You are on page 1of 10

สถิติ * ONET*

* ONET 54 *
(20) แผนภาพ ตน - ใบ ของขอมูลชุดหนึ่งเปนดังนี้
2 0 0 3 5 8
3 1 4 4 6 7
4 3 3 5 7
5 1 2 2 2
6 3 5
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ขอมูลชุดนี้ไมมฐี านนิยม
ข. มัธยฐานของขอมูลชุดนีเ้ ทากับ 40
ขอใดตอไปนี้ถกู ตอง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
วิธีทํา จากแผนภาพ ตน - ใบ มีจํานวนขอมูล 20 ตัว นํามาเรียงจากนอยไปมากได ดังนี้
20 , 20 , 23 , 25 , 28 , 31 , 34 , 34 , 36 , 37
43 , 43 , 45 , 47 , 51 , 52 , 52 , 52 , 63 , 65
พิจารณา ขอ ก. ขอมูลชุดนีไ้ มมีฐานนิยม
จะพบวาขอมูลชุดนี้มีความถี่สูงสุดคือ 52
ดังนัน้ ฐานนิยม = 52 ขอ ก. ผิด
พิจารณา ขอ ข. มัธยฐานของขอมูลชุดนี้เทากับ 40
N 1 20  1 21
ตําแหนงมัธยฐาน =    10.5
2 2 2

ตําแหนงที่ 10 คือ 37 และ ตําแหนงที่ 11 คือ 43


37  43 80
ดังนัน้ ตําแหนงที่ 10.5 คือ   40
2 2
มัธยฐานของขอมูลชุดนี้จึงเทากับ 40 ขอ ข. ถูก

ตัวเลือก 3. จึงถูกตอง
* ONET 54 *
(36) ในการสํารวจน้ําหนักตัว ของนักเรียนในชั้นเรียนที่มนี ักเรียน 30 คน เปนดังนี้

น้ําหนัก (กิโลกรัม) ความถี่สะสม (คน)


30 – 49 10
50 – 69 26
70 – 89 30

คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักตัวของนักเรียนในชั้นเรียนนี้เทากับกีก่ ิโลกรัม

วิธีทํา จากตารางน้ําหนักตัวของนักเรียนในชั้นเรียนที่มีนักเรียน 30 คน
นําคาความถี่สะสมทีก่ ําหนดใหมาเปลี่ยนเปนความถี่ได ดังนี้

น้ําหนัก ความถี่ fi xi fi . x i
30 – 49 10 39.5 395
50 – 69 16 59.5 952
70 – 89 4 79.5 318
รวม 30 – 1665
_
จากสูตร คาเฉลี่ยเลขคณิต x 
 fi xi
N
_
1665
จะไดวา x 
30
_
x  55.5

ดังนัน้ คาเฉลีย่ เลขคณิตของน้ําหนักตัวของนักเรียนในชัน้ เรียนนีเ้ ทากับ 55.5 กิโลกรัม


วิธที ี่ 2 ในกรณีที่ความกวางของอันตรภาคชั้นเทากัน อาจใชสูตรทําใหตัวเลขนอยลงได ดังนี้

น้ําหนัก ความถี่ fi di fi .di


30 – 49 10 –1 – 10
50 – 69 16 0 0
70 – 89 4 1 4
รวม 30 – –6

จากสูตร คาเฉลี่ยเลขคณิต
_ 
x  A  
 f i d i  I
 N 
 

A = จุดกึ่งกลางชั้นที่มีความถี่สูงสุด ซึ่งจะมีคา di = 0
I = ความกวางของอันตรภาคชัน้
_
6
จะไดวา x  59.5    20
 30 
_
 12 
x  59.5   
 3 
_
x  59.5  ( 4 )
_
x  59.5  4
_
x  55.5

ดังนัน้ คาเฉลีย่ เลขคณิตของน้ําหนักตัวของนักเรียนในชัน้ เรียนนีเ้ ทากับ 55.5 กิโลกรัม


* ONET 54 *
(37) ขอมูลชุดหนึง่ เรียงลําดับจากนอยไปมาก ดังนี้
2 , 3 , 3 , x , 4 , y , 7
4
ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนีเ้ ทากับ 4 และ ตามลําดับ
7
แลว y – x มีคาเทาใด
_
4
วิธที ํา ขอมูลเรียงลําดับจากนอยไปมากจํานวน 7 ตัว มีคา x  4 และ s 
7
_
จากสูตร x 
 xi
N
233x 4 y7
4 
7
19  x  y
4 
7

28  19  x  y

28  19  x  y

9  xy

xy  9

y  9  x ......................... (1)

_
 ( xi  x ) 2
จากสูตร สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน s 
N

4 4  1  1  ( x  4 )2  0  ( y  4 )2  9
จะไดวา 
7 7

4 15  ( x  4 ) 2  ( y  4 ) 2

7 7

4 15  ( x  4 ) 2  ( y  4 ) 2

7 7

4  15  ( x  4 ) 2  ( y  4 ) 2 ......................... (2)
แทนคา y  9  x ลงในสมการ (2) ; 4  15  ( x  4 ) 2  ( 9  x  4 ) 2

4  15  ( x  4 ) 2  ( 5  x ) 2

4  15  ( x 2  2 x 4  4 2 )  ( 5 2  2 (5) x  x 2 )

4  15  x 2  8 x  16  25  10 x  x 2

4  2 x 2  18 x  56

ยกกําลังสองทัง้ สองขาง ; 16  2 x 2  18 x  56

0  2 x 2  18 x  40

0  x 2  9 x  20

0  ( x  5) ( x  4 )

x  5  0 หรือ x  4  0

x  5 หรือ x  4

โจทยกําหนดขอมูลเรียงลําดับจากนอยไปมาก ซึ่งตําแหนงคา x จะตองไมมากกวา 4

ดังนัน้ x  4

แทนคา x  4 ลงในสมการ (1) ; y  9  x

y  9  4

y  5

ดังนัน้ y – x = 5 – 4 = 1
* ONET 54 *
(38) ชายคนหนึง่ ตักปลาทีเ่ ลีย้ งไวในกระชังเพือ่ สงขายจํานวน 500 ตัว ซึ่งมีน้ําหนักโดยเฉลี่ยตัวละ 700 กรัม
ในจํานวนนี้เปนปลาจากกระชังที่หนึ่ง 300 ตัว และจากกระชังที่สอง 200 ตัว ถาปลาในกระชังที่หนึง่
มีน้ําหนักเฉลี่ยตอตัวมากกวาในกระชังที่สอง 50 กรัม แลวเขาตักปลาจากกระชังที่สองมากีก่ ิโลกรัม

วิธีทํา ตักปลาทีเ่ ลีย้ งไวในกระชัง 500 ตัว มีน้ําหนักเฉลี่ยตัวละ 700 กรัม


- เปนปลาจากกระชังที่หนึ่ง 300 ตัว
- เปนปลาจากกระชังที่สอง 200 ตัว
- ปลาในกระชังที่หนึง่ มีน้ําหนักเฉลี่ยตอตัวมากกวาในกระชังที่สอง 50 กรัม
_
จะไดวา x  700 และ N  500

N1  300 และ N 2  200


_ _
ให x1  a จะไดวา x 2  a  50

_
จากสูตร x 
 xi
N

700 
 xi
500

350000   xi
_
จากสูตร x1 
 ( x i )1
N1

a 
 ( x i )1
300

300 a   (x i )1 ............................ (1)

_
จากสูตร x2 
 (xi ) 2
N2

a  50 
 (x i ) 2
200

200 a  10000   (x i ) 2 ............................ (2)


เนื่องจาก  (x i )1   ( x i ) 2   xi

จะไดวา 300 a  ( 200 a  10000 )  350000

300 a  200 a  10000  350000

500 a  10000  350000

500 a  360000

360000
a 
500
360000
a 
500

a  720

แทนคา a  720 ลงในสมการ (2) ; 200 a  10000   (x i ) 2

200 ( 720 )  10000   (x i ) 2

144000  10000   (x i ) 2

134000   (x i ) 2
134000
ดังนัน้ เขาตักปลาจากกระชังที่สองมา 134000 กรัม = = 134 กิโลกรัม
1000
* ONET 54 *
(39) ในการสํารวจอายุของคนในหมูบา นแหงหนึง่ เปนดังนี้

อายุ (ป) ความถี่ (คน) ความถี่สัมพัทธ


0 – 10 10
11 – 20 25
21 – 30 35
31 – 40 x
41 – 50 40
51 – 60 20 0.10
61 – 70 15
71 – 80 3
81 – 90 2

คา x ในตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธเทากับเทาใด

วิธีทํา จากตารางการสํารวจอายุของคนในหมูบาน

อายุ (ป) ความถี่ (คน) ความถี่สัมพัทธ


0 – 10 10
11 – 20 25
21 – 30 35
31 – 40 a x
41 – 50 40
51 – 60 20 0.10
61 – 70 15
71 – 80 3
81 – 90 2

ใหความถีข่ องอันตรภาคชั้น 31 – 40 เทากับ a


จะไดผลรวมของความถี่ทงั้ หมดเทากับ 10 + 25 + 35 + a + 40 + 20 + 15 + 3 + 2 = 150 + a
พิจารณา อันตรภาคชั้น 51 – 60 มีความถี่ 20 และมีความถี่สัมพัทธ 0.10
ความถี่ของอันตรภาคชันนั้น
จากสูตร ความถี่สัมพัทธ =
ผลรวมของความถี่ทั้งหมด

20
จะไดวา 0.10 
150  a
1 20

10 150  a

150  a  200

a  200  150

a  50

ดังนัน้ อันตรภาคชั้น 51 – 60 มีความถี่ 50

ผลรวมของความถีท่ ั้งหมดเทากับ 150 + a = 150 + 50 = 200


ความถี่ของอันตรภาคชันนั้น
จากสูตร ความถี่สัมพัทธ =
ผลรวมของความถี่ทั้งหมด

50
x 
200

1
x 
4

x  0.25

ดังนัน้ คา x ในตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธเทากับ 0.25


* ONET 54 *
(40) คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึง่ แสดงดวยแผนภาพตน - ใบ ดังนี้
3 0 4 9
4 0 7 7 8 8 8
5 0 0 1 2 2 3 4 6 6 7 7 8 8 9
6 0 2 3 3 6 8 9
7 0 1

เปอรเซนตไทลที่ 50 ของคะแนนสอบนีเ้ ทากับคะแนนเทาใด

วิธีทํา จากแผนภาพ ตน - ใบ มีจํานวนขอมูล 32 ตัว นํามาเรียงจากนอยไปมากได ดังนี้


30 , 34 , 39 , 40 , 47 , 47 , 48 , 48 , 48 , 50 , 50 , 51 , 52 , 52 , 53 , 54
56 , 56 , 57 , 57 , 58 , 58 , 59 , 60 , 62 , 63 , 63 , 66 , 68 , 69 , 70 , 71
r ( N  1)
จากสูตร ตําแหนงที่ของ Pr 
100

50 ( 32  1)
จะไดวา ตําแหนงที่ของ P50 
100
33

2

 16.5

จากขอมูลที่กําหนด ตําแหนงที่ 16 คือ 54


ตําแหนงที่ 17 คือ 56

54  56
จะไดวา P50 
2
110

2

 55

ดังนัน้ เปอรเซนตไทลที่ 50 ของคะแนนสอบนี้เทากับคะแนน 55

You might also like