You are on page 1of 19

รายงาน

เรื่อง โครงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์

จัดทำโดย

เด็กหญิงจิลาวดี ศรีวงษา เลขที่ ๑

เด็กหญิงณฐพร รัศมิทัต เลขที่ ๖

เด็กหญิงอัจฉริยา อารีย์ เลขที่ ๒๐

เด็กหญิงชนันพร สุดใจ เลขที่ ๒๗

เด็กหญิงชนาพร วรสูตร เลขที่ ๒๘

เด็กหญิงวรัษยา กิ่มพัด เลขที่ ๓๘

เด็กหญิงวิชญาดา จวนสันเทียะ เลข


ที่ ๓๙

เด็กหญิงศรัญย์รัตน์ ดวงปิ่ น เลขที่ ๔๐

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒/๒

เสนอ

นางสาว เจนจิรา หมื่นจบ


รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาภาษาไทย รหัสวิชา
ท๒๒๑๐๒

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๕

โรงเรียนวิสุทธิกษัตรี อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

ปกรอง
รายงาน

เรื่อง โครงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์

จัดทำโดย

เด็กหญิงจิลาวดี ศรีวงษา เลขที่ ๑

เด็กหญิงณฐพร รัศมิทัต เลขที่ ๖


เด็กหญิงอัจฉริยา อารีย์ เลขที่ ๒๐

เด็กหญิงชนันพร สุดใจ เลขที่ ๒๗

เด็กหญิงชนาพร วรสูตร เลขที่ ๒๘

เด็กหญิงวรัษยา กิ่มพัด เลขที่ ๓๘

เด็กหญิงวิชญาดา จวนสันเทียะ เลข


ที่ ๓๙

เด็กหญิงศรัญย์รัตน์ ดวงปิ่ น เลขที่ ๔๐

้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒/๒


ชัน

เสนอ

นางสาว เจนจิรา หมื่นจบ

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาภาษาไทย รหัสวิชา


ท๒๒๑๐๒

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๕

โรงเรียนวิสุทธิกษัตรี อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ


คำนำ

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชา ภาษาไทย ชัน


้ มัธยมศึกษาปี
ที่๒/๒ เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง โครงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ และได้
ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กับการเรียน

คณะผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนีจ
้ ะเป็ นประโยชน์ต่อตัวผู้
อ่านหรือนักเรียนที่กำลังศึกษาหาข้อมูลเรื่อง โครงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
หากมีข้อมูลผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำขอน้อมรับและขออภัยมา ณ ที่
นี ้

คณะผู้จัดทำ
เรื่อง หน้า

คำนำ ก

ความเป็ นมาของเรื่อง ๑

ผู้แต่งและประวัติผู้แต่ง ๒
โคลงสุภาษิตในพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

เรื่อง โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์

ความเป็ นมาของเรื่อง

โคลงโสฬสไตรยางค์เดิมเป็ นสุภาษิตภาษาอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระ


จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้กวีในราชสำนักแปลและ
ประพันธ์เป็ นโคลงภาษาไทย ดังปรากฏในจดหมาย เหตุพระราชกิจราย
วันพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตอนหนึ่งว่า วันที่ ๔๔๕๑ (หมา
ยถึง วันที่ ๔๔๕๑ ในรัชกาลที่ ๕) วัน ๒ฯ๓๒ ค่ำ ปี มะโรง โทศก จุลศักราช
๑๒๔๒ (วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓) “พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวง

พิชิตปรีชากร (ต่อมาคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร) ถวาย


โคลงโสฬสไต รยางค์ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ไปแต่งแก้ใหม่ให้ถูก
กับความในภาษาอังกฤษ”

ผู้แต่งและประวัติผู้แต่ง

ที่มาของเรื่อง โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ เป็ นบทพระราชนิพนธ์ใน


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (เดิมเป็ นสุภาษิตภาษาอังกฤษจึง
ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กวีในพระราชสำนักแปลและ
ประพันธ์เป็ นโคลงภาษาไทย พระองค์ท่านได้ทรงตรวจแก้และทรงพระราช
นิพนธ์โคลงบทนำด้วย)
ลักษณะคำประพันธ์

โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์เ ป็ นโคลงสี่ส ุภาพซึ่ง มีบ ทนำ ๑ บท เนื้อ


เรื่อ ง ๑๖ บท และบทสรุป ๑ บท ซึ่ง บอกจำนวนสุภ าษิต ว่า มี ๑๖ หมวด
หมวดละ ๓ ข้อ รวมเป็ น ๔๘ ข้อ ในพระราชนิพนธ์นี ้ “ไตรยางค์” หมายถึง
จำนวนสิ่งที่ควรแสวงหาหรือควรละเว้น ซึ่งในโคลงแต่ละบทจะมีอยู่ ๓ สิ่ง
ส่วนคำ ว่า “โสฬส” หมายถึง ๑๖ ดังนัน
้ “โสฬสไตรยางค์” จึงหมายถึง ข้อ
ควรกระทำไม่ควรกระทำ ๓ ประการ ซึง่ มีจำนวน ๑๖ ข้อ

รูปแผนผังโครงสี่สุภาพ
เนื้อหาสาระสำคัญ

โคลงโสฬสไตรยางค์ กล่าวถึง สิ่งที่ควรปฏิบัติและควรละเว้น 16

หมวด หมวดละ 3 ข้อ นำโดยโคลงพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ


พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หัวข้อ ‘’ว่าด้วยความสามอย่าง’’ ดังนี ้

๑.สามสิ่งควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุภาพ และความรักใคร่

๒. สามสิ่งควรชม ได้แก่ อำนาจปั ญญา เกียรติยศ และมีมารยาทดี

๓. สามสิ่งควรเกลียด ได้แก่ ความดุร้าย ความหยิ่งกำเริบ และอกตัญญู

๔. สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน ได้แก่ ชั่วเลวทราม มารยา และฤษยา

๕. สามสิ่งควรเคารพ ได้แก่ ศาสนา ยุติธรรม และสละประโยชน์ตนเอง

๖. สามสิ่งควรยินดี ได้แก่ การเป็ นผู้มค


ี วามงาม มีความสัตย์ซ่ อ
ื และความ
อิสระเสรี
๗. สามสิ่งควรปรารถนา ได้แก่ ความสุขสบาย การมีมิตรสหายที่ดี และมี
ความสบายใจ

๘. สามสิ่งควรอ้อนวอนขอ ได้แก่ ความเชื่อถือ ความสงบ และจิตใจที่ไม่


ขุ่นหมอง

๙. สามสิ่งควรนับถือ ได้แก่ การเป็ นผู้มีปัญญา มีความฉลาด และมีความ


มั่นคงไม่โลเล

๑๐. สามสิ่งควรจะชอบ ได้แก่ ความมีใจอารีสุจริต ใจดีไม่เคืองขุ่น และ มี


ความสนุกเบิกบาน

๑๑. สามสิ่งควรสงสัย ได้แก่ คำยกยอ พวกปากไม่ตรงกับใจ และ พวกใจ


โลเลพูดกลับคำไปมา

๑๒. สามสิ่งควรละ ได้แก่ ความเกียจคร้าน การพูดจาไม่น่าเชื่อถือ และ


การใช้คำเสียดสีผู้อ่ น

๑๓. สามสิ่งควรจะกระทำให้มี ได้แก่ หนังสือดีเพื่อนที่ดี และ ความเป็ น


คนใจเย็น

๑๔. สามสิ่งควรจะหวงแหนฤๅต่อสู้เพื่อรักษา ได้แก่ ชื่อเสียงเกียรติยศ


ประเทศชาติบ้านเมือง และเพื่อนที่ดี
๑๕. สามสิ่งควรครองไว้ ได้แก่ กิริยาอาการ ความมักง่าย และคำพูด

๑๖. สามสิ่งควรจะเตรียมเผื่อ ได้แก่ ความไม่เที่ยงแท้แน่นอน ความแก่


ชรา และความตาย

ตัวอย่างโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์

สามสิ่งควรครองไว้ (Tree Things to Govern)


กิริยาที่เป็ นในใจ (Temper) มักง่าย(Impulse) วาจา(The Tongue)
อาการอันเกิดด้วย น้ำใจ แปรฤๅ
ใจซึ่งรีบเร็วไว ก่อนรู้
วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ
สามสิ่งจำทั่วผู้ พิทักษ์หมัน
้ ครองระวัง

กล่าวถึงสามสิ่งควรต้องระวัง อันได้แก่ กิริยาที่เป็ นในใจ ความมัก


ง่าย และวาจา

สามสิ่งควรจะกระทำให้มี (Three Things to Cultivate)


หนังสือดี (Good books) เพื่อนดี (Good Friends) ใจเย็นดี (Good
Humour)
หนังสือสอนสั่งข้อ วิทยา
เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้
หนึ่งขาดปราศโทสา คติห่อ ใจ
เฮย
สามสิ่งควรมีไว้ มากยัง้
ยืนเจริญ
สามสิ่งที่เราควรจะมี คือ หนังสือที่ให้ความรู้ มิตรที่ดี และจิตใจที่ดีไม่มี
ความโกรธ

สามสิ่งควรเคารพ (Three Things to Reverence)


ศาสนา (Religion) ยุติธรรม (Justice) สละประโยชน์ตนเอง (Self-
denial)
ศาสนาสอนสั่งให้ ประพฤติดี
หนึ่งยุติธรรมไป่ มี เลือกผู้
ประพฤติเพื่อประโยชน์ศรี ์ ั่ว
สวัสดิท
กันแฮ
สามสิ่งควรรอบรู้ เคารพ
เรื่องเจริญคุณ

เราควรเคารพศาสนา เพราะศาสนาสอนให้คนประพฤติตนเป็ นคนดี และ


ควรจะมีความยุติธรรมต่อทุกคนไม่เข้าข้างฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง นอกจากนัน

ควรจะประพฤติตนให้เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม
วิเคราะห์คุณค่า

คุณค่าทางด้านเนื้อหา

๑.เป็ นแนวทางในการดำเนินชีวิต
๒.สามารถพัฒนาตนเองและเกิดความสุขในชีวิต

คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์

๑.มีการใช้สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ

๒.มีการใช้ถ้อยคำที่เข้าใจง่าย

๓.ใช้คำซ้ำ เพื่อย้ำความชัดเจนให้มากขึน
้ ได้แก่คำว่า สามสิ่ง

คุณค่าทางด้านสังคม

๑.ให้แนวทางในการดำเนินชีวิต

๒.ให้ข้อคิดในการอยู่ร่วมกับสังคม

๓.แสดงสัจธรรมของชีวิต
อธิบายคำศัพท์และข้อความจากเรื่อง

โครงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์

๑. โสฬส หมายถึง ๑๖

๒. ไตรยางค์ หมายถึง ๓

๓. ธัญลักษณ์ หมายถึง ลักษณะดี

๔. ภาษิต หมายถึง ถ้อยคำที่กล่าวมาช้านาน

๕. ระคน หมายถึง ปะปน

๖. เร่งร้น หมายถึง มาโดยเร็ว

๗. กัลยาณ์ หมายถึง มิตรที่ดี

๘. วิทยา หมายถึง ความรู้

๙. โทสา หมายถึง ความโกรธ

๑๐. สงวน หมายถึง หวงแหน

๑๑. จิตหมัน
้ หมายถึง ใจมั่นคง

๑๒. โสภาค หมายถึง งาม

๑๓. สรรพางค์ หมายถึง ทัง้ ตัว

๑๔. ซ้อง หมายถึง ร้องสรรเสริญ

๑๕. ศฤงคาร หมายถึง สิ่งให้เกิดความรัก,ความใคร่


๑๖. ห่อนหมายถึง เคย,ไม่

๑๗. ก้อ หมายถึง แสดงอาการเจ้าชู้อย่างไก่แจ้

๑๘. เสี่ยมสาน หมายถึง เสงี่ยมงาม

๑๙. มาติกา หมายถึง แม่บท,เหมือง,ทางน้ำไหล

บรรณานุกรม

๑. Jutalak Cherdharun. (๒๕๖๔). โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ โคลงนฤ


ทุมนาการ และโคลงอิศปป กรณำ

ชัน
้ ม.3 วิชาภาษาไทย: (https://blog.startdee.com/ ) ๑๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖

๒. วัชรญาณ. (๒๕๖๔). โคลงโสฬสไตรยางค์พระราชนิพนธ์ ในพระบาท

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว:

(https://vajirayana.org/) ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖

๓. coggle. โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์. :

(https://coggle.it/diagram/YBAWY6dEAQ5ApFOE/t/)

๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖
๔.มูลนธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียว. ใบความรู้ประกอบการ

สอน_เรื่อง_โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์_(1)-

02251047.pdf: (file:///C:/Users/Asus/Downloads/)

๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖

ปกรองหลัง
ปกหลัง

You might also like