหนัก(ICU)
3. กาหนดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 คน
4. สุ่มสอบถามประเมินความพึงพอใจ จานวน 10 คน โดยแจกแบบสอบถาม 8.30 น. เก็บเอกสาร
16.00 น.
5. สรุปความพึงพอใจของพยาบาลทีม่ ตี ่อยาเตรียมเฉพาะราย
วิธดี าเนินการประเมินความพึงพอใจ
1.1 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการประเมินความพึงพอใจในการให้บริการ ใช้
แบบประเมิน แบ่งออกเป็น 4 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลผูต้ อบ จานวน 4 ข้อ
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการบริการ เป็นคาถามลักษณะแบบให้เลือกตอบ แบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ประกอบด้วย มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยทีส่ ุด จานวน
8คาถาม
ตอนที่ 3 ถามความต้องการการเพิม่ ยา
ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
1.2 เกณฑ์การให้คะแนนในแบบสอบถาม
เกณฑ์การให้คะแนนในแบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นข้อคาถามชนิดประเมินค่า (Rating scale)
ประเมินค่า 5 ระดับ เกณฑ์การตอบมี 5 ระดับ ดังนี้
5 หมายถึง พึงพอใจมากทีส่ ุด
4 หมายถึง พึงพอใจมาก
3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง พึงพอใจน้อย
1 หมายถึง พึงพอใจน้อยทีส่ ุด
- 36 -

ภาคผนวกที่ 7

แบบประเมิ นความพึงพอใจต่อการบริ การยาเตรียมสาหรับผู้ป่วยเฉพาะรายของพยาบาล

 ข้อมูลส่วนบุคคลของพยาบาล
ตึกผูป้ ว่ ย ตึกกุมารเวชกรรม ตึกICU
เพศ ชาย หญิง
อายุ......................ปี (ระบุ)
ประสบการณ์ทางาน..............................ปี (โปรดระบุ)

 ข้อมูลความพึงพอใจต่อการบริการยาเตรียมเฉพาะราย
ข้อคาถาม มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
ที่สดุ (4) กลาง (2) ที่สดุ
(5) (3) (1)
1.รายการยาเตรียมเฉพาะรายมีความเหมาะสม ครบ
ตามรายการทีม่ ใี ช้ในโรงพยาบาล
2.ขนาดยามีความถูกต้องครบถ้วนไม่ผดิ พลาด
3.กลุ่มงานเภสัชกรรมให้ขอ้ มูลการเก็บรักษายาเตรียม
เฉพาะรายทีเ่ ข้าใจง่าย
4.ในการเบิกจ่ายยาเตรียมเฉพาะรายมีขนั ้ ตอนทีเ่ ป็ น
ระบบและเหมาะสม
5.ฉลากยาเตรียมเฉพาะรายมีความถูกต้องครบถ้วน
6.ผูป้ ว่ ยได้รบั ยาเตรียมเฉพาะรายทันเวลาตรงตามเวลา
ทีแ่ พทย์กาหนด
7.พยาบาลมีความสะดวกในการบริหารยาให้กบั ผูป้ ว่ ย
8.ความพึงพอใจโดยรวมเกี่ยวกับยาเตรียมเฉพาะราย

 ท่านอยากให้งานเภสัชกรรมผลิตยาเตรียมเฉพาะราย รายการใดเพิม่
………………………………………………………………………………………………………
 ข้อเสนอแนะในงานผลิตยาเตรียมเฉพาะราย
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ขอบพระคุณทีร่ ว่ มตอบแบบสอบถาม

You might also like