You are on page 1of 30

Initiate

BTG

Thailand : Food & Beverage 23 December 2022

Action What’s new? Our view


BTG เป็ นผู้ ผลิ ตอาหารครบวงจรชั้น นาของไทย เรามีมุมมองกลางต่อแนวโน้ม กาไรปี 2566 ของ
BUY
► ►
(Initiate) โดยมีประสบการณ์มากกว่า 50 ปี และมีแบรนด์ BTG ที่คาดจะชะลอตัว YoY ตามแนวโน้ มราคา
สิ น ค้ า ที่ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก อ า ทิ Betagro, S-Pure, ห มู /ไก่ ที่ ค าด จ ะล ด ล งจาก Supply ที่ สู งขึ้ น
ITOHAM อย่างไรก็ตามประเมินว่าราคาหมู/ไก่ที่ปรับลงจะ
TP upside (downside) +35.3% ยังเป็ นราคาระดั บ สู งเที ยบกั บ ปกติ ท าให้ กาไร
► เราคาดแนวโน้ ม ก าไรปกติ 4Q65 เติ บ โตเด่ น ของ BTG จะยังเป็ นระดับที่สูงเทียบในอดีต
Close Dec 22, 2022 YoY จากราคาหมู แ ละไก่ ที่ สู ง ขึ้น ชดเชยราคา ► เราประเมิ น ว่ า ราคาหุ้ น ปั จจุ บั น สะท้ อ นความ
ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ สู งขึ้ น ได้ ทั้ ง หมด ประกอบกั บ กั ง วลด้ า นผลประกอบการในปี 2566 และมี
Price (THB) 33.25 ปริมาณขายที่คาดเติบโตในทุกกลุ่มธุรกิจ ทาให้ Downside risk ที่ จ า กั ด แ ล้ ว เร า เริ่ ม ต้ น ใ ห้
12M Target (THB) 45.00 เราคาดก าไรปกติ ทั้ งปี 2565 ที่ 7.49 พั น ลบ. (+ คาแนะนา ซื้อ ด้วยราคาเหมาะสม สิ้นปี 2566 ที่
Previous Target (THB) - 711.5% YoY) ทาระดับสูงสุดใหม่ 45.00 บาท อิงวิธี PER ที่ 12.2 เท่า (รวม ESG)
Company profile: BTG is an integrated agro-industrial and food company. The Company produces and sells animal
feed, animal health products, poultry, swine, eggs, related processed food and pet food, distribute farm equipment and
engage in related research and development.

Research Analysts: BETAGRO


Kritawit Ratanakhanokchai

Tel. +662 009 8064


เนือ้ คู่อยู่ประตูถัดไป เนือ้ หมูเนือ้ ไก่ต้องให้ Betagro
E-Mail Kritawit.r@yuanta.co.th
จะหมู, ไก่ หรือ ไข่ ไม่มีใครไม่รู้จักเรา
124392
ID
BTG เป็ นหนึ่งในผูน้ ำด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรครบวงจรของประเทศมีประสบกำรณ์ในอุตสำหกรรมกว่ำ
50 ปี และมีธุรกิจที่ครอบคลุมทัง้ ห่วงโซ่อปุ ทำนตัง้ แต่ตน้ นำ้ ถึงปลำยนำ้ โดยมีแบรนด์สินค้ำเป็ นที่รูจ้ กั
อำทิ Betagro, S-Pure, ITOHAM เป็ นต้น และมีกำรขยำยธุรกิจไปยังต่ำงประเทศได้แก่ กัมพูชำ, ลำว
Yuanta ESG Rating AA
Bloomberg code BTG.TB
และ เมียนมำ
Market cap (THBmn) 64,332.10 แนวโน้มกาไร 4Q65 เติบโตเด่น YoY .. กาไรทัง้ ปี 2565 ทาระดับสูงสุดใหม่
Corporate Gov.Rating -
เรำคำดแนวโน้มกำไรปกติใน 4Q65 เบือ้ งต้นจะชะลอลง QoQ เนื่ อจำก ปั จจัยฤดูกำลที่ผ่ำนพ้น ช่วง
6M avg. daily turnover (THBmn) 567.00
High Season ของธุรกิจ, ได้รบั ผลกระทบของช่วงเทศกำลกินเจทำให้อุปสงค์เนือ้ สัตว์ชะลอตัว และ
Outstanding shares (mn) 1,934.80
รับ รู ผ้ ลของรำคำเฉลี่ยหมูไก่ในประเทศที่ ชะลอลง QoQ อย่ำ งไรก็ ต ำมแม้รำคำหมูไก่ในประเทศจะ
Free float (%) 37.32%
ชะลอลงแต่ยงั เติบโตสูงหำกเทียบ YoY ซึ่งจะชดเชยรำคำต้นทุนกำรเลีย้ งที่สงู ขึน้ ได้ทงั้ หมด ประกอบ
Major shareholders (%)
BETAGRO HOLDING CO., LTD. 32.81
กับปริมำณขำยที่มีกำรเติบ โตในทุกกลุ่มธุรกิจ ทำให้กำไรปกติ เมื่อเทียบ YoY คำดจะเติ บโตเด่น ทั้ง
TAE HK Investment Limited 20.67
จำกด้ำนรำยได้และอัตรำกำไรที่เติบโต ส่งผลให้เรำคำดกำไรปกติทงั้ ปี 2565 ที่ BTG ที่ 7.49 พันลบ.
MERRILL LYNCH (SINGAPORE) PTE. LTD. 7.97
(+711.5% YoY) เป็ นระดับสูงสุดใหม่ของบริษัท จำกกำรได้ประโยชน์โดยตรงของรำคำหมูและไก่ที่ทำ
ระดับสูงสุดในรอบมำกกว่ำ 10 ปี และปริมำณขำยเติบโตตำมกำรฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจในประเทศ
Financial outlook (THBmn) คาดกาไรปี 2566 ชะลอตัว บนสมมติฐานที่ Conservative
Year to Dec 2021A 2022F 2023F 2024F เรำคำดกำไรปกติปี 2566 ของ BTG ที่ 7.10 พันลบ. ชะลอลง 4.7%YoY แม้เรำคำดรำยได้ยงั เติบโตได้
Revenue 85,424 108,847 116,855 125,132
จำกกำรเติบโตในทุกกลุ่มธุรกิจย่อยของบริษัทจำกปั จจัยด้ำนปริมำณขำยเป็ นหลักที่คำดจะสูงขึน้ ตำม
EBITDA 5,523 7,126 6,605 6,944
แนวโน้ม เศรษฐกิ จในประเทศที่ ฟื้ น ตัว ต่อ และกำรรับ รู ก้ ำลังกำรผลิ ต ใหม่ แต่ด ้ว ยบนสมมติ ฐ ำนที่
Core Profit 923 7,493 7,140 7,561
ระมัดระวังต่อรำคำหมูและไก่ ที่คำดจะชะลอลงในปี 2566 ส่งผลให้เรำคำดอัตรำกำไรขัน้ ต้นคำดปรับ
Net profit
Core EPS (THB)
1,011 7,493 7,140 7,561
ลดลงเป็ น 18.7% จำกคำดที่ 19.7% ในปี 2565 อย่ำงไรก็ตำมเรำมองว่ำกำไรปี 2566 ที่ชะลอลง YoY
Core EPS growth (%)
0.48 3.87 3.69 3.91
จะยังเป็ นกำไรที่อยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับอดีตจำกผลบวกด้ำนอุปทำนกำรเลีย้ งสุกรที่ยังไม่กลับ สู่
-62.0 711.5 -4.7 5.9
DPS (THB)
ภำวะปกติหลังกำรระบำดของโรค ASF และไก่ที่ได้รบั ผลบวกจำกอุปสงค์ในต่ำงประเทศที่สูงขึน้ และ
0.00 1.16 1.11 1.17
Core P/E (x) 63.7 8.6 9.0 8.5
ปริมำณไก่ในประเทศที่เพิ่มขึน้ ได้อย่ำงจำกัดจำกจำนวนไก่ปยู่่ ำพันธุท์ ี่ขำดแคลน
P/BV (x) 1.6 1.7 1.5 1.3 เรำคำดกำไรจะพลิกกลับมำเติบ โต YoY ได้อีกครัง้ ในปี 2567 จำกรำยได้ที่ ค ำดจะเติ บ โตได้ต่อตำม
Div Yield (%) 0.0 3.5 3.3 3.5 แผนกำรขยำยกำลังกำรผลิต , กำรขยำยตลำดต่ำงประเทศ และ Product mix ที่ดีขึน้ จำกกำรเน้นกำร
Net Gearing (%) 193.6 37.5 32.7 27.3 ขยำยธุรกิจไปในสินค้ำ และช่องทำงกำรจัดจำหน่ำยที่มีอตั รำกำไรสูง
ROE (%) 6.5
Source: Company, Yuanta Research
19.5 16.4 15.4
ตลาดกังวลต่อแนวโน้มผลประกอบการปี 2566 มากเกินไป เริ่มต้นคาแนะนา “ซือ้ ”
เรำประเมินมูลค่ำพืน้ ฐำนด้วยวิธี PER ที่ 12.0 เท่ำ เทียบเท่ำกับ -0.5 SD ของค่ำเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี
ของคู่แข่ง และใช้คะแนนจำกกำรประเมินปั จจัยด้ำน ESG ในกำรปรับเพิ่ม Premium ของ PER ขึน้ ที่
2% ได้มลู ค่ำเหมำะสมสิน้ 2566 ของ BTG ที่ 45.00 บาทต่อหุน้ และเรำประเมินว่ำรำคำหุน้ ปั จจุบนั
ที่ ถูก ซื อ้ ขำยบน PER66 เพี ย ง 8.6 เท่ำ เที ย บเท่ ำ -1.0 SD ของค่ำ เฉลี่ ย ย้อ นหลังในอดี ต ของกลุ่ม
สะท้อนควำมกังวลด้ำนผลประกอบกำรที่จะชะลอตัวในปี 2566 ไปพอสมควรแล้ว และมองว่ำรำคำ
หุน้ ปั จจุบนั มี Downside risk ที่จำกัด จึงอำจพิจำรณำเป็ นจังหวะสะสม เริม่ ต้นให้คำแนะนำ “ซือ้ “
บริษัทหลักทรัพย์ หยวนต้า (ประเทศไทย) จากัด อาจเป็ นผู้ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ์อนุพันธ์ และอาจเป็ นผู้ดูแลสภาพคล่อง (Market Maker) บนหลักทรัพย์ที่ปรากฏอยู่ในรายงานนี้
โดยบริษัทอาจจัดทาบทวิเคราะห์ของหลักทรัพย์อ้างอิงดังกล่าวนี้ ดังนั้น นักลงทุนควรศึกษารายละเอียดในหนังสือชีช้ วนของใบสาคัญแสดงสิทธิ์ดังกล่าวก่อนการตัดสินใจลงทุนใน
หลักทรัพย์อ้างอิงนี้
การประเมินมูลค่า
เรำประเมิน มูล ค่ำ BTG ด้ว ยวิ ธีเปรียบเที ยบอัต รำส่ว นรำคำต่อกำไร (PER) ได้ ราคาเหมาะสม ณ สิ้นปี 2566 ที่
45.00 บาทต่อหุ้น เรำคำดกำไรปกติ ปี 2565 และ 2566 ที่ 7.5 พันลบ. (+711.5% YoY) และ 7.14 พันลบ. (-4.7%
YoY) ตำมลำดับ อิงสมมติฐำนสำคัญดังนี ้
1. คำดรำยได้ห ลัก ในปี 2565 และ 2566 ที่ 1.08 แสนลบ. (+27.4% YoY) และ 1.17 แสนลบ. (+7.4% YoY)
ตำมลำดับ จำกกำรเติบโตของทุกธุรกิจ
(1) ธุรกิจเกษตรคำดจะทยอยรับรูก้ ำรขยำยกำลังกำรผลิตที่คำดจะเพิ่มขึน้ เฉลี่ย CAGR 4 ปี ที่ 8.3% ต่อปี เป็ น
5.5 ล้ำนตัน ภำยในปี 2569
(2) ธุรกิจอำหำรและโปรตีน ได้อำนิสงค์จำกรำคำหมูและไก่ที่ปรับสูงขึง้ อย่ำงมีนยั สำคัญ และคำดจะยังทรงตัว
ระดับสูงได้ต่อในปี 2566 ส่วนด้ำนปริมำณขำยจะรับรูก้ ำรทยอยขยำยกำลังกำรผลิตโรงชำแหละสุกรเป็ น
4.8 ล้ำนตัว/ปี ภำยในปี 2569 (คิด เป็ นอัต รำกำรเติบ โต CAGR ที่ 15.0% ต่อปี ), ขยำยกำลังกำรผลิต โรง
ชำแหละสุกรเป็ น 270 ล้ำนตัว/ปี ภำยในปี 2569 (คิดเป็ นอัตรำกำรเติบโต CAGR ที่ 10.2% ต่อปี ), ขยำย
กำลังกำรผลิตเนือ้ สัตว์แปรรูปเป็ น 74,000 ตัน/ปี ภำยในปี 2569 (คิดเป็ นอัตรำกำรเติบโต CAGR ที่ 10.3%
ต่อปี ) และกำรขยำยกำลังกำรผลิตอำหำรแปรรู ปเป็ น 149,000 ตัน/ปี ภำยในปี 2569 (คิ ดเป็ น อัตรำกำร
เติ บ โต CAGR ที่ 12.4% ต่อ ปี ) (กำรขยำยก ำลังกำรผลิ ต ทั้งหมดเป็ นกำรทยอยขยำยก ำลังกำรผลิ ต )
ประกอบกับกำรขยำยช่องทำงจัดจำหน่ำยเพิ่มขึน้ ทัง้ ช่องทำงกำรขำยของบริษัทเอง, ช่องทำงอื่นๆที่ไม่ได้
เป็ นของบริษัท, Food Service และกำรส่งออกที่คำด Demand ยังเติบโตอย่ำงแข็งแกร่ง
(3) ธุรกิจต่ำงประเทศ บริษัทมีแผนขยำยกำลังกำรผลิตใน กัมพูชำ และสปป.ลำว รวมถึงมีแผนเข้ำไปลงทุนใน
ประเทศเมียนมำเพิ่มเติม เรำคำดกำรเติบโตของรำยได้ธุรกิจต่ำงประเทศในปี 2565 และ 2566 ที่ 15% และ
17% YoY ตำมลำดับ
2. คำดอัตรำกำไรขัน้ ต้น (GPM) ในปี 2565 ที่ 19.7% เพิ่มขึน้ จำกปี 2564 ที่ 13.1% จำกสัดส่วนธุรกิจ อำหำรและ
โปรตีนที่สูงขึน้ ประกอบกับรำคำหมู/ไก่ที่ปรับสูงขึน้ เด่น YoY ช่วยชดเชยรำคำต้นทุนวัตถุดิบที่สงู ขึน้ และอัตรำ
กำรใช้กำลังกำรผลิต โดยรวมที่ สูงขึน้ เกิด Economies of scale ขณะที่ปี 2566 เรำคำด GPM ชะลอตัวลงเป็ น
18.7% จำกสมมติ ฐำนรำคำเฉลี่ยหมูแ ละไก่ที่ ค ำดจะชะลอลง YoY แต่ชดเชยได้บ ำงส่วนจำกแนวโน้มรำคำ
ต้นทุนวัตถุดิบที่คำดจะชะลอลงเช่นกัน และกำรเน้นจำหน่ำยสินค้ำกลุม่ ที่มีอตั รำกำไรสูงมำกขึน้
3. คำด SG&A ในปี 2565-66 ที่ 1.22 หมื่ น ลบ.(+11.9%YoY) และ 1.35 หมื่ น ลบ. (+6.0%YoY) หรือ คิ ด เป็ น
SG&A/Sales ที่ 11.2% และ 11.1% ตำมลำดับ
วิธี ก ารเปรี ย บเทีย บอั ต ราส่ ว นราคาต่ อ ก าไร (PER) : เรำประเมิ น รำคำเหมำะสม ณ สิ น้ ปี 2566 อิ งวิ ธี PER
เนื่ องจำกสิน ค้ำ ของบริษั ท มีลักษณะใกล้เคี ยงกับ สิน ค้ำ Commodity ที่ รำคำขำยมีค วำมผัน ผวนตำมรำคำต้น ทุน
วัตถุดิบและรำคำตลำด ทำให้เรำประเมินว่ำกำรใช้วิธี Discount Cash Flow จึงอำจไม่เหมำะสมเพรำะกระแสเงินสด
ของบริษั ท ที่ อำจมีควำมผัน ผวนตำมวัฏจักรของธุ รกิ จ โดยเรำใช้ PER ที่ 12.0 เท่ำ เที ยบเท่ำ -0.5 SD ของค่ำเฉลี่ย
PE-Band ย้อนหลัง 5 ปี ข องคู่แ ข่งในอุต สำหกรรม (ไม่รวมปี 2564 ที่ ผ ลประกอบกำรต่ำ เป็ น พิเศษ) เพื่อเพิ่ มควำม
ระมัดระวังให้กับรำคำเหมำะสม และสะท้อนควำมเสี่ยงที่ตลำดกังวลว่ำประกอบกำรจะผ่ำนระดับสูงสุดไปแล้วในปี
2565 ซึ่งใกล้เคียงกับ Valuation ของผูเ้ ล่นรำยอื่นในตลำดที่ปัจจุบนั ถูก ซือ้ ขำยบนระดับ -0.5 SD ของค่ำเฉลี่ยเช่นกัน
นอกจำกนีเ้ รำใช้คะแนนจำกกำรประเมินปั จจัยพืน้ ฐำนด้ำน ESG ของ BTG ได้ที่ระดับ AA ทำให้เรำปรับเพิ่ม Premium
ของ PER ของ BTG ขึน้ ที่ 2% เป็ น 12.2 เท่ำ เนื่องจำกมองว่ำระดับ ESG ที่ดีจะส่งผลบวกต่อแนวโน้มกำไรของบริษัท
ในระยะยำว เช่น กำรไม่ถกู กำรกีดกันกำรนำเข้ำจำกประเทศคู่คำ้ , สินค้ำได้รบั กำรยอมรับมำกขึน้ จำกผูบ้ ริโภค, เป็ นข้อ
ได้เปรียบด้ำนกำรแข่งกันเทียบกับคูแ่ ข่ง, มีตน้ ทุนของเงินทุนที่ต่ำกว่ำ เป็ นต้น ทำให้ได้มลู ค่ำเหมำะสมของหุน้ BTG ณ
สิน้ ปี 2566 ที่ 45.00 บำท มี Upside gain จำกรำคำปั จจุบนั 35.3% เริม่ ต้นให้คำแนะนำ “ซือ้ ”
Figure 1: Valuation by Price to earnings ratio

Avg. 5 Yrs Forward PER band Standard


Market Cap (THB)
(Excluded FY-21) Deviation
CPF 203.3 bn 13.3 2.8
GFPT 16.6 bn 13.5 3.0
TFG 30.2 bn 17.9 11.1
Avg. 14.9 5.6

Avg. PER - 0.5 SD 12.0


+ ESG Score (2%) 12.2
Norm EPS (2023) 3.69
Target Price (2023) 45.12

Source: Yuanta Research

Thailand Page 2 of 30
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
บริษัท เบทำโกร จำกัด (มหำชน) (“BTG”) ประกอบธุรกิจเกษตรอุตสำหกรรมและอำหำรครบวงจร ครอบคลุมตัง้ แต่
ต้นนำ้ ถึงปลำยนำ้ รวมถึงธุรกิจอำหำรสัตว์เลีย้ งและกำรจัดจำหน่ำยอุปกรณ์ฟำร์ม โดยบริษัท มีรูปแบบกำรทำธุรกิจ
แบบครบวงจร (Vertically Integrated Business Model) ที่ครอบคลุมในหลำยด้ำนของห่วงโซ่คุณค่ำของผลิตภัณ ฑ์
ของบริษัท (Value Chain) ตัง้ แต่กำรผลิตอำหำรสัตว์ กำรเพำะเลีย้ ง และจำหน่ ำยพ่อแม่พันธุ์สัตว์ กำรทำฟำร์มเชิง
พำณิชย์ กำรชำแหละและกำรแปรรูปเนือ้ สัตว์ ไปจนถึงกำรขำย โรงงำนผลิตและแปรรูปอำหำรที่มีมำตรฐำนสูงและมี
ประสิทธิภำพของบริษัท รวมถึงควำมสำมำรถในกำรวิจยั คิดค้นพัฒนำผลิตใหม่เข้ำสูต่ ลำด
Figure 2: Fully integrated business model

Source: Company

BTG มี ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ที่ ว ำงขำยภำยใต้แ บรนด์ซึ่งเป็ น ที่ รูจ้ ักอย่ำ งแพร่ห ลำยในอุต สำหกรรม อำทิ "BETAGRO" และ
"S-Pure" สำหรับผลิตภัณฑ์เนือ้ สัตว์อนำมัย เนือ้ สัตว์แปรรูป และอำหำรแปรรูป, "ITOHAM" สำหรับผลิตภัณฑ์ไส้กรอก
เกรดพรีเมี ยม แบรนด์ "betagro" "Balance" และ "MASTER" ส ำหรับ ผลิ ต ภัณ ฑ์อำหำรสัต ว์ "Better Pharma" และ
"Nexgen" สำหรับผลิตภัณ ฑ์เวชภัณ ฑ์และสำรเสริมสำหรับสัตว์ และแบรนด์ “Perfecta” “DOG n joy” และ "CAT n
joy" สำหรับผลิตภัณฑ์อำหำรสัตว์เลีย้ ง

Figure 3: BTG’s diverse brand portfolio

Source: Company

Thailand Page 3 of 30
หำกแบ่งธุรกิจตำมลักษณะกลุม่ ธุรกิจแล้วสำมำรถแบ่งได้เป็ น 4 กลุม่ ธุรกิจหลัก ได้แก่
หน่วยธุรกิจที่ 1 กลุ่มธุรกิจเกษตร ประกอบด้วย 3 ธุรกิจย่อย ได้แก่
1. ธุ รกิจอาหารสัต ว์ ได้แก่กำรผลิต และจำหน่ ำยอำหำรปศุสัตว์ และอำหำรสัต ว์น ำ้ โดยบริษั ท มีโรงงำน
อำหำรสัตว์จำนวน 10 แห่งในประเทศ คิดเป็ นกำลังกำรผลิตรวมรำว 4.0 ล้ำนตัน/ปี โดยแบ่งเป็ นกำรผลิต
เพื่อใช้ภำยในเครือบริษัทรำว 60-62% และกำรจำหน่ำยแก่บคุ คลภำยนอกบริษัทรำว 38-40%
2. ธุ ร กิ จ เวชภั ณ ฑ์แ ละสารเสริ ม ส าหรับ สั ต ว์ ได้แ ก่ ก ำรผลิ ต และจ ำหน่ ำ ยผลิ ต ภัณ ฑ์ส ำรเสริม และ
ผลิตภัณฑ์สขุ อนำมัยสำหรับกำรเลีย้ งสัตว์ ภำยใต้แบรนด์ “Better Pharma” และ “Nexgen” รวมทัง้ มีกำร
รับ จ้ำงผลิต (OEM) และเป็ น ตัวแทนจำหน่ ำ ยวัคซีน และสำรละลำยฉี ดสัต ว์ ปั จจุบันมี กำลังกำรผลิต ที่
23,509 ตัน/ปี
3. ธุ รกิจ อื่นๆ ประกอบด้วย ธุรกิ จอุปกรณ์ฟำร์มปศุสัต ว์, ธุรกิ จบริกำรห้องปฏิบัติกำร อำทิ กำรให้บ ริกำร
ทดสอบทำงห้องปฏิบตั ิกำรสำหรับอำหำรสัตว์ ผลิตภัณฑ์สขุ ภำพสัตว์ และอำหำร
กลุ่มธุรกิจเกษตรมีกำรจัดจำหน่ำยผ่ำน 4 ช่องทำงหลัก ได้แก่ 1) ผูป้ ระกอบกำรฟำร์มในประเทศไทย 2) ผ่ำนตัวแทน
จำหน่ ำยในประเทศ 3) ลูกค้ำในกลุ่มอุต สำหกรรมอำหำร และแปรรู ปเนื อ้ สัตว์ห รืออำหำร และ 4) อื่น ๆ ได้แ ก่ กำร
จำหน่ำยให้แก่ลกู ค้ำระหว่ำงประเทศ และบริษัทอำหำรแบบครบวงจรขนำดใหญ่ในลักษณะเดียวกับบริษัท
หน่วยธุรกิจที่ 2 กลุ่มธุรกิจอาหารและโปรตีน แบ่งได้ทงั้ หมด 5 ธุรกิจย่อย ได้แก่
1. ธุ รกิจ อาหารเพื่อการบริโภค ได้แก่กำรผลิต และจำหน่ ำยเนือ้ หมู, เนือ้ ไก่สดและไก่แช่แข็ง ปลำ ไข่ไก่
อำหำรแปรรูป และเนือ้ สัตว์แปรรูป โดยจำหน่ำยภำยแบรนด์ของบริษัท อำทิ BETAGRO, S-PURE เป็ นต้น
ซึ่งมีกลุ่มเป้ำหมำยเป้นลูกค้ำกลุ่มทั่วไปและกลุ่มพรีเมียมตำมลำดับ และบำงส่วนจำหน่ำยในรูปแบบกำร
ให้บ ริกำรรับจ้ำงผลิต (OEM) โดยสินค้ำในกลุ่มนีจ้ ะมีอัตรำกำไรขั้นต้นที่สูงกว่ำกำรขำยเนื อ้ สัตว์ชนิ ดไม่
แบ่งบรรจุ
มีช่องทำงจัดจำหน่ำยได้แก่ ธุรกิจค้ำ ปลีกสมัยใหม่ เช่น ซุปเป้อมำร์เก็ต และไฮเปอร์มำร์เก็ต , ช่องทำงผู้
ให้บริกำรด้ำนร้ำนอำหำร (Food Service) ตลอดจนช่องทำงจัดจำหน่ำยของบริษัทเอง อำทิ สำขำเบทำโกร,
ร้ำนเบทำโกรช็อป ร้ำนเบทำโกรเดลี และร้ำนเนือ้ สัตว์อนำมัย
2. ธุ รกิจเนื้อสัตว์ชนิ ดไม่แบ่ งบรรจุ ได้แก่ กำรผลิตและจำหน่ำยผลิตภัณ ฑ์เนือ้ หมูและเนื อ้ ไก่สดชนิดไม่
แบ่งบรรจุ (ขนำดน ำ้ หนักมำกกว่ำ 2 กก.) สำหรับ ช่องทำงธุ รกิจค้ำปลีกแบบดั้งเดิมในประเทศไทย เช่น
ตลำดสด และช่องทำงอุตสำหกรรมในประเทศไทย
3. ธุ รกิ จ ส่งออก ได้แ ก่ กำรผลิ ต เนื ้อหมู, ไก่ , ไข่ไก่ , อำหำรแปรรู ป และเนื ้อสัต ว์แ ปรรู ป เกรดพรีเมี ย มไป
มำกกว่ำ 20 ประเทศทั่ว โลก ภำยใต้แบรนด์ข องบริษั ท และในรู ป แบบของกำรรับ จ้ำงผลิต (OEM) โดย
ตลำดส่งออกหลักของบริษัทได้แก่ สหรำชอำณำจักร, สหภำพยุโรป, ญี่ปน, ุ่ สิงคโปร์, ฮ่องกง, และจีน
4. กลุ่มผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และผลิตภั ณฑ์พลอยได้และอาหารอืนๆ ได้แก่ กำรขำยชิน้ ส่วนสัตว์ที่เหลือ

จำกกระบวนกำรชำแหละ และกำรผลิตและขำยโปรตีนทำงเลือกจำกพืช ผลิตภัณฑ์จำกสัตว์ได้แก่ชิน้ ส่วน
สัตว์ที่เหลือซึง่ สำมำรถรับประทำนได้ เช่นเครือ่ งใน ส่วนผลิตภัณฑ์พลอยได้ที่เหลือซึง่ ไม่สำมำรถรับประทำน
ได้ เช่น ขนไก่ และหัวไก่
5. กลุ่มธุรกิจปศุสัตว์ ประกอบด้วยกำรเลีย้ งและจำหน่ำยสุกร ไก่ และปลำยังมีชีวิต ซึ่งไม่ได้นำไปใช้สำหรับ
กลุ่มธุรกิจอำหำรและโปรตีนอื่นๆ แต่สำหรับจำหน่ำยให้แก่ฟำร์มและผูป้ ระกอบกำรอุตสำหกรรมแปรรู ป
รำยต่ำงๆในประเทศ
Figure 4: Food and Protein business supply chain

Source: Company

Thailand Page 4 of 30
หน่ วยธุรกิจที่ 3 กลุ่มธุรกิจต่างประเทศ ประกอบด้วย กำรประกอบธุรกิจในประเทศกัมพูชำ และลำว รวมถึง
กำรทำกำรค้ำสุกรพ่อแม่พนั ธุส์ ง่ ออกไปประเทศเมียนมำ นอกจำกนีบ้ ริษัทมีแผนในกำรดำเนินกำรในเมียนมำในอนำคต
ปั จจุบนั บริษัท ดำเนินงำน 1) โรงงำนอำหำรสัตว์กำลังกำรผลิต 252,000 ตัน/ปี 2) ฟำร์มสุกรพ่อแม่พนั ธุก์ ำลังกำรผลิต
14,550 ตัว/ปี 3) ฟำร์มไก่ไข่มีกำลังผลิต 24.3 ล้ำนฟอง/ปี และ 4) โรงชำแหละไก่เนือ้ ที่มีกำลังกำรผลิต 1.5 ล้ำนตัว/ปี
1. กัมพู ชา ดำเนิน ธุรกิจผ่ำนบริษั ทย่อย คือ บริษั ท เบทำโกร (กัมพูชำ) จำกัด โดยมีธุรกิจหลักคือกำรผลิต
อำหำรสัต ว์ สุกร สัต ว์ปี ก และไข่ไก่ ปั จจุบัน บริษั ท ด ำเนิ น ธุรกิจโรงงำนอำหำรสัต ว์ 1 แห่งเพื่อกำรผลิต
อำหำรสัตว์ ฟำร์มปู่ ย่ำพันธุ์และพ่อแม่พันธุ์สุกร 4 แห่ง ฟำร์มขุน สุกร 3 แห่ง ฟำร์มจ้ำงเลีย้ งไก่ 252 แห่ง
ฟำร์มจ้ำงเลีย้ งสุกร 71 แห่งกับเกษตรกรท้องถิ่น และฟำร์มไก่ไข่ 1 แห่งสำหรับธุรกิจไข่ไก่ของบริษัทฯ และ
สำขำเบทำโกร 5 สำขำ ในประเทศกัมพูชำ
2. ลาว ดำเนินธุรกิจผ่ำนบริษัทย่อย คือ บริษัท เบทำโกร (ลำว) จำกัด โดยมีธุรกิจหลักคือกำรทำฟำร์มสุกร
ฟำร์มสัตว์ปีก และร้ำนเบทำโกรช็อป ปั จจุบันบริษัทดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับฟำร์มปู่ ย่ำพันธุแ์ ละพ่อแม่พนั ธุ์ 3
แห่ง ฟำร์มจ้ำงเลีย้ งไก่ 77 แห่ง และฟำร์มจ้ำงเลีย้ งสุกร 54 แห่ง ร่วมกับเกษตรกรท้องถิ่น และโรงชำแหละ
ไก่ 1 แห่งในประเทศลำว
3. เมียนมา ดำเนินธุรกิจกำรค้ำระหว่ำงประเทศเกี่ยวกับพ่อแม่พนั ธุส์ กุ รในประเทศเมียนมำโดยนำเข้ำพ่อแม่
พันธุส์ กุ รจำกประเทศไทย นอกจำกนีบ้ ริษัทได้จดั ตัง้ บริษัท เบทำโกร (เมียนมำ) จำกัด ซึง่ เป็ นกิจกำรร่วมค้ำ
กับบริษัท Shwe Me เพื่อกำรขยำยธุรกิจในเมียนมำร์ นอกจำกนีบ้ ริษัทมีแผนในกำรลงทุนในโรงงำนอำหำร
สัตว์ ฟำร์มสุกร และฟำร์มสัตว์ปลีก และโรงชำแหละสัตว์ปีกของบริษัทเอง
หน่ วยธุรกิจที่ 4 กลุ่มธุรกิจสัตว์เลีย้ ง ผลิตและจัดจำหน่ำยอำหำรสัตว์เลีย้ ง และขนมขบเคีย้ วสำหรับสุนัขและ
แมว รวมถึงอำหำรสัตว์เลีย้ งเพื่อกำรรักษำโรค (Therapeutic Food) ทัง้ ภำยใต้แบรนด์ของบริษัทเอง และรูปแบบ OEM
(ซึ่งมีกลุ่มเป้ำหมำยเป็ นลูกค้ำระดับพรีเมียมในประเทศญี่ ปนุ่ และอำหำรแห้งชนิดเม็ดและขนมขบเคี ย้ วสำหรับสุนัข
ให้กับ คู่ค ำ้ ในประเทศฟิ ลิป ปิ น ส์ซึ่งมีกลุ่มเป้ำหมำยเป็ น ลูกค้ำระดับ มำตรฐำนทั่ว ไป ) โดยบริษั ท เน้น จำหน่ ำยกลุ่ม
อำหำรแห้งชนิ ด เม็ด และขนมขบเคี ย้ วเป็ น หลัก โดยระดับ รำคำจะแตกต่ำ งกัน ระหว่ำ งกลุ่มผลิต ภัณ ฑ์ ขึน้ อยู่กับ
ส่วนผสมที่ใช้ในกำรผลิต
นอกจำกนีบ้ ริษัทยังจัดจำหน่ำยผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ดแู ลสัตว์เลีย้ ง อำทิ ยำสัตว์เลีย้ ง ยำรักษำโรคพยำธิ ทรำยแมว
แชมพู อำหำรเสริมสำหรับสัตว์เลีย้ ง แปรงสีฟัน และขวดนมสำหรับสัตว์เลีย้ ง
ปั จจุบนั บริษัทมีโรงงำนอำหำรสัตว์เลีย้ งและขนมขบเคีย้ วสัตว์เลีย้ งในไทยด้วยกำลังกำรผลิต 47,040 ตันต่อปี และมี
แบรนด์ของบริษัทเอง อำทิ Perfecta (พรีเมียม), Dog n joy, Cat n joy (มำตรฐำน) และ Bingo Star (ประหยัด)

Figure 5: Pet food product portfolio

Source: Company

Thailand Page 5 of 30
สัดส่วนรายได้
เมื่อจำแนกสัดส่วนรำยได้ตำมหน่วยธุรกิจ หลักใน 9M65 กลุ่มธุรกิจอำหำรและโปรจีนมีสัดส่วนรำยได้มำกที่สุดอยู่ที่
67.7% ต่อรำยได้รวม เพิ่มขึน้ จำก 63.4% ในปี 2564 จำกกำรเติบโตทัง้ ในด้ำนของปริมำณขำยอำหำรตำมกำรฟื ้ นตัว
ของเศรษฐกิจในประเทศ และรำคำขำยที่ปรับสูงขึน้ ตำมรำคำสุกรและไก่ในประเทศที่ปรับสูงขึน้ สัดส่วนรำยได้ลำดับ
รองลงมำได้แก่กลุ่มธุรกิจเกษตรมีสัด ส่วนลดลงเป็ น 24.9% จำก 29.0% ในปี 2564 แม้สัด ส่วนรำยได้จะลดลง แต่
รำยได้ธุรกิจเกษตรยังมีกำรเติบโตแต่เติบโตในอัตรำที่นอ้ ยกว่ำกลุ่มอำหำรและโปรตีน ขณะที่สดั ส่วนรำยได้ที่เหลือมำ
จำกกลุ่มธุรกิจต่ำงประเทศ 5.4% และกลุ่มธุรกิจสัตว์เลีย้ ง 1.9% แม้สัดส่วนรำยได้จำก 2 ธุรกิจนีย้ ังมีสัดส่วนที่นอ้ ย
อย่ำงไรก็ตำมเป็ นธุรกิจที่มีอตั รำกำรเติบโตสูงซึง่ เรำมองว่ำจะเป็ นปั จจัยหนุนกำรเติบโตหลักของบริษัทในอนำคต คำด
จะเริม่ ทยอยเห็นสัดส่วนรำยได้ที่เพิ่มขึน้ อย่ำงต่อเนื่อง

Figure 6: Revenue breakdown by business

Source: Company, Yuanta Research

ขณะที่หำกแบ่งรำยได้ของบริษัทตำมภูมิศำสตร์ใน 1H65 บริษัทมีรำยได้ในประเทศสัดส่วนมำกที่สุด คิดเป็ น 83.1%


ของรำยได้รวมและทรงตัวจำกปี 2564 ส่วนลำดับรองลงมำได้แก่ทวีปเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (SEA) สัดส่วนรำยได้
6.5%, ทวีปเอเชีย (ไม่รวม SEA) 5.9%, ทวีปยุโรป 5.9% และ อื่นๆ 0.7%

Figure 7: Revenue breakdown by geography

74.2 bnTHB 80.1 bnTHB 85.4 bnTHB 53.3 bnTHB

Source: Company, Yuanta Research

Thailand Page 6 of 30
หำกแบ่งสัดส่วนรำยได้อย่ำงละเอียดในธุ รกิจการเกษตรใน 9M65 กลุ่มอำหำรสัตว์มีสดั ส่วนรำยได้มำกที่สุดอยู่ที่
82% ส่วนลำดับรองลงมำได้แก่กลุม่ ผลิตภัณฑ์สขุ ภำพสัตว์ 14% และอื่นๆ 4%
ขณะที่หำกแบ่งตำมช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย (9M65) กลุม่ ธุรกิจเกษตรมี 4 ช่องทำงหลัก ได้แก่ 1) จำหน่ำยโดยตรงแก่
ผูป้ ระกอบกำรฟำร์มในประเทศ สัดส่วนรำยได้ 68.4% 2) จำหน่ ำยผ่ำนตัวแทนจำหน่ ำยในประเทศ สัดส่วนรำยได้
22.4% 3) จำหน่ำยแก่ลกู ค้ำกลุม่ อุตสำหกรรม สัดส่วนรำยได้ 5.6% และ 4) อื่นๆ สัดส่วนรำยได้ 3.6%

Figure 8: Agro business sales breakdown (9M22) Figure 9 :Agro business sales channel (9M22)

Source :Company, Yuanta Research Source :Company, Yuanta Research

หำกแบ่งสัด ส่วนรำยได้อย่ำ งละเอียดในธุ รกิจ อาหารและโปรตี น ใน 9M65 กลุ่มอำหำรเพื่อกำรบริโภคมีสัด ส่ว น


รำยได้มำกที่สุดอยู่ที่ 44% ส่วนลำดับรองลงมำได้แก่ สินค้ำพลอยได้และอำหำรอื่นๆ 19%, กลุ่มส่งออก 16%, กลุ่ม
เนือ้ สัตว์ชนิดไม่แบ่งบรรจุ 12% และกลุ่มธุรกิจปศุสตั ว์มีสดั ส่วนรำยได้นอ้ ยที่สดุ ที่ 9% สะท้อนว่ำส่วนผสมผลิตภัณฑ์
หลัก (Product mix) ของบริษัทเน้นเป็ นสินค้ำกลุม่ ที่มีควำมผันผวนของรำคำขำยที่ต่ำกว่ำ และมีอตั รำกำไรขัน้ ต้นที่สงู
ขณะที่หำกแบ่งตำมช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย (9M65) กลุ่มธุรกิจอำหำรและโปรตีนมี 6 ช่องทำงหลัก ได้แก่ 1) ธุรกิจค้ำ
ปลีกแบบดัง้ เดิม (Traditional Trade) สัดส่วนรำยได้ 27%, 2) ช่องทำงจัดจำหน่ำยของบริษัทเอง อำทิ Betagro shop
สัดส่วนรำยได้ 23%, 3) ธุรกิจค้ำปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) สัดส่วนรำยได้ 12%, 4) ส่งออกโดยตรงไปยังกว่ำ 20
ประเทศทั่วโลก สัดส่วนรำยได้ 15%, 5) ผูใ้ ห้บริกำรด้ำนอำหำร (Food Service) อำทิ โรงแรม, ร้ำนอำหำร, คำเฟ่ , สำย
กำรบิน สัดส่วนรำยได้ 7% และ 6) อื่นๆ สัดส่วนรำยได้ 16%
ใน 1H65 BTG มีกำรจำหน่ำยสินค้ำกลุ่มอำหำรและโปรตีนภำยใต้แบรนด์ของบริษัทเอง (Own brands) และรับจ้ำง
ผลิต (OEM) คิดเป็ นสัดส่วน 87% และ 13% ของรำยได้ธุรกิจอำหำรและโปรตีน ตำมลำดับ

Figure 10: Food & Protein business sales breakdown (9M22) Figure 11 :Food & Protein sales by channel (9M22)

Source :Company, Yuanta Research Source :Company, Yuanta Research

Thailand Page 7 of 30
Figure 12: Food & Protein breakdown by brand (1H22) Figure 13 :Food & Protein business sales channel (1H22)

Source :Company, Yuanta Research Source :Company

หำกแบ่งสัดส่วนรำยได้แต่ละประเทศในธุรกิจต่างประเทศใน 9M65 แบ่งได้เป็ น รำยได้จำกประเทศกัมพูชำมีสดั ส่วน


รำยได้มำกที่สุดอยู่ที่ 74.7% ลำดับรองลงมำได้แก่ ประเทศลำว สัดส่วนรำยได้ 24.6% และประเทศเมียนมำ สัดส่วน
รำยได้ 0.7%

Figure 14: International business revenue breakdown Figure 15 :International business overview
(9M22)

Source :Company, Yuanta Research Source :Company

Thailand Page 8 of 30
โรงงาน และกาลังการผลิต (9M65)
ธุรกิจเกษตร : มีโรงงำนผลิตอำหำรสัตว์ในประเทศทัง้ หมด 10 แห่ง คิดเป็ นกำลังกำรผลิตรวมที่รำว 4.0 ล้ำนตัน/ปี โดย
คิดเป็ นสัดส่วนกำรผลิตที่ใช้ภำยในเครือของบริษัทรำว 60% และจำหน่ำยให้บคุ คลภำยนอกรำว 40%
ปั จจุบนั ธุรกิจเกษตรมีอตั รำกำรใช้กำลังกำรผลิต (Utilization rate) รำว 93.0% ลดลงจำก 104.6% ในปี 2564 เนื่องจำก
เดิมมีกำรผลิตเต็มกำลังกำรผลิตแล้วและต้องใช้จำนวนวันในกำรผลิตทีส่ งู กว่ำปริมำณวันที่ออกแบบไว้ บริษัทจึงมีแผน
ในกำรขยำยกำลังกำรผลิตอำหำรปศุสตั ว์ ด้วยกำรปรับปรุงโรงงำนเดิมและสร้ำงโรงงำนอำหำรปศุสตั ว์แห่งใหม่ที่ จ.
นครรำชสีมำ คำดจะสำมำรถเริม่ ดำเนินกำรผลิตเต็มรูปแบบได้ใน 4Q65 เป็ นต้นไป รองรับกำรเติบโตของปริมำณควำม
ต้องกำรอำหำรปศุสตั ว์ที่สงู ขึน้ ทัง้ จำกภำยในบริษัทที่มีกำรขยำยธุรกิจหมู/ไก่ และจำกภำยนอกตำมกำรเติบโตของ
อุตสำหกรรม

Figure 16: Feed business capacity and utilization rate

Source: Company, Yuanta Research

ธุรกิจอาหารและโปรตีน : ประกอบด้วย
1) ฟำร์มเลีย้ งปศุสตั ว์ แบ่งเป็ นฟำร์มของบริษัทเองจำนวน 64 แห่ง และฟำร์มภำยใต้เกษตรพันธสัญญำ
(Contract Farming) มำกกว่ำ 4,000 แห่ง แบ่งเป็ นฟำร์มสุกรขุนกำลังกำรผลิตรำว 2.6 ล้ำนตัว/ปี , ฟำร์มไก่
เนือ้ กำลังกำรผลิตรำว 200 ล้ำนตัว/ปี และฟำร์มไข่ไก่กำลังกำรผลิตรำว 1,550 ล้ำนฟอง/ปี
2) โรงชำแหละเนือ้ สัตว์จำนวน 14 แห่ง แบ่งเป็ นโรงชำแหละสุกรกำลังกำรผลิตรำว 2.7 ล้ำนตัว/ปี และโรง
ชำแหละไก่กำลังกำรผลิตรำว 183 ล้ำนตัว/ปี ปั จจุบนั โรงชำแหละสุกรและไก่เนือ้ มีอตั รำกำรใช้กำลังกำร
ผลิตที่ 77% และ 95% ตำมลำดับ โดยบริษัทมีแผนในกำรขยำยกำลังกำรผลิตสุกรเป็ น 4.8 ล้ำนตัว และ
กำลังกำรผลิตไก่เป็ น 270 ล้ำนตัว ภำยในปี 2569
3) โรงงำนเนือ้ สัตว์แปรรูปและอำหำรแปรรูปจำนวน 12 แห่ง แบ่งเป็ นโรงงำนเนือ้ สัตว์แปรรูปจำนวน 3 แห่งใน
ประเทศ มีกำลังกำรผลิตรำว 3.9 หมื่นตัน/ปี และโรงงำนอำหำรแปรรูป 9 แห่ง กำลังกำรผลิตรำว 9.3 หมื่น
ตัน/ปี ปั จจุบนั โรงงำนเนือ้ สัตว์แปรรูปและอำหำรแปรรูปมีอตั รำกำรใช้กำลังกำรผลิตที่ 92% และ 75%
ตำมลำดับ โดยบริษัทมีแผนในกำรขยำยกำลังกำรผลิตเนือ้ สัตว์แปรรูป และอำหำรแปรรูปเพิ่มเป็ น 7.4 หมื่น
ตัน/ปี และ 1.49 แสนตัน/ปี ตำมลำดับ ภำยในปี 2569
ธุรกิจต่างประเทศ : ประกอบด้วย
1) โรงงำนอำหำรสัตว์ในกัมพูชำ กำลังกำรผลิต 252,000 ตัน/ปี ตัง้ เป้ำขยำยเพิ่มกำลังกำรผลิตเป็ นรำว
288,000 ตัน/ปี ด้วยกำรสร้ำงโรงงำนใหม่ ภำยในปี 2566 นอกจำกนีย้ งั มีแผนกำรลงทุนเพื่อก่อสร้ำงโรงงำน
อำหำรสัตว์แห่งแรกในประเทศลำว กำลังกำรผลิต 108,000 ตัน/ปี ภำยในปี 2569
2) ฟำร์มสุกรพ่อแม่พนั ธุท์ ี่มีกำลังกำรผลิตสุกร 14,550 ตัว/ปี
3) ฟำร์มไก่ไข่ กำลังกำรผลิตไข่ไก่ 24.3 ล้ำนฟอง/ปี
4) โรงชำแหละไก่เนือ้ กำลังกำรผลิต 1.5 ล้ำนตัว/ปี
นอกจำกนีบ้ ริษัทมีแผนในกำรลงทุนเพิม่ เติมในเมียนมำ โดยลงทุนในฟำร์มสุกรพ่อแม่พนั ธุแ์ ละฟำร์มไก่พอ่ แม่พนั ธุ์
รวมถึงโรงชำแหละสุกรและไก่เนือ้ เพื่อให้สำมำรถผลิตสุกรรำว 0.3 ล้ำนตัว/ปี และไก่รำว 9.0 ล้ำนตัว/ปี ภำยในปี 2569
เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรที่เพิ่มขึน้ สำหรับกำรผลิตเนือ้ หมูและเนือ้ ไก่

Thailand Page 9 of 30
ธุรกิจสัตว์เลีย้ ง : มีโรงงำนผลิตอำหำรสัตว์เลีย้ งจำนวน 1 แห่ง ในจังหวัดลพบุรี กำลังกำรผลิต 47,040 ตัน/ปี และ
โรงงำนผลิตยำ 1 แห่ง ปั จจุบนั โรงงำนผลิตอำหำรสัตว์เลีย้ งมีอตั รำกำรใช้กำลังกำรผลิตอยูท่ ี่ 105.5% (กำรผลิตจริงสูง
มำกกว่ำกำลังกำรผลิตจำกกำรจ้ำงบุคคลภำยนอกผลิตให้เพิ่มเติม หรือจำนวนวันที่ใช้ในกำรผลิตจริงสูงกว่ำกำลังกำร
ผลิตทีบ่ ริษัทออกแบบไว้) บริษัทจึงมีแผนในกำรขยำยกำลังกำรผลิตเพิ่มเป็ น 56,000 ตัน/ปี ภำยในปี 2569

Figure 17: Pet business capacity and utilization rate

Source: Company, Yuanta Research

COGS Breakdown
วัตุถดิบหลักในการผลิต (60-70%) – ได้แก่ ข้ำวโพดเลีย้ งสัตว์สดั ส่วนรำว 45% ของวัตถุดิบหลักรวม, กำกถั่วเหลือ
สัดส่วนรำว 20%, รำข้ำว สัดส่วนรำว 15%, มันสำปะหลัง สัดส่วนรำว 10% และส่วนผสมอื่นและวิตำมินสัดส่วนรำว
10% โดยบริษัทมีกำรจัดซือ้ วัตถุดิบจำกในประเทศเกือบทัง้ หมด ยกเว้น กำกถั่วเหลือง, แอลไลซีน และฟอสเฟตสำหรับ
อำหำรสัตว์ที่มีกำรจัดซือ้ จำกต่ำงประเทศ ในกลุม่ ทวีปอเมริกำใต้และจีน
บรรจุภัณฑ์ (~10%) และ อื่นๆ (20-30%) – ได้แก่ ค่ำเสื่อมรำคำ, ค่ำพลังงำน, ค่ำจ้ำงแรงงำน และค่ำใช้จำ่ ยอืน่ ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับกำรผลิต

Figure 18: COGS and Raw material Breakdown

Source: Company, Yuanta Research

Thailand Page 10 of 30
Five Force Model Analysis
อานาจต่อรองของลู กค้า (Bargaining Power of Customers) : อยู่ในระดับ ปำนกลำง เนื่องจำกสิน ค้ำมีลักษณะ
เป็ นสินค้ำ Commodity ที่รำคำขึน้ ลงตำมกลไกรำคำของตลำด ทำให้ลกู ค้ำ แต่ละรำยอำจมีอำนำจในกำรต่อรองรำคำ
ได้ไม่มำกนัก นอกจำกนี เ้ นือ้ สัตว์ถือเป็ นสินค้ำจำเป็ นต่อกำรดำรงชีวิต จึงทำให้มีควำมต้องกำรและมีปริมำณลูกค้ำ
จำนวนมำกซึ่งอำจทำให้อำนำจต่อรองของลูกค้ำแต่ละรำยมีลดลง อย่ำงไรก็ตำมอุตสำหกรรมปศุสัตว์มีขนำดใหญ่
และสินค้ำมีตัวเลือกให้ลูกค้ำจำนวนมำก ทำให้ลูกค้ำมีต น้ ทุนในกำรเปลี่ยนกำรซือ้ สิน ค้ำไปยังผู้ผ ลิต รำยอื่น แทน
(Switching cost) ที่ต่ำ เนื่องจำกสินค้ำอำหำรของผูผ้ ลิตแต่ละรำยที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกัน ทำให้ลกู ค้ำตัดสินใจเลือก
ซือ้ สินค้ำจำกผูผ้ ลิตรำยอื่นแทนได้งำ่ ย
อานาจต่อรองจากซัพพลายเออร์ (Bargaining Power of Supplier) : อยูใ่ นระดับปำนกลำง เนื่องจำกวัตถุดิบหลัก
เช่น ข้ำวโพดเลีย้ งสัตว์, กำกถั่วเหลือง, แป้งสำลี, มันสำปะหลังรวมถึงสินค้ำเกษตรอื่นๆ แม้จะมีลักษณะเป็ นสินค้ำ
Commodity ที่รำคำอ้ำงอิงจำกรำคำตลำด แต่เป็ นสินค้ำที่มีผจู้ ำหน่ำยจำนวนหลำยรำย ทำให้มีควำมเสี่ยงจำกกำร
พึ่งพำซัพพลำยเออร์รำยใดรำยหนึ่งต่ำ และมีอำนำจต่อรองต่อบริษัทอย่ำงจำกัด ประกอบกับ บริษัท จดทะเบียนใน
ตลำดมีขนำดใหญ่เทียบกับ กลุ่มเกษตรกรรำยย่อย จึงมีคำสั่งซือ้ ขนำดใหญ่ ทำให้มีควำมสำมำรถในกำรต่อรองรำคำ
หรือทำสัญญำล็อกรำคำล่วงหน้ำได้ อย่ำงไรก็ตำมในกรณีที่วตั ถุดิบเกิดภำวะขำดแคลนจำกปั จจัยภำยนอก เช่น ภัย
พิบตั ิทำงธรรมชำติ จะทำให้อำนำจต่อรองจำกซัพพลำยเออร์สงู ขึน้
การคุ กคามจากสินค้าทดแทน (Threat of Substitutes) : อยู่ในระดับ ปำนกลำง เนื่ องจำกสินค้ำ หมู/ไก่ จัด อยู่ใน
กลุม่ สินค้ำกลำงนำ้ ของอุตสำหกรรมอำหำรที่ผบู้ ริโภคสำมำรถเลือกเนือ้ สัตว์ประเภทอื่นทดแทนได้ อำทิ ในภำวะที่รำคำ
เนือ้ หมูมีรำคำสูงขึน้ จะทำให้ผูบ้ ริโภคหันไปบริโภคเนือ้ สัตว์ชนิดอื่นที่มีรำคำต่ำกว่ำแทน เช่น เนือ้ ไก่ , เป็ ด หรือปลำ
กระป๋ อง เป็ นต้น รวมถึงแนวโน้มกำรเติ บ โตของตลำดโปรตีน ทำงเลือก (Alternative Protein) เช่น เนื อ้ สัตว์จำกพืช
(Plant-Based Meat) และโปรตีนจำกแมลง (Insect Protein) ที่เป็ นตัวเลือกแทนกำรบริโภคเนือ้ สัตว์ซึ่งมีผบู้ ริโภคให้
ควำมสนใจมำกขึน้ เป็ นอีกหนึ่งกลุม่ สินค้ำที่เพิ่มกำรคุกคำมจำกสินค้ำทดแทนในกลุม่ ของเนือ้ สัตว์
การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่ (Threat of New Entrants) : อยู่ในระดับ ต่ำถึงปำนกลำง เนื่องจำกบริษั ท
จดทะเบียนในตลำดส่วนใหญ่เป็ นบริษัทขนำดใหญ่ที่มีกำรดำเนินธุรกิจที่ครบวงจรครอบคลุมตัง้ แต่ตน้ นำ้ ถึงปลำยนำ้
(Fully-Integrated) ซึ่งกำรจะเข้ำมำแข่งขัน แย่งส่วนแบ่งตลำดอำจต้องใช้เงิน ลงทุน จำนวนมำก และต้องอำศัยกำร
ขยำยฐำนกำรผลิตและลูกค้ำให้มีขนำดใหญ่ เพื่อให้เกิดกำรประหยัดต่อขนำด (Economies of scale) อย่ำงไรก็ตำม
เป็ นธุรกิจที่เกษตรกรรำยย่อยสำมำรถเข้ำ -ออกตลำดได้ง่ำย เช่น ในภำวะที่ปศุสตั ว์มีรำคำสูงขึน้ อำจจูงใจรำยย่อยให้
เข้ำสูอ่ ตุ สำหกรรมหนุนปริมำณอุปทำนสัตว์
การแข่งขั น ภายในอุ ต สาหกรรม (Industry Rivalry) : จำกกำรประเมิ น ปั จจัย อื่น ๆ 4 ข้อก่อ นหน้ำ ประกอบกับ
จำนวนผูเ้ ล่นในอุตสำหกรรมที่มีจำนวนหลำยรำยทัง้ รำยใหญ่ในประเทศและต่ำงประเทศ รวมถึงรำยเล็กอีกจำนวนมำก
ทำให้เรำประเมิน ว่ำกำรแข่งขันในอุตสำหกรรมนีอ้ ยู่ในระดับปำนกลำงถึงสูง ซึ่งกำรแข่งขันในอุตสำหกรรมนี แ้ ม้จะ
ไม่ได้มีกำรแข่งขันด้ำนรำคำที่รุนแรง แต่เป็ นกำรแข่งขันด้ำนประสิทธิภำพกำรผลิต, กำรครอบคลุมช่องทำงจัดจำหน่ำย,
กำรแข่งขันด้ำนคุณภำพของสินค้ำ หรือแปรรูปสินค้ำให้มีควำมแต่งต่ำงจำกคูแ่ ข่งและตรงตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ

SWOT Analysis
จุดแข็ง (Strength) : 1) ดำเนินธุรกิจที่ครอบคลุมห่วงโซ่อปุ ทำนตัง้ แต่ตน้ นำ้ ถึงปลำยนำ้ หนุนกำรบริหำรจัดกำรต้นทุน
และได้สินค้ำที่มีคุณภำพ 2) มีแบรนด์ของตนเองที่แข็งแกร่ง และได้รบั กำรยอมรับจำกลูกค้ำ ครอบคลุมสินค้ำตัง้ แต่
กลุ่มระดับ ประหยัด ถึงพรีเมียม 3) มีพัน ธมิต รที่แข็ งแกร่งทัง้ ในประเทศ และต่ำงประเทศ ช่วยหนุนกำรเติ บ โต 4) มี
ช่องทำงจัดจำหน่ำยของตนเอง ครอบคลุมทั่วประเทศมำกกว่ำ 1,000 สำขำ ช่วยเพิ่มอัตรำกำไรของสินค้ำของบริษัท 5)
มีฐำนะกำรเงินที่แข็งแกร่งหลังระดมทุน IPO
จุดอ่อน (Weakness) : 1) กำลังกำรผลิตส่วนใหญ่ของบริษัทถูกใช้เกือบเต็มประสิทธิภำพแล้ว จึงต้องอำศัยกำรลงทุน
เพิ่มเติมเพื่อรองรับกำรเติบโตของธุรกิจในอนำคต 2) รำยได้สว่ นใหญ่ยงั พึง่ พำธุรกิจในประเทศเป็ นหลักคิดเป็ นสัดส่วน
รำว 83% ส่วนรำยได้จำกต่ำงประเทศยังมีสดั ส่วนที่นอ้ ยกว่ำเมื่อเทียบกับคูแ่ ข่ง ซึง่ ยังต้องใช้เวลำในกำรขยำยธุรกิจ
โอกาส (Opportunities) : 1) กำรเน้นพัฒนำและจำหน่ำยสินค้ำที่มีอตั รำกำไรสูง และมีควำมผันผวนด้ำนรำคำที่ต่ำ
กว่ำ อำทิกลุ่มสินค้ำแปรรูป, สินค้ำพร้อมทำน และเครื่องปรุงรส เป็ นต้น 2) ผลกระทบจำกควำมขัดแย้งระหว่ำงรัสเซีย
และยูเครนทำให้เกิดควำมกังวลกำรขำดแคลนอำหำรในต่ำงประเทศ เกิด Demand ที่สงู ขึน้ หนุนปริมำณกำรส่งออก
อำหำรของไทย 3) ปริมำณอุปทำนสุกรและไก่ในประเทศอยู่ในระดับตึงตัวและยังไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรบริโภค
ทำให้ระดับรำคำสุกรและไก่ในประเทศคำดยังอยูใ่ นระดับสูงต่อ หนุนอัตรำกำไรของบริษัท
อุปสรรค (Threat) : 1) ระดับต้นทุนวัตถุดิบในกำรเลีย้ ง อำทิ ข้ำวโพดเลีย้ งสัตว์ และกำกถั่วเหลือง ยังอยูใ่ นระดับสูง
เทียบกับสถำนกำรณ์ปกติ ซึง่ เป็ นผลมำจำกสภำพภูมิอำกำศขอองพืน้ ที่เพำะปลูก และปริมำณผลผลิตที่ยงั ไม่เพียงพอ
ต่อควำมต้องกำร กดดันอัตรำกำไรขัน้ ต้นของบริษัท 2) เทรนด์กำรบริโภคอำหำรประเภทโปรตีนทำงเลือก (Alternative
protein) ที่มีมำกขึน้ อำจกระทบต่อปริมำณอุปสงค์เนือ้ สัตว์ 3) ควำมผันผวนของเศรษฐกิจโลก และควำมเสี่ยง
เศรษฐกิจถดถอย กระทบอุปสงค์

Thailand Page 11 of 30
ประเด็นการลงทุน
เน้นกลยุทธ์ไม่ต้องลงทุนเยอะ แต่ก็โตได้แยะ (Asset-light Model)
BTG เป็ น หนึ่ งในผู้นำด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรครบวงจรของประเทศที่ ครอบคลุมทั้งห่วงโซ่อุป ทำนตั้งแต่ต น้ น ำ้ ถึง
ปลำยนำ้ โดยมีห นึ่งจุดแข็งคือ กลยุท ธ์ “Agro Total Solution” ที่สร้ำงควำมแตกต่ำงจำกคู่แข่ง โดยกลยุทธ์ดังกล่ำว
บริษัทจะให้กำรสนับสนุนแก่เกษตรกรแบบพันธสัญญำ (Contract farming) อย่ำงครบวงจร ตลอดช่วงระยะเวลำของ
กำรทำปศุสัตว์ เพื่อปรับปรุงควำมสำมำรถในกำรผลิตและประสิทธิภำพด้ำนต้นทุนของเกษตรกร โดยกำรสนับสนุน
ครอบคลุม ตัง้ แต่กำรให้คำแนะนำในกำรปรับปรุ งสิ่งอำนวยควำมสะดวกในฟำร์ม , กำรให้คำแนะนำด้ำนรำคำและ
คุณ ภำพของอำหำรสัต ว์ กำรรับ ประกัน กำรขำยผ่ ำ นโครงกำรพัน ธมิ ต รฟำร์ม สุก รกับ เบทำโกร ตลอดจนบริกำร
สนับ สนุน อื่นๆ ซึ่งรวมถึงโครงกำรฝึ กอบรมพนักงำน และกำรให้ค ำปรึกษำเพื่อสร้ำงแนวควำมคิด กำรสร้ำงกระแส
รำยได้ใหม่
โดยปั จจุบันบริษัทมีจำนวนฟำร์ม Contract farming มำกกว่ำ 4,000 ฟำร์ม โดยภำยใต้สัญญำ BTG จะเป็ นผูจ้ ัดหำ
พ่อแม่พันธุ,์ อำหำรสัตว์, ยำ, ส่วนผสมอื่นๆให้แก่เกษตรกร โดยไม่ให้เกษตรใช้อำหำรสัตว์ หรือยำอื่นๆจำกผูจ้ ำหน่ำย
รำยอื่น นอกจำกนี ้ BTG ยังให้คำแนะนำด้ำนเทคนิคและควำมช่วยเหลือด้ำนสัตวแพทย์แก่เกษตรกรตลอดวงจรชีวิต
ปศุสัตว์ เพื่อรักษำคุณ ภำพของกำรดำเนินงำนของเกษตรกรให้เป็ นไปตำมมำตรฐำนคุณ ภำพของ BTG เช่น ระบบ
ควำมปลอดภัยทำงชีวภำพ เป็ นต้น
เรำเชื่อว่ำธุรกิจรูป แบบ Contact farming จะเป็ นหนึ่ งปั จจัยหลักที่ เร่งกำรขยำยตัวของฟำร์มปู่ ย่ำพัน ธุ์ , พ่อแม่พัน ธุ์
และฟำร์มเพำะเลีย้ งของทัง้ สุกรและไก่ภำยใต้มำตรฐำนและกำรควบคุมคุณภำพของ BTG ซึง่ จะไม่แต่ต่ำงจำกกำรถูก
เลีย้ งด้วยบริษัท เองแต่จะใช้เงินลงทุนที่ ต่ำกว่ำ และไม่ตอ้ งลงทุน เป็ นเจ้ำของสินทรัพย์เอง (Asset-light investment
model) ซึ่งเป็ นข้อได้เปรียบที่ช่วยควบคุมต้นทุน, ทำให้มีค่ำใช้จ่ำยที่ต่ำกว่ำ และเพิ่มอัตรำกำไรของบริษัท นอกจำกนี ้
ยังช่วยให้ BTG เติบโตอย่ำงยั่งยืนไปพร้อมกับชุมชนได้
Figure 19: Company’s business strategies

Source: Company

Brand สินค้าไม่มีใครไม่รู้จัก ... สินค้ามีความหลากหลายครอบคลุมทุกกลุ่มลูกค้า


กำรที่บริษั ทมีประสบกำรณ์ในกำรธุรกิจเกษตรและอำหำรมำนำนกว่ำ 55 ปี นอกจำกจะทำให้มี Know-how ในกำร
ดำเนินธุรกิจในแต่ละช่วงวัฎจักรของอุตสำหกรรม ยังทำให้บริษัทได้พฒ
ั นำแบรนด์ตำ่ งๆของบริษัทเอง อำทิ “Betagro”,
“S-Pure” และ “ITOHAM” จนได้รบั กำรยอมรับ ทัง้ ในด้ำนคุณภำพและมำตรฐำนควำมปลอดภัย และเป็ นที่รูจ้ กั ของ
ผูบ้ ริโภคทัง้ ในประเทศและต่ำงประเทศ
นอกจำกนี บ้ ริษั ท ยังมีแ บรนด์สิน ค้ำที่ ห ลำกหลำย ครอบคลุมกลุ่มสิน ค้ำทั้งระดับ ประหยัด ถึงระดับ พรีเมียม ทำให้
สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำได้ทกุ กลุ่ม และบริษัทยังมีมำตรฐำนด้ำนคุณภำพและควำมปลอดภัยของ
อำหำรอยู่ในกลุ่มระดับสูงที่สดุ ของอุตสำหกรรม ด้วยระบบตรวจสอบย้อนกลับอิเล็กทรอนิกส์ของเบทำโกร (Betagro
e-Traceability) ที่ช่วยให้ลกู ค้ำสำมำรถตรวจสอบย้อนกลับไปยังแหล่งที่มำของผลิตภัณฑ์ของบริษัทได้ตลอดห่วงโซ่
อุปทำนด้วยกำรสแกนคิวอำร์โค้ดบนฉลำกของผลิตภัณ ฑ์ ซึ่งถือเป็ นมำตรฐำนที่ลูกค้ำให้สำคัญ และสำมำรถสร้ำง
ควำมเชื่อถือของลูกค้ำในแบรนด์และมำรตฐำนควำมปลอดภัยของสินค้ำบริษัทและทำให้ลกู ค้ำตัดสินใจซือ้ สินค้ำของ
BTG ได้งำ่ ยมำกขึน้

Thailand Page 12 of 30
Figure 20: BTG’s diverse brand portfolio covers all market segments

Source: Company

เน้นกลุ่มสินค้า Premium มากขึน้ และเพิ่มสัดส่วนสินค้าที่มีความผันผวนด้านราคาต่า


บริษัทตัง้ เป้ำที่จะมุ่งเน้นกำรขยำยกลุ่มสินค้ำที่มีมลู ค่ำเพิ่มสูงเพิ่มขึน้ เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรซือ้ ของลูกค้ำกลุ่มที่
มีกำลังซือ้ สูง ผ่ำนกำรขยำยสินค้ำภำยใต้แบรนด์ S-Pure ซึ่งเป็ นแบรนด์เนือ้ สัตว์ (หมู, ไก่ และไข่) ระดับพรีเมียมของ
บริษั ท ที่ ได้รบั กำรรับ รองมำตรฐำนจำก The National Sanitation Foundation (NSF USA) เป็ น รำยแรกของโลกว่ำ
เป็ นอำหำรที่ปลอดกำรใช้สำรปฎิชีวนะ และยังเป็ นผูผ้ ลิตไก่ไทยรำยแรกที่ส่งออกไก่สดแช่แข็งภำยใต้แบรนด์ S-Pure
ไปยังประเทศสิงคโปร์ ซึ่งเป็ นประเทศที่เป็ นตลำดระดับพรีเมียม สะท้อนควำมเชื่อมั่นของผูล้ กู ค้ำที่มีต่อแบรนด์ โดย
สินค้ำภำยใต้แบรนด์ S-Pure มีกำรเติบโตเฉลี่ย CAGR ย้อนหลัง 3 ปี (2562-2564) ที่ระดับ 23% ต่อปี ซึ่งสูงกว่ำกลุ่ม
สินค้ำอื่นๆของบริษัท
ดังนั้นเรำประเมินว่ำสัดส่วนสินค้ำกลุ่มพรีเมียมของบริษัทจะทยอยสูงขึน้ ต่อเนื่อง จำกปั จจุบันที่มีสัดส่วนรำยได้รำว
17% ของรำยได้รวม เป็ น 20% ในปี 2569 จำกกำรเติ บ โตในทุกกลุ่มธุรกิ จทั้ง กลุ่มสิน ค้ำ เกษตร, กลุ่มอำหำรและ
โปรตีน และกลุ่มอำหำรสัตว์เลีย้ ง ด้วยกลยุทธ์กำรพัฒนำสินค้ำใหม่ที่ จะเน้นกลุ่มสินค้ำอำหำรแปรรู ป , กำรพัฒนำ
สินค้ำร่วมกับลูกค้ำร้ำนอำหำร และกำรพัฒนำสินค้ำร่วมกับพันธมิตร รวมถึงกำรมุ่งเน้นที่สินค้ำที่มีมลู ค่ำเพิ่มและมี
ควำมผันผวนด้ำนรำคำที่ต่ำกว่ำ เช่นอำหำรพร้อมปรุงพร้อมทำน, เนือ้ สัตว์หมักปรุงรส, ผลิตภัณฑ์ไข่แปรรูป และกำร
นำสินค้ำผลพลอยได้ (By-Product) มำแปรรูปสร้ำงมูลค่ำเพิ่มให้สงู ขึน้ ซึ่งจะหนุนส่วนผสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix)
ของบริษัทให้มีกำรสร้ำงอัตรำกำไรขัน้ ต้นที่สงู ขึน้

Figure 21: Sales breakdown by market segment

Source: Company, Yuanta Research

Thailand Page 13 of 30
ขยายช่องทางจัดจาหน่ายที่มี GPM สูงมากขึน้
บริษัทมีช่องทำงจัดจำหน่ำยที่หลำกหลำยครอบคลุม ทั่วประเทศทำให้สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำได้
ทุกกลุ่มเป้ำหมำย ซึ่งถือเป็ นข้อได้เปรียบสำคัญในกำรแข่งขัน ในกำรเข้ำถึงผูบ้ ริโภคปลำยนำ้ ผ่ำนเครือข่ำยร้ำนค้ำที่
กว้ำงขวำงทัง้ ผ่ำนทำงช่องทำงกำรจัดจำหน่ำยของบริษัทเอง และช่องทำงธุรกิจค้ำปลีกแบบสมัยใหม่ ซึง่ เป็ นช่องทำงที่
บริษัทจะใช้ในกำรจำหน่ำยสินค้ำที่มีมลู ค่ำเพิ่มสูงและมีอตั รำกำไรที่สงู กว่ำ รวมถึง สำมำรถทดสอบผลิตภัณฑ์ใหม่และ
ปรับปรุงกำรนำเสนอผลิตภัณฑ์ตำมควำมชื่นชอบของลูกค้ำที่มีกำรเปลี่ยนแปลงได้อย่ำงอิสระและรวดเร็ว
โดยบริษัทมี 4 กลยุทธ์หลักในกำรบริหำรช่องทำงจัดจำหน่ำยได้แก่
1) กำรเพิ่ มช่องทำงใน Supermarket รำยใหญ่ และกำรขยำยจำนวนร้ำนค้ำของบริษั ท อย่ำง ร้ำนเนื อ้ สัต ว์
อนำมัย และร้ำนค้ำเบทำโกร
2) กำรเพิ่ ม พั น ธมิ ต รด้ำ นธุ ร กิ จ กั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ำ Business to Business (B2B) อำทิ โรงแรม, เครื อ ข่ ำ ย
ร้ำนอำหำร, คำเฟ่ , โรงเรียน และสำยกำรบิน
3) เพิ่มช่องทำงจัดจำหน่ ำยแบบใหม่ที่ มีควำมทันสมัยมำกขึน้ ผ่ำนทำง Kerry Cool (JV ร่วมกับ Kerry) ซึ่ง
เป็ น แพลตฟอร์มบริกำรขนส่งสินค้ำแบบควบคุมอุณ หภูมิ โดยกำรสร้ำงพัน ธมิตรเชิงกลยุท ธ์กับ ร้ำ นค้ำ
ออนไลน์ของ Supermarket ต่ำงๆ และผูใ้ ห้บริกำรตลำดออนไลน์
4) สร้ำงควำมสัมพันธ์ด ำ้ นธุรกิจในเชิงพันธมิตรกับ ร้ำนสะดวกซือ้ , Hyper market และ Supermarket อำทิ
Gourmet market, Big C, Lotus, Tops, Villa market
นอกจำกนีบ้ ริษัทยังมีชอ่ งทำงจัดจำหน่ำยของตนเอง ได้แก่
1) สำขำเบทำโกร ซึง่ เป็ นสำนักงำนขำยและจัดจำหน่ำยทั่วประเทศของบริษัท
2) ร้ำนเบทำโกรช็อป ซึ่งเป็ น เครือข่ำยร้ำนค้ำส่งทั่วประเทศของบริษั ท ที่เน้น ลูกค้ำกลุ่ม B2B และให้บ ริกำร
ผลิตภัณฑ์เนือ้ สดคุณภำพสูงแก่ผใู้ ห้บริกำรด้ำนอำหำร
3) ร้ำนเบทำโกรเดลี ซึ่งเป็ นร้ำนค้ำสะดวกซือ้ ที่จำหน่ำยผลิตภัณ ฑ์อำหำรของบริษัทฯ โดยมีเป้ำหมำยอยู่ที่
ลูกค้ำกลุม่ B2C และขำยผลิตภัณฑ์อำหำรพร้อมรับประทำนและผลิตภัณฑ์อำหำรพร้อมปรุงเป็ นหลัก
4) ร้ำ นเนื ้อ สัต ว์อ นำมัย ส ำหรับ ขำยปลี ก และขำยส่ ง ผลิ ต ภัณ ฑ์อ ำหำรของบริษั ท ฯ ซึ่ง ด ำเนิ น กำรโดย
บุคคลภำยนอก
สำหรับร้ำนเบทำโกรช็อป บริษัทยังมีเป้ำหมำยที่จะให้บริกำรแบบครบวงจร (one-stop full service) ซึ่งครอบคลุมทัง้
บริกำรด้ำนกำรขำย โดยทีมกำรจัดกำรลูกค้ำสัมพันธ์ (Customer Relations Management: CRM) ทีมกำรตอบโจทย์
ที่ครอบคลุมด้ำนอำหำร (food solution) และบริกำรด้ำนโลจิสติกส์ นอกเหนือจำกกำรขำยผลิตภัณฑ์ของบริษัท ซึ่งจะ
เป็ นกลยุทธ์ในกำรช่วยขยำยฐำนลูกค้ำ B2B ของบริษัท
เรำประเมินว่ำจำนวนสำขำเบทำโกรที่เพิ่มมำกขึน้ จะเป็ นอีกช่องทำงที่ชว่ ยหนุนกำรจำหน่ำยสินค้ำที่มีอตั รำกำไรขัน้ ต้น
สูงของบริษัท ซึง่ จะหนุนอัตรำกำไรขัน้ ต้นโดยรวมของบริษัทให้สงู ขึน้ เช่นกัน และยังเป็ นกำรเพิ่มควำมน่ำเชื่อถือของแบ
รนด์สินค้ำของ BTG ด้วย โดยบริษัทตัง้ เป้ำขยำยจำนวนสำขำร้ำนเนือ้ สัตว์อนำมัยเป็ น 1,000 สำขำภำยในปี 2565
และ 3,000 สำขำภำยในปี 2573 จำก 739 สำขำ ณ สิน้ 2Q65

Figure 22: Focus on higher-value segments channel

Source: Company

Thailand Page 14 of 30
อุตสาหกรรมอาหารไทยเติบโตไม่หวือหวาแต่ม่ันคง ... มอง BTG จะโตได้มากกว่าในช่วง 3-5 ปี แรก
อุตสาหกรรมอาหารสัต ว์ : อ้ำงอิงจำก Global Data กำรบริโภคของอำหำรสุกร สัต ว์ปีก และวัวของประเทศไทย
ในช่วงปี 2565 – 2569 จะมีกำรเติบ โตจำก 10.8 พัน ล้ำนกก. เป็ น 11.8 พัน ล้ำนกก. คิด เป็ น CAGR เฉลี่ยที่ 2.32%
ต่อปี จำกปั จจัยหลักคือ 1) กำรส่งออกเนือ้ สัตว์ของไทยที่เติบโต หนุนควำมต้องกำรผลิตภัณฑ์เนือ้ สัตว์ ส่งผลต่อเนื่อง
ถึงปริมำณควำมต้องกำรอำหำรสัตว์ 2) กำรฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจหลังจำก COVID-19 คลี่คลำย ทำให้ผใู้ ห้บริกำรด้ำน
อำหำรที่ได้รบั ผลกระทบก่อนหน้ำกลับมำฟื ้ นตัว ประกอบกับกำรเปิ ดประเทศและจำนวนนักท่องเที่ยวต่ำงชำติที่สงู ขึน้
หนุนอุปสงค์อำหำรในประเทศ และทำให้จำเป็ นต้องมีกำรเพิ่มกำรผลิตอำหำรสัตว์เพื่อกำรเลีย้ งปศุสตั ว์ที่มำกขึน้
อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ : อ้ำงอิงจำก Global Data คำดกำรณ์ว่ำกำรบริโภคโปรตีนจำกเนือ้ สัตว์ในประเทศไทยจะมี
กำรเติบโตขึน้ จำก 47.4 กก./คน ในปี 2565 เป็ น 56.5 กก./คน ในปี 2569 หรือคิดเป็ น CAGR เฉลี่ยที่ 4.49% ส่งผลให้
กำรบริโภคระดับ ประเทศสูงขึน้ จำก 3.15 พันล้ำนกก.ในปี 2564 เป็ น รำว 4.05 พันล้ำนกก. ในปี 2569 โดยมีสำเหตุ
หลักจำก 1) สถำนกำรณ์ COVID-19 ในประเทศที่คลี่คลำยกระตุน้ กำรบริโภคในประเทศ รวมถึงกำรกลับมำเปิ ดของ
ร้ำนอำหำร และกำรทำนอำหำรนอกบ้ำนที่เพิ่มมำกขึน้ , 2) ตลำดส่งออกไก่ที่จะเติบโตแข็งแกร่งมำกขึน้ (โดยเฉพำะใน
ญี่ปนุ่ และยุโรป) หลังจำกสถำนกำรณ์ COVID-19 คลี่คลำย, 3) กำรกลับมำของนักท่องเที่ยวต่ำงชำติหนุนกำรบริโภค
ในประเทศ และ 4) รำยได้ครัวเรือนที่คำดจะสูงขึน้ หนุนค่ำใช้จำ่ ยด้ำนกำรบริโภค ซึง่ รวมถึงกำรบริโภคโปรตีนที่สงู ขึน้

Figure 23: Thailand protein consumption per capita Figure 24 :Thailand protein consumption by type (2017-2026)
(2017-2026)

Source : GlobalData, FAOSTAT Source : GlobalData, FAOSTAT

Figure 25: Protein industry will benefit from rising Figure 26 :Per capita protein consumption in Thailand and
household incomes comparable countries

Source : GlobalData Source : GlobalData, FAOSTAT

Thailand Page 15 of 30
 อุตสาหกรรมสุกร : ตลำดสุกรของไทยส่วนใหญ่เป็ นกำรผลิตเพื่อตลำดในประเทศเป็ นหลัก มีกำรนำเข้ำ
เพียงเล็กน้อยคิดเป็ นรำว 0.2% ของอุปทำนในประเทศ และกำรส่งออกคิดเป็ นรำว 2% ของกำรผลิต อิงจำก
Global Data คำดกำรณ์ว่ำกำรบริโภคหมูในประเทศจะฟื ้ นตัวจำก 710 ล้ำนกก. ในปี 2564 เป็ น 860 ล้ำน
กก. ในปี 2568 หรือคิดเป็ นกำรเติบโต CAGR เฉลี่ยที่ 4.9% ต่อปี หลังจำกที่กำรบริโภคมีกำรกำรลดลงกว่ำ
16.7%YoY ในปี 2563 จำกผลกระทบของ COVID-19
เรำประเมินว่ำวงจรกำรผลิตสุกรในประเทศไทย ยังได้รบั ผลกระทบจำกกำรระบำดของโรคอหิวำต์แอฟริกำ
ในสุกร (African swine fever : ASF) ทำให้ปริมำณสุกรในตลำดลดลง โดยเฉพำะผูเ้ ล่นรำยย่อยที่ไม่ได้มี
กำรลงทุนด้ำนระบบควำมปลอดภัยทำงชีวภำพ (Bio Security) ทำให้ปริมำณสุกรในตลำดยังมีไม่เพียงพอ
ต่อควำมต้องกำรบริโภคที่มีกำรฟื ้ นตัว โดยปั จจุบนั อิงข้อมูลรำยงำนภำวะเศรษฐกิจกำรเกษตร คำดปริมำณ
กำรผลิตสุกรในปี 2565 อยูท่ ี่ 17.2 ล้ำนตัว ลดลง 8% YoY และยังเป็ นระดับที่ต่ำกว่ำสถำนกำรณ์ปกติรำว 3
– 4 ล้ำนตัว ส่วนกำรเพิ่มกำลังกำรผลิตยังต้องใช้เวลำเนื่องจำกต้องมีกำรฟื ้ นฟูทงั้ ระบบตัง้ แต่ระดับปูยำ่ พันธุ์
และพ่อแม่พันธุ์ ประกอบกับรำคำต้นทุนกำรเลีย้ งที่ยังอยู่ในระดับสูงไม่จูงใจเกษตรกรรำยย่อย ทำให้เรำ
ประเมินว่ำกำรฟื ้ นฟูปริมำณสุกรให้กลับสู่ภำวะปกติอำจต้องใช้เวลำอีกอย่ำงน้ อย 1 - 2 ปี ขณะเดียวกัน
เศรษฐกิจในประเทศที่ฟื้นตัวจะหนุนกำรบริโภคและอุปสงค์เนือ้ สัตว์ในประเทศ ทำให้เรำมองว่ำรำคำหมูใน
ประเทศในปี 2566 จะยังชะลอลงได้อย่ำงจำกัด เป็ นบวกต่อ BTG ที่เป็ นผูป้ ระกอบกำรรำยใหญ่แบบครบ
วงจร และมีกำรเลีย้ งในระบบปิ ดทำให้ไม่ได้รบั ผลกระทบจำกกำรระบำดของโรค ASF และจะได้ประโยชน์
จำกรำคำขำยเฉลี่ยที่จะสูงขึน้ จำกภำวะดังกล่ำว

Figure 27: Thailand swine production and consumption

Unit 2018 2019 2020 2021 2022F


Swine production mn Head 20.9 20.4 19.9 18.6 17.2
Consumption mn Ton 1.5 1.5 1.3 1.3 1.2
Average cost per Kg THB 61-65 64-67 66-69 68-72 70-75*
Live swine price THB/Kg 58.0 67.9 73.5 72.6 100-110*
*Average of 3Q22

Source: OAE, Swine Raisers Association of Thailand, CPF, Yuanta Research

Figure 28: Domestic swine price

Source: OAE, Yuanta Research

 อุตสาหกรรมไก่ : อิงจำก Global Data คำดว่ำกำรผลิต ไก่ของไทยเป็ นกำรบริโภคในประเทศรำว 60%


ของกำลังกำรผลิตทัง้ หมด และ 40% สำหรับกำรส่งออก โดยคำดกำรณ์ว่ำประเทศไทยมีกำรบริโภคไก่เพิ่ม
มำกขึน้ จำก 849 ล้ำนกก. ในปี 2564 เป็ น 995 ล้ำนกก. ในปี 2568 คิดเป็ นกำรเติบโต CAGR เฉลี่ยที่ 4%
ต่อปี
ประเทศไทยเป็ นผูส้ ่งออกไก่รำยใหญ่ ลำดับที่ 4 ของโลก โดยมีตลำดหลักอยู่ในญี่ ปนุ่ (สัดส่วนรำว 50%)
และยุโรป (สัดส่วนรำว 25%) ซึ่งจำกผลกระทบของควำมขัดแย้งระหว่ำงรัสเซียและยูเครนเกิดควำมกังวล
ต่อวิกฤตอำหำรโลกทำให้หลำยประเทศมีควำมต้องกำรอำหำรมำกขึน้ รวมถึงยูเครนที่เป็ นผูส้ ่งออกไก่รำย
ใหญ่ไปยุโรปไม่สำมำรถส่งออกได้อย่ำงปกติ จึงเป็ นบวกต่อผูส้ ่งออกไก่ไทย โดยเรำคำดว่ำมูลค่ำกำรส่ง ออก
ไก่ไทยจะเติบโตต่อเนื่องในปี 2566 ตำมกำรฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจในประเทศคู่คำ้ หลักอย่ำงญี่ ปนุ่ ที่มีกำร
เปิ ด ประเทศมำกขึ น้ ประกอบกับ ปั ญ หำรำคำขนส่งทำงเรือ ที่ ค ลึ่ล ำยมำกขึ น้ หนุน กำลังซื อ้ ของลูก ค้ำ
ต่ำงประเทศ แย่งปริมำณอุปทำนไก่ในประเทศ

Thailand Page 16 of 30
ดังนั้นเรำประเมินว่ำรำคำไก่ในประเทศในปี 2566 คำดจะชะลอลงจำกปี 2565 ตำมทิศทำงรำคำต้นทุนที่
คำดจะลดลง และปริมำณไก่ในตลำดที่สงู ขึน้ อย่ำงไรก็ตำมเรำประเมินว่ำรำคำไก่ที่ปรับลงจะลดลงอย่ำง
ค่อยเป็ นค่อยไปและมีเสถียรภำพและยังอยู่ในระดับที่สงู กว่ำค่ำเฉลี่ยย้อนหลัง 10 ปี (2555-2564) ที่ 36.0
บำท เนื่ องจำก 1) เกษตรกรรำยย่อยมีข ้อจำกัด ด้ำ นปริม ำณ Supply ไก่ ปู่ ย่ำ พัน ธุ์ใ นตลำดที่ ยังเพิ่ มได้
อย่ำ งจำกัด 2) ก ำลังซือ้ ในประเทศอยู่ใ นแนวโน้ม ฟื ้ น ตัว อย่ำ งต่อ เนื่ อง 3) อุป สงค์จำกต่ำ งประเทศที่ มี
แนวโน้มสูงขึน้ ต่อ แย่งอุปทำนในประเทศ 4) รำคำสุกรที่คำดยังอยูใ่ นระดับสูงต่อในปี 2566 ทำให้ไก่ซงึ่ เป็ น
สินค้ำทดแทนได้อำนิสงส์จำกกำรที่ผบู้ ริโภคหันมำบริโภคแทนหมูมำกขึน้

Figure 29: Global chicken exports (2021) Figure 30: Thailand’s chicken exports volume

Source :USDA, Yuanta Research Source : USDA, Yuanta Research

Figure 31: Domestic chicken price

Source: OAE, Yuanta Research

โดยรวมเรำประเมินว่ำรำคำหมูและไก่ที่แม้อำจปรับชะลอลงบ้ำงในปี 2566 แต่รำคำจะยังอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับ


ช่วงปกติ จำกอุปทำนที่ยังไม่กลับสู่ภำวะปกติ ขณะที่อุปสงค์สงู ขึน้ ต่อจำกเศรษฐกิจในประเทศที่ฟื้นตัวตำมกำรเปิ ด
ประเทศ และตลำดส่งออกไก่ที่คำดจะเติบโตเช่นกันจำกควำมต้องกำรอำหำรที่เร่งตัวแย่งอุปทำนในประเทศ ซึ่งรำคำ
หมูและไก่ที่คำดจะยังอยู่ในระดับสูงจะส่งผลบวกโดยตรงต่อรำคำขำยเฉลี่ย , GPM และแนวโน้มผลประกอบกำรของ
BTG ในปี 2566 ให้ยังอยู่ในระดับ สูงได้ต่อ นอกจำกนีเ้ รำเชื่อว่ำรำยได้ของ BTG จะเติบ โตได้มำกกว่ำอุต สำหกรรม
ในช่วง 3 - 5 ปี นี ้ จำกแผนกำรขยำยกำลังกำรผลิตอย่ำงต่อเนื่องเพื่อรองรับกำรเติบโตของทัง้ ตลำดในประเทศ และ
ต่ำงประเทศ หนุนปริมำณขำย และคำดจะเติบโตได้เทียบเท่ำกับระดับของอุตสำหกรรมเป็ นอย่ำงน้อยในระยะยำว

บริษัทเตรียมขยายกาลังการผลิต รองรับการเติบโต
บริษั ท วำงแผนกำรลงทุน ขยำยกำลั งกำรผลิต ของธุ รกิ จปั จจุบัน ในช่ว ง 5 ปี ข ้ำงหน้ำ อย่ำ งต่อ เนื่ อง ด้ว ยเงิน ลงทุน
(CAPEX) รำว 5 – 6 พันลบ./ปี โดยวำงแผนเพิ่มกำลังกำรผลิตอำหำรสัตว์เป็ น 5.5 ล้ำนตัน/ปี ภำยในปี 2569 คิดเป็ น
กำรเติ บ โต CAGR ที่ 12.1% ส่วนกำรผลิตสุกรและไก่เนือ้ มีแ ผนจะเพิ่มกำลังกำรผลิตเป็ น 4.8 ล้ำนตัว/ปี และ 270
ล้ำนตัว/ปี ตำมลำดับ ภำยในปี 2569 คิดเป็ นกำรเติบโต CAGR ที่ 20.1% และ 12.8% ต่อปี ตำมลำดับ รวมทัง้ ยังมี
แผนเพิ่มกำลังกำรผลิตของโรงงำนผลิตอำหำรและผลิตภัณฑ์เนื่อแปรรูปเป็ น 2.23 แสนตัน/ปี คิดเป็ นอัตรำกำรเติบโต
CAGR ที่ 16.4% ต่อปี

Thailand Page 17 of 30
เรำมองว่ำแผนกำรขยำยกำลังกำรผลิตของบริษัทจะเป็ นอีกหนึ่งปั จจัยหลักที่ช่วยหนุนกำรเติบโตของผลประกอบกำร
ของบริษั ทหลังกำลังกำรผลิตในปั จจุบันใช้เกือบเต็มศักยภำพแล้วในเกือบทุกธุรกิจ กำรลงทุนขยำยกำลังกำรผลิต
นอกจำกเป็ นกำรขยำยเพื่อรองรับกำรเติบโตของบริษัททัง้ จำกตลำดในประเทศและต่ำงประเทศแล้ว ยังเป็ นกำรลงทุน
ในเครื่องจักรใหม่ที่มีควำมทันสมัยและมีประสิทธิภำพในกำรผลิตสูงมำกขึน้ จึงทำให้อตั รำกำไรขัน้ ต้นของ BTG ใน
ภำพรวมมีแนวโน้มสูงขึน้ ในระยะยำว
Figure 32: BTG Utilization by businesses (% of max run capacity)

Source: Company, Yuanta Research

Figure 33: Increase production capacity of existing products

Source: Company

Figure 34: Capital expenditure plan

Source: Company

Thailand Page 18 of 30
ตลาดต่างประเทศพึ่งเริ่มต้น ... คาดยังเติบโตได้อีกมาก
ขยายธุรกิจในกัมพูชามีอะไรดี ?
ประชำกร : ประเทศกัมพูชำมีประชำกรทัง้ หมดรำว 15.6 ล้ำนคน ซึง่ มีกลุม่ อำยุ 15 – 44 ปี สัดส่วนสูงถึง 50% หรือคิด
เป็ นรำว 8 – 9 ล้ำนคน และจำนวนประชำกรมีกำรเพิ่มขึน้ เฉลี่ยรำว 1.4% ต่อปี ขณะที่กำรบริโภคโปรตีนต่อหัวมีกำร
เติบ โตปำนกลำงระหว่ำงปี 2560-2564 ที่ 1.75% ต่อปี ในเชิงปริมำณ และ 2.92% ต่อปี ในเชิงมูลค่ำ โดยมีสัด ส่ ว น
กำรบริโภคโปรตี นทั้งหมดแบ่งเป็ น ปลำ 34%, ไก่ 32%, สุกร 21%, ไข่ 10% และเนือ้ วัว 2% และอิงคำดกำรณ์จำก
Global Data ระหว่ำงปี 2565-2569 กำรบริโภคโปรตีนต่อหัวคำดจะเติบโตสูงขึน้ ที่ระดับ 6.7% CAGR โดยคำดจะมี
กำรบริโภคโปรตีนทัง้ หมดสูงถึง 314.1 ล้ำนกก. ในปี 2569
กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจ : เป็ นหนึ่งในประเทศที่มีกำรเติบโตเร็วที่สดุ ในเอชีย โดย GDP มีกำรเติบโตสูงเกือบ 8% ต่อ
ปี ในช่วงทศวรรษที่ผ่ำนมำ อย่ำงไรก็ตำมกำรระบำดของ COVID-19 ทำให้ GDP ปรับลง -3.1% ในปี 2563 แต่คำด
เศรษฐกิจจะฟื ้ นตัวกลับมำที่ระดับ 6 – 7% ต่อปี ได้ตงั้ แต่ปี 2567 เป็ นต้นไป ซึง่ เป็ นผลส่วนหนึ่งจำกอัตรำกำรว่ำงงำน
ที่ต่ำมำกของประเทศ โดยองค์กำรแรงงำนระหว่ำงประเทศรำยงำนว่ำมีแรงงำนเพียงร้อยละ 0.31 ของแรงงำนทัง้ หมด
ในประเทศกัมพูชำที่วำ่ งงำนในปี 2563
เรำมองว่ำกำรบริโภคโปรตีนของกัมพูชำในปั จจุบนั ยังมีช่องว่ำงสำหรับกำรเติบโตได้อีกมำก จำกกำรบริโภคโปรตีนต่อ
หัวที่ยงั ต่ำ เมื่อเทียบกับไทย โดยในปี 2560 กำรบริโภคโปรตีนต่อหัวของกัมพูชำคิดเป็ นสัดส่วนเพียง 28.3% ของกำร
บริโภคโปรตีนในประเทศไทย และกำรเปลี่ยนแปลงทัง้ ทำงด้ำนเศรษฐกิจและประชำกรจะช่วยเพิ่มอัตรำกำรบริโภค
โปรตีนในปี ตอ่ ๆ ไป ซึ่งเป็ นกำรเพิ่มขึน้ ควบคูไ่ ปกับกำรเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อคน นอกจำกนี ้
กัมพูชำยังเป็ นประเทศที่ค่อนข้ำงมีควำมมั่นคงทำงกำรเมือง มีควำมชัดเจนด้ำนกฎหมำย และสภำพแวดล้อมในกำร
ลงทุนมีควำมพร้อมในรับพอใช้ได้เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้ำนอื่น อีกทัง้ มีร สนิยมกำรบริโภคที่ใกล้เคียงคนไทย และ
มีควำมเชื่อมั่นในสินค้ำไทย ทำให้มองว่ำเป็ นประเทศที่มีศกั ยภำพในกำรเติบโต

Figure 35: Nominal GDP and Real GDP annual growth Figure 36: Cambodia age structure

Source :GlobalData Source : GlobalData

Figure 37: Cambodia in-scope protein consumption by type (2017-2026)

Source: GlobalData

Thailand Page 19 of 30
ร่วมมือกับพันธมิตรท้องถิ่นในการขยายการเติบโตในตลาดอื่นๆเพิ่ม
ในอนำคตบริษัทมีแผนที่จะจัดตัง้ ธุรกิจในตลำดที่มีศกั ยภำพอื่นเพิ่มเติม อำทิ อินเดีย , จีน และเวียดนำม ผ่ำนกำรร่วม
ทุนกับพันธมิตรที่เป็ นบริษัทท้องถิ่นที่มีควำมเชี่ยวชำญในตลำดของประเทศตนเอง ซึง่ จะต่อยอดในกำรส่งออกสูต่ ลำด
เป้ำหมำย เช่น สิงคโปร์และฮ่องกง รวมถึงกำรขยำยกลุม่ ผลิตภัณฑ์ และสร้ำงแบรนด์ S-Pure ให้เป็ นที่รูจ้ กั ระดับสำกล
นอกจำกนีบ้ ริษัทมีแผนในกำรขยำยตลำดส่งออกมำกขึน้ มำกกว่ำ 20 ประเทศ และเพิ่มส่วนแบ่งตลำดมำกขึน้ ในตลำด
เดิม อำทิ ญี่ปน, ุ่ สิงคโปร์, ฮ่องกง และสหรำชอำณำจักร ผ่ำนกำรขำยผ่ำนผูจ้ ดั จำหน่ำย, กำรออกงำนอีเวนต์เพิ่มกำร
รับ ณู้แบรนด์ของบริษั ท ในตลำดต่งประเทศ, และกำรเพิ่ มยอดขำยผ่ำนกำรขำยส่ง และเครือข่ำยผู้จัด จำหน่ ำยใน
รูปแบบพันธมิตร
โดยเรำประเมินว่ำแม้สดั ส่วนรำยได้ส่งออกของ BTG จะยังมีสดั ส่วนที่นอ้ ยเมื่อเทียบกับรำยได้จำกในประเทศ คิดเป็ น
เพียงรำว 15% ของรำยได้รวม แต่มองว่ำยังมีศกั ยภำพที่จะเติบโตได้อีกมำก และถือเป็ นสัดส่วนรำยได้ที่มีอัตรำกำไร
ขัน้ ต้นสูงกว่ำค่ำเฉลี่ย ดังนั้นกำรขยำยตลำดใหม่เพิ่มเติม และกำรเพิ่มส่วนแบ่งตลำดของตลำดเดิมล้วนแต่เป็ นกำร
หนุนรำยได้, อัตรำกำไรขัน้ ต้นโดยรวมของบริษัท ซึง่ เป็ น Upside ในระยะยำวที่เรำยังไม่รวมไว้ในประมำณกำร

เรำคำดรำยได้ธุรกิจต่ำงประเทศของ BTG จะเพิ่มขึน้ จำก 4.88 พันลบ.ในปี 2564 เป็ น 6.7 พันลบ. (+15.0%YoY) และ
7.9 พันลบ. (+17.0%YoY) ในปี 2566 และ 2567 ตำมลำดับ จำกกำรเติบโตในทุกประเทศทัง้ กัมพูชำ, ลำว และเมียน
มำ โดยเรำประเมินว่ำรำยได้ในลำวจะมีสัดส่วนมำกขึน้ จำกปั จจุบันที่ 23% ของรำยได้ธุรกิจต่ำงประเทศ (กัมพูชำมี
สัดส่วนที่ 72%) โดยมีปัจจัยหนุนจำกกำรรับรู ก้ ำลังกำรผลิตอำหำรสัตว์แห่งแรกในลำวในปี 2566 และกำรรับรู ก้ ำร
เพิ่มกำลังกำรผลิตโรงเชือดในปี 2567

ธุรกิจอาหารสัตว์เลีย้ งเป็ นดาวดวงใหม่ท่รี อวันฉายแสง … เป็ น Upside ต่อประมาณการ


อุตสำหกรรมอำหำรสัตว์เลีย้ งเป็ นหนึ่งในอุตสำหกรรมกลุ่มอำหำรที่มีกำรเติบโตสูงอย่ำงต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยหนุนจำก
กำรขยำยตัวของเมือง, กำรแต่งงำนหรือมีบุตรช้ำทำให้คนสนใจในกำรเลีย้ งสัตว์ และหันมำใช้จำ่ ยกับสัตว์เลีย้ งมำกขึน้
โดยอิงข้อมูลของสมำคมผลิตภัณ ฑ์สตั ว์เลีย้ งไทย ในปี 2563 ประเทศไทยมีจำนวนสัตว์เลีย้ งประมำณ 14.5 ล้ำนตัว
โดยสุนัขเป็ นสัตว์เลีย้ งที่ได้รบั ควำมนิยมสูงสุดมีจำนวนอยู่ 8.9 ล้ำนตัวใน ตำมมำด้วยแมวที่ 3.3 ล้ำนตัว และสัตว์เลีย้ ง
ขนำดเล็กอื่น ๆ ในสัดส่วนเล็กน้อยที่ 2.3 ล้ำนตัว
ขณะที่ปริมำณอำหำรสัตว์เลีย้ งที่บริโภคในปี 2560 อยู่ที่ 403.8 ล้ำนกก. และสูงขึน้ เป็ น 501.8 ล้ำนกก.ในปี 2564 คิด
เป็ น กำรเติ บ โตที่ 5.58% CAGR และคำดว่ำจะมีกำรเติ บ โตอย่ำงต่อเนื่องเป็ น 718.56 ล้ำ นกก.ในปี 2569 คิ ด เป็ น
7.74% CAGR ในช่วงปี 2565-2569 ได้รบั ปั จจัยหนุนจำกเทรนด์กำรนิยมเลีย้ งสัตว์เลีย้ งมำกขึน้ หลักเกิดกำรระบำด
ของ COVID-19 เนื่ องจำกท ำให้ค นอยู่บ ำ้ นมำกขึน้ และเทรนด์กำร Work from home โดยกำรบริโภคอำหำรสุนัข มี
ปริมำณสูงกว่ำกำรบริโภคอำหำรแมวและอำหำรสัตว์เลีย้ งอื่น ๆ
เรำจึงประเมินว่ำอุตสำหกรรมสัตว์เลีย้ งของไทยเป็ นตลำดที่มีศกั ยภำพในกำรเติบโตสูงทัง้ ในด้ำนของปริมำณและมูลค่ำ
นอกจำกนี ล้ ูกค้ำมีแนวโน้มที่จะมุ่งสู่ผลิตภัณ ฑ์ระดับพรีเมียมมำกขึน้ สอดตล้องกับเทรนด์กำรเลีย้ งสัตว์เสมือนเป็ น
สมำชิกของครอบครัว (Pet Humanization) ประกอบกับ จำนวนสัต ว์เลีย้ งที่ เพิ่มมำกขึน้ ตำมกำรขยำยตัว ของเมือง
และจำนวนชนชัน้ กลำงที่สงู ขึน้ นอกจำกนีอ้ ำหำรสัตว์เลี ้ยงแบบแห้งเป็ นสินค้ำที่ได้รบั ควำมนิยมจำกผูบ้ ริโภคสูงสุด
และเป็ นสินค้ำที่มีอำยุกำรเก็บรักษำนำนและจัดเก็บได้สะดวก จึงทำให้เรำประเมินว่ำธุรกิจอำหำรสัตว์ของ BTG ซึ่ง
เป็ นธุรกิจที่มีอตั รำกำไรขัน้ ต้นสูงที่สดุ จะเป็ นอีกหนึ่งธุรกิจที่จะเป็ นเรือธงหลักหนุนกำรเติบโตของ BTG ในระยะยำว
อย่ำงไรก็ตำมเรำยังประมำณกำรแบบระมัดระวัง โดยคำดรำยได้ธุรกิจสัตว์เลีย้ งในปี 2566 – 67 ที่ 2,083 ลบ. (+8.2%
YoY) และ 2,371 ลบ. (+13.8%YoY) ตำมลำดับ
Figure 38: Pet food consumption by products (2017-2026)

Source: GlobalData

Thailand Page 20 of 30
Figure 39: Pet food business has highest GPM

Source: Company, Yuanta Research

ฐานะการเงินแข็งแกร่งหลัง IPO ... มุ่งเน้นการลงทุนในธุรกิจใหม่ และ New S-Curve


ภำยหลังจำกกำร IPO ทำให้ BTG ได้รบั เงินสดรำว 1.74 หมื่นลบ. ซึ่งท ำให้อัต รำส่วน D/E Ratio ของบริษั ทคำดจะ
ปรับ ขึ ้น จำก 2.7 เท่ ำ ในปี 2564 เหลื อ เพี ย ง 0.9 เท่ ำ ในปี 2565 ซึ่ ง ต่ ำ กว่ ำ ระดั บ Debt Covenant ที่ 2.0 เท่ ำ
ประกอบกำรนำเงินจำกกำรระดมทุนบำงส่วนไปชำระเงินกูย้ ืมจำกธนำคำรซึ่งคำดจะส่งผลให้อตั รำหนีส้ ินที่มีภำระ
ดอกเบีย้ (Gearing Ratio) ของบริษัทปรับลดลงจำก 1.8 เท่ำ ในปี 2564 เหลือ 0.6 เท่ำ ในปี 2565 และมีดอกเบีย้ จ่ำย
ที่ลดลงหนุนอัตรำกำไรสุทธิของบริษัท
ในขณะเดี ยวกัน Gearing Ratio และ D/E Ratio ที่ ลดลงจะทำให้บ ริษั ท มีค วำมสำมำรถในกำรกู้ยืมหนี ส้ ินเพิ่มเติ ม
สำหรับกำรลงทุนโครงกำรในอนำคตได้ นอกจำกนีห้ นีส้ ินที่มีภำระดอกเบีย้ รำว 36% ของ BTG เป็ นหนีส้ ินจำกกำรออก
หุน้ กู้ ซึง่ มีอตั รำดอกเบีย้ คงที่ ทำให้บริษัทมีควำมเสี่ยงต่ำจำกแนวโน้มอัตรำดอกเบีย้ ขำขึน้ ในปั จจุบนั
นอกจำกนีด้ ว้ ยเงินสดในมือจำนวนมำก (เรำคำดที่ 6.1 พันลบ. ณ สิน้ ปี 2565) ทำให้บริษัทมีโอกำสในกำรขยำยกำร
เติ บ โตผ่ ำ นกำรลงทุน ในธุ รกิ จอื่ น (inorganic growth) ที่ มี ศักยภำพ และต่อยอดกับ ธุ รกิ จ หลัก ของบริษั ท ได้ อำทิ
อำหำรในกลุ่มที่สำมำรถเก็บรักษำได้นำน (Shelf life product) หรือกลุม่ อำหำรแปรรูป, ธุรกิจโปรตีนทำงเลือกจำกพืช
รวมถึงธุรกิจใหม่ๆที่เกี่ยวเนื่องกับศักยภำพด้ำนกำรวิจัยและพัฒนำ และเทคโนโลยีอำหำรชัน้ นำ ซึ่งจะช่วยต่อยอด
โอกำสในกำรเติบโตอย่ำงก้ำวกระโดด และเป็ น Upside ในระยะยำวต่อผลประกอบกำรของบริษัท

Figure 40: DE Ratio and Gearing ratio

Source: Company, Yuanta Research

Thailand Page 21 of 30
แนวโน้มผลประกอบการ

แนวโน้มกาไร 4Q65 เติบโตเติบโตทั้ง QoQ และ YoY ... กาไรทั้งปี 2565 ทา New High
เรำคำดแนวโน้ม กำไรปกติใน 4Q65 เบือ้ งต้น จะชะลอลง QoQ ตำมปั จจัยฤดูกำลที่ผ่ำนพ้นช่วง High Season ของ
ธุรกิจ, ได้รบั ผลกระทบของช่วงเทศกำลกินเจในช่วงต้นเดือน ต.ค. กระทบอุปสงค์เนือ้ สัตว์ และรับรูผ้ ลของรำคำเฉลี่ย
หมูไก่ในประเทศที่ชะลอลง QoQ โดยหำกอิงรำคำหมู/ไก่จำกสำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร รำคำขำยเฉลี่ย 4QTD
ของหมูและไก่อยู่ที่ 105.2 บำท/กก. (-5.1% QoQ, +38.8% YoY) และ 45.5 บำท/กก. (-7.5% QoQ, +27.1% YoY)
ตำมลำดับ อย่ำงไรก็ตำมแม้รำคำหมูไก่ในประเทศจะชะลอลง QoQ แต่ยังคงเป็ นระดับสูงเมื่อเทียบ YoY ซึ่งชดเชย
รำคำต้นทุนกำรเลีย้ งที่สงู ขึน้ ได้ทงั้ หมด ประกอบกับปริมำณขำยที่มีกำรเติบโตในทุกกลุ่มธุรกิจ ทำให้กำไรปกติ 4Q65
คำดจะเติบโตเด่น YoY ทัง้ จำกด้ำนรำยได้และอัตรำกำไรที่มีกำรเติบโต
และทำให้เรำคำดกำไรปกติทงั้ ปี 2565 ของ BTG ที่ 7,493 ลบ. (+711.5% YoY) เป็ นระดับสูงสุดใหม่ของบริษัท จำก
กำรได้ผลบวกโดยตรงของรำคำหมูและไก่ในประเทศที่ทำระดับสูงสุดในรอบมำกกว่ำ 10 ปี หนุนรำคำขำยเฉลี่ยและ
อัตรำกำไรขัน้ ต้นของบริษัท ส่วนปริมำณขำยคำดมีกำรเติบโตเช่นกันตำมกำรฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจในประเทศ และหนุน
อัตรำกำรใช้กำลังกำรผลิตของบริษัทให้สงู ขึน้ ช่วยลดต้นทุนคงที่ต่อหน่วย ประกอบกับบริษัทมีกำรบริหำรค่ำใช้จ่ำยใน
กำรขำยที่มีประสิทธิภำพมำกขึน้ และกำรขนส่งทำงเรือที่คลี่คลำยหนุนอัตรำกำไรสุทธิ

Figure 41: Quarterly domestic farm gate swine price (Unit: Thb/Kg)

Source: OAE, Yuanta Research

Figure 42: Quarterly domestic farm gate chicken price (Unit: Thb/Kg)

Source: OAE, Yuanta Research

Thailand Page 22 of 30
กาไรปี 2566 คาดชะลอลงตามแนวโน้มราคาหมู/ไก่ในประเทศ แต่ราคาถูกหุ้นสะท้อนไปแล้ว
เรำคำดรำยได้หลักปี 2566 ที่ 1.17 แสนลบ. เติบโต 7.4%YoY จำกกำรเติบโตของทุกธุรกิจ ได้แก่
1) ธุรกิจเกษตรคำดรำยได้ที่ 2.83 หมื่น ลบ. เติบ โต 4.9% YoY จำกกำรรับ รูก้ ำลังกำรผลิต อำหำรสัตว์ที่ เพิ่ง
ติดตัง้ แล้วเสร็จใน 3Q65 ได้เต็มปี และกำรรับรูก้ ำลังกำรผลิตใหม่เพิ่มเติมอีกรำว 350 ตัน/ปี หนุนให้กำลัง
กำรผลิตรวมใหม่คำดจะเพิ่มขึน้ รำว 8% หนุนปริมำณขำย ขณะที่ฝ่ ั งรำคำขำยเฉลี่ยคำดปรับขึน้ รำว 2%
จำกกำรปรับขึน้ รำคำขำยตำมทิศทำงรำคำต้นทุนได้มำกขึน้
2) ธุรกิจอำหำรและโปรตีนคำดรำยได้ที่ 7.97 หมื่นลบ. เติบโต 7.6% YoY แม้เรำคำดรำคำขำยเฉลี่ยของธุรกิจ
นีจ้ ะปรับลงตำมแนวโน้มรำคำปศุสัตว์ในประเทศที่ ค ำดจะชะลอตัว โดยเรำใช้สมมติ ฐำนรำคำหมูห น้ำ
ฟำร์มที่ 98 บำท/กก. (-8%YoY) และรำคำไก่หน้ำฟำร์มที่ 40.0 บำท/กก. (-10% YoY) แต่ประเมินว่ำรำยได้
จะยังมีก ำรเติ บ โตได้จ ำกกำรเติ บ โตของด้ำ นปริมำณขำยเป็ น หลักทั้งสุกร และไก่ ตำมกำรฟื ้ น ตัว ของ
เศรษฐกิจในประเทศ, จำนวนนักท่องเที่ยวที่สงู ขึน้ หนุนกำรบริโภค และกำรเติบโตของรำยได้ส่งออกจำก
ปริมำณควำมต้องกำรอำหำรในต่ำงประเทศที่ยังอยู่ในระดับสูง ประกอบกับ กำรรับรู ก้ ำลังกำรผลิตใหม่
เพิ่มเติม ดังนี ้
ธุรกิจสุกร : คำดจะรับรูก้ ำลังกำรผลิตโรงเชือดสุกรเพิ่มเป็ น 3.5 ล้ำนตัว/ปี จำก 2.8 ล้ำนตัว/ปี ในปี 2565
ธุรกิจไก่ : คำดจะรับรูก้ ำลังกำรผลิตโรงเชือดไก่เพิ่มเป็ น 201.7 ล้ำนตัว/ปี จำก 183.0 ล้ำนตัว/ปี ในปี 2565
ธุรกิจอำหำรแปรรูปและเนือ้ แปรรูป : คำดกำลังกำรผลิตเพิ่มเป็ น 160 ตัน/ปี จำก 143 ตัน/ปี ในปี 2565
3) ธุรกิจต่ำงประเทศคำดรำยได้ที่ 6.74 พันลบ. เติบ โต 15.0% YoY โดยมีปัจจัยหลักจำก 1) กำรรับรู ก้ ำลัง
กำรผลิตอำหำรสัตว์ใหม่ในกัมพูชำรำว 7.2 หมื่นตัน/ปี ที่ติดตัง้ แล้วเสร็จใน 3Q65 ได้เต็มปี (เพิ่มกำลังกำร
ผลิตในกัมพูชำเป็ น 2.88 แสนตัน/ปี ), 2) รับ รูก้ ำลังกำรผลิตโรงเชือดหมูและไก่แห่งใหม่ในกัมพูชำ กำลัง
กำรผลิต 0.2 ล้ำ นตัว และ 3.0 ล้ำ นตัว ตำมล ำดับ , 3) คำดเริ่มรับ รู ก้ ำลังกำรผลิต ใหม่ข องโรงงำนผลิ ต
อำหำรสัตว์ในลำว กำลังกำรผลิต 7.2 หมื่นตัน/ปี
4) ธุรกิจสัตว์เลีย้ งคำดรำยได้ที่ 2.08 พันลบ. เติบโต 8.2% YoY จำกกำรเติบโตทัง้ ในด้ำนปริมำณขำย ที่คำด
เติบโตตำมทิศทำงกำรเติบโตของอุตสำหกรรม และรำคำขำยเฉลี่ยคำดปรับขึน้ 5.5%YoY
เรำคำดอัตรำกำไรขัน้ ต้น (GPM) ของ BTG อย่ำงระมัดระวังว่ำจะชะลอลงเป็ น 18.7% จำกคำดที่ 19.7% ในปี 2565
เนื่องจำกสมมติฐำนที่รำคำหมูและไก่ปรับลง และรำคำต้นทุนวัตถุดิบกำรเลีย้ ง อำทิ รำคำข้ำวโพดเลีย้ งสัตว์ และรำคำ
กำกถั่วเหลือง แม้จะชะลอลงอย่ำงค่อยเป็ นค่อยไปแต่จะยังอยูใ่ นระดับสูง และแม้เรำจะประเมินว่ำส่วนผสมของสินค้ำ
(Product mix) ของบริษัทจะดีขึน้ ก็ตำมแต่จะยังไม่สำมำรถชดเชยได้ทงั้ หมด ประกอบกับกำรรับรูค้ ่ำใช้จ่ำยคงที่ต่อ
หน่วยสูงขึน้ เช่น เสื่อมรำคำ จำกกำลังกำรผลิตใหม่ที่เพิ่มมำกขึน้
ขณะที่กำรชำระหนีส้ ินที่มีภำระดอกเบีย้ หลังกำร IPO คำดจะทำให้ดอกเบีย้ จ่ำยลดลงเล็กน้อย โดยรวมเรำคำดกำไร
ปกติปี 2566 ของ BTG ที่ 7.14 พันลบ. ชะลอลง 4.7%YoY จำกผลของอัตรำกำไรขัน้ ต้นที่ลดลงเป็ นหลัก แต่ยงั ถือเป็ น
ระดับกำไรที่สงู เมื่อเทียบกับในอดีต และคำดกำไรจะพลิกกลับมำเติบโตได้อีกครัง้ ในปี 2567 จำกรำยได้ที่คำดจะเติบโต
ได้ตอ่ ตำมแผนกำรขยำยกำลังกำรผลิต , กำรขยำยตลำดต่ำงประเทศ และ Product mix ที่ดีขึน้ นอกจำกนีเ้ รำประเมิน
ว่ำรำคำหุน้ ปั จจุบันที่ ถูกซือ้ ขำยบน PER66 เพียง 8.6 เท่ำ เทียบเท่ำ -1.0 SD ของค่ำเฉลี่ยย้อนหลังในอดีตของกลุ่ม
สะท้อนผลประกอบกำรที่คำดจะชะลอตัวในปี 2566 ไปพอสมควรแล้ว

Figure 43: BTG earnings projection

Source: Company, Yuanta Research

Thailand Page 23 of 30
ความเสี่ยง
1. ความผันผวนของราคาวัตถุดิบ และการขาดแคลนวัตถุดิบ โดยธุรกิจของ BTG อำศัยควำมเพียงพอ
ของวัต ถุดิ บ หลัก อำทิ ข้ำ วโพด กำกถั่ว เหลื อง มัน ส ำปะหลัง ปู่ ย่ำ พัน ธุ์แ ละพ่อ แม่พัน ธุ์ ลูก ไก่ ในกำร
ประกอบธุรกิจ ซึง่ สภำพพืน้ ที่ปลูก, อุปสงค์และอุปทำนของตลำดโลก หำกควำมต้องกำรวัตถุดิบเพิ่มขึน้ มำก
อำจส่งผลให้เกิดภำวะขำดแคลนวัตถุดิบกระทบต่อห่วงโซ่อปุ ทำนของ BTG และเนื่องจำกต้นทุนอำหำรสัตว์
เป็ นส่วนที่ใหญ่ที่สดุ ของ COGS สัดส่วนรำว 60% ดังนัน้ รำคำต้นทุนที่มีควำมผันผวน และควำมสำมำรถ
ในกำรกำหนดรำคำขำยมีนอ้ ย อำจทำให้ GPM ไม่เป็ นไปตำมคำด กระทบควำมสำมำรถในกำรทำกำไร
ของบริษัท
2. ความเสี่ยงจากราคาขายที่ผันผวน เนื่องจำกรำคำขำยสินค้ำของ BTG ส่วนใหญ่ขนึ ้ อยู่กบั รำคำในตลำด
ที่ เปลี่ยนแปลงตำมภำวะอุป สงค์แ ละอุป ทำน ซึ่งอำจน ำไปสู่กำรเปลี่ย นแปลงของรำคำขำยที่ ผิ ด ปกติ
รวมถึ งกำรเพิ่ ม ก ำลังกำรผลิ ต ที่ รวดเร็ว ของคู่แ ข่ งที่ จ ะเพิ่ ม อุป ทำนและภำวะกำรแข่ งขัน น ำไปสู่ก ำร
เปลี่ ย นแปลงรำคำขำยของสิ น ค้ำ อำหำรและปศุสัต ว์ส่ง ผลกระทบต่ อ ยอดขำยและก ำไรของบริษั ท
นอกจำกนีผ้ ลิตภัณฑ์บำงรำยกำร เช่น เนือ้ หมู เนือ้ ไก่ และอำหำรสัตว์จะอยู่ภำยใต้มำตรกำรควบคุมรำคำ
ของภำครัฐอำจก่อให้เกิดข้อจำกัดที่ทำให้บริษัท ไม่สำมำรถขึน้ รำคำขำยสูงสุดสำหรับผลิตภัณฑ์ดงั กล่ำวได้
อย่ำงไรก็ตำมบริษัทมุ่งเน้นในกำรพัฒนำสินค้ำ และจำหน่ำยสินค้ำกลุ่ม Premium ที่มีควำมสำมำรถใน
กำรกำหนดรำคำได้มำกกว่ำช่วยชดเชยควำมเสี่ยงดังกล่ำว
3. ความเสี่ ยงจากการเกิ ด โรคระบาดในปศุ สัต ว์ ที่ อ ำจส่งผลกระทบต่อรำคำฟำร์ม , ปริม ำณผลผลิ ต
คุณ ภำพของสิน ค้ำ และควำมเชื่ อมั่น ของผู้บ ริโภคอย่ำ งมีนัย ส ำคัญ อำธิ โรคไข้ห วัด นก, โรคออหวำต์
แอฟริกำในสุกร (ASF) รวมถึงบริษั ทยังอำจต้องเรียกคืน หรือท ำลำยผลิตภัณ ฑ์ของบริษัทฯ บำงรำยกำร
หำกมีโรคระบำดในสัตว์เกิดขึน้ ซึ่งเหตุกำรณ์เหล่ำนีอ้ ำจส่งผลกระทบในทำงลบอย่ำงมีนัยสำคัญต่อธุรกิจ
โดยเพื่อบรรเทำและป้องกันกำรระบำดของโรค บริษัทได้ดำเนิน มำตรฐำนกำรรักษำควำมปลอดภัยทำง
ชีวภำพ (Bio Securities) และมำตรกำรจัดกำรฟำร์มอย่ำงเคร่งครัด
4. ความเสี่ยงจากการแข่งขัน เนื่องจำกลักษณะของธุรกิจมีคแู่ ข่งหลำยรำยทัง้ ในประเทศและต่ำงประเทศที่
บริษั ทมีกำรประกอบธุรกิจ หรือมีกำรส่งออกสิน ค้ำ โดยปั จจัยสำคัญ ที่ จะส่งผลต่อควำมสำมำรถในกำร
แข่งขันของบริษัท ได้แก่ รำคำ, คุณภำพผลิตภัณฑ์, แบรนด์สินค้ำ, ควำมหลำกหลำยของสำยผลิตภัณฑ์,
เครือข่ำยช่องทำงจัดจำหน่ำย และกำรบริกำรลูกค้ำ ซึ่งอำจจำกัดกำรเติบโตของบริษัทในกรณีที่บริษัทไม่
สำมำรถรักษำควำมสำมำรถในกำรแข่งขันด้ำนใดด้ำนหนึ่งได้
5. ความเสี่ยงจากการภัยพิบั ติ และโรคระบาด เช่นนำ้ ท่วม เพลิงไหม้ กระทบกำลังกำรผลิต ขณะที่โรค
ระบำดเช่น COVID-19 สำยพันธุใ์ หม่ที่ทำให้กำรควบคุมโรคทำได้ยำก อำจกระทบอุปสงค์และอุปทำนของ
ตลำด ซึง่ เป็ นสิ่งที่อยูน่ อกเหนือกำรควบคุม

Thailand Page 24 of 30
Balance Sheet Profit and Loss
Year as of Dec Year to Dec
2020A 2021A 2022F 2023F 2024F 2020A 2021A 2022F 2023F 2024F
(THB mn) (THB.mn)
Cash & ST investment 603 542 6,345 4,616 8,585 Sales 82,954 85,424 #### 116,855 125,132
Inventories 11,001 14,111 16,844 18,620 20,132 Cost of goods sold 77,509 74,260 87,433 95,009 102,248
Accounts receivable 663 664 647 658 656 Gross profit 5,445 11,164 21,414 21,846 22,883
Others 10,943 13,140 14,627 15,967 16,897 Operating expenses 10,460 10,914 12,217 12,950 13,459
Current assets 23,210 28,457 38463 39860 46271 Operating profit -5,014 250 9,197 8,896 9,424
LT investments 1,454 1,452 1,452 1,452 1,452 Interest income
- - - - -
Net fixed assets 23,514 25,122 28,095 31,234 34,330 Interest expense 513 577 599 564 561
Others 217 325 232 258 272 Net interest 513 577 599 564 561
Other assets 1,947 2118 2488 2668 2855 Net Invst.Inc/(loss) 14 54 35 38 41
Total assets 50,342 57,475 70,730 75,473 85,179
Net oth non-op.Inc/(loss) 507 1,320 550 500 500
Accounts payable 4,407 5,047 4,931 5,823 6,454
Net extraordinary 0 0 0 0 0
ST borrowings 6,611 15,117 10,492 11,401 11,247
Pretax income 2,723 1,047 9,183 8,870 9,404
Others 7,094 8,393 7,348 7,023 7,562
Income taxes -382 -208 -1,488 -1,508 -1,599
Current liabilities 18,111 28,558 22,771 24,247 25,263 Net profit 2,341 839 7,695 7,362 7,806
Long-term debts 11,757 10,606 6,891 4,885 7,982
Minority interest 20 172 -202 -222 -244
Others 3,327 2,789 2,737 2,824 2,915
Net profit attributable
Long-term liabilities 15,084 13,395 9,628 7,709 10,897 2,361 1,011 7,493 7,140 7,561
to the parent
Total liabilities 33,196 41,953 32,398 31,955 36,160
EBITDA 11,046 5,523 7,126 6,605 6,944
Paid-in capital 3,000 7,500 9,674 9,674 9,674
EPS (THB) 1.22 0.52 3.87 3.69 3.91
Capital surplus 8 8 15,226 15,226 15,226
Source: Company, Yuanta Research
Retained earnings 14,146 8,217 13,462 18,460 23,753
Others 5 (190) (18) 171 379
Shareholders' equity 17,146 15,522 38,331 43,518 49,019
Key Ratios
Total Equity 17,146 15,522 38,331 43,518 49,019
Year to Dec 2020A 2021A 2022F 2023F 2024F
Source: Company, Yuanta Research Growth (% YoY)
Sales 7.9 6.6 27.4 7.4 7.1
Op profit 101.7 -49.8 502.4 -3.6 5.6
EBITDA 119.8 -50.0 29.0 -7.3 5.1
Cash Flow Net profit 82.7 -57.2 641.5 -4.7 5.9
Year to Dec EPS 82.7 -57.2 641.5 -4.7 5.9
2020A 2021A 2022F 2023F 2024F
(THB.mn)
Net profit 2,341 839 7,493 7,140 7,561 Profitability (%)
Depr & amortization 3,905 4,066 4,056 4,329 4,521 Gross margin 16.4 13.1 19.7 18.7 18.3

Change in working -2,475 -5,865 -929 -5,585 -5,018 Operating margin 3.9 1.9 9.0 8.1 8.0
cap. EBITDA margin 13.3 6.5 6.5 5.7 5.5
Others 1,949 -626 2,421 2,546 2,498

Operating cash flow 5,719 -1,587 13,041 8,431 9,561 Net profit margin 2.8 0.0 6.9 6.1 6.0

Capex -858 -1,170 -5,212 -5,523 -5,789 ROA 4.7 1.8 10.6 9.5 8.9

Change in LT inv. 553 0 0 0 0 ROE 13.8 6.5 19.5 16.4 15.4

Change in other 80 -7 57 71 59
assets Stability
Investment cash flow -225 -1,177 -5,155 -5,452 -5,730
Gross debt/equity (%) 193.6 270.3 84.5 73.4 73.8
Change in share -619 -7,370 -11,250 -2,248 -2,142
capital Net cash (debt)/equity 123.2 193.6 37.5 32.7 27.3
Net change in debt -4,314 6,132 -7,625 -1,896 2,840 (%)
Int. coverage (X) 6.3 2.8 16.3 16.7 17.8
Other adjustments -455 3,940 16,793 -564 -561
Int. & ST debt cover (X) 0.7 0.3 1.8 1.5 1.4
Financing cash flow -5,388 2,702 -2,083 -4,708 138 Op Cash flow int. cover -11.1 2.8 -21.8 -15.0 -17.1
(X)
Impact from changes in FX 0 0 0 0 0
Op Cash flow/int. & 0.9 -0.1 1.3 0.8 0.9
Net cash flow 106 -61 5,804 -1,729 3,969 ST debt (X)
Free cash flow 5,494 -2,763 7,886 2,979 3,831 Current ratio (X) 1.3 1.0 1.7 1.6 1.8

Source: Company, Yuanta Research Quick ratio (X) 0.7 0.5 0.9 0.9 1.0

Net debt (THB mn) 21,121.0 30,048.3 14,390.2 14,222.8 13,397.3


BVPS (THB) 22.9 20.7 19.8 22.5 25.3

Valuation Metrics (x)


P/E 27.3 63.7 8.6 9.0 8.5
P/FCF 4.5 -9.0 8.2 21.6 16.8
P/B 1.5 1.6 1.7 1.5 1.3
P/EBITDA 2.3 4.5 9.0 9.7 9.3
P/S 0.3 0.3 0.6 0.6 0.5

Source: Company, Yuanta Research

Thailand Page 25 of 30
ESG Analysis (BTG)

Overview/Main Issue ESG Ranked Score


► บริษัทฯ ได้ดำเนินโครงกำรริเริม่ ต่ำง ๆ เพื่อบรรลุเป้ำหมำยควำมยั่งยืนระยะ
ยำวของบริษัทฯ ในอันที่จะลดกำรบริโภคนำ้ และพลังงำน ลดกำรผลิตของ BTG
เสียและกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก และจัดให้มีกำรนำกลับ มำใช้ใหม่และ
กำรรีไซเคิล E 1.6
► บริษั ท ฯ และบริษั ท ย่อ ยมุ่งมั่น ด ำเนิ น ธุ รกิ จ ให้เติ บ โตอย่ำ งยั่งยื น ภำยใต้
รำกฐำนของกำรพัฒ นำพนักงำน ชุมชน และสังคมให้เติ บ โตไปพร้อมกัน
S 1.4
โดยกำรนำมำตรฐำนควำมรับผิดชอบทำงสังคม กฎหมำย และระเบียบอื่นๆ G 1.3
ที่เกี่ยวข้อง มำปฏิบตั ิอย่ำงเคร่งครัด
► เรำได้ประเมินและวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำน ESG ของ BTG เมื่อเทียบกับ Total 4.3
บริษัทอื่นในอุตสำหกรรมได้คะแนนพืน้ ฐำนด้ำน ESG ที่ 4.3 เทียบเท่ำกับ
Yuanta ESG Ranking ที่ระดับ AA ซึง่ เรำมองว่ำคะแนนพืน้ ฐำนด้ำน ESG
ที่ดีจะส่งผลบวกต่อแนวโน้มกำไรของบริษัทในระยะยำว จึงปรับเพิ่ม
Premium ของ PER ขึน้ ที่ 2% ในกำรประเมินมูลค่ำ

Highlighted Practice in ESG


Stock Good in E/S/G What they did? What’s effect from the project
ลดกำรใช้พลังงำน โดยกำรบำรุงรักษำ
BTG E สำมำรถลดกำรใช้พลังงำนและควำมร้อนลงกว่ำ 28 ล้ำนเมกะจูล
เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ รวมถึงหม้อไอนำ้
ปี 2564 สำมำรถลดกำรสูญเสียนำ้ ในระบบกำรผลิต และ ลดกำรใช้นำ้
BTG E เน้นกำรบริหำรจัดกำรนำ้ ด้วยมำตรกำร 5Rs
ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ได้ 7% เมื่อเทียบกับปี 2563
ให้ควมสำคัญกับคุณภำพและควำมปลอดภัย
BTG S เป็ นบริษัทอำหำรรำยแรกของโลกที่ได้รบั รองจำก NSF ว่ำไม่ใช้ยำปฎิชีวนะ
ของอำหำร

Highlighted ESG Investment plan


Years to see
Stock Investment Plan Budget
its impact
BTG ตัง้ เป้ำลดกำรใช้นำ้ ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์เป็ น 10% ในปี 2568 และ 20% ในปี 2573 n/a 2568
มีแผนลงทุนในธุรกิจ S-Curve ใหม่ที่สำมำรถต่อยอดในหนุนกำรเติบโตของธุรกิจอำหำรอย่ำงยั่งยืน อำทิ
BTG n/a n/a
ธุรกิจโปรตีนทดแทน ซึง่ ช่วยลดกระบวนกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกในกระบวนกำรผลิตได้
BTG ลงทุนเพิ่มประสิทธิภำพเครือ่ งจักร, อุปกรณ์ และ หม้อไอนำ้ ลดกำรปล่อย GHG ในกำรผลิต n/a n/a

Highlighted ESG Risk


Level of Level of Description
Risk Factor
Impact Possibility
กำรขยำยกำลังกำรผลิตอำจทำ
กำรขยำยกำลังกำรผลิต ทำให้ตอ้ งใช้นำ้ ในกำรผลิตมำกขึน้ ส่งผลให้กำรใช้นำ้ ต่อหน่วยเพิ่มขึน้ และ
ให้เกิดกำรใช้นำ้ ในกระบวนกำร Medium High
นำ้ เสียจำกกำรผลิตเพิ่มขึน้
ผลิตมำกขึน้
กำรใช้หรือปฏิบตั ิตอ่ พนักงำนไม่ กำรประพฤติตอ่ บุคลำกรในองค์กรที่ไม่เป็ นธรรม ผิดต่อหลักสิทธิมนุษยชน อำจทำให้ภำพลักษณ์ของ
High low
สอดคล้องกับ ESG บริษัทเสื่อมเสียและอำจส่งผลต่อกำรดำเนินธุรกิจในอนำคต

Thailand Page 26 of 30
Corporate Governance Report Rating (CG Score) (ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2565)
AAV ARIP BGRIM CNT EA GGC INTUCH LANNA MOONG PAP PTT SCB SIS SUSCO TISCO TSTH WACOAL
ADVANC ASP BIZ COLOR EASTW GLAND IP LHFG MSC PCSGH PTTEP SCC SITHAI SUTHA TK TTA WAVE
AF ASW BKI COM7 ECF GLOBAL IRC LIT MST PDG PTTGC SCCC SMPC SVI TKN TTB WHA
AH AUCT BOL COMAN ECL GPI IRPC LOXLEY MTC PDJ PYLON SCG SNC SYMC TKS TTCL WHAUP
AIRA AWC BPP COTTO EE GPSC ITEL LPN MVP PG Q-CON SCGP SONIC SYNTEC TKT TTW WICE
AJ AYUD BRR CPALL EGCO GRAMMY IVL LRH NCL PHOL QH SCM SORKON TACC TMILL TU WINNER
AKP BAFS BTS CPF EPG GULF JTS LST NEP PLANB QTC SCN SPALI TASCO TMT TVDH XPG
AKR BAM BTW CPI ETC GUNKUL JWD MACO NER PLANET RATCH SDC SPI TCAP TNDT TVI ZEN
ALLA BANPU BWG CPN ETE HANA K MAJOR NKI PLAT RBF SEAFCO SPRC TEAMG TNITY TVO
ALT BAY CENTEL CRC FN HARN KBANK MAKRO NOBLE PORT RS SEAOIL SPVI TFMAMA TOA TWPC
AMA BBIK CFRESH CSS FNS HENG KCE MALEE NSI PPS S SE-ED SSC THANA TOP U
AMARIN BBL CGH DDD FPI HMPRO KEX MBK NVD PR9 S&J SELIC SSSC THANI TPBI UAC
AMATA BCP CHEWA DELTA FPT ICC KGI MC NYT PREB SAAM SENA SST THCOM TQM UBIS
AMATAV BCPG CHO DEMCO FSMART ICHI KKP MCOT OISHI PRG SABINA SENAJ STA THG TRC UPOIC
ANAN BDMS CIMBT DOHOME FVC III KSL METCO OR PRM SAMART SGF STEC THIP TRUE UV
AOT BEM CK DRT GC ILINK KTB MFEC ORI PSH SAMTEL SHR STGT THRE TSC VCOM
AP BEYOND CKP DTAC GEL ILM KTC MINT OSP PSL SAT SICT STI THREL TSR VGI
APURE BGC CM DUSIT GFPT IND LALIN MONO OTO PTG SC SIRI SUN TIPCO TSTE VIH

2S AQUA BH CIG DV8 HPT JCKH LHK NDR PIMO PSTC SAPPE SMART SVOA TMD TSE WINMED
7UP ARIN BIG CITY EASON HTC JMT M NETBAY PIN PT SAWAD SMD SVT TMI TVT WORK
ABICO ARROW BJC CIVIL EFORL HUMAN JR MATCH NEX PJW PTC SCAP SMIT SWC TNL TWP WP
ABM AS BJCHI CMC ERW HYDRO KBS MBAX NINE PL QLT SCI SMT SYNEX TNP UBE XO
ACE ASAP BLA CPL ESSO ICN KCAR MEGA NNCL PLE RCL SCP SNNP TAE TNR UEC YUASA
ACG ASEFA BR CPW ESTAR IFS KIAT META NOVA PM RICHY SE SNP TAKUNI TOG UKEM ZIGA
ADB ASIA BRI CRANE FE IIG KISS MFC NPK PMTA RJH SECURE SO TCC TPA UMI
ADD ASIAN BROOK CRD FLOYD IMH KK MGT NRF PPP ROJNA SFLEX SPA TCMC TPAC UOBKH
AEONTS ASIMAR BSM CSC FORTH INET KOOL MICRO NTV PPPM RPC SFP SPC TFG TPCS UP
AGE ASK BYD CSP FSS INGRS KTIS MILL NUSA PRAPAT RT SFT SPCG TFI TPIPL UPF
AHC ASN CBG CV FTE INSET KUMWEL MITSIB NWR PRECHA RWI SGP SR TFM TPIPP UTP
AIE ATP30 CEN CWT GBX INSURE KUN MK OCC PRIME S11 SIAM SRICHA TGH TPLAS VIBHA
AIT B CHARAN DCC GCAP IRCP KWC MODERN OGC PRIN SA SINGER SSF TIDLOR TPS VL
ALUCON BA CHAYO DHOUSE GENCO IT KWM MTI ONEE PRINC SABUY SKE SSP TIGER TQR VPO
AMANAH BC CHG DITTO GJS ITD L&E NATION PACO PROEN SAK SKN STANLY TIPH TRITN VRANDA
AMR BCH CHOTI DMT GTB J LDC NBC PATO PROS SALEE SKR STC TITLE TRT WGE
APCO BE8 CHOW DOD GYT JAS LEO NCAP PB PROUD SAMCO SKY STPI TM TRU WIIK
APCS BEC CI DPAINT HEMP JCK LH NCH PICO PSG SANKO SLP SUC TMC TRV WIN

A AQ BROCK CMO DCON GIFT IHL KCM MCS NC PF ROCK SOLAR SVH TKC TTI W
A5 AU BSBM CMR EKH GLOCON INOX KWI MDX NEWS PK RP SPACK TC TNH TYCN WFX
AI B52 BTNC CPANEL EMC GLORY JAK KYE MENA NFC PPM RPH SPG TCCC TNPC UMS WPH
ALL BEAUTY CAZ CPT EP GREEN JMART LEE MJD NSL PRAKIT RSP SQ TCJ TOPP UNIQ YGG
ALPHAX BGT CCP CSR EVER GSC JSP LPH MORE NV PTECH SIMAT STARK TEAM TPCH UPA
AMC BLAND CGD CTW F&D HL JUBILE MATI MPIC PAF PTL SISB STECH THE TPOLY UREKA
APP BM CMAN D FMT HTECH KASET M-CHAI MUD PEACE RAM SK SUPER THMUI TRUBB VARO

Corporate Governance Report - กำรเปิ ดเผยผลกำรส ำรวจของสมำคมส่ ง เสริม สถำบั น


กรรมกำรบริษั ท ไทย (IOD) ในเรื่อ งกำรก ำกับ ดูแ ลกิ จ กำร (Corporate Governance) นี ้เป็ น
กำรดำเนินกำรตำมนโยบำยของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์
โดยกำรสำรวจของ IOD เป็ นกำรสำรวจและประเมินจำกข้อมูลของบริษัทจดทะเบียนในตลำด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลำดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ (mai) ที่มีกำรเปิ ดเผยต่อสำธำรณะ
และเป็ นข้อมูลที่ผูล้ งทุนทั่วไปสำมำรถเข้ำถึงได้ดังนั้นผลสำรวจดังกล่ำวจึงเป็ นกำรนำเสนอใน
มุมมองของบุคคลภำยนอกโดยไม่ได้เป็ นกำรประเมินกำรปฏิบตั ิและมิได้มีกำรใช้ขอ้ มูลภำยใน
เพื่อกำรประเมินผลสำรวจดังกล่ำวเป็ นผลกำรสำรวจ ณ วันที่ปรำกฏในรำยงำนกำรกำกับดูแล
กิจกำรของบริษัทจดทะเบียนไทยเท่ำนั้นดังนัน้ ผลกำรสำรวจจึงอำจเปลี่ยนแปลงได้ภำยหลังวัน
ดังกล่ำวทัง้ นี บ้ ริษั ทหลักทรัพย์ห ยวนต้ำ (ประเทศไทย) จำกัด มิได้ยืน ยัน หรือรับ รองถึงควำม
ถูกต้องของผลกำรสำรวจดังกล่ำวแต่อย่ำงใด

Thailand Page 27 of 30
Anti-Corruption Progress Indicator (ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกำยน 2565)
ได้รับการรับรอง CAC
2S BAM CGH DUSIT GPI JKN MAKRO NOK PR9 SAAM SMPC TASCO TOG UKEM
7UP BANPU CHEWA EA GPSC JR MALEE NSI PREB SABINA SNC TCAP TOP UOBKH
ADVANC BAY CHOTI EASTW GSTEEL K MATCH NWR PRG SAPPE SNP TCMC TOPP UPF
AF BBL CHOW EGCO GULF KASET MBAX OCC PRINC SAT SORKON TFG TPA UV
AI BCH CIG EP GUNKUL KBANK MBK OGC PRM SC SPACK TFI TPCS VGI
AIE BCP CIMBT EPG HANA KBS MC ORI PROS SCB SPALI TFMAMA TPP VIH
AIRA BCPG CM ERW HARN KCAR MCOT PAP PSH SCC SPC TGH TRU WACOAL
AJ BE8 CMC ESTAR HEMP KCE META PATO PSL SCCC SPI THANI TRUE WHA
AKP BEC COM7 ETE HENG KGI MFC PB PSTC SCG SPRC THCOM TSC WHAUP
AMA BEYOND COTTO FE HMPRO KKP MFEC PCSGH PT SCGP SRICHA THIP TSTE WICE
AMANAH BGC CPALL FNS HTC KSL MILL PDG PTG SCM SSF THRE TSTH WIIK
AMATA BGRIM CPF FPI ICC KTB MINT PDJ PTT SCN SSP THREL TTA XO
AMATAV BKI CPI FPT ICHI KTC MONO PG PTTEP SEAOIL SSSC TIDLOR TTB YUASA
AP BLA CPL FSMART IFS KWI MOONG PHOL PTTGC SE-ED SST TIPCO TTCL ZEN
APCS BPP CPN FSS III L&E MSC PK PYLON SELIC STA TISCO TU ZIGA
AS BROOK CRC FTE ILINK LANNA MST PL Q-CON SENA STGT TKS TVDH
ASIAN BRR CSC GBX INET LH MTC PLANB QH SGP STOWER TKT TVI
ASK BSBM DCC GC INSURE LHFG MTI PLANET QLT SINGER SUSCO TMILL TVO
ASP BTS DELTA GCAP INTUCH LHK NBC PLAT QTC SIRI SVI TMT TWPC
AWC BWG DEMCO GEL IRC LPN NEP PM RATCH SITHAI SYMC TNITY U
AYUD CEN DIMET GFPT IRPC LRH NINE PPP RML SKR SYNTEC TNL UBE
B CENTEL DRT GGC ITEL M NKI PPPM RWI SMIT TAE TNP UBIS
BAFS CFRESH DTAC GJS IVL MAJOR NOBLE PPS S&J SMK TAKUNI TNR UEC

ประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วม CAC
AH CHG DHOUSE EVER J KUMWEL NRF RS SUPER TQM VIBHA
ALT CI DOHOME FLOYD JMART LDC NUSA SAK SVT TRT W
APCO CPR ECF GLOBAL JMT MEGA OR SIS TKN TSI WIN
ASW CPW EKH ILM JTS NCAP PIMO SSS TMD VARO
B52 DDD ETC INOX KEX NOVA PLE STECH TMI VCOM

คาชีแ้ จง ข้อมูลบริษัทที่เข้ำร่วมโครงกำรแนวร่วมปฏิบตั ิของภำคเอกชนไทยในกำรต่อต้ำนทุจริต (Thai CAC) ของสมำคมส่งเสริมสถำบันกรรมกำรบริษัทไทย มี 2


กลุม่ คือ
-ได้ประกำศเจตนำรมณ์เข้ำร่วม CAC
-ได้รบั กำรรับรอง CAC
กำรเปิ ดเผยผลกำรประเมินดัชนีชีว้ ัดควำมคืบหน้ำของกำรป้องกัน กำรมีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรคอร์รปั ชั่น ( Anti-Corruption Progress Indicators) ของบริษัท จด
ทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งจัดทำโดยสถำบันที่เกี่ยวข้องซึ่งมีกำรเปิ ดเผยโดยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์นี ้
เป็ นกำรดำเนินกำรตำมนโยบำยและตำมแผนพัฒนำควำมยั่งยืนสำหรับบริษัทจดทะเบียน โดยผลกำรประเมินดังกล่ำว สถำบันที่เกี่ยวข้องอำศัยข้อมูลที่ได้รบั จำก
บริษัทจดทะเบียนตำมที่บริษัทจดทะเบียนได้ระบุในแบบแสดงข้อมูลเพื่อกำรประเมิน Anti-Corruption ซึ่งได้อำ้ งอิงข้อมูลมำจำกแบบแสดงรำยกำรข้อมูลประจำปี
(แบบ 56-1) รำยงำนประจำปี (แบบ 56-2) หรือในเอกสำรและหรือรำยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องของบริษัทจดทะเบียนนัน้ แล้วแต่กรณี ดังนัน้ ผลกำรประเมินดังกล่ำวจึง
เป็ นกำรนำเสนอในมุมมองของสถำบันที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็ นบุคคลภำยนอก โดยมิได้เป็ นกำรประเมินกำรปฏิบตั ิของบริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศ
ไทย และมิได้ใช้ขอ้ มูลภำยในเพื่อกำรประเมิน เนื่องจำกผลกำรประเมินดังกล่ำวเป็ นเพียงผลกำรประเมิน ณ วันที่ปรำกฏในผลกำรประเมินเท่ำนัน้ ดังนัน้ ผลกำร
ประเมินจึงอำจเปลี่ยนแปลงได้ภำยหลังวันดังกล่ำว หรือเมื่อข้อมูลที่เกี่ยวข้องมีกำรเปลี่ยนแปลง ทัง้ นีบ้ ริษัทหลักทรัพย์ หยวนต้ำ (ป ระเทศไทย) จำกัด มิได้ยืนยัน
ตรวจสอบ หรือรับรองถึงควำมถูกต้องครบถ้วนของผลกำรประเมินดังกล่ำวแต่อย่ำงใด

Thailand Page 28 of 30
สำนักงำนใหญ่ สำขำกล้วยนำ้ ไท สำขำคริสตัลปำร์ค
127 อำคำรเกษร ทำวเวอร์ ชัน้ 14-16 ถนนรำชดำริ 3803 อำคำร คิส ชัน้ G ห้อง A1 – G04 เลขที่ 199 อำคำร D ชัน้ 1 ห้องเลขที่ 106-107
แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ถนนพระรำมที่ 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย ถนนประดิษฐ์มนูธรรม แขวงลำดพร้ำว เขตลำดพร้ำว
โทรศัพท์ 0 2009 8888 โทรสำร 0 2009 8889 กรุ งเทพฯ 10110 กรุ งเทพฯ 10230
โทรศัพท์ 0 2120 3770 โทรสำร 0 2339 3865 โทรศัพท์ 0 2120 3510 โทรสำร 0 2515 0875
สำขำงำมวงศ์วำน สำขำเซ็นทรัลลำดพร้ำว สำขำถนนสีลม
เลขที่ 408, 410, 412, 414, 416, 418, 420, 422, 424, เลขที่ 1693 อำคำรสำนักงำน เซ็นทรัลลำดพร้ำว 62 อำคำรธนิยะ ห้อง 1109 ชัน้ 11
426, 428, 430 อำคำรศูนย์กำรค้ำเดอะมอลล์งำมวงศ์วำน ชัน้ 11 ห้องเลขที่ 1101 ถนนพหลโยธิน ถนนสีลม แขวงสุรยิ วงศ์ เขตบำงรัก
ชัน้ 11 หมู่ท่ี 2 ถนนงำมวงศ์วำน ตำบลบำงเขน แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 กรุ งเทพฯ 10500
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0 2120 3700 โทรสำร 0 2541 1505 โทรศัพท์ 0 2120 3380 โทรสำร 0 2235 6817
โทรศัพท์ 0 2120 3100, โทรสำร 0 2550 0499
สำขำท่ำพระ สำขำนำนำ สำขำบองมำร์เช่
129 อำคำรศูนย์กำรค้ำเดอะมอลล์ 142 อำคำร ทู แปซิฟิค เพลส 105/1 ห้อง E204 ถนนเทศบำลสงเครำะห์
ท่ำพระ ชัน้ 9 ถนนรัชดำภิเษก แขวงบุคคโล ชัน้ 18 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตยเหนือ แขวงลำดยำว เขตจตุจกั ร
เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 กรุ งเทพฯ 10900
โทรศัพท์ 0 2120 3560 โทรสำร 0 2477 7217 โทรศัพท์ 0 2120 3200 โทรสำร 0 2254 9954 โทรศัพท์ 0 2120 3630 โทรสำร 0 2002 5551
สำขำบำงกะปิ สำขำบำงนำ สำขำปิ่ นเกล้ำ
3522 ชัน้ 8 อำคำรศูนย์กำรค้ำเดอะมอลล์ 1093/56 ชัน้ 11 อำคำรเซ็นทรัลซิตบี ้ ำงนำ เลขที่ 7/129 อำคำรสำนักงำนเซ็นทรัลพลำซำ ปิ่ นเกล้ำ
บำงกะปิ ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น ถนนบำงนำ-ตรำด กม.3 อำคำร เอ ห้องเลขที่ 21803/2 ชัน้ 18 ถนนบรมรำชชนนี
เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 แขวงบำงนำ เขตพระโขนง กรุ งเทพฯ 10260 แขวงอรุ ณอมรินทร์ เขตบำงกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700
โทรศัพท์ 0 2120 3000 โทรสำร 0 2363 3075 โทรศัพท์ 0 2120 3460 โทรสำร 0 2745 6467 โทรศัพท์ 0 2120 3030 โทรสำร 0 2433 7001
สำขำพำรำไดซ์ พำร์ค สำขำรัตนำธิเบศร์ สำขำวัชรพล
เลขที่ 61 อำคำรพำรำไดซ์ พำร์ค ชัน้ 4 145 ถนนติวำนนท์ ตำบลบำงกระสอ อำเภอเมือง 78/26 ซอยวัชรพล 2
ถนนศรีนครินทร์ แขวงหนองบอน จังหวัดนนทบุรี 11000 แขวงท่ำแร้ง เขตบำงเขน กรุ งเทพฯ 10230
เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ 0 2120 3270 โทรสำร 0 2580 7765 โทรศัพท์ 0 2120 3170 โทรสำร 0 2363 6629
โทรศัพท์ 0 2120 3300 โทรสำร 0 2780 2265
สำขำอำรีย์ สำขำอโศก สำขำอัมรินทร์
เลขที่ 412/44-45 อำคำร บ้ำนพหลโยธิน เพลส ชัน้ 3 50 อำคำรจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ชัน้ 18 ถนนสุขมุ วิท เลขที่ 496-502 อำคำรอัมรินทร์ ทำวเวอร์ ชัน้ 8
ถนนพหลโยธิน แขวงสำมเสนใน 21 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน
เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนำ กรุ งเทพฯ 10110 กรุ งเทพฯ 10330
โทรศัพท์ 0 2120 3350 โทรสำร 0 2619 0552 โทรศัพท์ 0 2120 3050 โทรสำร 0 2258 3074-5 โทรศัพท์ 0 2120 3241 , โทรสำร 0 2256 9596
สำขำขอนแก่น สำขำชลบุรี สำขำเซ็นทรัลชลบุรี
561/27-28 ถนนหน้ำเมือง 98/16 หมู่ท่ี 5 ตำบลห้วยกะปิ เลขที่ 55/35-36 หมู่ท่ี 1 ต.เสม็ด อ.เมือง
ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20130 ชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000
โทรศัพท์ 043 041344 โทรสำร 043 041355 โทรศัพท์ 033 135130-59 โทรสำร 038 384794 โทรศัพท์ 0 3313 5119 โทรสำร 0 3805 3839
สำขำเชียงใหม่ สำขำนครศรีธรรมรำช สำขำพิษณุโลก
สมำคมพำณิชย์สำมัคคี เชียงใหม่ ที่อยู่ 71 ชัน้ 3 155/8 ถนนพัฒนำคูขวำง ตำบล ในเมือง เลขที่ 261/42 ถนนบรมไตรโลกนำถ ตำบลในเมือง
ถนน ทุง่ โฮเต็ล ตำบล วัดเกต อำเภอ เมือง อำเภอ เมืองนครศรีธรรมรำช อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000
จังหวัดเชียงใหม่ 50000 จังหวัดนครศรีธรรมรำช 80000 โทรศัพท์ 055 105 400 โทรสำร 055 243 168
โทรศัพท์ 052-081460, โทรสำร 053-240206 โทรศัพท์ 0 7534 4955 โทรสำร 0 7534 4956
สำขำภูเก็ต สำขำสมุทรสำคร สำขำระยอง
เลขที่ 1/6-7 ถนนทุง่ คำ ต.ตลำดใหญ่ อ.เมือง เลขที่ 67/518 หมู่ท่ี 4 ถ. เอกชัย ต. โคกขำม 125/1 ถนนจันทอุดม (ระยอง - บ้ำนค่ำย)
จังหวัดภูเก็ต 83000 อ. เมือง จังหวัด สมุทรสำคร 74000 ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000
โทรศัพท์ 0 7668 1700 โทรสำร 0 7635 4020 โทรศัพท์ 034 114300 โทรสำร 034 429202 โทรศัพท์ 038 673900-12 โทรสำร 038 617490,
038 619253
สำขำสุรนิ ทร์ สำขำหัวหิน สำขำหำดใหญ่
เลขที่ 574/6-7 หมู่ 19 ต. นอกเมือง อ.เมือง เลขที่ 85/7 ชัน้ 1 ถนนเพชรเกษม ตำบลหัวหิน อำเภอ โครงกำร The Rise Residence ห้องเลขที่ 11/103
จ.สุรนิ ทร์ 32000 หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ถนนประชำยินดี 5 อำเภอหำดใหญ่ จ. สงขลำ 90110
โทรศัพท์ 0 4406 9040 โทรสำร 0 4451 2447 โทรศัพท์ 0 3290 9612-4 โทรสำร 0 3290 9612 ต่อ โทรศัพท์ 074 894 600, 074 894 666
6201 โทรสำร 074 894 629, 074 894 687
สำขำอุบลรำชธำนี สำขำเซ็นทรัลเวิลด์ สำขำจันทบุรี
เลขที่ 941 ชัน้ 1 ถนนชยำงกูร ตำบลในเมือง เลขที่ 4,4/5 อำคำรเซนทำวเวอร์ ชัน้ 14 ห้องเลขที่ เลขที่ 177/51, 177/52 หมู่ 10 ตำบลท่ำช้ำง
อำเภอเมือง จังหวัดอุบลรำชธำนี 34000 004/1 ถนนรำชดำริ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000
โทรศัพท์ 0 4595 9456 โทรสำร 0 4531 2132 กรุ งเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0 3960 9749 โทรสำร 0 3948 0456
โทรศัพท์ 0 2009 8929 โทรสำร 0 2255 8880

Thailand Page 29 of 30
การเปิ ดเผยข้อมูล
รำยงำนฉบับนีจ้ ดั ทำขึน้ โดยฝ่ ำยวิเครำะห์กำรลงทุน บริษัทหลักทรัพย์ หยวนต้ำ (ประเทศไทย) จำกัด (“บริษัท”) บนพืน้ ฐำนข้อมูลซึ่งพิจำรณำแล้วว่ำมีควำมน่ำเชื่อถือ
อย่ำงไรก็ตำม บริษัทไม่สำมำรถที่จะยืนยันหรือรับรองควำมถูกต้องของข้อมูลเหล่ำนีไ้ ด้ กำรวิเครำะห์ขอ้ มูลนีจ้ ดั ทำขึน้ โดยอ้ำงอิงหลัก เกณฑ์และมำตรฐำนกำรวิเครำะห์
เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบกำรตัดสินใจในกำรลงทุน ดังนัน้ นักลงทุนควรใช้ดลุ ยพินิจอย่ำงรอบคอบในกำรพิจำรณำลงทุน บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในกำรนำข้อมูลที่ปรำกฏใน
เอกสำรนีไ้ ม่ว่ำทัง้ หมดหรือบำงส่วน ไปทำซำ้ ดัดแปลง แก้ไข เผยแพร่ หรือแสวงหำผลประโยชน์ในเชิงพำณิชย์ไม่ว่ำในลักษ ณะใด ๆ เว้นแต่จะได้รบั ควำมยินยอมเป็ น
ลำยลักษณ์อกั ษรจำกบริษัทก่อน

Opinion Key - บริษัทหลักทรัพย์ หยวนต้ำ (ประเทศไทย) จำกัด กำหนดคำแนะนำกำรลงทุนทำงปั จจัยพืน้ ฐำน 3 ระดับ คือ (1) ซือ้ (BUY) สำหรับหุน้ ที่มีปัจจัยพืน้ ฐำนดี
ให้ผลตอบแทนที่คำดหวังรวมส่วนต่ำงของมูลค่ำเหมำะสมกับ รำคำในตลำดและผลตอบแทนเงิน ปั นผล มำกกว่ำ 15% (2) เก็งกำไร (TRADING) ส ำหรับ หุน้ ที่ ให้
ผลตอบแทนที่ ค ำดหวังรวมส่ว นต่ำ งของมูล ค่ำ เหมำะสมกับ รำคำในตลำดและผลตอบแทนเงิน ปั น ผล ระหว่ำ ง -10% ถึ ง +15% (3) ขำย (SELL) ส ำหรับ หุ้น ที่
ปั จจัยพืน้ ฐำนไม่ดี และ/หรือ ให้ผลตอบแทนที่คำดหวังรวมส่วนต่ำงของมูลค่ำเหมำะสมกับรำคำในตลำด ติดลบมำกกว่ำ 10% ขึน้ ไป
คำแนะนำกำรลงทุนของบทวิเครำะห์ทำงปั จจัยพืน้ ฐำนอำจจะ “เหมือน” หรือ “แตกต่ำง” กับคำแนะนำกำรลงทุนในบทวิเครำะห์ท ำงเทคนิ ครำยวัน นักลงทุนต้อง
พิจำรณำคำแนะนำกำรลงทุนของบทวิเครำะห์ฯอย่ำงรอบคอบก่อนกำรตัดสินใจลงทุนเพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะกำรลงทุนของท่ำน

ฝ่ ายวิเคราะห์หลักทรัพย์
กลยุทธ์การลงทุน Sector E-mail เบอร์โทรศัพท์
ภำดล วรรณรัตน์ หัวหน้ำฝ่ ำยวิเครำะห์หลักทรัพย์ padon.v@yuanta.co.th 0-2009-8060
ณัฐพล คำถำเครือ นักกลยุทธ์กำรลงทุน MAI natapon.k@yuanta.co.th 0-2009-8059
ณัฐ ตรีพนู สุข นักกลยุทธ์กำรลงทุน Asset Allocation nutt.t@yuanta.co.th 0-2009-8062
ปรมำภรณ์ รุจำคม ผูช้ ว่ ยนักวิเครำะห์
ธนพงษ์ เจริญวัฒนกิจ ผูช้ ว่ ยนักวิเครำะห์
ปั จจัยพืน้ ฐาน Sector E-mail เบอร์โทรศัพท์
วีณำ นำยดุลย์ นักวิเครำะห์พนื ้ ฐำนสถำบัน veena.n@yuanta.co.th 0-2009-8070
วิชชุดำ ปลั่งมณี นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ Construction Service, wichuda.p@yuanta.co.th 0-2009-8069
Commerce
ถกล บรรจงรักษ์ นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ Media, Health Care, Auto, IE thakol.b@yuanta.co.th 0-2009-8067
ธีรธ์ นัตถ์ จินดำรัตน์ นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ SMID Cap theethanat.j@yuanta.co.th 0-2009-8071
ศุภชัย วัฒนวิเทศกุล นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ ICT, Electronic, Utility supachai.w@yuanta.co.th 0-2009-8066
ปรินทร์ นิกรกิตติโกศล นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ Energy, Petrochemical parinth.n@yuanta.co.th 0-2009-8075
ตฤณ สิทธิสวัสดิ์ นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ Banking, Finance trin.s@yuanta.co.th 0-2009-8068
จำรุชำติ บูชำชำติ นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ Property, Transportation jaruchart.b@yuanta.co.th 0-2009-8072
กฤตวิทย์ รัตนะกนกชัย นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ Food & Beverage kritawit.r@yuanta.co.th 0-2009-8064
ณัชพล แพรสีเจริญ นักวิเครำะห์ปัจจัยพืน้ ฐำนด้ำนหลักทรัพย์ Power & Utility, Packaging natchapon.p@yuanta.co.th 0-2009-8056
สำริน วุฒิศิรศิ ำสตร์ ผูช้ ว่ ยนักวิเครำะห์
อทิตยำ ชินะกำญจนดิษฐ์ ผูช้ ว่ ยนักวิเครำะห์
จินดำนุช ประเวศโชตินนั ท์ ผูช้ ว่ ยนักวิเครำะห์
จิรำยุส อำษำนำม ผูช้ ว่ ยนักวิเครำะห์
วรวุฒิ ณ นคร ผูช้ ว่ ยนักวิเครำะห์พนื ้ ฐำนสถำบัน
วิเคราะห์ทางเทคนิค E-mail เบอร์โทรศัพท์
พงศ์พฒ ั น์ คำ้ ชู, CMT, CAIA นักวิเครำะห์ปัจจัยทำงเทคนิค pongpat.k@yuanta.co.th 0-2009-8079
ปรีดิ ลุประสิทธิ์, CMT, CFTe
์ นักวิเครำะห์ปัจจัยทำงเทคนิค pridi.l@yuanta.co.th 0-2009-8073
ณภัทร อมรส่งเจริญ นักวิเครำะห์ปัจจัยทำงเทคนิค napat.a@yuanta.co.th 0-2009-8052
ส่วนสนับสนุนข้อมูล
อังศุมำลิน คุม้ วงค์ สนับสนุนข้อมูลฝ่ ำยวิเครำะห์
พีรญำ เวียงเพิ่ม สนับสนุนข้อมูลฝ่ ำยวิเครำะห์
อุษณี อีโ้ ค้ว สนับสนุนข้อมูลฝ่ ำยวิเครำะห์

Thailand Page 30 of 30

You might also like