You are on page 1of 96

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ ตัว๋ เงิน

Commercial Law 3: Surety ship, Mortgage and Bill

หน่วยที่ 1 ลักษณะทัว่ ไปของสัญญาค้าประกัน


1. สัญญาคา้ ประกันเป็ นการประกันหนีด้ ว้ ยบุคคล ในลักษณะที่บคุ คลภายนอกเข้ามา
ผูกพันตนกับเจ้าหนีว้ ่าจะชาระหนีใ้ ห้ในเมื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระ หนีต้ ามสัญญาคา้ ประกันเป็ นหนี้
อุปกรณ์ซึ่งต้องอาศัยหนีป้ ระธาน คือหนีร้ ะหว่างเจ้าหนีก้ บั ลูกหนีเ้ ป็ นสาคัญ
2. ตามหลักทัว่ ไปผูค้ า้ ประกันมีความรับผิดไม่เกินความรับผิดของลูกหนีโ้ ดยอาจจากัด
หรือไม่จากัดความรับผิดก็ได้ และลูกหนีย้ งั มีความผูกพันต้องรับผิดในหนีอ้ ยู่ หากเจ้าหนี้
บังคับชาระหนีเ้ อาจากผูค้ า้ ประกันไม่เพียงพอที่จะชาระหนีข้ องลูกหนีไ้ ด้ทงั้ หมด
1.1 สาระสาคัญของสัญญาคา้ ประกัน
1. สัญญาคา้ ประกันเป็ นสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกเรียกว่าผูค้ า้ ประกันผูกพันตนเองต่อ
เจ้าหนีว้ ่าจะชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีใ้ นเมื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระหนีน้ นั้
2. สัญญาคา้ ประกันเป็ นสัญญาที่ไม่ตอ้ งทาตามแบบแต่อย่างใด เพียงแต่หากจะมีการ
ฟ้องร้องบังคับคดีเอาแก่ผคู้ า้ ประกันตามสัญญาคา้ ประกันแล้ว จะต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือ
อย่างใดอย่างหนึง่ อันมีขอ้ ความแสดงว่ามีการคา้ ประกันจริงโดยมีลายมือชือ่ ของผูค้ า้ ประกัน
ลงไว้เป็ นสาคัญด้วย
3. หนีต้ ามสัญญาคา้ ประกันเป็ นหนีอ้ ปุ กรณ์ซึ่งต้องอาศัยหนีป้ ระธาน คือหนีร้ ะหว่าง
เจ้าหนีก้ บั ลูกหนีเ้ ป็ นสาคัญ หนีป้ ระธานต้องเป็ นหนีท้ ี่สมบูรณ์ ซึ่งอาจเป็ นหนีใ้ นอนาคตหรือ
หนีม้ ีเงือ่ นไขก็ได้ หากไม่มีหนีป้ ระธานหรือหนีป้ ระธานไม่สมบูรณ์แล้วสัญญาคา้ ประกันก็มีขนึ้
ไม่ได้
4. หนีท้ ี่ลกู หนีก้ ระทาด้วยเหตุสาคัญผิดในคุณสมบัตขิ องบุคคลหรือทรัพย์ หรือเพราะ
เหตุไร้ความสามารถ ก็อาจมีการคา้ ประกันอย่างสมบูรณ์ได้ หากผูค้ า้ ประกันได้รถู้ ึงเหตุ
บกพร่องดังกล่าวในขณะเข้าทาสัญญาผูกพันตน
1.1.1 ความหมายของสัญญาคา้ ประกัน
สัญญาคา้ ประกันคืออะไร ในการทาสัญญาคา้ ประกันนัน้ จะต้องให้ลกู หนีร้ เู้ ห็น
ยินยอมด้วยหรือไม่
สัญญาคา้ ประกันเป็ นสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกผูกพันตนต่อเจ้าหนีใ้ นการที่จะชาระ
หนีใ้ นเมื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระเป็ นเรื่องที่มีหนีผ้ กู พันกันอยู่ในระหว่างเจ้าหนีแ้ ละลูกหนีอ้ ยู่ชนั้ หนึง่
แล้วเป็ นหนีป้ ระธานแล้วจึงมีหนีร้ ะหว่างผูค้ า้ ประกันกับเจ้าหนีอ้ ีกชัน้ หนึง่ เป็ นหนีอ้ ปุ กรณ์
ความรับผิดของผูค้ า้ ประกันเป็ นความรับผิดโดยตรงต่อเจ้าหนีท้ ี่จะชาระหนีเ้ มื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระ
และในฐานะที่เป็ นผูเ้ ป็ นผูม้ ีสว่ นได้เสียในการที่จะต้องรับผิดเพื่อลูกหนีจ้ ึงอาจชาระหนีโ้ ดยขืนใจ
ลูกหนีไ้ ด้ตามหลักในมาตรา 314 อยู่แล้ว การทาสัญญาคา้ ประกันจึงไม่ตอ้ งอาศัยความรู้
2

เห็นยินยอมของลูกหนีเ้ ลย และเมื่อผูค้ า้ ประกันชาระหนีใ้ ห้เจ้าหนีไ้ ปแล้ว ก็ย่อมรับช่วงสิทธิ


ของเจ้าหนีไ้ ล่เบี้ยเอาจากลูกหนีไ้ ด้ดว้ ยอานาจของกฎหมายซึ่งบัญญัตริ บั รองไว้โดยไม่ตอ้ ง
ได้รบั ความยินยอมจากลูกหนี้
1.1.2 สัญญาคา้ ประกันต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือ
ที่ว่า “สัญญาคา้ ประกันต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือลงลายมือชือ่ ผูค้ า้ ประกัน จึงจะ
ฟ้องร้องบังคับคดีให้ผคู้ า้ ประกันรับผิดได้” นัน้ หมายความว่า
คากล่าวนัน้ หมายความว่า สัญญาคา้ ประกันเป็ นสัญญาที่กฎหมายไม่ได้บงั คับว่า
ต้องทาตามแบบ ดังนี้ แม้ค่สู ญ ั ญาอาจจะตกลงกันด้วยวาจาก็มีผลทาให้สญ ั ญาคา้ ประกัน
สมบูรณ์แล้ว เพียงแต่หากว่าจะมีการฟ้องร้องบังคับคดีให้ผคู้ า้ ประกันรับผิด จะต้องมี
หลักฐานแห่งการคา้ ประกันเป็ นหนังสือลงลายมือชือ่ ผูค้ า้ ประกันไว้เป็ นสาคัญ หากไม่มี
หลักฐานดังกล่าวก็จะฟ้องร้องบังคับเอาแก่ผคู้ า้ ประกันไม่ได้ หลักฐานเป็ นหนังสือนัน้ ผูค้ า้
ประกันจะทาไว้อย่างไรก็ได้และจะมีรปู ลักษณ์เป็ นหนังสือ จดหมาย บันทึก หรืออะไรก็ได้
เพียงแต่ให้มีขอ้ ความแสดงว่ามีการคา้ ประกัน และมีลายมือชือ่ ผูค้ า้ ประกันก็เป็ นการเพียงพอ
แล้ว
นายดาทาสัญญากูเ้ งินจากนางแดง โดยมีนายขาวเขียนบันทึกลงลายชื่อตนเองถึง
สามีของนางแดงมีขอ้ ความว่าตนยอมรับจะชดใช้หนีท้ ี่นายดากูเ้ งินไปจากนางแดงให้ หาก
นายดาไม่ยอมชาระ ต่อมานายดาไม่ยอมชาระหนีเ้ งินกูใ้ ห้นางแดง นางแดงจึงฟ้องให้นายขาว
ชาระหนีใ้ นฐานะที่เป็ นผูค้ า้ ประกัน นายขาวเถียงว่าตนไม่ใช่ผคู้ า้ ประกันเพราะบันทึกที่ตนเขียน
นัน้ เขียนไปถึงสามีของนางแดงก็ไม่ใช่เจ้าหนีข้ องนายดา นายขาวจึงไม่มีความผูกพันจะต้อง
ชาระหนีใ้ ห้นางแดงแต่อย่างใด
ให้วินจิ ฉัย นายขาวปฏิเสธความรับผิดตามคากล่าวอ้างได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
นายขาวปฏิเสธความรับผิดไม่ได้ เพราะหลักฐานแห่งการคา้ ประกันนัน้ ผูค้ า้ ประกัน
ไม่จาต้องทาต่อหน้าเจ้าหนีโ้ ดยตรง แม้จะทากับลูกหนีห้ รือบุคคลอื่นใด หากมีขอ้ ความแสดง
การคา้ ประกันหนีแ้ ละมีลายมือชือ่ ผูค้ า้ ประกันแล้วก็ใช้เป็ นหลักฐานฟ้องร้องบังคับผูค้ า้
ประกันได้ ดังนัน้ แม้นายขาวจะทาบันทึกแสดงการคา้ ประกันดังกล่าวไว้กบั สามีของนางแดง
ซึ่งเป็ นเจ้าหนี้ มิได้ทากับนางแดงโดยตรง นางแดงก็นาบันทึกนัน้ มาเป็ นหลักฐานฟ้องร้องให้
นายขาวรับผิดในฐานะเป็ นผูค้ า้ ประกันได้แล้ว ตามนัยแห่ง ฎ 887/2476
1.1.3 หนีป้ ระธานต้องเป็ นหนีท้ ี่สมบูรณ์
“การคา้ ประกันจะมีได้เฉพาะแต่เพื่อหนี้อนั สมบูรณ์” หมายความว่าอย่างไร
หนีต้ ามสัญญาหนีค้ า้ ประกันเป็ นหนีอ้ ปุ กรณ์ซึ่งต้องอาศัยหนี้ ระหว่างเจ้าหนีก้ บั
ลูกหนีอ้ นั เป็ นหนีป้ ระธาน ดังนัน้ หนีป้ ระธานจึงต้องเป็ นหนีท้ ี่สมบูรณ์มผี ลบังคับผูกพันกันได้
ตามกฎหมาย สัญญาคา้ ประกันอันเป็ นหนีอ้ ปุ กรณ์จึงจะมีผลบังคับตามไปด้วย หากหนี้
ประธานไม่มีหรือไม่สมบูรณ์ดว้ ยเหตุอื่นตามบทบัญญัตขิ องกฎหมาย การคา้ ประกันก็จะ
เกิดขึน้ ไม่ได้
3

เหตุใดจึงมีการคา้ ประกันหนีใ้ นอนาคตหรือหนีม้ เี งือ่ นไขได้


บทบัญญัตขิ องกฎหมายวางหลักทัว่ ไปไว้ว่า การคา้ ประกันจะมีได้แต่เฉพาะเพื่อหนี้
อันสมบูรณ์ แต่ทงั้ นีม้ ิได้หมายความว่าหนีท้ ี่จะคา้ ประกันได้และเป็ นหนีส้ มบูรณ์นนั้ จะต้อง
เป็ นหนีท้ ี่มีอยูแ่ ล้วหรือเกิดขึน้ พร้อมกับการคา้ ประกันหนีใ้ นอนาคตหรือหนีม้ ีเงือ่ นไขซึ่ง
ในขณะทาสัญญาคา้ ประกัน แม้หนีจ้ ะยังไม่เกิด และจะเกิดหรือไม่ก็อาศัยเหตุการณ์ในอนาคต
อันไม่แน่นอนก็ตาม แต่ถา้ หากจะเกิดในอนาคตหรือเมื่อเงือ่ นไขสาเร็จแล้วจะเป็ นหนีท้ ี่สมบูรณ์
ก็อาจมีการคา้ ประกันได้ การให้มีการคา้ ประกันหนีใ้ นอนาคตหรือหนีม้ ีเงือ่ นไขได้ก็เพื่อเป็ น
การรักษาประโยชน์และป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดแก่เจ้าหนีใ้ นกิจการที่ลกู หนีไ้ ด้กอ่ ขึน้
หรือจะได้กอ่ ขึน้ ในอนาคตนัน่ เอง
1.2 ความรับผิดของผูร้ บั ประกัน
1. ผูค้ า้ ประกันมีความรับผิดที่จะต้องชาระหนีใ้ นเมื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระ โดยผูค้ า้ ประกันอาจ
จากัดหรือไม่จากัดความรับผิดไว้ก็ได้
2. หากมีได้มีการตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น โดยปกติลกู หนีม้ ีความรับผิดตามมูลหนี้
ประธานอยู่อย่างไร ผูค้ า้ ประกันย่อมไม่ตอ้ งรับผิดเกินกว่าความรับผิดของลูกหนีน้ นั้
3. ในหนีร้ ายเดียวกัน อาจมีผคู้ า้ ประกันหลายคนก็ได้ และผูค้ า้ ประกันเหล่านัน้ ต้องรับผิด
ต่อเจ้าหนีอ้ ย่างลูกหนีร้ ่วมกัน แม้ว่าจะมิได้เข้าคา้ ประกันหนีร้ ายนัน้ ในเวลาเดียวกันก็ตาม
4. หนีร้ ายหนึง่ ๆ อาจมีผคู้ า้ ประกันของผูค้ า้ ประกันอีกชัน้ หนึง่ ก็ได้ เรียกว่าผูร้ บั เรือน
5. เมื่อเจ้าหนีบ้ งั คับชาระหนีเ้ อาจากผูค้ า้ ประกันไม่เพียงพอที่จะชาระหนีข้ องลูกหนีไ้ ด้
ทัง้ หมด ลูกหนีย้ งั คงต้องรับผิดในส่วนที่เหลือนัน้
1.2.1 หลักทัว่ ไปเกี่ยวกับความรับผิดของผูค้ า้ ประกัน
โดยลักษณะของสัญญาคา้ ประกัน มีหลักเกณฑ์ทวั ่ ไปเกี่ยวกับความรับผิดของผูค้ า้
ประกันไว้อย่างไร
หลักทัว่ ไปเกี่ยวกับความรับผิดของผูค้ า้ ประกันตามสัญญาคา้ ประกันคือ
ผูค้ า้ ประกันมีหนีท้ ี่จะต้องชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีใ้ นเมื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระหนีน้ นั้ เมื่อหนีถ้ ึง
กาหนดชาระแล้วลูกหนีไ้ ม่ชาระหนี้ ลูกหนีย้ ่อมตกเป็ นผูผ้ ิดนัดซึ่งมีผลให้เจ้าหนีม้ ีสิทธิ
เรียกร้องให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนีไ้ ด้ตงั้ แต่เวลาที่ลกู หนีผ้ ิดนัดนัน้ ส่วนในเรื่องความรับผิดชอบ
ของผูค้ า้ ประกันจะมีมากน้อยเพียงใดนัน้ ก็ตอ้ งเป็ นไปตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาคา้ ประกัน
ทัง้ นีเ้ พราะประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทยเรานัน้ มิได้มีบทบัญญัตจิ ากัดความรับ
ผิดของผูค้ า้ ประกันไว้แน่นอน โดยปกติหากมิได้มีการตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่นตามหลักของ
สัญญาคา้ ประกันซึ่งผูค้ า้ ประกัน เป็ นผูต้ อ้ งเสียในมูลหนีอ้ ยู่แล้ว ผูค้ า้ ประกันจึงไม่ตอ้ งรับผิด
เกินไปกว่าความรับผิดของลูกหนี้ อย่างไรก็ตามผูค้ า้ ประกันอาจตกลงจากัดความรับผิดของ
ตนเองไว้มากน้อยเพียงใดก็ได้ คืออาจจากัดขอบเขตความรับผิดไว้นอ้ ยกว่าความรับผิดของ
ลูกหนีก้ ็ได้ ทัง้ นีไ้ ม่ว่าจะเป็ นเรื่องกาหนดเวลา หรือในเรื่องกาหนดขอบเขตของความเสียหาย
ที่เจ้าหนีไ้ ด้รบั ก็ได้ หรืออาจตกลงยอมรับผิดเกินกว่าความรับผิดของลูกหนีก้ ็ได้ ไม่ตอ้ งห้าม
ตามมาตรา 150 อย่างไรก็ตามหากสัญญาคา้ ประกันนัน้ มีขอ้ ความไม่แจ้งชัดว่า ผูค้ า้ ประกัน
4

จะต้องรับผิดเพียงใด เมื่อมีกรณีตอ้ งตีความ ก็ตอ้ งตีความโดยเคร่งครัดเพื่อมิให้ผคู้ า้ ประกัน


ต้องรับผิดชอบเกิดไปกว่าที่เขามีเจตนาจะรับรองไว้
1.2.2 ขอบเขตความรับผิดของผูค้ า้ ประกัน
การคา้ ประกันอย่างจากัดหรือไม่จากัดความรับผิด ทาให้ขอบเขตความรับผิดของผู้
คา้ ประกันต่างกันอย่างไร
การคา้ ประกันอย่างจากัดความรับผิด ทาให้ผคู้ า้ ประกันต้องรับผิดแต่เพียงใน
ขอบเขตที่ตนจากัดความรับผิดไว้เท่านัน้ โดยอาจจะเป็ นการจากัดจานวนหนีท้ ี่รับผิด จากัด
เวลาที่รบั ผิด หรือจากัดเงือ่ นไขในการรับผิดอย่างไรก็ได้ แต่การจากัดความรับผิดนีจ้ ะต้อง
ตกลงแสดงไว้อย่างแจ้งชัดในสัญญาคา้ ประกัน เพราะหากไม่ระบุไว้ชดั อาจต้องรับผิดโดยไม่
จากัดได้ การคา้ ประกันโดยไม่จากัดความรับผิดอาจเป็ นเรื่องที่ผคู้ า้ ประกันตกลงรับผิดโดย
ไม่จากัดเอง หรืออาจเป็ นกรณีที่สญ ั ญาคา้ ประกันไม่ปรากฏชัดว่ารับผิดจากัดอย่างไรก็ได้
การคา้ ประกันโดยไม่จากัดความรับผิด ทาให้ผคู้ า้ ประกันต้องรับผิดในหนีท้ กุ อย่างที่ลกู หนี้
จะต้องใช้คือนอกจากเงินต้นของหนีแ้ ล้ว ยังรวมถึงดอกเบี้ย และค่าสินไหมทดแทนอันเกิด
จากการไม่ชาระหนีซ้ ึ่งลูกหนีค้ า้ งชาระ ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนีด้ ว้ ย
แต่ไม่ว่าจะเป็ นการคา้ ประกันจากัดหรือไม่จากัดความรับผิดก็ตามผลที่สดุ ผูค้ า้
ประกันก็ไม่ตอ้ งรับผิดเกินความรับผิดของลูกหนีท้ งั้ สิ้น เว้นแต่จะมีการตกลงพิเศษยอมรับ
ผิดเกินกว่าที่ลกู หนีจ้ ะต้องรับซึ่งเป็ นเรื่องที่ผคู้ า้ ประกันยอมตกลงชดใช้เกินไปเอง
และไม่ว่าจะเป็ นการคา้ ประกันจากัดหรือไม่จากัดความรับผิด ผูค้ า้ ประกันก็ยงั คง
ต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมความซึ่งลูกหนีจ้ ะต้องใช้ให้แก่เจ้าหนีด้ ว้ ย เว้นแต่เจ้าหนีจ้ ะ
ฟ้องคดีโดยมิได้เรียกให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้กอ่ น
แบบประเมินผลหน่วยที่ 1
1. สัญญาคา้ ประกันคือ สัญญาที่บคุ คลภายนอกตกลงกับเจ้าหนีว้ ่าจะใช้หนีเ้ มื่อลูกหนีไ้ ม่ใช้
2. สัญญาคา้ ประกัน ต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผูค้ า้ ประกันจึงจะฟ้ องร้องให้บงั คับคดี
กันได้
3. หนีท
้ ี่ไม่อาจมีการคา้ ประกันได้คือ หนีท้ ี่ลกู หนีก้ ระทาโดยสาคัญผิดในสาระสาคัญของนิตกิ รรม
4. หลักการทัว่ ไปเกี่ยวกับความรับผิดชอบของผูค้ า้ ประกันมีดงั นี้ (ก) ผูค้ า้ ประกันต้องชาระหนีแ้ ก่
เจ้าหนีเ้ มื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระ (ข) ผูค้ า้ ประกันรับผิดไม่เกินความรับผิดของลูกหนี้ (ค) การตีความเกี่ยวกับ
ความรับผิดของผูค้ า้ ประกันต้องตีความโดยเคร่งครัด
5. การคา้ ประกันอย่างไม่จากัดความรับผิดครอบคลุมถึงหนี้ เงินต้น ดอกเบี้ย ค่าขนส่ง เบี้ยปรับ
ค่าฤชาธรรมเนียมความ ของลูกหนี้
6. การคา้ ประกันอย่างจากัดความรับผิดได้แก่ คา้ ประกันโดยจากัดเวลาหรือจานวนหนีไ้ ว้นอ้ ยกว่า
หรือมากกว่าความรับผิดของลูกหนี้หรือโดยมีเงือ่ นไขอย่างไรก็ได้
7. ผูร้ บ ั เรือนคือ ผูค้ า้ ประกันของผูค้ า้ ประกัน
8. ผูค้ า้ ประกันหลายคนในหนี้รายเดียวกันต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ รับผิดอย่างลูกหนีร้ ่วม
9. การที่เจ้าหนีบ ้ งั คับชาระหนี้เอาจากผูค้ า้ ประกันไม่เพียงพอที่จะชาระหนีข้ องลูกหนี้ได้ทงั้ หมด จะมี
ผลทางกฎหมายคือ ลูกหนี้ยงั คงต้องรับผิดในหนีส้ ว่ นที่เหลือทัง้ หมด
5

10. หนังสือสัญญากูย้ ืมเงิน ซึ่งลงลายมือชื่อผูค้ า้ ประกันในช่องผูค้ า้ ประกันโดยไม่มีขอ้ ความแสดง


การคา้ ประกัน ก็เพียงพอที่จะใช้เป็ นหลักฐานฟ้ องร้องให้ผคู้ า้ ประกันรับผิดแล้ว

หน่วยที่ 2 ผลและความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาค้าประกัน
1. เมื่อลูกหนีผ้ ิดนัดไม่ชาระหนี้ เจ้าหนีย้ ่อมมีสทิ ธิทวงถามให้ผคู้ า้ ประกันรับผิดตาม
สัญญาคา้ ประกัน ทันที แต่ผคู้ า้ ประกันอาจใช้สิทธิยกข้อต่อสูห้ รือเบี่ยงบ่ายให้เจ้าหนีไ้ ปบังคับ
ชาระหนีเ้ อาจากลูกหนีก้ ่อนได้
2. ผูค้ า้ ประกันซึ่งได้ชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนี้ไปแล้วย่อมมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ และรับ
ช่วงสิทธิของเจ้าหนีใ้ นมูลหนีน้ นั้ ได้ตลอดถึงประกันแห่งหนี้ แต่มีบางกรณีที่ผคู้ า้ ประกันอาจ
เสียสิทธิไล่เบี้ยลูกหนีห้ รือไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิของเจ้าหนีไ้ ด้เช่นกัน
3. สัญญาคา้ ประกันย่อมระงับไปเช่นเดียวกับการระงับของสัญญาธรรมดาทัว่ ๆไป หรือ
เมื่อหนีข้ องลูกหนีร้ ะงับลงไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ในบางกรณีผคู้ า้ ประกันอาจหลุดพ้นความรับ
ผิดเพราะเหตุสาคัญอันเกิดจากการกระทาของเจ้าหนีไ้ ด้
2.1 ผลของสัญญาคา้ ประกันก่อนชาระหนี้
1. ความรับผิดของผูค้ า้ ประกันตามสัญญาคา้ ประกันเกิดขึน้ ทันทีที่ลกู หนี้ผิดนัดไม่ชาระ
หนี้
2. ถ้าลูกหนีม้ ิได้ผิดนัด ผูค้ า้ ประกันก็ยงั ไม่มีความรับผิดที่จะต้องชาระหนีแ้ ก่เจ้าหนี้ แม้
ตัวลูกหนีเ้ องอาจต้องชาระหนีก้ อ่ นถึงเวลากาหนดเพราะไม่อาจถือเอาประโยชน์แห่งเงือ่ นเวลา
ได้
3. เมื่อถูกเจ้าหนีท้ วงถามให้ชาระหนี้ ผูค้ า้ ประกันอาจใช้สิทธิเบี่ยงเบนให้เจ้าหนีไ้ ปบังคับ
ชาระหนีเ้ อาจากลูกหนีก้ ่อนได้ เว้นแต่ในกรณีที่มีขอ้ ตกลงให้ผคู้ า้ ประกันต้องรับผิดร่วมกัน
กับลูกหนี้
4. เมื่อลูกหนีร้ บั สภาพหนีห้ รือเมื่อเจ้าหนีฟ้ ้ องคดีหรือทาการอย่างอื่นอันมีผลอย่าง
เดียวกัน เป็ นเหตุให้อายุความฟ้องคดีสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ลกู หนี้ การนั้นย่อมตกเป็ นโทษ
แก่ผคู้ า้ ประกันด้วย
2.1.1 กาหนดเวลาชาระหนีต้ ามสัญญาคา้ ประกัน
ดากูเ้ งินจากแดง โดยสัญญาจะใช้ให้ภายในกาหนด 1 ปี มีขาวเป็ นผูค้ า้ ประกัน ครัน้
เมื่อใกล้จะครบกาหนด มีกฎหมายใหม่ออกมายกเลิกระบบเงินตราที่ใช้อยู่ในขณะนัน้ โดยให้
ใช้ธนบัตรชนิดใหม่ ซึ่งทางการยังพิมพ์ออกมาให้ใช้กนั ได้ไม่ทวั ่ ถึง ดาจึงไม่สามารถนาเงินไป
ใช้หนีใ้ ห้แดงได้ครบถ้วนตามเวลาที่กาหนด แดงจึงมาฟ้องเรียกร้องเอาจากขาวในฐานะผูค้ า้
ประกัน ให้วินจิ ฉัยว่าแดงจะเรียกร้องเอาเช่นนัน้ ได้หรือไม่
6

ตามหลักมาตรา 686 ผูค้ า้ ประกันจะต้องรับผิดตามสัญญาคา้ ประกันเมื่อลูกหนีผ้ ิด


นัด กรณีตามปั ญหามีพฤติการณ์ที่ดายังไม่สามารถชาระหนีไ้ ด้ครบถ้วน โดยดาไม่ตอ้ งรับ
ผิด เป็ นเหตุยกเว้นตามมาตรา 205 ดายังไม่ได้ชอื่ ว่าผิดนัด แดงจึงจะมาเรียกร้องเอาแก่ขาว
ผูค้ า้ ประกันไม่ได้
มาตรา 686 ลูกหนีผ้ ิดนัดลงเมื่อใด ท่านว่าเจ้าหนีช้ อบที่จะเรียก ให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนีไ้ ด้แต่นนั้
มาตรา 205 ตราบใดการชาระหนีน้ นั้ ยังมิได้กระทาลงเพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึง่ ซึ่ง
ลูกหนีไ้ ม่ตอ้ งรับผิดชอบ ตราบนัน้ ลูกหนี้ ยังหาได้ชื่อว่าผิดนัดไม่

2.1.2 กรณีที่ลกู หนีไ้ ม่อาจถือประโยชน์แห่งเงือ่ นเวลา


การที่ผคู้ า้ ประกันไม่จาต้องชาระหนี้กอ่ นถึงกาหนดชาระ แม้ว่าลูกหนีจ้ ะไม่อาจถือเอา
ประโยชน์แห่งเงือ่ นเวลาได้แล้วก็ตาม มีเหตุผลอย่างไร
ประโยชน์แห่งเงือ่ นเวลานัน้ ปกติกาหนดไว้เพื่อประโยชน์ของลูกหนี้ เพื่อให้ลกู หนีม้ ี
เวลาสาหรับเตรียมการชาระหนีแ้ ก่เจ้าหนีไ้ ด้ ดังนัน้ การที่หนีม้ ีกาหนดเวลาชาระจึงจึงได้
ประโยชน์ไปถึงผูค้ า้ ประกันด้วยในฐานะเป็ นลูกหนีช้ นั้ ที่สอง ซึ่งความรับผิดโดยตรงในการ
ชาระหนีเ้ ป็ นของลูกหนี้ ไม่ใช่ของผูค้ า้ ประกัน ผูค้ า้ ประกันจะมีความผิดก็ตอ่ เมื่อลูกหนีผ้ ิดนัด
ไม่ชาระหนีเ้ ท่านัน้ หากไม่ใช่กรณีที่ลกู หนีผ้ ิดนัดแล้ว เจ้าหนีไ้ ม่อาจใช้สิทธิเรียกร้องให้ผคู้ า้
ประกันรับผิดก่อนหนีถ้ ึงกาหนดได้ แม้ตวั ลูกหนีเ้ องอาจถูกฟ้องบังคับให้ตอ้ งชาระหนีก้ อ่ นถึง
กาหนดเพราะเหตุที่ตนไม่อาจถือเอาประโยชน์แห่งเงือ่ นเวลาตามกรณีใน มาตรา 193 ก็ตาม
มาตรา 193 ในกรณีดงั ต่อไปนีฝ้ ่ ายลูกหนี้จะถือเอาประโยชน์แห่งเงือ่ นเวลาเริ่มต้นหรือเงือ่ น
เวลาสิ้นสุดมิได้
(1) ลูกหนี้ถกู ศาลสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดตามกฎหมายว่าด้วย ล้มละลาย
(2) ลูกหนีไ้ ม่ให้ประกันในเมื่อจาต้องให้
(3) ลูกหนีไ้ ด้ทาลาย หรือทาให้ลดน้อยถอยลงซึ่งประกันอันได้ให้ไว้
(4) ลูกหนีน้ าทรัพย์สินของบุคคลอื่นมาให้เป็ นประกันโดยเจ้าของ ทรัพย์สินนัน้ มิได้ยินยอม
ด้วย

2.1.3 สิทธิเบี่ยงบ่ายของผูค้ า้ ประกัน


ในฐานะที่ผคู้ า้ ประกันมีความรับผิดเป็ นลูกหนีช้ นั้ ที่ 2 เมื่อถูกเจ้าหนีท้ วงถามให้ชาระ
หนี้ ผูค้ า้ ประกันมีสิทธิเบี่ยงบ่ายอย่างไรบ้าง
ผูค้ า้ ประกันมีสิทธิดงั นีค้ ือ
1. มีสิทธิขอให้เจ้าหนีเ้ รียกให้ลกู หนี้ชาระหนี้กอ่ น เว้นแต่ลกู หนีจ้ ะถูกศาลพิพากษา
ให้เป็ นคนล้มละลายหรือไม่ปรากฏว่าลูกหนีไ้ ปอยู่แห่งใดในราชอาณาจักร (มาตรา 688)
2. มีสิทธิให้เจ้าหนีบ้ งั คับชาระหนีเ้ อาจากทรัพย์สินของลูกหนีก้ อ่ นหากผูค้ า้ ประกัน
พิสจู น์ได้ว่าลูกหนีม้ ีทางที่จะชาระหนีไ้ ด้และการที่จะบังคับเอาจากลูกหนีน้ นั้ ไม่เป็ นการยาก
(มาตรา 689)
3. มีให้เจ้าหนีเ้ อาชาระหนีจ้ ากทรัพย์ของลูกหนีท้ ี่เจ้าหนีย้ ึดถือไว้เป็ นประกันก่อน
(มาตรา 690)
7

อย่างไรก็ตาม หากผูค้ า้ ประกันมิได้เข้าคา้ ประกันอย่างธรรมดา แต่ได้ยินยอมตกลง


รับผิดร่วมกับลูกหนี้ ผูค้ า้ ประกันย่อมไม่อาจใช้สิทธิตา่ งๆ ดังกล่าวข้างต้นมาเกี่ยงงอน
เจ้าหนีไ้ ด้
มาตรา 688 เมื่อเจ้าหนีท้ วงให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ ผูค้ า้ ประกัน จะขอให้เรียกลูกหนีช้ าระก่อนก็
ได้ เว้นแต่ลกู หนีจ้ ะถูกศาลพิพากษา ให้เป็ นคนล้มละลายเสียแล้ว หรือไม่ปรากฏว่าลูกหนีไ้ ปอยู่แห่งใดใน
พระราชอาณาเขต
มาตรา 689 ถึงแม้จะได้เรียกให้ลกู หนีช้ าระหนีด้ งั ่ กล่าวมาใน มาตรา ก่อนนัน้ แล้วก็ตาม ถ้าผูค้ า้
ประกันพิสจู น์ได้ว่าลูกหนีน้ นั้ มีทาง ที่จะชาระหนีไ้ ด้และการที่จะบังคับให้ลกู หนีช้ าระหนีน้ นั้ จะไม่เป็ นการ
ยากไซร้ ท่านว่าเจ้าหนีจ้ ะต้องบังคับการชาระหนีร้ ายนัน้ เอาจาก ทรัพย์สินของลูกหนีก้ อ่ น
มาตรา 690 ถ้าเจ้าหนีม้ ีทรัพย์ของลูกหนี้ยึดไว้เป็ นประกันไซร้ เมื่อผูค้ า้ ประกันร้องขอ ท่านว่า
เจ้าหนีจ้ ะต้องให้ชาระหนีเ้ อาจาก ทรัพย์ซึ่งเป็ นประกันนัน้ ก่อน

2.1.4 อายุความสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ผคู้ า้ ประกัน


เหตุในกฎหมายจึงบัญญัตใิ ห้อายุความสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ลกู หนี้ เป็ นโทษแก่ผ ู้
คา้ ประกันด้วย
สัญญาคา้ ประกันเป็ นสัญญาอุปกรณ์ ซึ่งต้องขึน้ อยู่กบั สัญญาประธาน เมื่อมี
พฤติการณ์ที่เป็ นคุณแก่ลกู หนีใ้ นสัญญาประธาน ผูค้ า้ ประกันในสัญญาอุปกรณ์ย่อมได้รบั
ประโยชน์ดว้ ย ในกรณีที่หนีข้ องลูกหนีร้ ะงับสิ้นไปไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ผูค้ า้ ประกันย่อมหลุดพ้น
ความผิดไปด้วย เช่น ถ้าเจ้าหนีล้ ะเลยไม่ฟ้องร้องให้ลกู หนีช้ าระหนีต้ ามมูลหนีภ้ ายในกาหนด
อายุความ ลูกหนีย้ ่อมได้รบั ประโยชน์จากการที่สิทธิเรียกร้องของเจ้าหนีข้ าดอายุความ คือไม่
ต้องชาระหนีใ้ ห้เจ้าหนีอ้ ีกต่อไป หากเจ้าหนีน้ าคดีมาฟ้องร้อง ลูกหนี้ก็ยกเรื่องขาดอายุความ
ขึน้ ต่อสูไ้ ด้ และผูค้ า้ ประกันก็ย่อมได้รบั ประโยชน์ในการหลุดพ้นความผิดและต่อสูเ้ จ้าหนีไ้ ด้ได้
เช่นเดียวกับลูกหนี้ แต่ในทางกลับกัน เมื่อมีเหตุทาให้อายุความสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่
ลูกหนี้ ตามเหตุผลและความยุตธิ รรม เมื่อลูกหนีใ้ นหนีป้ ระธานยังต้องถูกผูกพันได้รบั โทษ
จากการที่อายุความสะดุดหยุดลง ผูค้ า้ ประกันก็ควรต้องได้รบั โทษเช่นเดียวกันนัน้ ด้วย เว้น
แต่จะจากัดความรับผิดในการเข้าคา้ ประกันไว้ไม่ให้การที่อายุความสะดุดหยุดลง อันเป็ นโทษ
แก่ลกู หนีน้ นั้ เป็ นโทษแก่ตนด้วย
2.2 ผลของสัญญาคา้ ประกันภายหลังชาระหนี้
1. เมื่อเจ้าหนีเ้ รียกร้องให้ผคู้ า้ ประกันชาระหนี้ ผูค้ า้ ประกันมีสิทธิยกข้อต่อสูเ้ จ้าหนีไ้ ด้ ทั้ง
ที่เป็ นข้อต่อสูข้ องตนเองและที่เป็ นข้อต่อสูข้ องลูกหนี้
2. โดยปกติผคู้ า้ ประกันซึ่งได้ชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีไ้ ปแล้ว ย่อมมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้
และเข้ารับช่วงสิทธิของเจ้าหนีใ้ นมูลหนีน้ นั้ ได้ตลอดถึงประกันแห่งหนีใ้ นนามของตนเอง
3. ในบางกรณีผคู้ า้ ประกันซึ่งได้ชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีแ้ ล้วอาจเสียสิทธิไล่เบี้ยเอาจาก
ลูกหนีไ้ ด้ เพราะผูค้ า้ ประกันละเลยไม่ยกข้อต่อสูข้ องลูกหนีข้ นึ้ ต่อสูเ้ จ้าหนี้ หรือเพราะชาระหนี้
ไปโดยไม่บอกกล่าวลูกหนี้ ลูกหนีไ้ ม่รจู้ ึงไปชาระหนีซ้ า้ อีก หรือเพราะมีขอ้ ตกลงพิเศษรับผิด
เกินกว่าความรับผิดของลูกหนี้
8

4. หากเจ้าหนีเ้ ป็ นต้นเหตุให้ผคู้ า้ ประกันไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิของเจ้าหนีใ้ นสิทธิจานอง


จานาหรือบุริมสิทธิซึ่งลูกหนีใ้ ห้ไว้แก่เจ้าหนีก้ อ่ นหรือในขณะทาสัญญาคา้ ประกันได้ ผูค้ า้
ประกันย่อมหลุดพ้นความรับผิดต่อเจ้าหนีเ้ ท่าที่ตนต้องเสียหายไป
2.2.1 สิทธิของผูค้ า้ ประกันที่จะยกข้อต่อสูเ้ จ้าหนี้
เหตุใดกฎหมายจึงบัญญัตใิ ห้ผคู้ า้ ประกันยกข้อต่อสูข้ องลูกหนีข้ นึ้ ต่อสูผ้ คู้ า้ ประกันได้
ตามหลักของสัญญาคา้ ประกัน ผูค้ า้ ประกันไม่ใช่ลกู หนีช้ นั้ ต้น แต่เป็ น
บุคคลภายนอกที่เข้ามาคา้ ประกันลูกหนีอ้ ีกทีหนึ่ง เป็ นความรับผิดในฐานะลูกหนี้ชนั้ ที่ 2 เมื่อ
มีพฤติการณ์ใดที่เป็ นคุณและโทษแก่ลกู หนี้ ย่อมตกเป็ นคุณและโทษแก่ลกู หนี้ ย่อมตกเป็ นคุณ
และโทษแก่ผคู้ า้ ประกันด้วย ดังนัน้ ในระหว่างเจ้าหนีแ้ ละลูกหนีใ้ นมูลหนี้ ลูกหนีม้ ีขอ้ ต่อสู้
เจ้าหนีอ้ ยู่อย่างไรที่จะยกขึน้ ต่อสูไ้ ด้ ผูค้ า้ ประกันก็ชอบที่จะยกข้อต่อสูน้ นั้ ขึน้ ต่อสูเ้ จ้าหนีไ้ ด้ดว้ ย
หากลูกหนีเ้ องไม่ยกขึน้ ต่อสูห้ รือไม่อาจยกข้อต่อสูไ้ ด้ เช่น ลูกหนีต้ าย เป็ นต้น เพราะแม้เป็ น
กรณีที่ผคู้ า้ ประกันมิได้ยกข้อต่อสูข้ องลูกหนีข้ นึ้ ต่อสูเ้ จ้าหนี้ แต่ลกู หนีเ้ องเป็ นผูย้ กขึน้ ต่อสูก้ ็
ย่อมเป็ นประโยชน์แก่ผคู้ า้ ประกันด้วยอยู่แล้ว
2.2.2 สิทธิไล่เบี้ยและรับช่วงสิทธิ
ผูค้ า้ ประกันซึ่งได้ชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีไ้ ปแล้ว มีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากใครได้บา้ ง
ผูค้ า้ ประกันมีสิทธิไล่เบี้ยดังนี้
ก) ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนีใ้ นต้นเงินกับดอกเบี้ย ตลอดจนความเสียหายอย่างใดที่
เกิดขึน้ เนือ่ งจากการคา้ ประกันนัน้ และได้รบั ช่วงสิทธิ์จากเจ้าหนี้ บรรดามีเหนือลูกหนีด้ ว้ ย
ข) ในกรณีที่มีผคู้ า้ ประกันหลายคนในหนีร้ ายเดียวกัน ผูค้ า้ ประกันคนหนึง่ ซึ่งได้
ชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีไ้ ปแล้วยังมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากผูค้ า้ ประกันคนอื่นๆ ได้อีกตามบทบัญญัติ
ในมาตรา 682 วรรคสอง ประกอบมาตรา 229 (3) และมาตรา 296
มาตรา 682 ท่านว่าบุคคลจะยอมเข้าเป็ นผูร้ บั เรือน คือเป็ นประกัน ของผูค้ า้ ประกันอีกชัน้ หนึง่
ก็เป็ นได้
ถ้าบุคคลหลายคนยอมตนเข้าเป็ นผูค้ า้ ประกันในหนีร้ ายเดียวกันไซร้ท่านว่าผูค้ า้ ประกัน
เหล่านัน้ มีความรับผิดอย่างลูกหนีร้ ่วมกัน แม้ถึงว่ามิได้เข้ารับคา้ ประกันรวมกัน
มาตรา 229 การรับช่วงสิทธิย่อมมีขึ้นด้วยอานาจกฎหมาย และ ย่อมสาเร็จเป็ นประโยชน์แก่
บุคคลดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) บุคคลซึ่งเป็ นเจ้าหนีอ้ ยู่เอง และมาใช้หนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีอ้ ีก คนหนึง่ ผูม้ ีสิทธิจะได้รบั ใช้หนีก้ อ่ น
ตน เพราะเขามีบรุ ิมสิทธิ หรือมี สิทธิจานา จานอง
(2) บุคคลผูไ้ ด้ไปซึ่งอสังหาริมทรัพย์ใด และเอาเงินราคาค่าชื้อใช้ให้แก่ผรู้ บั จานองทรัพย์นนั้
เสร็จไป
(3) บุคคลผูม้ ีความผูกพันร่วมกับผูอ้ ื่น หรือเพื่อผูอ้ ื่นในอันจะต้อง ใช้หนี้ มีสว่ นได้เสียด้วยใน
การใช้หนีน้ นั้ และเข้าใช้หนี้นนั้
มาตรา 296 ในระหว่างลูกหนีร้ ่วมกันทัง้ หลายนัน้ ท่านว่าต่างคน ต่างต้องรับผิดเป็ นส่วนเท่า
ๆ กัน เว้นแต่จะได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ถ้าส่วนที่ลกู หนีร้ ่วมกันคนใดคนหนึง่ จะพึงชาระนัน้ เป็ นอันจะ
9

เรียก เอาจากคนนัน้ ไม่ได้ไซร้ ยังขาดจานวนอยู่เท่าไร ลูกหนีค้ นอื่น ๆ ซึ่งจาต้องออกส่วนด้วยนัน้ ก็ตอ้ ง


รับใช้ แต่ถา้ ลูกหนีร้ ่วมกันคนใด เจ้าหนีไ้ ด้ปลดให้หลุดพ้นจากหนีอ้ นั ร่วมกันนัน้ แล้ว ส่วนที่ลกู หนี้ คนนัน้
จะพึงต้องชาระหนีก้ ็ตกเป็ นพับแก่เจ้าหนีไ้ ป

2.2.3 การเสียสิทธิไล่เบี้ยของผูค้ า้ ประกัน


ผูค้ า้ ประกันจะเสียสิทธิ์ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนีใ้ นกรณีใดบ้าง
ผูค้ า้ ประกันอาจต้องเสียสิทธิ์ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนีไ้ ด้ในกรณีตอ่ ไปนี้
1) เมื่อผูค้ า้ ประกันละเลยไม่ยกข้อต่อสูข้ องลูกหนีข้ นึ้ ต่อสูเ้ จ้าหนี้ ผูค้ า้ ประกันย่อมไม่
มีสิทธิ์ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนีเ้ ท่าที่ไม่ยกขึน้ เป็ นข้อต่อสู้ เว้นแต่จะพิสจู น์ได้ว่าตนไม่รวู้ ่ามีขอ้ ต่อสู้
เช่นนัน้ และการที่ไม่รนู้ นั้ ไม่ใช่เพราะความผิดของตน
2) เมื่อผูค้ า้ ประกันชาระหนี้ให้แก่เจ้าหนีไ้ ปโดยไม่บอกกล่าวให้ลกู หนีท้ ราบและลูกหนี้
ไม่รคู้ วามเช่นนัน้ จึงไปชาระหนีอ้ ีก
3) เมื่อผูค้ า้ ประกันยอมผูกพันตนรับผิดโดยสละข้อต่อสูข้ องลูกหนีห้ รือตกลงพิเศษ
ยอมรับผิดเกินกว่าความรับผิดของลูกหนี้
2.2.4 เจ้าหนีท้ าให้ผคู้ า้ ประกันไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิผคู้ า้ ประกันหลุดพ้น
เหตุใดกฎหมายในมาตรา 697 จึงบัญญัตใิ ห้ผคู้ า้ ประกันที่ไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิ์
จากเจ้าหนีไ้ ด้เพราะการกระทาของเจ้าหนี้ หลุดพ้นจากความรับผิดต่อเจ้าหนีไ้ ปเท่าที่ตนต้อง
เสียหาย
เนือ่ งจากความผิดของผูค้ า้ ประกันเป็ นความผิดอย่างลูกหนีช้ นั้ ที่สอง เมื่อได้ชาระหนี้
ให้แก่เจ้าหนีไ้ ปแล้ว กฎหมายยังให้สิทธิที่จะรับช่วงสิทธิ์ของเจ้าหนีไ้ ล่เบี้ยเอาจากลูกหนีไ้ ดตาม
มาตรา 693 ดังนัน้ ถ้ามีเหตุให้ผคู้ า้ ประกันเข้ารับช่วงสิทธิไม่ได้เพราะเจ้าหนีเ้ ป็ นต้นเหตุย่อม
ทาให้ผคู้ า้ ประกันเสียหาย โดยเหตุผลของหลักกฎหมายและความเป็ นธรรม ผูค้ า้ ประกันจึง
ควรหลุดพ้นความรับผิดต่อเจ้าหนีไ้ ปเท่าที่ตนต้องเสียหายไปนัน้ กฎหมายจึงบัญญัติ
ทางออกให้แก่ผคู้ า้ ประกันไว้ดงั กล่าว
มาตรา 697 ถ้าเพราะการกระทาอย่างใดอย่างหนึง่ ของเจ้าหนี้ เองเป็ นเหตุให้ผคู้ า้ ประกัน ไม่
อาจเข้ารับช่วงได้ทงั้ หมดหรือแต่บางส่วน ในสิทธิก็ดีจานองก็ดี จานาก็ดี และบุริมสิทธิอนั ได้ให้ไว้แก่
เจ้าหนี้ แต่กอ่ นหรือในขณะทาสัญญาคา้ ประกันเพื่อชาระหนีน้ นั้ ท่านว่าผูค้ า้ ประกันย่อมหลุดพ้นจาก
ความรับผิดเพียงเท่าที่ตนต้องเสียหาย เพราะการนัน้
2.3 ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาคา้ ประกัน
1. หนีต้ ามสัญญาผูค้ า้ ประกันเป็ นเพียงหนีอ้ ปุ กรณ์ ต้องอาศัยหนีข้ องลูกหนีซ้ ึ่งเป็ นหนี้
ประธานเป็ นหลัก ดังนัน้ เมื่อมีกรณีที่ทาให้หนีป้ ระธานระงับสิ้นไป ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ย่อมมี
ผลทาให้ความผูกพันตามสัญญาคา้ ประกันระงับสิ้นไปด้วย
2. การคา้ ประกัน เพื่อกิจการต่อเนือ่ งกันไปหลายคราวไม่จากัดเวลานัน้ ผูค้ า้ ประกันอาจ
บอกเลิกสาหรับคราวอนาคตได้ ซึ่งมีผลให้ผคู้ า้ ประกันไม่ตอ้ งรับผิดในกิจการที่ลกู หนีก้ ระทา
ลงภายหลังการบอกเลิกนัน้
10

3. ในหนีท้ ี่มีกาหนดเวลาชาระแน่นอน ถ้าเจ้าหนีผ้ อ่ นเวลาชาระให้แก่ลกู หนีโดยมิได้รับ


ความตกลงยินยอมจากผูค้ า้ ประกัน ผูค้ า้ ประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด
4. ผูค้ า้ ประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด หากได้ขอชาระหนีแ้ ก่เจ้าหนีแ้ ล้วตัง้ แต่เมื่อ
หนีถ้ ึงกาหนดชาระ และเจ้าหนีไ้ ม่ยอมรับชาระหนีโ้ ดยไม่มีเหตุอนั สมควร
5. สัญญาคา้ ประกันอาจระงับลงด้วยเหตุประการอื่นอีกนอกจากเหตุที่เกี่ยวกับหนีข้ อง
ลูกหนีเ้ ป็ นสาคัญ เช่น เมื่อหนีร้ ะหว่างเจ้าหนีก้ บั ผูค้ า้ ประกันระงับสิ้นไป หรือเมื่อผูค้ า้ ประกัน
ไม่อาจรับช่วงสิทธิ์จากเจ้าหนีไ้ ด้ทงั้ หมด เป็ นต้น
2.3.1 หนีป้ ระธานระงับสิ้นไป
เหตุใดสัญญาคา้ ประกันจึงระงับไปเมื่อหนีต้ ามสัญญาประธานระงับ และระงับไปได้
ในกรณีใดบ้าง
สัญญาคา้ ประกันเป็ นแต่เพียงสัญญาอุปกรณ์ ซึ่งต้องอาศัยสัญญาประธาน เมื่อหนี้
ระหว่างเจ้าหนี้ และลูกหนีอ้ นั เป็ นหนีป้ ระธานระงับหนีต้ ามสัญญาคา้ ประกันก็ตอ้ งระงับตาม
ไปด้วย เหตุที่ทาให้หนีป้ ระธานระงับมีหลายสาเหตุดว้ ยกัน ทัง้ เหตุที่กฎหมายบัญญัตไิ ว้ ป.
พ.พ. บรรพ 2 คือ การชาระหนี้ ปลดหนี้ หักกลบลบหนี้ แปลงหนีใ้ หม่ และหนีเ้ กลื่อนกลืนกัน
และยังมีสาเหตุในประการอื่นที่เกี่ยวกับหนีป้ ระธานนัน้ เอง ที่ทาให้ลกู หนีไ้ ม่ตอ้ งรับผิดในหนี้
อีกต่อไป ซึ่งทาให้ผคู้ า้ ประกันหลุดพ้นไปด้วย เช่นหนีท้ ี่ขาดอายุความ เหตุตามกฎหมาย
ล้มละลายในเรื่องการยกเลิกการประนอมหนีท้ ี่มีผคู้ า้ ประกัน และหนีท้ ี่ลกู หนีไ้ ม่ตอ้ งรับผิดใน
สาเหตุตา่ งๆ
2.3.2 ผูค้ า้ ประกันบอกเลิกคา้ ประกัน
ตามมาตรา 699 ผูค้ า้ ประกันอาจบอกเลิกสัญญาคา้ ประกันได้ในกรณี
ผูค้ า้ ประกันอาจบอกเลิกสัญญาคา้ ประกันได้ สาหรับการคา้ ประกันกิจการที่
ต่อเนือ่ งไปหลายครัง้ หลายคราวโดยไม่มีเวลาจากัด โดยบอกเลิกการคา้ ประกันสาหรับ
กิจการหรือหนีใ้ นอนาคตที่ยงั ไม่เกิด ส่วนหนีท้ ี่เกิดขึน้ แล้วก่อนการบอกเลิกก็ยงั ต้องรับผิด
อยู่ กรณีดงั กล่าวนีไ้ ม่ใช่เรื่องการคา้ ประกันหนีโ้ ดยผูค้ า้ ประกันจากัดขอบเขตของความรับ
ผิดในเรื่องสัญญาคา้ ประกัน และไม่ใช่กรณีการคา้ ประกันหนีท้ ี่มีกาหนดระยะเวลาชาระด้วย
ซึ่งตามกรณีที่กล่าวมา ไม่ใช่กรณีที่จะปรับเข้าตามหลักกฎหมายมาตรา 699
มาตรา 699 การคา้ ประกันเพื่อกิจการเนือ่ งกันไปหลายคราวไม่มี จากัดเวลาเป็ นคุณแก่เจ้าหนี้
นัน้ ท่านว่าผูค้ า้ ประกันอาจเลิกเสียเพื่อ คราวอันเป็ นอนาคตได้ โดยบอกกล่าวความประสงค์นนั้ แก่เจ้าหนี้
ในกรณีเช่นนี้ ท่านว่าผูค้ า้ ประกันไม่ตอ้ งรับผิดในกิจการที่ลกู หนี้ กระทาลงภายหลังคาบอกกล่าว
นัน้ ได้ไปถึงเจ้าหนี้

2.3.3 เจ้าหนีผ้ อ่ นเวลาชาระหนี้ให้แก่ลกู หนี้


เหตุใดการที่เจ้าหนีผ้ อ่ นเวลาชาระหนีใ้ ห้แก่ลกู หนี้ ในหนีท้ ี่มีกาหนดเวลาชาระโดยผู้
คา้ ประกันมิได้ตกลงยินยอมด้วย จึงทาให้ผคู้ า้ ประกันหลุดพ้นความรับผิด
ผูค้ า้ ประกันมีความรับผิดที่จะต้องชาระหนีเ้ มื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระ การที่เขาเข้าคา้ ประกัน
หนีใ้ ห้ใคร เขาย่อมทราบดีว่าจะต้องผูกพันให้มีความรับผิดเมื่อใด และจะพ้นความผูกพันไป
11

เมื่อใด การที่ยอมเข้าคา้ ประกันก็เพื่อที่ว่าหากต้องชาระหนีใ้ ห้เจ้าหนีแ้ ทนลูกหนีไ้ ปแล้ว ตนจะ


ได้ใช้สิทธิไล่เบี้ยได้ในเวลาที่คาดหมายได้ว่าลุกหนีย้ งั คงมีหลักฐานดีมีทรัพย์สินเพียงพอที่จะ
ชาระหนีไ้ ด้ หากเจ้าหนี้ผอ่ นเวลาชาระหนีใ้ ห้แก่ลกู หนี้ ผูค้ า้ ประกันอาจต้องเสียหายเพราะต้อง
มีความรับผิดยืดเยื้อเนิน่ นานออกไปอีก ซึ่งถ้าลูกหนีย้ ากจนลงในเวลาต่อมานัน้ จะไม่มี
ทรัพย์สินเพียงพอที่จะชาระหนี้ ผูค้ า้ ประกันที่ตอ้ งใช้หนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีแ้ ทนไป อาจไล่เบี้ยเอาอะไร
จากลูกหนีอ้ ีกไม่ได้ เพราะเหตุที่เจ้าหนีผ้ อ่ นเวลาให้เนิน่ นานออกไปนัน้ กฎหมายจึงต้อง
บัญญัตทิ างออกให้ผคู้ า้ ประกันหลุดพ้นความรับผิดหากเจ้าหนีผ้ อ่ นเวลาให้ลกู หนี้ โดยผูค้ า้
ประกันมิได้ตกลงยินยอมด้วยในหนีท้ ี่มีกาหนดชาระเวลาแน่นอน
การผ่อนเวลาต้องมีลกั ษณะอย่างไร
การผ่อนเวลา ต้องเป็ นกรณีที่เจ้าหนีต้ กลงยินยอมผูกมัดตัวเองว่าในระหว่างเวลาที่
ยืดออกไปนัน้ เจ้าหนีจ้ ะใช้สิทธิ์เรียกร้องหรือฟ้องร้องเอาจากลูกหนีไ้ ม่ได้
2.3.4 เจ้าหนีไ้ ม่ยอมรับชาระหนีจ้ ากผูค้ า้ ประกัน
เหตุใดกฎหมายจึงบัญญัตใิ ห้ผคู้ า้ ประกันซึ่งขอชาระหนีเ้ มื่อหนีถ้ ึงกาหนดแล้ว และ
เจ้าหนีไ้ ม่ยอมรับชาระโดยไม่มีเหตุผลสมควร หลุดพ้นจากความรับผิดตามสัญญาคา้ ประกัน
ไป
ผูค้ า้ ประกันเป็ นแต่เพียงบุคคลภายนอกที่เข้ามาคา้ จุนหนีข้ องลูกหนี้ ไม่มีความรับ
ผิดโดยตรงที่จะต้องชาระหนีแ้ ก่เจ้าหนีเ้ หมือนอย่างลูกหนีช้ นั้ ต้น เมื่อหนีถ้ ึงกาหนดชาระผูค้ า้
ประกันอาจพิจารณาเห็นว่า หากหนีถ้ ึงกาหนดชาระแล้วลูกหนีไ้ ม่ชาระ ผูค้ า้ ประกันก็ตอ้ งรับ
ผิดชาระหนีใ้ ห้เจ้าหนีอ้ ยู่แล้ว ซึ่งหากปล่อยระยะเวลาให้เนิน่ นานออกไป ในที่สดุ ภาระในหนีส้ ิน
ซึ่งอาจเป็ นดอกเบี้ยหรือค่าใช้จ่ายอย่างอื่นอาจต้องตกหนักแก่ผคู้ า้ ประกันในที่สดุ ดังนัน้ ถ้า
ตนชาระหนีแ้ ทนลูกหนีไ้ ปเสียแต่ตน้ ก็จะได้หลุดพ้นความรับผิดชอบไปโดยตนไปไล่เบี้ยเอาจาก
ลูกหนีไ้ ด้ภายหลัง กฎหมายจึงบัญญัตใิ ห้สิทธิผคู้ า้ ประกันขอชาระหนีแ้ ก่เจ้าหนีไ้ ด้ตงั้ แต่เวลาที่
หนีถ้ ึงกาหนดที่เดียว แล้วเจ้าหนีจ้ ะไม่ยอมรับชาระหนีโ้ ดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ ในกรณีเช่นนี้
ผูค้ า้ ประกันจึงหลุดพ้นจากความรับผิดไปเลยทีเดียว เป็ นทางออกที่กฎหมายบัญญัตเิ พื่อ
คุม้ ครองให้ความเป็ นธรรมแก่ผคู้ า้ ประกันซึ่งอยู่ในฐานะเนือ้ ไม่ได้กิน หนังไม่ได้รองนัง่ ซึ่งจะ
ไม่ตอ้ งผูกพันอีกต่อไปเหมือนอย่างลูกหนีช้ นั้ ต้น
2.3.5 เหตุอื่นๆ ที่ทาให้สญั ญาคา้ ประกันระงับสิ้นไป
สัญญาคา้ ประกันอาจระงับลงได้ดว้ ยเหตุอื่นอื่นนอกจากเหตุที่เกี่ยวหนีข้ องลูกหนีใ้ น
กรณีใดได้บา้ ง
สัญญาคา้ ประกันอาจระงับลงได้ในเหตุประการอื่นนอกจากที่เกี่ยวกับหนี้ของลูกหนี้
ดังต่อไปนี้
1. เมื่อหนีร้ ะหว่างเจ้าหนีก้ บั ผูค้ า้ ประกันระงับ
2. เมื่อผูค้ า้ ประกันไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิ์ของเจ้าหนีไ้ ด้ทงั้ หมด
3. เมื่อผูค้ า้ ประกันตายในขณะที่หนีข้ องลูกหนีย้ งั ไม่เกิดขึน้
12

แบบประเมินผลหน่วยที่ 2
1. ความรับผิดของผูค้ า้ ประกันตามสัญญาคา้ ประกันเกิดขึน้ เมื่อ ลูกหนีผ้ ิดนัดไม่ชาระหนี้
2. เมื่อถูกเจ้าหนีท้ วงถามให้ชาระหนี้ ผูค้ า้ ประกันมีสิทธิคือ (1) มีสิทธิขอให้เจ้าหนี้ไปเรียกให้ลกู หนี้
ชาระหนีก้ อ่ น (2) มีสิทธิจกข้อต่อสูข้ องลูกหนีข้ นึ้ ต่อสูเ้ จ้าหนี้ (3) มีสิทธิขอให้เจ้าหนีไ้ ปบังคับชาระหนีเ้ อา
จากทรัพย์สินของลูกหนีท้ ี่เจ้าหนีย้ ึดถือไว้เป็ นประกันก่อน (4) มีสิทธิยกข้อต่อสูข้ องตนเองขึน้ ต่อสู้
เจ้าหนีไ้ ด้
3. เมื่อลูกหนีร้ บั สภาพหนี้ ทาให้อายุความของหนีป้ ระธานสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ผคู้ า้ ประกัน
4. โดยหลักแล้วผูค้ า้ ประกันเมื่อได้ชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีไ้ ปแล้ว มีสิทธิ (1) มีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้
(2) มีสิทธิรบั ช่วงสิทธิจากเจ้าหนี้ (3) มีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากผูค้ า้ ประกันรายอื่นที่เข้าคา้ ประกันหนีร้ าย
เดียวกันแล้วไล่เบี้ยจากลูกหนีไ้ ม่ได้ หรือได้ไม่ครบ
5. ผูค้ า้ ประกันอาจเสียสิทธิไล่เบี้ยในกรณี เมื่อผูค้ า้ ประกันชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีไ้ ปโดยไม่บอกกล่าว
ลูกหนี้ ลูกหนีไ้ ม่รจู้ ึงไปชาระซา้ อีก
6. ผูค้ า้ ประกันอาจหลุดพ้นความรับผิดตามสัญญาคา้ ประกันไปโดยสิ้นเชิงในกรณี เมื่อผูค้ า้ ประกัน
ของชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีเ้ มื่อหนีถ้ ึงกาหนดชาระ แต่เจ้าหนีไ้ ม่ยอมรับชาระโดยไม่มีเหตุอนั สมควร
7. กรณีที่ถือว่าเป็ นการที่เจ้าหนีผ้ อ่ นเวลาชาระหนีใ้ ห้แก่ลกู หนี้คือ เจ้าหนีต้ กลงยืดเวลาชาระหนี้
ให้แก่ลกู หนีใ้ นหนีท้ ี่มีกาหนดเวลาชาระแน่นอนโดยจะยังใช้สิทธิเรียกร้องต่อลูกหนี้ในระหว่างเวลาที่ยืด
ออกไปไม่ได้
8. ผูค้ า้ ประกันอาจไม่มีสิทธิเบี่ยงบ่ายให้เจ้าหนีไ้ ปบังคับชาระหนีเ้ อาจากลูกหนีก้ อ่ นเมื่อถูกเจ้าหนี้
ทวงถามให้ชาระหนี้ ในกรณี เมื่อผูค้ า้ ประกันต้องร่วมรับผิดกับลูกหนี้
9. กรณีที่ทาให้สญ ั ญาคา้ ประกันระงับสิ้นไปคือ เมื่อหนีใ้ นระหว่างเจ้าหนีก้ บั ผูค้ า้ ประกันเกลื่อนกลืน
กัน
10. ผูค้ า้ ประกันมีสิทธิไล่เบี้ยจากลูกหนี้ เมื่อได้ชาระหนีใ้ ห้แก่เจ้าหนีไ้ ปแล้ว ได้แก่ (1) เงินต้นและ
ดอกเบี้ย (2) ดอกเบี้ยเงินกูซ้ ึ่งผูค้ า้ ประกันต้องกูม้ าชาระหนีแ้ ทนลูกหนี้ (3) ค่าจ้างทนายซึ่งผูค้ า้ ประกัน
จ้างมาต่อสูค้ ดีที่เจ้าหนีฟ้ ้ องให้ชาระหนี้นนั้

หน่วยที่ 3 ลักษณะทัว่ ไปของสัญญาจานอง


1. สัญญาจานองเป็ นสัญญาซึ่งผูจ้ านองเอาทรัพย์สินตราไว้ให้แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ คือ
ผูร้ บั จานองเพื่อเป็ นประกันการชาระหนี้ โดยไม่ตอ้ งส่งมอบทรัพย์สินนัน้ ให้แก่ผรู้ บั จานอง
และผูร้ บั จานองมีสิทธิที่จะได้รบั ชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินที่จานองก่อนเจ้าหนีส้ ามัญเมื่อลูกหนี้
ไม่ชาระหนี้ โดยไม่ตอ้ งคานึงว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่นามาประกันการชาระหนีน้ นั้ จะได้โอน
ไปยังผูใ้ ด และสัญญาจานองต้องทาตามแบบ คือ ต้องทาเป็ นหนังสือ และจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
2. สิทธิจานองครอบไปถึงทรัพย์สิน ซึ่งจานองหมดทุกสิ่งและทุกส่วนตลอดจนครอบไป
ถึงทรัพย์อนั ติดอยู่กบั ทรัพย์สินที่จานอง
13

3.1 สาระสาคัญของสัญญาจานอง
1. สัญญาจานองเป็ นการประกันการชาระหนี้ดว้ ยทรัพย์ โดยผูจ้ านองเอาทรัพย์สินตรา
ไว้ให้แก่ผรู้ บั จานอง เพื่อประกันการชาระหนี้ โดยไม่ตอ้ งส่งมอบทรัพย์สินนัน้ แก่ผรู้ บั จานอง
และผูร้ บั จานองชอบที่จะได้รบั ชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินที่จานองก่อนเจ้าหนีส้ ามัญ โดยไม่คานึง
ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือไม่
2. สัญญาจานองต้องทาตามแบบโดยทาเป็ นหนังสือ และจดทะเบียนแก่พนักงาน
เจ้าหน้าที่มิฉะนัน้ ย่อมตกเป็ นโมฆะ
3. อสังหาริมทรัพย์ทกุ ประเภท สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ที่กฎหมายบัญญัตใิ ห้ตอ้ งจด
ทะเบียนเป็ นทรัพย์สินที่จานองได้
4. ผูจ้ านองทรัพย์สินนัน้ ต้องเป็ นบุคคลผูเ้ ป็ นเจ้าของทรัพย์ในขณะจานอง บุคคลอื่น
จานองไม่ได้
5. ข้อความในสัญญาจานอง ต้องระบุทรัพย์สินที่จานองและระบุจานวนเงินเป็ นเงินไทย
เป็ นจานวนแน่นอนตรงตัว หรือจานวนสูงสุดที่ได้เอาทรัพย์สิน จานองนัน้ ตราเป็ นประกัน
ก่อนหนีถ้ ึงกาหนดชาระ หากมีขอ้ ความได้ตกลงกันไว้ว่า ถ้าไม่ชาระหนีแ้ ล้วผูร้ บั จานองเข้า
เป็ นเจ้าของทรัพย์สินที่จานอง หรือจัดการแก่ทรัพย์สินนัน้ เป็ นอย่างอื่น นอกจากบทบัญญัติ
ทัง้ หลายอันว่าด้วยจานองแล้ว ข้อตกลงนัน้ ไม่สมบูรณ์
6. ผูจ้ านองสามารถจานองทรัพย์สินภายในบังคับแห่งเงือ่ นไข หรือจานองทรัพย์หลาย
สิ่งประกันหนีร้ ายเดียวได้
3.1.1 ความหมายและแบบของสัญญาจานอง
สัญญาจานองคืออะไร
เป็ นสัญญาซึ่งบุคคลสัญญากับเจ้าหนี้ เอาทรัพย์สินตราไว้เป็ นประกันการชาระหนี้
โดยไม่ตอ้ งส่งมอบทรัพย์สิน และผูร้ บั จานองมีสิทธิได้รบั ชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินที่จานองก่อน
เจ้าหนีส้ ามัญ (มาตรา 702)
ดาและแดงทาสัญญาซื้อขายอาวุธสงคราม โดยมีขาวจานองที่ดนิ ของตนแปลงหนึง่
เพื่อเป็ นประกันการชาระราคาของดา ต่อมาแดงได้ส่งมอบอาวุธให้ดาครบตามจานวนที่ตก
ลงกัน แต่ดาปฏิเสธไม่ยอมชาระราคา แดงจะฟ้องศาลบังคับจานองที่ดนิ ที่ขาวนามาจานอง
แก่ตนตนได้หรือไม่
สัญญาจานองจะมีได้ก็แต่เฉพาะเพื่อหนีท้ ี่สมบูรณ์ เมื่อหนีต้ ามสัญญาจานองเป็ นหนี
อุปกรณีซึ่งต้องอาศัยความสมบูรณ์ของหนีป้ ระธาน ในกรณีหนีป้ ระธานคือสัญญาซื้อขาย
โมฆะตามมาตรา 150 เพราะมีวตั ถุที่ประสงค์เป็ นการต้องห้ามตามกฎหมายสัญญาจานอง
ซึ่งเป็ นหนีอ้ ปุ กรณ์จึงมีขนึ้ ไม่ได้ ดังนีแ้ ดงจะฟ้องศาลบังคับจานองที่ดนิ ของขาวซึ่งนามา
จานองไว้แก่ตนไม่ได้
มาตรา 702 อันว่าจานองนัน้ คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึง่ เรียกว่า ผูจ้ านองเอาทรัพย์สินตราไว้
แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ เรียกว่าผูร้ บั จานอง เป็ นประกันการชาระหนี้ โดยไม่สง่ มอบทรัพย์สินนัน้ ให้แก่ผรู้ บั
จานอง
14

ผูร้ บั จานองชอบที่จะได้รบั ชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินที่จานองก่อน เจ้าหนีส้ ามัญมิพักต้องพิเคราะห์


ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอน ไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือหาไม่
มาตรา 150 การใดมีวัตถุประสงค์เป็ นการต้องห้ามชัดแจ้งโดย กฎหมายเป็ นการพ้นวิสยั หรือ
เป็ นการขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนัน้ เป็ นโมฆะ
ก. ทาสัญญากูเ้ งินจาก ข. ไป 20,000 บาท โดยมอบโฉนดให้ ข. ยึดถือไว้ ต่อมา ก.
ไม่ชาระหนีเ้ งินกู้ ข. จะมีสิทธิบงั คับชาระหนีจ้ าก ก. ได้อย่างไรหรือไม่
ข. บังคับชาระหนีเ้ งินกูจ้ าก ก. ได้อย่างเจ้าหนีส้ ามัญเท่านัน้ เพราะหนีป้ ระธานสมบูรณ์
ส่วนสัญญาจานองตกเป็ นโมฆะเนือ่ งจากมิได้ทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนกับพนักงาน
เจ้าหน้าที่ (มาตรา 714) จึงบังคับจานองไม่ได้เพราะไม่มีสญ ั ญาจานองต่อกัน แม้หนี้
อุปกรณ์จะไม่สมบูรณ์ หนีป้ ระธานซึ่งสมบูรณ์อยู่ก็ใช้บงั คับได้ตามหนีป้ ระธาน อย่างไรก็ดี ข.
มีสิทธิยึดหน่วงโฉนดนัน้ ไว้ได้จนกว่าจะได้รบั ชาระหนี้
มาตรา 714 อันสัญญาจานองนัน้ ท่านว่าต้องเป็ นหนังสือและ จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

3.1.2 ทรัพย์สินที่จานองได้
ก. มีที่ดนิ มือเปล่าอยู่แปลงหนึง่ ได้มาขอทาสัญญาจานองที่ดนิ แปลงนีแ้ ก่ ข. ข. มา
ปรึกษาท่านจะรับจานองที่ดนิ แปลงนีไ้ ด้หรือไม่ ให้อธิบายและให้เหตุผลว่า ข. จะรับจานองได้
หรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีนตี้ อ้ งพิจารณาว่าที่ดนิ มือเปล่านี้เป็ นที่ดนิ มือเปล่าที่มี น.ส.3 หรือไม่ ข. รับ
จานองที่ดนิ แปลงนีไ้ ม่ได้ถา้ เป็ นที่ดนิ มือเปล่าที่ไม่มี น.ส. 3 เพราะที่ดนิ ตามมาตรา 703 เป็ น
อสังหาริมทรัพย์ก็จริง แต่ตอ้ งเป็ นที่ดนิ มือเปล่าที่มี น.ส. 3 จึงจะจานองได้
ข. รับจานองที่ดนิ แปลงนีไ้ ด้ถา้ เป็ นที่ดนิ มือเปล่าซึ่งมี น.ส. 3 (มาตรา 703 ประกอบ
กับ พ.ร.บ. ให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดนิ มาตรา 9)
มาตรา 703 อันอสังหาริมทรัพย์นนั้ อาจจานองได้ไม่ว่าประเภท ใด ๆ
สังหาริมทรัพย์อนั จะกล่าวต่อไปนีก้ ็อาจจานองได้ดจุ กัน หากว่าได้จดทะเบียนไว้แล้วตาม
กฎหมายคือ
(1) เรือกาปั นหรือเรือมีระวางตัง้ แต่หกตันขึน้ ไปเรือกลไฟหรือเรือยนต์มีระวางตัง้ แต่หา้ ตันขึน้
ไป
(2) แพ
(3) สัตว์พาหนะ
(4) สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายหากบัญญัตไิ ว้ให้จดทะเบียน เฉพาะการ

3.1.3 ผูจ้ านองต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์


ที่กล่าวว่าผูจ้ านองต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์ ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
มาตรา 705 บัญญัตวิ า่ “การจานองทรัพย์สินนัน้ นอกจากผูเ้ ป็ นเจ้าของในขณะนัน้
แล้ว ท่านว่าใครอื่นจะจานองหาได้ไม่” ดังนัน้ ผูท้ ี่จะจานองได้ตอ้ งเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน
ในขณะจานอง ถ้าเป็ นบุคคลอื่นเอาทรัพย์สินไปจานอง สัญญาจานองไม่ผกู พันเจ้าของทรัพย์
คาว่าเจ้าของนัน้ หมายรวมถึง เจ้าของรวมตามมาตรา 1361 และตัวแทนผูไ้ ด้รบั มอบอานาจ
15

ตามมาตรา 798 ด้วย แต่ก็มีบางกรณีแม้ว่าผูจ้ านองไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่จานองก็ตาม


สัญญาจานองก็มีผลผูกพันทรัพย์สินของผูเ้ ป็ นเจ้าของดังกรณีตอ่ ไปนี้ เจ้าของทรัพย์
ประมาทเลินเล่อ เจ้าของทรัพย์สินมีสว่ นรูเ้ ห็นยินยอมในการจานอง หรือตัวแทนของผูร้ บั
จานองทาเกินขอบอานาจ
ดาเป็ นผูค้ รอบครองที่ดนิ มือเปล่าที่มี น.ส. 3 โดยมีชอื่ ดาเป็ นผูค้ รอบครอง แดงซึ่ง
เป็ นบุตรของดาได้ทามาหากินในที่ดนิ ดังกล่าวเกิน 10 ปี แดงมีสิทธิจะจานองที่ดนิ แปลงนีไ้ ด้
หรือไม่เพราะเหตุใด
แดงไม่มีสิทธิจานองที่ดินเพราะดาเป็ นผูค้ รอบครองที่ดนิ มือเปล่ามี น.ส.3 ผูท้ ี่ครอง
ครองที่ดนิ ประเภทนีม้ ีเพียงสิทธิครอบครองและไม่มีกรรมสิทธิ์ (พรบ. ให้ใช้ประมวล
กฎหมายที่ดนิ ) แดงแม้จะครองครองที่ดนิ นัน้ มาเกิน 10 ปี ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ เมื่อแดงมิได้
เป็ นเจ้าของทรัพย์ตามมาตรา 705 แดงไม่มีสิทธิจานองที่ดนิ แปลงนี้
มาตรา 705 การจานองทรัพย์สินนัน้ นอกจากผูเ้ ป็ นเจ้าของใน ขณะนัน้ แล้ว ท่านว่าใครอื่นจะ
จานองหาได้ไม่
3.1.4 ข้อความในสัญญาจานอง
“สัญญาจานองต้องระบุจานวนเงินไทยแน่นอน” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
สัญญาจานองต้องระบุจานวนเงินไทยแน่นอน เป็ นข้อความในสัญญาจานองซึ่ง
กฎหมายตามมาตรา 708 กาหนดให้ตอ้ งระบุจานวนแน่นอนในสัญญาจานอง มีปัญหาว่า
เมื่อระบุจานวนเงินแน่นอนแล้ว ต้องระบุไว้เป็ นเงินสกุลไทยหรืออาจระบุเป็ นเงินสกุลอื่นก็ได้
ในกรณีนนี้ กั กฎหมายพวกหนึง่ เห็นว่าต้องเป็ นสกุลไทยเท่านัน้ ถ้าระบุเงินสกุลอื่นสัญญา
จานองตกเป็ นโมฆะ อีกความเห็นหนึง่ เห็นว่าอาจระบุเป็ นเงินสกุลอื่นก็ได้
มาตรา 708 สัญญาจานองนัน้ ต้องมีจานวนเงินระบุไว้เป็ นเรือน เงินไทยเป็ นจานวนแน่ตรงตัว
หรือจานวนขัน้ สูงสุดที่ได้เอาทรัพย์สิน จานองนัน้ เป็ นตราไว้เป็ นประกัน

3.1.5 ลักษณะของการจานอง
นายบุญกูเ้ งินนายชู 500,000 บาท โดยมีนายสมเอาที่ดนิ มาจานองประกันหนีเ้ งินกู้
300,000 บาท นายจิตเอาบ้านมาจานองเป็ นประกันหนี้ 200,000 บาท การตกลงกัน
จานองเช่นนีม้ ีผลบังคับหรือไม่
ตามมาตรา 710 ทรัพย์หลายสิ่งของเจ้าของหลายคนสามารถจานองเป็ นประกันหนี้
รายเดียวได้ และอาจตกลงให้ทรัพย์แต่ละสิ่งเป็ นประกันหนีเ้ ฉพาะส่วนหนึง่ ส่วนใดที่ระบุไว้ก็ได้
ฉะนัน้ การที่นายสมและนายจิต เอาที่ดนิ กับบ้านของตนเองมาจานองประกันหนีข้ องนายบุญ
โดยตกลงให้ที่ดนิ เป็ นประกันหนี้ 300,000 บาท และบ้านเป็ นประกันหนี้ 200,000 บาท
ย่อมมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย
มาตรา 710 ทรัพย์สินหลายสิ่งมีเจ้าของคนเดียวหรือหลายคนจะ จานองเพื่อประกันการชาระ
หนีแ้ ต่รายหนึง่ รายเดียว ท่านก็ให้ทาได้ และในการนีค้ ่สู ญ
ั ญาจะตกลงกันดัง่ ต่อไปนีก้ ็ได้ คือว่า
(1) ให้ผรู้ บั จานองใช้สิทธิบังคับเอาแก่ทรัพย์สิน ซึ่งจานองตาม ลาดับอันระบุไว้
(2) ให้ถือเอาทรัพย์สินแต่ละสิ่งเป็ นประกันหนี้ เฉพาะแต่สว่ นหนึง่ ส่วนใดที่ระบุไว้
16

3.2 ขอบเขตของสิทธิจานอง
1. ทรัพย์สินซึ่งจานองย่อมเป็ นประกันชาระหนีป้ ระธานกับทัง้ ค่าอุปกรณ์อนั ได้แก่
ดอกเบี้ย ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชาระหนีแ้ ละค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานอง
2. จานองครอบไปถึงทรัพย์สินทีจ่ านองหมดหมดทุกสิ่งและแม้ว่าทรัพย์สินที่จานองจะ
แบ่งออกเป็ นหลายส่วนจานองก็ครอบไปทุกส่วน แต่ถา้ หากผูร้ บั จานองยินยอมด้วย การโอน
ทรัพย์สินส่วนหนึง่ ส่วนใดไปโดยปลอดจากการจานองก็ทาได้ แต่ความยินยอมนัน้ ต้องได้จด
ทะเบียนจึงจะยกเป็ นข้อต่อสูบ้ คุ คล ภายนอกได้
3. สิทธิจานองครอบถึงทรัพย์ทงั้ ปวงอันติดอยู่กบั ทรัพย์ที่จานอง เว้นแต่กรณี
ดังต่อไปนีค้ ือ โรงเรือนซึ่งปลูกสร้างในที่ดนิ จานองภายหลังจานอง จานองโรงเรือนซึ่งอยูบ่ น
ที่ดนิ ของผูอ้ ื่นหรือจานองที่ดนิ แต่มีโรงเรือนคนอื่นปลูกอยู่และดอกผลของทรัพย์สินที่จานอง
3.2.1 ทรัพย์สินซึ่งจานองย่อมเป็ นประกันหนีป้ ระธานและค่าอุปกรณ์
ทรัพย์สินที่จานองประกันหนีอ้ ะไรบ้าง
ทรัพย์สินซึ่งจานองย่อมเป็ นประกันหนีป้ ระธานและค่าอุปกรณ์ หนีป้ ระธานก็แล้วแต่
ว่าเป็ นหนีอ้ ะไร เช่นหนีก้ ยู้ ืม หนีล้ ะเมิด หนีส้ ญ
ั ญาบัญชีเดินสะพัด จานองย่อมเป็ นประกันหนี้
ประธานทัง้ หมดและยังรวมถึงค่าอุปกรณ์ในหนีป้ ระธานนัน้ ด้วย ซึ่งกฎหมายกาหนดไว้ 3
ประการคือ ดอกเบี้ย ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชาระหนีแ้ ละค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับ
ชาระหนี้ เรื่องดอกเบี้ยจะมีหรือไม่แล้วแต่จะกาหนดกันแต่ตอ้ งไม่เกินอัตราที่กฎหมายกาหนด
ค่าสินไหมทดแทนต้องเป็ นเรื่องค่าเสียหายที่เกิดขึน้ โดยปกติหรือโดยพฤติการณ์พิเศษจาก
การไม่ชาระหนีข้ องลูกหนี้ ส่วนค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานองคือค่าธรรมเนียมศาล
และค่าธรรมเนียมชัน้ บังคับคดีดว้ ย
3.2.2 สิทธิจานองครอบทรัพย์ทกุ สิ่งและทุกส่วนที่จานอง
ก. จานองที่ดนิ มีโฉนดจานวน 5 ไร่ เพื่อประกันการชาระหนีเ้ งินกูจ้ านวน 20,000
บาท ต่อมาแบ่งแยกโฉนดออกเป็ นแปลงย่อย 5 แปลงแต่ละแปลงมีราคา 10,000 บาท สิทธิ
จานองครอบที่ดนิ แปลงนีเ้ พียงใด
ที่ดนิ มีโฉนดจานวน 5 ไร่ เป็ นทรัพย์สินจานองแบ่งแยกเป็ นหลายส่วน แม้ตอ่ มาจะ
แบ่งแยกออกเป็ นส่วนๆ ก็มิใช่เป็ นเรื่องจานองทรัพย์สินหลายสิ่ง แม้ว่าที่ดนิ ขอแบ่งแยกใน
ภายหลังเพียง 2 แปลงจะมีราคาเท่ากับหนีท้ ี่มีอยู่ก็ตาม การจานองก็ครอบไปทัง้ หมดใน
ที่ดนิ 5 ไร่ ซึ่งถ้า ก. ลูกหนีช้ าระหนีผ้ รู้ บั จานองคือ ข. ยังไม่ครบจานวนจะมาขอปลดทรัพย์
บางส่วนออกจากการจานองไม่ได้ถา้ ข. ไม่ยินยอม
3.2.3 สิทธิจานองครอบถึงทรัพย์ทงั้ ปวงอันติดอยู่กบั ทรัพย์ที่จานอง
สิทธิจานองย่อมครอบคลุมไปถึงทรัพย์ที่ตดิ พันอยู่กบั ทรัพย์จานองท่านเข้าใจว่า
อย่างไร
ตามมาตรา 718 นัน้ หมายความว่าเมื่อจานองทรัพย์สินใด สิทธิจานองย่อมครอบไป
ทุกส่วนของทรัพย์ที่จานองและครอบไปถึงทรัพย์ที่ตดิ พันอยู่กบั ทรัพย์ที่จานองด้วย ทรัพย์ที่
17

ติดพันกับทรัพย์ที่จานองนัน้ ต้องพิจารณาเป็ นเรื่องๆ ไปว่าอะไรเป็ นอะไรไม่เป็ น ถ้าหากสิ่งใด


เป็ นส่วนควบก็เป็ นทรัพย์ที่ตดิ พันกับทรัพย์จานอง จานองย่อมครอบไปทัง้ หมดแต่กฎหมาย
กาหนดข้อยกเว้นไว้ 3 กรณี ซึ่งแม้ทรัพย์นนั้ ติดพันกับทรัพย์สินที่จานอง สิทธิจานองก็ไม่
ครอบไปถึง
มาตรา 718 จานองย่อมครอบไปถึงทรัพย์ทงั้ ปวงอันติดพันอยู่กบั ทรัพย์สินซึ่งจานอง แต่ตอ้ ง
อยู่ภายในบังคับซึ่งท่านจากัดไว้ใน สาม มาตรา ต่อไปนี้
มาตรา 719 จานองที่ดินไม่ครอบไปถึงเรือนโรงอันผูจ้ านอง ปลูกสร้างลงในที่ดินภายหลังวัน
จานอง เว้นแต่จะมีขอ้ ความกล่าวไว้ โดยเฉพาะในสัญญาว่าให้ครอบไปถึง
แต่กระนัน้ ก็ดี ผูร้ บั จานองจะให้ขายเรือนโรงนัน้ รวมไปกับที่ดินด้วยก็ได้แต่ผรู้ บั จานองอาจใช้
บุริมสิทธิของตนได้เพียงแก่ราคาที่ดิน เท่านัน้
มาตรา 720 จานองเรือนโรงหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งได้ทา ขึน้ ไว้บนดินหรือใต้ดิน ในที่ดิน
อันเป็ นของคนอื่นเขานัน้ ย่อมไม่ครอบ ไปถึงที่ดินนัน้ ด้วยฉันใดกลับกันก็ฉนั นัน้
มาตรา 721 จานองไม่ครอบไปถึงดอกผลแห่งทรัพย์สินซึ่งจานอง เว้นแต่ในเมื่อผูร้ บั จานองได้
บอกกล่าวแก่ผจู้ านองหรือผูร้ บั โอนแล้วว่าตนจานงจะบังคับจานอง
ดาจานองที่ดนิ กับแดงเพื่อประกันหนีเ้ งินกู้ ต่อมาขาวมาเช่าที่จานองปลูกสร้างโรงงาน
ต่อมา ข บังคับจานองโดนขายทอดตลาดทัง้ ที่ดนิ และโรงงานเพราะราคาที่ดนิ ตกตา่ บังคับ
จานองที่ดนิ ได้เงินไม่พอชาระหนีแ้ ดงจะทาได้หรือไม่เพราะเหตุใด
แดงทาได้แต่เพียงขายทอดตลาดที่ดนิ บังคับชาระหนีเ้ ท่านัน้ โรงงานเป็ นของขาว ซึ่ง
แม้จะปลูกสร้างในที่ดนิ จานองก็ไม่ตกเป็ นส่วนควบของที่ดนิ จานองตามหลักมาตรา 720
สิทธิจานองไม่ครอบไปถึงโรงงานของขาว แดงบังคับจานองโรงงานด้วยไม่ได้
มาตรา 720 จานองเรือนโรงหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งได้ทา ขึน้ ไว้บนดินหรือใต้ดิน ในที่ดิน
อันเป็ นของคนอื่นเขานัน้ ย่อมไม่ครอบ ไปถึงที่ดินนัน้ ด้วยฉันใดกลับกันก็ฉนั นัน้
แบบประเมินผลหน่วยที่ 3
1. สัญญาจานองคือ การประกันการชาระหนีด้ ว้ ยทรัพย์ โดยผูจ้ านองเอาทรัพย์สินตราไว้ให้แก่
ผูร้ บั จานองเพื่อเป็ นการประกันการชาระหนี้
2. ทรัพย์สินที่จานองได้ คือทรัพย์สิน (1) อสังหาริมทรัพย์ทกุ ประเภท (2) สังหาริมทรัพย์ทกุ
ประเภท (3) สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษที่ตอ้ งจดทะเบียน
3. บุคคลต่อไปนีส้ ามารถจานองทรัพย์สินได้ คือ (1) ผูเ้ ป็ นเจ้าของทรัพย์สินในขณะจานอง (2) ผู้
เป็ นเจ้าของรวมของทรัพย์สินในขณะจานอง (3) ตัวแทนเจ้าของทรัพย์สินในขณะจานอง (4) ตัวแทน
ผูร้ บั มอบอานาจโดยชอบของเจ้าของทรัพย์สินในขณะจานอง
4. สัญญาจานอง ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
5. สัญญาจานองซึ่งมีลายมือชื่อผูจ้ านองแต่เพียงฝ่ ายเดียวมีผล สัญญาเป็ นโมฆะ
6. ข้อความที่ตอ้ งระบุไว้ในสัญญาจานองได้แก่ (1) ลายมือชื่อผูจ้ านองและผูร้ ับจานอง (2)
ทรัพย์สินที่จานอง (3) จานวนเงินแน่นอนหรือจานวนสูงสุด (4) เงินตราเป็ นเงินไทย
7. ทรัพย์สินที่จานองย่อมเป็ นประกัน หนีป้ ระธานและหนี้อปุ กรณ์
18

8. จานองช้าง 4 เชือก ไว้กบั เจ้าหนีเ้ พื่อประกันเงินกูจ้ านวนสี่หมื่นบาท โดยผ่อนชาระแล้วสองหมื่อน


บาทเหลือหนีอ้ ีกสองหมื่นบาท โดยไม่ได้ตกลงล้างจานองเป็ นงวด ๆ หรือปลดจานอง จานองย่อมจะ
ครอบไปถึงทรัพย์ ช้างทัง้ 4 เชือก
9. ก. กูเ้ งิน ข. ไปเพื่อซื้อรถซึ่งถูกขโมยมา โดย ก. เอาโฉนดที่ดินแปลงหนึง่ มาเป็ นประกันการชาระ
หนีเ้ งินกู้ และได้ทาสัญญาจานองเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ผลทางกฎหมายคือ
เป็ นโมฆะทัง้ สัญญากูย้ ืมและสัญญาจานอง
10. ที่งอกออกไปจากที่ดินจานอง โดยผูจ้ านองมิได้สงวนสิทธิในที่งอกไว้ จึงเป็ นทรัพย์ที่ สิทธิ
จานองครอบไปถึง

หน่วยที่ 4 สิทธิและหน้าที่ของผูจ้ านอง ผูร้ บั จานอง และผูร้ บั โอนทรัพย์สินซึ่ง


จานอง
1. เนือ่ งจากจานองไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในทรัพย์ซึ่งจานอง
ฉะนัน้ ผูจ้ านองจึงมีสิทธิโอนหรือจานองทรัพย์นนั้ อีกได้ ทัง้ จะไถ่ถอนจานองหรือยอมให้บงั คับ
จานอง แล้วเรียกร้องเอาเงินที่เหลือจากการบังคับจานอง ก็ชอบที่จะทาได้และในกรณีจานอง
เป็ นประกันหนีข้ องผูอ้ ื่น ผูจ้ านองมีสิทธิชาระหนีแ้ ทนลูกหนีแ้ ล้วไล่เบี้ยเอากับลูกหนีไ้ ด้
นอกจากนัน้ ก็ยงั อาจหลุดพ้นจากความรับผิดเพราะการกระทาของเจ้าหนีใ้ นบางกรณีได้
2. เพราะเหตุที่จานองยังมีกรรทสิทธิ์และครอบครองทรัพย์ซึ่งจานองอยู่ ผูจ้ านองก็
สามารถโอนหรือจานองต่อทรัพย์นนั้ หรือจดทะเบียนทรัพย์สิทธิอื่นๆ เหนือทรัพย์นนั้
ภายหลังอีกได้ กฎหมายจึงต้องให้หลักประกันแก่ผรู้ บั จานองในอันที่จะได้รบั ชาระหนี้กอ่ น
เจ้าหนีส้ ามัญ ทัง้ สามารถติดตามบังคับจานองจากทรัพย์นนั้ เสมอ ตลอดจนมีสิทธิขอให้ลบ
ทรัพยสิทธิอนั จดทะเบียนภายหลังการจานองได้
3. ผูร้ บั โอนทรัพย์สินซึ่งจานองเป็ นบุคคลภายนอก มิได้มีสว่ นเกี่ยวข้องกับหนีจ้ านองแต่
ประการใด จึงไม่มีความผูกพันจะต้องชาระหนี้นนั้ ด้วยเหตุนี้กฎหมายจึงให้สิทธิแก่ผรู้ บั โอน
ทรัพย์สินซึ่งจานองที่จะไถ่ถอนทรัพย์จานองนัน้ เมื่อใดก็ได้ โดยการเสนอชดใช้เงินตามราคา
ทรัพย์ ไม่ตอ้ งชดใช้หนีท้ งั้ หมดอันทรัพย์นนั้ เป็ นประกันอยู่ แต่ผรู้ บั โอนก็มีหน้าที่ตอ้ งดูแล
รักษาทรัพย์นนั้ มิให้เสียหาย มิฉะนัน้ ผูร้ บั โอนอาจต้องรับผิดถ้าทาให้ทรัพย์นนั้ เสียหาย
4.1 สิทธิของผูจ้ านอง
1. จานองไม่มีการโอนครอบครองและกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ซึ่งจานอง ทัง้ กฎหมายที่
ประสงค์ที่จะให้เจ้าของแห่งทรัพย์ของตนได้เต็มที่ จึงให้สิทธิแก่ผจู้ านองในอันที่จะเอาทรัพย์
ซึ่งจานองไว้ไปจาหน่ายจ่ายโอนหรือจานองต่อได้ และให้สิทธิที่จะผ่อนชาระหนีจ้ านองเป็ น
งวดๆได้ เพื่อลกภาระจานองของตัวทรัพย์ อันจะทาให้ผจู้ านองสามารถจาหน่ายหรือจานอง
ต่อได้สะดวกขึน้
2. ในเรื่องจานองกฎหมายเปิ ดโอกาสให้ผจู้ านองสงวนทรัพย์ซึ่งจานองไว้ได้เสมอ จึงให้
สิทธิแก่ผจู้ านองที่จะไถ่ถอนจานอง หรือเข้าชาระหนีแ้ ทนลูกหนีแ้ ล้วไล่เบี้ยเอากับลูกหนี้ และ
19

หากจาเป็ นต้องมีการบังคับจานองขายทอดตลาดทรัพย์ซึ่งจานองถ้ามีเงินเหลือจากการ
บังคับจานองก็ชอบที่จะตกเป็ นของผูจ้ านองซึ่งเป็ นเจ้าของทรัพย์
3. การที่ผจู้ านองหลายคนต่างคนต่างจานองทรัพย์เป็ นประกันหนีร้ ายเดียวกัน ไม่ว่าจะ
ระบุลาดับจานองไว้หรือไม่ ผูจ้ านองเหล่านัน้ มิใช่ลกู หนีร้ ่วม จึงไม่มีสิทธิไล่เบี้ยแก่กนั คงมี
สิทธิไล่เบี้ยลูกหนีเ้ ท่านัน้
4. การจานองหลายรายซึ่งต่างจานองนัน้ หากได้ระบุลาดับการจานองไว้ ถ้าเจ้าหนีป้ ลด
จานองให้ผจู้ านองคนหนึง่ ผูจ้ านองคนหลังย่อมมีสิทธิหลุดพ้นความรับผิดเท่าที่ตอ้ งเสียหาย
5. ในกรณีบคุ คลเดียวจานองทรัพย์เป็ นประกันหนีข้ องผูอ้ ื่น ผูจ้ านองนัน้ มีฐานะคล้ายผู้
คา้ ประกัน กฎหมายจึงให้ผจู้ านองมีสิทธิเหมือนผูค้ า้ ประกันในกรณีตอ่ ไปนีค้ ือ สิทธิที่จะหลุด
พ้นความรับผิดเท่าที่เสียหาย เพราะไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิ สิทธิที่จะหลุดพ้น ความรับผิด
เมื่อเจ้าหนีผ้ อ่ นเวลาให้ลกู หนีแ้ ละสิทธิที่จะหลุดพ้นความรับผิดเมื่อเจ้าหนีไ้ ม่ยอมชาระหนี้
นอกเหนือจากนีแ้ ล้วผูจ้ านองไม่มีสิทธิเหมือนผูค้ า้ ประกันอีก
4.1.1 สิทธิจะเอาทรัพย์สินซึ่งจานองไว้ไปโอนต่อหรือจานองต่อ
ก. กูเ้ งิน ข. 100,000 บาท มีกาหนดชาระคืนใน 1 ปี โดย ค. จานองที่ดนิ เป็ นประกัน
หนีร้ ายนีใ้ ห้แก่ ข. ระหว่างอายุสญั ญาจานอง ค. ต้องการเงินไปลงทุนทาธุรกิจ จึงเอาที่ดนิ ที่
จานอง ข. ไว้นนั้ ไปทาอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี้
1. ขายฝากแก่ ง. เป็ นเงิน 200,000 บาท หรือ
2. จานองแก่ ง. เพื่อประกันการที่ ค. กูเ้ งิน ง. มา 200,000 บาท
ทัง้ สองกรณีนี้ เจ้าหนีจ้ านองจะคัดค้านได้หรือไม่
ทัง้ สองกรณีเป็ นสิทธิของผูจ้ านอง คือ กรณีแรกเป็ นสิทธิตามมาตรา 702 วรรค
สอง ที่ผจู้ านองจะโอนทรัพย์ซึ่งจานองให้แก่ผใู้ ดก็ได้ ส่วนกรณีที่สอง เป็ นสิทธิตามมาตรา
712 ซึ่งผูจ้ านองจะนาทรัพย์สินซึ่งจานองไว้ไปจานองต่อ ฉะนัน้ เจ้าหนีจ้ านองย่อมไม่มีสิทธิ
คัดคานการกระทาของผูจ้ านองทัง้ สองกรณี
มาตรา 702 อันว่าจานองนัน้ คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึง่ เรียกว่า ผูจ้ านองเอาทรัพย์สินตราไว้
แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ เรียกว่าผูร้ บั จานอง เป็ นประกันการชาระหนี้ โดยไม่สง่ มอบทรัพย์สินนัน้ ให้แก่ผรู้ บั
จานอง
ผูร้ บั จานองชอบที่จะได้รบั ชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินที่จานองก่อน เจ้าหนีส้ ามัญมิพกั ต้องพิเคราะห์
ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอน ไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือหาไม่
มาตรา 712 แม้ถึงว่ามีขอ้ สัญญาเป็ นอย่างอื่นก็ตาม ทรัพย์สินซึ่ง จานองไว้แก่บคุ คลคนหนึง่
นัน้ ท่านว่าจะเอาไปจานองแก่บคุ คลอีก คนหนึง่ ในระหว่างเวลาที่สญ ั ญาก่อนยังมีอายุอยู่ก็ได้
4.1.2 สิทธิชาระหนีล้ า้ งจานองเป็ นงวดๆ
การชาระหนีล้ า้ งหนีจ้ านอง ต่างจากการชาระหนีท้ วั ่ ไปอย่างไร
ปกติการชาระหนีท้ วั ่ ๆไปนัน้ ต้องชาระคราวเดียวให้เสร็จสิ้นเว้นแต่เจ้าหนีจะยินยอม
ให้ผอ่ นชาระ แต่การชาระหนีจ้ านองนัน้ ลูกหนีม้ ีสิทธิชาระล้างหนีจ้ านองเป็ นงวดๆ ได้ ไม่ตอ้ ง
20

ชาระให้เสร็จสิ้นในงวดเดียว เว้นแต่สญ ั ญาจานองจะกาหนดว่าต้องชาระให้เสร็จสิ้นในงวด


เดีย่ วก็ตอ้ งบังคับกันตามสัญญา ผูจ้ านองไม่มีสิทธิผอ่ นชาระหนีจ้ านองได้
4.1.3 สิทธิไถ่ถอนจานอง
อธิบายสิทธิไถ่ถอนจานองของผูจ้ านอง
สัญญาจานองเป็ นสัญญาที่ผจู้ านองเอาทรัพย์สินไปตราไว้เป็ นประกันการชาระหนี้ แก่
ผูร้ บั จานองโดยไม่ตอ้ งส่งมอบทรัพย์สินและไม่ตอ้ งโอนกรรมสิทธิ์ (มาตรา 702) ผูจ้ านอง
จึงยังมีสิทธิ์จาหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินของตนเพื่อหาประโยชน์จากทรัพย์นนั้ เช่น ให้เช่า ขาย
ขายฝาก หรือจานองต่อ ดังนี้ สัญญาจานองจึงเป็ นเพียงการที่ผจู้ านองให้สญ ั ญาต่อเจ้าหนี้
ว่า หากไม่มีการชาระหนีก้ ็ยอมให้บงั คับจานองเอาเงินชาระหนีไ้ ด้ และกฎหมายก็ให้สิทธิแก่ผ ู้
จานองที่จะเข้าชาระหนีแ้ ทนลูกหนี้ เพื่อมิให้ทรัพย์สินของตนถูกบังคับจานอง (มาตรา 724)
หากเจ้าหนีไ้ ม่ยอมรับผูจ้ านองก็อาจหลุดพ้นความรับผิดไปเลย ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากฎหมาย
มุง่ ที่จะให้ผจู้ านองมีสิทธิสงวนทรัพย์สินของตนไว้ได้เสมอหากประสงค์เช่นนัน้ ด้วยเหตุนผี้ ู้
จานองจะไถ่ถอนจานองโดยชาระหนีท้ ี่คา้ งอยู่ให้แก่ผรู้ บั จานองสิ้นเชิง (ฎ. 1298/2512)
เพื่อภาระจานองจากทรัพย์สินของตนก็ย่อมเป็ นสิทธิของผูจ้ านองที่จะทาได้ นอกจากนี้
มาตรา 736 ผูร้ บั โอนมีสิทธิไถ่ถอนจานองได้ ผูจ้ านองย่อมมีสิทธิไถ่ถอนจานองได้ เพราะ
ผูร้ บั เงินย่อมไม่มีสิทธิดกี ว่าผูโ้ อน และมาตรา 711 ห้ามตกลงกันไว้ก่อนเวลาหนีถ้ ึงกาหนด
ชาระว่าถ้าไม่ชาระหนี้ ให้ผรู้ บั จานองเข้าเป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งจานองหรือให้จดั การแก่
ทรัพย์สินนัน้ เป็ นประการอื่นนอกจากการบังคับจานองโดยการขายทอดตลาดเมื่อหนีถ้ ึง
กาหนดชาระ ผูจ้ านองมีสิทธิไถ่ถอนจานองจนวาระสุดท้ายก่อนที่ทรัพย์จานองจะถูกขาย
ทอดตลาดโดยเจ้าพนักงานคะไม้ให้แก่ผสู้ รู้ าคาสูงสุด ถ้าผูจ้ านองหาเงินมาวางต่อศาล หรือ
จ้้ าพนักงานบังคับคดีให้ครบตามจานวนหนี้ ค่าธรรมเนียมศาลและค่าธรรมเนียมบังคับคดี
ก่อนเคาะไม้ เจ้าพนักงานก็จะถอนการบังคับคดีทนั ที
อย่างไรก็ดี ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เห็นว่าผูจ้ านองไม่ว่าจานองเป็ นประกันหนีข้ อง
ตัวเองหรือหนีท้ ี่ผอู้ ื่นต้องชาระก็ตาม ไม่มีสิทธิไถ่ถอนจานอง เพราะสัญญาจานองผูกพันอยู่
ในตัวว่า ถ้าไม่ชาระหนี้ผรู้ บั จานองบังคับจานองขายทอดตลาดเอาเงินชาระหนีไ้ ด้เต็มจานวน
และมาตรา 724 บัญญัตใิ ห้ผจู้ านองชาระหนีไ้ ด้ถา้ ประสงค์จะมิให้มีการบังคับจานองแก่
ทรัพย์ของตน
มาตรา 711 การที่จะตกลงกันไว้เสียแต่กอ่ นเวลาหนี้ถึงกาหนด ชาระเป็ นข้อความอย่างใดอย่าง
หนึง่ ว่า ถ้าไม่ชาระหนี้ ให้ผรู้ บั จานอง เข้าเป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งจานอง หรือว่าให้จดั การแก่ทรัพย์สิน
นัน้ เป็ นประการอื่นอย่างใดนอกจากตามบทบัญญัติทงั้ หลายว่าด้วยการ บังคับจานองนัน้ ไซร้ ข้อตกลง
เช่นนัน้ ท่านว่าไม่สมบูรณ์
มาตรา 724 ผูจ้ านองใดได้จานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกัน หนีอ้ นั บุคคลอื่นจะต้องชาระ
แล้ว และเข้าชาระหนีเ้ สียเองแทนลูกหนี้ เพื่อจะปั ดป้องมิให้ตอ้ งบังคับจานอง ท่านว่าผูจ้ านองนัน้ ชอบที่จะ
ได้รบั เงินใช้คืนจากลูกหนีต้ ามจานวนที่ตนได้ชาระไป
ถ้าว่าต้องบังคับจานอง ท่านว่าผูจ้ านองชอบที่จะได้รบั เงินใช้คืนจากลูกหนี้ตามจานวนซึ่งผูร้ บั
จานองจะได้รบั ใช้หนี้จากการบังคับ จานองนัน้
21

มาตรา 736 ผูร้ บั โอนทรัพย์สินซึ่งจานองจะไถ่ถอนจานองก็ได้ ถ้า หากมิได้เป็ นตัวลูกหนีห้ รือผูค้ า้


ประกัน หรือเป็ นทายาทของลูกหนี้ หรือผูค้ า้ ประกัน
4.1.4 สิทธิไล่เบี้ยลูกหนี้
แดงกูเ้ งินดา 1,000,000 บาท มีขาวและเขียวต่างจานองที่ดนิ ของตนเป็ นประกันหนี้
ของแดง โดยระบุลาดับความรับผิดว่า ที่ดนิ ของขาวต้องรับผิดเป็ นลาดับแรก ส่วนที่ดนิ ของ
เขียวรับผิดเป็ นลาดับที่สอง แดงไม่ชาระหนีใ้ ห้ดา ขาวไม่ตอ้ งการให้ที่ดนิ ของตนถูกบังคับ
จานอง จึงชาระหนีใ้ ห้ดาครบจานวน ขาวจะมีสิทธิตอ่ แดงและต่อเขียวอย่างไร
มาตรา 724 วรรคแรก วางหลักไว้ว่า เมื่อผูจ้ านองได้จานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อ
ประกันหนีอ้ นั บุคคลอื่นจะต้องชาระแล้ว และเข้าชาระหนีเ้ สียเองแทนลูกหนีเ้ พื่อปั ดป้องมิให้
ต้องบังคับจานอง ผูจ้ านองชอบที่จะได้รบั เงินใช้คืนจากลูกหนีต้ ามจานวนที่ตนชาระไป
มาตรา 725 วางหลักไว้ว่า เมื่อบุคคลสองคนหรือกว่านัน้ ได้จานองทรัพย์สินของตน
เพื่อประกันหนีอ้ นั บุคคลอื่นต้องชาระ และมิได้ระบุลาดับไว้ ผูจ้ านองซึ่งได้เป็ นผูช้ าระหนี้ หรือ
เป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งต้องบังคับจานองนัน้ ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผจู้ านองอื่นๆ ต่อไป
ตามปั ญหา ขาวจานองที่ดนิ ของตนเป็ นเป็ นประกันหนีแ้ ดง แล้วแดงไม่ชาระ ขาวผู้
จานองได้เข้าชาระหนีใ้ ห้ดาจนครบเสียเองแทนแดงลูกหนีเ้ พื่อไม่ให้ที่ดนิ ของขาวถูกบังคับ
จานอง ขาวจึงมีสิทธิไล่เบี้ยแดงให้ชาระเงินตามที่ตนได้ชาระแก่ดาไปแล้วเท่านัน้ ตามมาตรา
24 วรรคแรก
แต่ขาวซึ่งจานองทรัพย์สินของตนเป็ นประกันหนีแ้ ดงเช่นกันแม้จะระบุลาดับไว้ ผู้
จานองด้วยกันทัง้ ขาวและเขียวก็ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยซึ่งกันและกัน เมื่อขาวชาระหนีแ้ ทนแดงแล้วก็
ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยเอากับเขียวผูจ้ านองอีกคนได้ ตามมาตรา 725
มาตรา 725 เมื่อบุคคลสองคนหรือกว่านัน้ ต่างได้จานองทรัพย์สิน แห่งตนเพื่อประกันหนี้ แต่
รายหนึง่ รายเดียวอันบุคคลอื่นจะต้องชาระ และมิได้ระบุลาดับไว้ไซร้ ท่านว่าผูจ้ านองซึ่งได้เป็ นผูช้ าระหนี้
หรือ เป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งต้องบังคับจานองนัน้ หามีสิทธิจะไล่เบี้ยเอา แก่ผจู้ านองอื่น ๆ ต่อไปได้ไม่

4.1.5 สิทธิที่จะได้รบั เงินที่เหลือจากการบังคับจานอง


ม่วงกูเ้ งินแสด 200,000 บาท โดยจานองเรือยนต์เป็ นประกัน ม่วงไม่ชาระหนีแ้ ละ
ค้างดอกเบี้ยอีก 50,000 บาท จึงถูกแสดบังคับจานอง ขายทอดตลาดเรือยนต์ได้เงินสุทธิ
300,000 บาท ม่วงและแสดจะได้รบั เงินจากค่าขายทอดตลาดทรัพย์คนละเท่าใด
ขายทอดตลาดเรือยนต์ได้เงินสุทธิ 300,000 บาท เอาชาระหนีเ้ งินต้นและดอกเบี้ยให้
แสดก่อนแสดจะได้รบั เงินไป 250,000 บาท เหลืออีก 50,000 บาท เป็ นสิทธิของม่วงผู้
จานองที่จะได้รบั ตามมาตรา 732
มาตรา 732 ทรัพย์สินซึ่งจานองขายทอดตลาดได้เงินเป็ นจานวน สุทธิเท่าใด ท่านให้จดั ใช้แก่ผรู้ บั
จานองเรียงตามลาดับ และถ้ายังมี เงินเหลืออยู่อีก ก็ให้สง่ มอบแก่ผจู้ านอง
4.1.6 สิทธิที่จะหลุดพ้นจากความรับผิด
เล็กกูเ้ งินใหญ่ 200,000 บาท กาหนดชาระคืนภายใน 2 ปี โดยมีอว้ นและผอมต่าง
จานองที่ดนิ เป็ นประกันและระบุลาดับไว้ว่า ที่ดนิ ของอ้วนรับผิดในลาดับแรก ที่ดนิ ของผอม
22

รับผิดในลาดับที่สอง ต่อมาอีก 1 ปี ใหญ่ปลดจานองให้อว้ น เพราะเห็นว่าที่ดนิ ของอ้วนมี


ราคาน้อยเพียง 20,000 บาท ครัน้ หนีถึงกาหนดชาระ เล็กไม่ชาระหนี้ ผอมเกรงว่าที่ดนิ ของ
ตนจะถูกบังคับจานองจึงนาเงิน 180,000 บาท ไปชาระแทนเล็ก แต่ใหญ่ปฏิเสธไม่ยอมรับ
ชาระหนีอ้ า้ งว่าผอมต้องนาเงินมาชาระให้ครบ 200,000 บาท จึงจะยอมรับ ผอมมาปรึกษา
ท่าน ท่านจะให้คาแนะนาแก่ผอมอย่างไร
การที่ใหญ่ปลดจานองให้อว้ น ย่อมทาให้ผอมมีสิทธิหลุดพ้นความรับผิดเท่าที่ตอ้ ง
เสียหาย คือเท่าราคาที่ดนิ ของใหญ่ 20,000 บาท ตามมาตรา 726 ผอมจึงเอาความ
เสียหายนีไ้ ปหักหนีก้ บั ใหญ่ได้ คงเหลือหนีท้ ี่ผอมต้องรับผิดอยู่อีก 180,000 บาท
เมื่อหนีถ้ ึงกาหนดชาระ ผอมนาเงิน 180,000 บาท ไปชาระแทนเล็ก แต่ใหญ่ไม่
ยอมรับ ก็หาทาให้ผอมหลุดพ้นจากความรับผิดไป เพราะกรณีไม่ตอ้ งตามมาตรา 727 และ
701 เนือ่ งจากหนีร้ ายนีม้ ีผจู้ านองสองคน มิใช่ผจู้ านองคนเดียว ฉะนัน้ ผอมจึงต้องรับผิดต่อ
ใหญ่อยู่ 180,000 บาท การที่ใหญ่ยืนยันจะให้ผอมชาระหนีใ้ ห้ตน 200,000 บาท ก็ไม่
ถูกต้อง
มาตรา 701 ผูค้ า้ ประกันจะขอชาระหนีแ้ ก่เจ้าหนีต้ งั้ แต่เมื่อถึง กาหนดชาระก็ได้
ถ้าเจ้าหนีไ้ ม่ยอมรับชาระหนี้ ผูค้ า้ ประกันก็เป็ นอันหลุดพ้นจาก ความรับผิด
มาตรา 726 เมื่อบุคคลหลายคนต่างได้จานองทรัพย์สินแห่งตนเพื่อประกันหนีแ้ ต่รายหนึง่ ราย
เดียว อันบุคคลอื่นจะต้องชาระและได้ระบุลาดับไว้ดว้ ยไซร้ท่านว่าการที่ผรู้ บั จานองยอมปลดหนีใ้ ห้แก่ผ ู้
จานองคนหนึง่ นัน้ ย่อมทาให้ผจู้ านองคนหลังๆได้หลุดพ้นด้วย เพียงขนาดที่เขาต้องรับความเสียหายแต่
การนัน้
มาตรา 727 ถ้าบุคคลคนเดียวจานองทรัพย์สินแห่งตนเพื่อ ประกันหนีอ้ นั บุคคลอื่นจะต้องชาระ
ท่านให้ใช้บทบัญญัติ มาตรา 697 , 700 และ 701 ว่าด้วยคา้ ประกันนัน้ บังคับอนุโลมตามควร

4.2 สิทธิของผูร้ บั จานอง


1. เนือ่ งจากผูจ้ านองสามารถที่จะโอนหรือเอาทรัพย์ซึ่งจานองไว้ไปจานองต่ออีกได้
กฎหมายจึงต้องให้หลักประกันที่มนั ่ คงแก่ผรู้ บั จานอง โดยให้ผรู้ บั จานองมีสิทธิบงั คับชาระ
หนีจ้ ากทรัพย์ซึ่งจานองได้กอ่ นเจ้าหนีส้ ามัญ ทัง้ มีสิทธิที่จะติดตามบังคับจานองจากทรัพย์ได้
เสมอไม่ว่าจะโอนไปกี่ทอด และในระหว่างผูร้ บั จานองด้วยกันกฎหมายก็ให้ผรู้ บั จานองก่อนมี
สิทธิดกี ว่าผูร้ บั จานองทีหลัง
2. ทรัพย์ซึ่งจานองนัน้ ย่อมเป็ นหลักประกันในการชาระหนีข้ องผูร้ บั จานอง ฉะนัน้ หาก
ภายหลังจดทะเบียนจานองแล้ว ผูจ้ านองไปจดทะเบียนทรัพย์สิทธิอื่นอีกเหนือทรัพย์นนั้ อัน
ยังผลให้ทรัพย์ซึ่งจานองไว้เสื่อมราคา ผูร้ บั จานองสามารถขอให้ลบทรัพยสิทธิอนั จด
ทะเบียนภายหลังนัน้ ได้
3. จานองเป็ นการให้สญ ั ญาว่า ถ้าลูกหนีไ้ ม่ชาระหนี้ ก็ยอมให้ผรู้ บั จานองบังคับจานองได้
ผูร้ บั จานองจึงมีสิทธิบงั คับจานองต่อเมื่อลูกหนีผ้ ิดนัดไม่ชาระหนี้ นอกจากนัน้ ในกรณีที่ผ ู้
จานองทาให้ทรัพย์ซึ่งจานองบุบสลายหรือสูญหายจนไม่พอเป็ นประกัน ผูร้ บั จานองก็
สามารถบังคับจานองได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งรอให้หนีถ้ ึงกาหนดชาระ
23

4.2.1 สิทธิทจี่ ะได้รบั ชาระหนีก้ ่อน


ก. กูเ้ งิน ข. 100,000 บาท โดยไม่มีประกัน แล้วไปกูเ้ งิน ค. อีก 100,000 บาท โดย
จานองที่ดนิ เป็ นประกันจากนัน้ ก็เอาที่ดนิ ไปจานองเป็ นประกัน ง. 50,000 บาท และสุดท้าย
จานองเป็ นประกัน แก่ จ. 30,000 บาท ก. ไม่ชาระหนี้ ข. เจ้าหนีส้ ามัญฟ้องบังคับคดี และยึด
ที่ดนิ แปลงนัน้ ขายทอดตลาดได้เงินสุทธิ 300,000 บาท ค. ง. จ. ผูร้ บั จานองขอให้เอาเงิน
ชาระหนีแ้ ก่ตนด้วย ดังนัน้ จะต้องจัดสรรเงินชาระหนีก้ นั อย่างไร
ต้องเอาชาระหนีผ้ รู้ บั จานองก่อนตามลาดับจดทะเบียนก่อนหลัง คือ ชาระให้ ค.
100,000 บาท ให้ ง. 50,000 บาท และให้ จ. 30,000 บาท รวม 180,000 บาท
ส่วนที่เหลืออีก 120,000 บาท เอาชาระให้ ข. เจ้าหนีส้ ามัญเสีย 100,000 บาท ส่วน
อีก 20,000 บาท ต้องคืนให้ ก. ลูกหนี้
4.2.2 สิทธิที่จะขอให้ลบทรัพย์สิทธิที่จดทะเบียนภายหลัง
ก. สิทธิของผูร้ บั จานองที่จะขอให้ลบทรัพย์สิทธิซึ่งจดทะเบียนภายหลังการจด
ทะเบียนจานองนัน้ มีขอบเขตเพียงใด
การลบสิทธิจากทะเบียน กฎหมายให้ลบได้เฉพาะ ภารจายอมหรือทรัพยสิทธิอย่าง
อื่นเท่านัน้ ภารจายอมก็เป็ นทรัพยสิทธิอย่างหนึง่ ถ้าเป็ นบุคคลสิทธิแล้วก็จะขอลบไม่ได้
กฎหมายให้สิทธิแก่ผรู้ บั จานองที่จะขอให้ลบทรัพยสิทธิที่จดทะเบียนภายหลังได้
ข. แดงจานองที่ดนิ ไว้กบั ดา แล้วเอาไปจานองซ้อนให้ขาวอีก ต่อมาแดงเอาที่ดนิ แปลง
นัน้ ให้เขียวเช่าปลูกตึกแถว มีกาหนด 20 ปี และจดทะเบียนการเช่าด้วย ดามีสิทธิขอให้ลบ
สิทธิของขาวและของเขียวออกจากทะเบียนได้หรือไม่
ดาไม่มีสิทธิขอให้ลบจานองของขาว จากทะเบียนได้ เพราะมาตรา 712 ให้ผจู้ านอง
เอาทรัพย์ที่จานองไว้แล้วไปจานองซ้อนได้
ส่วนสิทธิในการเช่าของเขียวซึ่งได้จดทะเบียนไว้นนั้ เป็ นเพียงบุคคลสิทธิมิใช่
ทรัพยสิทธิ ผูร้ บั จานองไม่มีสิทธิขอให้ลบทะเบียนเช่นกัน
มาตรา 712 แม้ถึงว่ามีขอ้ สัญญาเป็ นอย่างอื่นก็ตาม ทรัพย์สินซึ่ ง จานองไว้แก่บคุ คลคนหนึง่ นัน้
ท่านว่าจะเอาไปจานองแก่บคุ คลอีก คนหนึง่ ในระหว่างเวลาที่สญั ญาก่อนยังมีอายุอยู่ก็ได้

4.2.3 สิทธิในการบังคับจานอง
ผูร้ บั จานองมีสิทธิบงั คับจานองได้เมื่อใด
มีสิทธิบงั คับจานองได้ 2 กรณีคือ
1. กรณีทวั ่ ไป เมื่อหนีถ้ ึงกาหนดและลุกหนีไ้ ม่ชาระหนี้
2. กรณีตามมาตรา 723
มาตรา 723 ถ้าทรัพย์สินซึ่งจานองบุบสลาย หรือถ้าทรัพย์สินซึ่ง จานองแต่สิ่งใดหนึง่ สูญหาย
หรือบุบสลาย เป็ นเหตุให้ไม่เพียงพอแก่ การประกันไซร้ ท่านว่าผูร้ บั จานองจะบังคับจานองเสียในทันทีก็
ได้ เว้นแต่เมื่อนัน้ มิได้เป็ นเพราะความผิดของผูจ้ านอง และผูจ้ านองก็ เสนอจะจานองทรัพย์สินอื่นแทนให้มี
ราคาเพียงพอ หรือเสนอจะรับ ซ่อมแซมแก้ไขความบุบสลายนัน้ ภายในเวลาอันสมควรแก่เหตุ
24

4.3 สิทธิและหน้าที่ของผูร้ บั โอนทรัพย์สินซึ่งจานอง


1. ผูร้ บั โอน ทรัพย์สินซึ่งจานองเป็ นบุคคลภายนอกมิได้เป็ นลูกหนีห้ รือผูจ้ านองทรัพย์
นัน้ กฎหมายจึงให้ผรู้ บั โอนสามารถไถ่ถอนจานองได้โดยเสนอชดใช้เงินตามจานวนอันสมควร
ของราคาทรัพย์ซึ่งจานอง ไม่ตอ้ ขอชาระหนีท้ งั้ หมด
2. การที่ผรู้ บั โอนต้องสูญเสียกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ซึ่งจานองเพราะการบังคับจานองหรือ
ไถ่ถอนจานองก็ตาม หามีผลกระทบกระเทือนต่อสิทธิของเจ้าหนีจ้ านองหรือเจ้าหนีบ้ รุ ิมสิทธิ
อันมีอยู่เหนือทรัพย์นนั้ ไม่ และสิทธิดงั กล่าวรายใดหากได้ระงับเพราะเกลื่อนกลืนกันก็จะ
กลับคืนมาอีก
3. ผูร้ บั โอนจะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย หากทาให้ทรัพย์ซึ่งจานองเสื่อมราคาลง แต่
ในทางตรงกันข้าม ถ้าผูร้ บั โอนทาให้ทรัพย์นนั้ ราคาสูงขึน้ ก็เรียกให้ชดใช้ได้แต่เพียงเท่าราคา
ที่สงู ขึน้ เมื่อขายทอดตลาดเท่านัน้
4.3.1 สิทธิที่จะไถ่ถอนจานอง
ผูร้ บั โอนทรัพย์สินซึ่งจานองมีสิทธิไถ่ถอนจานวนได้อย่างไร
ผูร้ บั โอนทรัพย์สินที่ไม่ได้เป็ นตัวลูกหนี้ ผูค้ า้ ประกัน หรือเป็ นทายาทของลูกหนีห้ รือคา้
ประกันมีสิทธิไถ่ถอนจานอง (มาตรา 736) ผูร้ บั โอนจะไถ่ถอนจานองเมื่อไรก็ได้ แต่ถา้ ผูร้ บั
จานองได้บอกกล่าวว่ามีการบังคับจานอง ผูร้ บั โอนต้องไถ่ถอนจานองภายใน 1 เดือน นับแต่
วันรับคาบอกกล่าว (มาตรา 737) โดยเสนอชดใช้เงินตามราคาทรัพย์สิน ซึ่งจานอง (มาตรา
738)
ก. กูเ้ งิน ข. 100,000 บาท โดยมี ค. จานองที่ดนิ เป็ นประกันต่อมา ค. ถึงแก่กรรม
ที่ดนิ ดังกล่าวตกเป็ นมรดกของ ช. บุตร ค. ช. ประสงค์จะไถ่ถอนจานองในฐานะผูร้ บั โอน จึง
เสนอใช้เงิน 50,000 บาท ตามราคาที่ดนิ ในขณะนัน้ ช. มีสิทธิทาได้หรือไม่
ช. ผูร้ บั โอนทรัพย์ซึ่งจานองเป็ นทายาทของ ค. ผูจ้ านองเดิม จึงไม่มีสิทธิไถ่ถอน
จานอง โดยวิธีเสนอใช้เงินตามราคาทรัพย์ได้ (มาตรา 736)
มาตรา 736 ผูร้ บั โอนทรัพย์สินซึ่งจานองจะไถ่ถอนจานองก็ได้ ถ้าหากมิได้เป็ นตัวลูกหนีห้ รือผูค้ า้
ประกัน หรือเป็ นทายาทของลูกหนี้ หรือผูค้ า้ ประกัน
มาตรา 737 ผูร้ บั โอนจะไถ่ถอนจานองเมื่อใดก็ได้ แต่ถา้ ผูร้ บั จานอง ได้บอกกล่าวว่ามีจานงจะ
บังคับจานองไซร้ ผูร้ บั โอนต้องไถ่ถอนจานอง ภายในเดือนหนึง่ นับแต่วันรับคาบอกกล่าว
มาตรา 738 ผูร้ บั โอนซึ่งประสงค์จะไถ่ถอนจานองต้องบอกกล่าวความประสงค์นนั้ แก่ผเู้ ป็ นลูกหนี้
ชัน้ ต้น และต้องส่งคาเสนอไปยัง บรรดาเจ้าหนีท้ ี่ได้จดทะเบียน ไม่ว่าในทางจานองหรือประการอื่นว่าจะรับ
ใช้เงินให้เป็ นจานวนอันสมควรกับราคาทรัพย์สินนัน้ คาเสนอนัน้ ให้แจ้งข้อความทัง้ หลายต่อไปนี้ คือ
(1) ตาแหน่งแหล่งที่และลักษณะแห่งทรัพย์สินซึ่งจานอง
(2) วันซึ่งโอนกรรมสิทธิ์
(3) ชื่อเจ้าของเดิม
(4) ชื่อและภูมิลาเนาของผูร้ บั โอน
25

(5) จานวนเงินที่เสนอว่าจะใช้
(6) คานวณยอดจานวนเงินที่คา้ งชาระแก่เจ้าหนีค้ นหนึง่ ๆ รวมทัง้ อุปกรณ์และจานวนเงินที่จะ
จัดเป็ นส่วนใช้แก่บรรดาเจ้าหนีต้ าม ลาดับกัน
อนึง่ ให้คดั สาเนารายงานจดทะเบียนของเจ้าพนักงานในเรื่อง ทรัพย์สินซึ่งจานองนัน้ อันเจ้า
พนักงานรับรองว่าเป็ นสาเนาถูกถ้วน สอดส่งไปด้วย

4.3.2 สิทธิของผูร้ บั โอนในกรณีทรัพย์ซึ่งจานองหลุดมือไป


ก. จานองที่ดนิ เป็ นประกันเงินกูแ้ ก่ ข. ค. ง. รายละ 200,000 บาท ตามลาดับ ต่อมา
ก. ขายที่ดนิ แกลงนัน้ ให้เหลือง เหลืองจ้างดาปลูกบ้านราคา 100,000 บา ยังไม่ได้ชาระ
ค่าจ้าง จึงจดทะเบียนบุริมสิทธิไว้ เหลืองเอาที่ดินไปขายฝาก ค. แล้วไม่ไถ่คืน ที่ดนิ จึงตกเป็ น
กรรมสิทธิ์ของ ค. ในที่สดุ ค. ขอไถ่ถอนจานองจาก ข. และ ง. โดยเสนอใช้เงิน 300,000
บาท ตามราคาที่ดนิ ข. ปฏิเสธ และฟ้องศาลขายทอดตลาดที่ดนิ ได้เงิน 400,000 บาท หัก
ค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการขายทอดตลาดแล้วเหลือเงินสุทธิ 390,000 บาท ให้
ท่านจัดสรรเงินจานวนนีช้ าระหนีร้ ายต่างๆ
ตามมาตรา 742 วรรคแรก การที่ทรัพย์หลุดมือไปจากผูร้ บั โอนไม่มีผลกระทบ
กระเทือนสิทธิของเจ้าหนีบ้ รุ ิมสิทธิหรือเจ้าหนีจ้ านองอันมีอยู่เหนือทรัพย์นนั้ และมาตรา
742 วรรคสองบัญญัตใิ ห้หนีข้ องผูร้ บั โอนซึ่งเกลื่อนกลืนไปแล้วขณะได้ทรัพย์นนั้ มากลับคืน
ขึน้ มาอีก ในเมื่อทรัพย์นนั้ หลุดมือไปจากผูร้ บั โอน ฉะนัน้ แม้สิทธิจานองของ ค. ย่อมกลับคืน
มาอีก เงิน 390,000 บาท จึงต้องจัดสรรชาระดังนี้ ชาระให้ดาเจ้าหนีบ้ รุ ิมสิทธิกอ่ น
100,000 บาท ชาระให้ ข. ผูร้ บั จานองรายแรก 200,000 บาท และชาระให้ ค. ผูร้ บั จานอง
รายที่สอง 90,000 บาท ส่วน ง.ไม่ได้รบั ชาระหนีจ้ ากเงินที่ขายทอดตลาด
มาตรา 742 ถ้าการบังคับจานองก็ดี ถอนจานองก็ดี เป็ นเหตุให้ ทรัพย์สินซึ่งจานอง หลุดมือไป
จากบุคคลผูไ้ ด้ทรัพย์สินนัน้ ไว้แต่กอ่ น ไซร้ ท่านว่าการที่ทรัพย์สินหลุดมือไปเช่นนัน้ หามีผลย้อนหลังไม่
และ บุริมสิทธิทงั้ หลายของเจ้าหนีแ้ ห่งผูท้ ี่ทรัพย์หลุดมือไป อันมีอยู่เหนือ ทรัพย์สินและได้จดทะเบียนไว้
นัน้ ก็ย่อมเข้าอยู่ในลาดับหลัง บุริมสิทธิ อันเจ้าหนีข้ องผูจ้ านอง หรือเจ้าของคนก่อนได้จดทะเบียนไว้
ในกรณีเช่นนี้ ถ้าสิทธิใด ๆ อันมีอยู่เหนือทรัพย์สินซึ่งจานองเป็ น คุณหรือเป็ นโทษแก่บคุ คลผูไ้ ด้
ทรัพย์สิน ซึ่งจานองไว้แต่ก่อนได้ระงับไปแล้วด้วยเกลื่อนกลืนกันในขณะที่ได้ทรัพย์สินนัน้ มาไซร้ สิทธินนั้
ท่านให้กลับคืนมาเป็ นคุณหรือเป็ นโทษแก่บคุ คลนัน้ ได้อีก ในเมื่อทรัพย์สิน ซึ่งจานองกลับหลุดมือไป
4.3.3 หน้าที่ของผูร้ บั โอนในการดูแลรักษาทรัพย์สินซึ่งจานอง
ในกรณีที่ผรู้ บั โอนทรัพย์สินซึ่งจานองทาให้ทรัพย์นนั้ เสียหาย หรือในทางตรงกันข้าม
ทาให้ทรัพย์นนั้ มีราคาสูงขึน้ ผูร้ บั โอนจะได้รบั ผลกระทบใด
มีผลกระทบตามมาตรา 743 คือ
1. ถ้าทาให้ทรัพย์ซึ่งจานองเสียหายก็ตอ้ งชดใช้ความเสียหาย
2. ถ้าทาให้ทรัพย์ซึ่งจานองมีราคาเพิ่มขึน้ ก็มีสิทธิเรียกให้ชดใช้เพียงเท่าราคาที่
เพิ่มขึน้ เมือ่ ขายทอดตลาด
มาตรา 743 ถ้าผูร้ บั โอนได้ทาให้ทรัพย์สินซึ่งจานองเสื่อมราคาลงเพราะการกระทาหรือความ
ประมาทเลินเล่อแห่งตน เป็ นเหตุให้เจ้าหนีท้ ั้งหลายผูม้ ีสิทธิจานอง หรือบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินนัน้ ต้อง
26

เสียหายไซร้ ท่านว่าผูร้ บั โอนจะต้องรับผิดเพื่อความเสียหายนัน้ อย่างไรก็ดี อันผูร้ บั โอนจะเรียกเอาเงิน


จานวนใด ๆ ซึ่งตนได้ออกไป หรือเรียกให้ชดใช้คา่ ใช้จ่ายที่ตนได้ทาให้ทรัพย์สินดีขนึ้ นัน้ ท่านว่าหาอาจจะ
เรียกได้ไม่ เว้นแต่ที่เป็ นการทาให้ทรัพย์สินนัน้ งอกราคาขึน้ และจะเรียกได้เพียงเท่าจานวนราคาที่งอกขึน้
เมื่อขายทอดตลาดเท่านัน้
แบบประเมินผลหน่วยที่ 4
1. ทรัพย์ที่จานองเป็ นประกันหนีไ้ ว้แล้ว ถ้าเจ้าของทรัพย์เอาไปโอนขายให้ผอู้ ื่นในระหว่างสัญญา
จานองยังมีผลบังคับอยู่ สัญญานัน้ ยังคงมีผลสมบูรณ์
2. สิทธิของผูจ้ านองที่จะทาสัญญาตกลงกันเป็ นอย่างอื่นไม่ได้คือ สิทธิการเอาทรัพย์สินไปจานอง
ต่อ
3. ผูจ้ านองเข้าชาระหนีแ้ ทนลูกหนี้ ผูจ้ านองมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ ได้เท่าจานวนที่ชาระไป
4. แดง ดาและ ขาว ต่างจานองทรัพย์เป็ นประกันหนีข้ องเขียวแล้วเขียวผิดนัด ดาจึงเข้าชาระหนี้
แทน ดังนี้ ดามีสิทธิ ไล่เบี้ยได้เฉพาะกับเขียวลูกหนีเ้ ท่านัน้
5. ม่วง แสด ฟ้ า ต่างจานองทรัพย์เป็ นประกันหนีข้ องครามโดยไม่ระบุลาดับจานอง ต่อมาเจ้าหนี้
ปลดหนีใ้ ห้ แสด ผลตามกฎหมายคือ ผูจ้ านองทุกคนไม่มีใครหลุดพ้นความผิด
6. ถ้ามีการโอนทรัพย์สินซึ่งจานองให้แก่บคุ คลอื่น จะมีผลกับผูร้ บั จานองคือ ผูร้ บั จานองติดตาม
บังคับชาระหนีไ้ ด้และมีฐานะดีกว่าเจ้าหนีส้ ามัญ
7. ในระหว่างผูร้ บั จานองซึ่งจดทะเบียนก่อน กับผูร้ บั จานองซึ่งจดทะเบียนภายหลัง สิทธิระหว่าง
กันคือ ผูร้ บั จานองก่อนมีสิทธิได้รบั ชาระหนีก้ อ่ น
8. ภายหลังจดทะเบียนจานองแล้ว ถ้าผูจ้ านองจดทะเบียนทรัพย์สิทธิอื่นเหนือทรัพย์นนั้ อีก ผูร้ บั
จานองมีสิทธิขอให้ลบทะเบียนทรัพย์สิทธิที่จดทะเบียนภายหลังได้
9. ผูร้ บั โอนทรัพย์จานองสามารถไถ่ถอนจานองได้เมื่อ เมื่อใดก็ได้
10. ผูร้ บั โอนทรัพย์จานองต้องไถ่ถอนจานองเป็ นจานวนเงิน เท่าราคาทรัพย์สินซึ่งจานอง
11. ทรัพย์ที่จานองเป็ นประกันหนีไ้ ว้แล้ว ในระหว่างสัญญาจานองมีผลบังคับอยู่ เจ้าของทรัพย์ขาย
ทรัพย์นนั้ ให้ผอู้ ื่น มีสิทธิทาได้โดยเด็ดขาด
12. ในกรณีสญ ั ญาจานองมีขอ้ ตกลงไว้ชดั ว่า ระหว่างสัญญาจานองมีผลบังคับอยู่หา้ มผูจ้ านองเอา
ทรัพย์ไปจานองต่อ ข้อตกลงนี้ ไม่มีผลใดๆ เลย
13. ถ้าลูกหนีผ้ ิดนัดไม่ชาระหนี้ ผูจ้ านองซึ่งเข้าชาระหนีแ้ ทนลูกหนีด้ งั หนี้ ผูจ้ านองมีสิทธิตอ่ ลูกหนีค้ ือ
มีสิทธิไล่เบี้ยลูกหนีไ้ ด้เท่าจานวนที่ชาระหนีแ้ ทนไป
14. ชิด ชัย ชอบ ต่างจานองทรัพย์เป็ นประกันหนีข้ องชาญ โดยระบุลาดับจานองว่า ชิดอยู่ลาดับแรก
ชัยอยู่ลาดับสอง และชอบอยู่ลาดับสาม ชาญผิดนัดชิดจึงชาระหนีแ้ ทน ดังนี้ ชิดไม่มีสิทธิไล่เบี้ยเอากับ ชัย
และชอบ
15. แดง ดา ฟ้ า ขาว ต่างจานองทรัพย์เป็ นประกันหนีข้ องเขียว โยระบุลาดับจานองว่า แดงลาดับ
แรก ดาลาดับที่สอง ฟ้ าลาดับที่สาม และขาวลาดับที่สี่ ต่อมาเจ้าหนีป้ ลดจานองให้ฟ้าผูจ้ านองที่มีสิทธิ
หลุดพ้นความผิดได้แก่ ขาว เพียงผูเ้ ดียว
16. ทรัพย์ซึ่งจานองไว้แล้ว ถ้าผูจ้ านองโอนให้ผอู้ ื่นไปในภายหลัง ผูร้ บั จานองมีสิทธิคือ ติดตาม
บังคับชาระหนีจ้ ากทรัพย์นนั้ ได้เสมอ
17. ผูร้ บั จานองก่อนกับผูร้ บั จานองทีหลัง มีสิทธิระหว่างกันคือ ผูร้ บั จานองก่อนมีสิทธิดีกว่า
27

18. ดาจานองที่ดินให้แดง ต่อมาดาจดทะเบียนภารจายอมให้ขาวเดินผ่านที่นนั้ ได้ ดังนี้ แดงมีสิทธิ


ขอให้ลบทะเบียนภารจายอมได้
19. การไถ่ถอนจานอง ผูร้ บั โอนต้องขอไถ่ถอนจานองเป็ นจานวน ราคาอันสมควรของทรัพย์ซึ่ง
จานอง

หน่วยที่ 5 การบังคับจานอง และความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจานอง


1. การบังคับจานองทาได้ 2 วิธีคือ การขายทอดตลาดทรัพย์จานองและการเอาทรัพย์
จานองหลุด ซึ่งไม่ว่าจะบังคับโดยวิธีใดจะต้องฟ้องคดีตอ่ ศาล ผูจ้ านองจะไปยึดทรัพย์มาโดย
พลการไม่ได้ อย่างไรก็ตาม กฎหมายมิได้บงั คับว่า ผูร้ บั จานองจะต้องฟ้องบังคับจานอง
เสมอไป อาจฟ้องในฐานะเจ้าหนีส้ ามัญก็ได้
2. จานองระงับได้ 2 ทาง คือ ทางหนึง่ ทาให้หนีป้ ระธานระงับไป เช่นชาระหนี้ อีกทาง
ทาให้ตวั สัญญาจานองระงับ เช่นปลดจานอง เมื่อจานองระงับต้องนาความไปจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนัน้ จะยกขึน้ ต่อสูบ้ คุ คลภายนอกไม่ได้
5.1 การบังคับจานอง
1. การบังคับจานองไม่ว่าจะทาโดยวิธีขายทอดตลาดหรือเอาทรัพย์จานองหลุดก็ตาม
จะต้องมีการบอกกล่าวด้วยหนังสือให้ผจู้ านองชาระหนีภ้ ายในเวลาสมควร เมื่อผูจ้ านองไม่
ชาระหนีจ้ ึงจะฟ้องคดีตอ่ ศาลบังคับจานองได้
2. ในกรณีขายทอดตลาดทรัพย์สิน เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดจะต้องนามาชาระหนี้
แก่ผรู้ บั จานองตามลาดับก่อนหลัง ผูร้ บั จานองก่อนย่อมมีสิทธิได้รบั ชาระหนีก้ อ่ น
3. หากบังคับจานองได้เงินตา่ กว่าจานวนหนีท้ ี่คา้ งชาระ ลูกหนีก็ไม่ตอ้ งรับผิดในเงินที่
ขาดอยู่ เว้นแต่จะได้ตกลงกันเป็ นอย่างอื่นในสัญญาจานอง
4. หนีร้ ายเดียวที่มีการจานองทรัพย์หลายสิ่งเป็ นประกัน โดยไม่ระบุลาดับและจานวน
เงินที่ทรัพย์แต่ละสิ่งจานองเป็ นประกัน ผูร้ บั จานองอาจบังคับจานองแก่ทรัพย์เพียงบางสิ่ง
หรือแก่ทรัพย์ทกุ สิ่งพร้อมกันก็ได้ แต่ในกรณีหลังต้องเฉลี่ยภาระแห่งหนีไ้ ปตามส่วนราคา
ทรัพย์จานอง
5.1.1 วิธีบงั คับจานอง
การบังคับจานองทาได้กี่วิธี อธิบาย
การบังคับจานองทาได้ 2 วิธี คือ
1) ตามมาตรา 728 คือ ฟ้องบังคับจานองให้ขายทอดตลาดทรัพย์จานอง โดยผูร้ บั
จานองต้องมีจดหมายบอกกล่าวไปยังลูกหนีก้ อ่ นว่าใช้ชาระหนีภ้ ายในเวลาอันสมควร ซึ่ง
กาหนดไว้ในคาบอกกล่าว และถ้าลูกหนีไ้ ม่ปฏิบตั ติ ามคาบอกกล่าว ผูร้ ับจานองจะฟ้องคดีตอ่
ศาลให้พิพากษาสัง่ ให้ยึดทรัพย์สินซึ่งจานองขายทอดตลาด
28

2) ตามมาตรา 729 คือ ผูร้ บั จานองเอาทรัพย์จานองหลุดเป็ นสิทธิ จะต้องอยู่


ภายในบังคับของเงือ่ นไขดังนี้ คือ
ก. ลูกหนีไ้ ด้ขาดส่งดอกเบี้ยมาเป็ นเวลาถึง 5 ปี
ข. ผูจ้ านองมิได้แสดงให้ศาลพอใจว่าราคาทรัพย์สินที่จานองนัน้ ท่วมจานวนเงิน
ที่คา้ งชาระ และ
ค. ไม่มีการจานองรายอื่น หรือบุริมสิทธิอื่นได้จดทะเบียนไว้เหนือทรัพย์สินอัน
เดียวกันนัน้
การบังคับจานองโดยวิธีเอาทรัพย์จานองหลุดเป็ นสิทธิ์นนั้ จะต้องเข้าเงือ่ นไขทัง้ สาม
ข้อตามมาตรา 729 และอย่างไรก็ตามต้องมีการบอกกล่าวลูกหนี้ให้ชาระหนีต้ ามมาตรา
728 ก่อนและฟ้องบังคับจานองเพื่อเอาหลุดเป็ นสิทธิ์อีกด้วย มิใช่ยึดทรัพย์จานองมาเป็ น
ของตนโดยพลการ
แดงกูเ้ งินดา โดยขาวจานองที่ดนิ เป็ นประกันหนี้
แนะนาให้ฟ้องบังคับจานองโดยขายทอดตลาดที่ดนิ ตามมาตรา 728 จะเอาทรัพย์
จานองหลุดเป็ นสิทธิไม่ได้ เพราะเป็ นกรณีที่บคุ คลอื่นจานองนองทรัพย์เป็ นกระกันหนีข้ อง
ลูกหนี้ และผูข้ าดส่งดอกเบี้ยคือตัวลูกหนีไ้ ม่ใช่ผจู้ านอง
มาตรา 728 เมื่อจะบังคับจานองนัน้ ผูร้ บั จานองต้องมีจดหมาย บอกกล่าวไปยังลูกหนี้กอ่ น
ว่าให้ชาระหนีภ้ ายในเวลาอันสมควร ซึ่ง กาหนดให้ในคาบอกกล่าวนัน้ ถ้าและลูกหนีล้ ะเลยเสียไม่ปฏิบตั ิ
ตาม คาบอกกล่าวผูร้ บั จานองจะฟ้องคดีตอ่ ศาล เพื่อให้พิพากษาสัง่ ให้ ยึดทรัพย์สินซึ่งจานองและให้ขาย
ทอดตลาดก็ได้
มาตรา 729 นอกจากทางแก้ดงั ่ บัญญัตไิ ว้ใน มาตรา ก่อนนัน้ ผูร้ บั จานองยังชอบที่จะเรียก
เอาทรัพย์จานองหลุดได้ภายในบังคับแห่ง เงือ่ นไข ดัง่ จะกล่าวต่อไปนี้
(1) ลูกหนี้ได้ขาดส่งดอกเบี้ยมาแล้วเป็ นเวลาถึงห้าปี
(2) ผูจ้ านองมิได้แสดงให้เป็ นที่พอใจแก่ศาล ว่าราคาทรัพย์สิน นัน้ ท่วมจานวนเงินอันค้างชาระ
และ
(3) ไม่มีการจานองรายอื่น หรือบุริมสิทธิอื่นได้จดทะเบียนไว้ เหนือทรัพย์สินอันเดียวกันนีเ้ อง

5.1.2 ลาดับในการชาระหนี้
ทรัพย์สินอันเดียวกันที่มีจานองหลายราย เมื่อมีการบังคับจานองโดยขาย
ทอดตลาดจะต้องนาเงินมาชาระหนีแ้ ก่ผรู้ บั จานองอย่างไร
ทรัพย์สินอันเดียวกันได้จานองแก่ผรู้ บั จานองหลายคนด้วยกัน ต้องเอาชาระหนีแ้ ก่
ผูร้ บั จานองเรียงตามลาดับก่อนหลังตามวันเวลาที่จดทะเบียน และผูร้ บั จานองคนก่อนจะ
ได้รบั ใช้หนีก้ อ่ นตามมาตรา 730 และทรัพย์สินที่ขายทอดตลาดให้จดั ใช้แก่ผรู้ บั จานองเรียง
ตามลาดับ และหากยังมีเงินเหลือจากการขายทอดตลาด ให้มอบแก่ผจู้ านองตามมาตรา
732
เหล็กกูเ้ งินทอง 200,000 บาท โดยจานองทีด่ นิ เป็ นประกัน ต่อมาก็เอาที่ดนิ แปลง
เดิมไปจานองไว้แก่เพชรอีก 100,000 บาท และสุดท้ายจานองกับนิล 50,000 บาท เมื่อหนี้
29

ของทองถึงกาหนดเหล็กไม่ชาระหนี้ ทองจึงฟ้องบังคับจานอง ยึดที่ดนิ ขายทอดตลาดได้เงิน


สุทธิ 300,000 บาท ให้ทา่ นจัดสรรเงินจานวนนีช้ าระหนีแ้ ก่ผรู้ บั จานอง
ชาระให้ทอง 200,000 บาท ให้เพชร 100,000 บาท ตามมาตรา 730, 732
ส่วนนิลไม่ได้รบั ชาระหนี้จากการขายทอดตลาด และนิลจะติดตามไปบังคับจานองแก่ผซู้ ื้อ
ที่ดนิ นัน้ ไม่ได้อีก เพราะจานองได้ระงับสิ้นไปตามมาตรา 744(5) คือมีการขายทอดตลาด
ทรัพย์สินซึ่งจานองตามคาสัง่ ศาล อันเนือ่ งมาจกการบังคับจานอง
มาตรา 730 เมือ่ ทรัพย์สน ิ อันหนึง่ อันเดียวได ้จำนองแก่ผู ้รับจำนอง หลำยคนด ้วยกัน ท่ำนให ้ถือ
ลำดับผู ้รับจำนองเรียงตำมวันและเวลำ จดทะเบียน และผู ้รับจำนองคนก่อนจักได ้รับใช ้หนีก ้ อ
่ นผู ้รับจำนอง
คนหลัง
มาตรา 732 ทรัพย์สน ิ ซึง่ จำนองขำยทอดตลำดได ้เงินเป็ นจำนวน สุทธิเท่ำใด ท่ำนให ้จัดใช ้แก่
ผู ้รับจำนองเรียงตำมลำดับ และถ ้ำยังมี เงินเหลืออยูอ ่ ก
ี ก็ให ้ส่งมอบแก่ผู ้จำนอง
มาตรา 744 อันจำนองย่อมระงับสิน้ ไป
(1) เมือ ่ หนีท ้ ป ้ ไป ด ้วยเหตุประกำรอืน
ี่ ระกันระงับสิน ่ ใดมิใช่เหตุ อำยุควำม
(2) เมือ ่ ปลดจำนองให ้แก่ผู ้จำนองด ้วยหนังสือเป็ นสำคัญ
(3) เมือ
่ ผู ้จำนองหลุดพ ้น
(4) เมือ่ ถอนจำนอง
(5) เมือ ่ ขำยทอดตลำดทรัพย์สน ิ ซึง่ จำนองตำมคำสัง่ ศำล อันเนือ
่ ง มำแต่กำรบังคับจำนองหรือ
ถอนจำนอง
(6) เมือ ิ ซึง่ จำนองนัน
่ เอำทรัพย์สน ้ หลุด

5.1.3 ลูกหนีไ้ ม่ตอ้ งรับผิดในจานวนเงินที่ขาด


ก. กูเ้ งิน ข. 500,000 บาท โดย ค. จานองที่ดนิ เป็ นประกัน และมีขอ้ ตกลงใน
สัญญาจานองระบุว่า ถ้า ข. บังคับจานองขายทอดตลาดที่ดนิ ได้เงินไม่พอชาระหนี้ ก. และ ค.
ยินยอมให้ ข. บังคับชาระหนีจ้ ากทรัพย์อื่นของ ก. และ ค. ได้ ให้วินจิ ฉัยว่า ข้อตกลงนีข้ ดั ต่อ
กฎหมายหรือไม่
ตามมาตรา 733 วางหลักไว้ในกรณีเอาทรัพย์สินซึ่งจานองขายทอดตลาดใช้หนี้
หากได้เงินสุทธินอ้ ยกว่าจานวนเงินที่คา้ งชาระกันอยู่ เงินขาดจานวนอยูเ่ ท่าใด ลูกหนีไ้ ม่ตอ้ ง
รับผิดในเงินนัน้ ซึ่งหากคู่กรณีไม่ได้ตกลงไว้ว่าเงินขาดเท่าใด ลูกหนีต้ อ้ งรับผิดแล้วหรือตก
ลงกันให้เจ้าหนีบ้ งั คับชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินอื่นของลูกหนีไ้ ด้ ข้อตกลงนีใ้ ช้บงั คับกันได้ไม่ขดั
ต่อกฎหมาย
มาตรา 733 ถ ้ำเอำทรัพย์จำนองหลุด และรำคำทรัพย์สน ิ นัน
้ มี ประมำณต่ำกว่ำจำนวนเงินทีค
่ ้ำง
ชำระกันอยูก ่ ็ด ี หรือถ ้ำเอำทรัพย์สน ิ ซึง่ จำนองออกขำยทอดตลำดใช ้หนี้ ได ้เงินจำนวนสุทธิน ้อยกว่ำจำนวน
เงินทีค
่ ้ำงชำระกันอยูน ่ ัน
้ ก็ดเี งินยังขำดจำนวนอยูเ่ ท่ำใดลูกหนีไ้ ม่ต ้อง รับผิดในเงินนัน

5.1.4 การจานองทรัพย์หลายสิ่งเป็ นประกันหนีร้ ายเดียว


แดงกูเ้ งินดา 200,000 บาท โดยจานองที่ดนิ 1 แปลง เรือยนต์ 1 ลา และเรือกลไฟ
1 ลา เป็ นประกันไม่ได้ระบุลาดับจานองและจานวนเงินที่ทรัพย์แต่ละสิ่งจานองเป็ นประกัน
แดงผิดนัดไม่ชาระหนี้ ดาจึงบังคับจานองแก่ทรัพย์จานองทัง้ สามสิ่ง พร้อมกัน ขาย
ทอดตลาดที่ดนิ ได้เงิน 200,000 บาท เรือยนต์ 120,000 บาท เรือกลไฟ 80,000 บาท จะ
จัดสรรชาระหนีเ้ งินกูใ้ ห้แก่ดาอย่างไร
ตามมาตรา 734 วรรคสองบัญญัตวิ ่า ถ้าผูร้ บั จานองใช้สิทธิของตนบังคับแก่
ทรัพย์สินทัง้ หมดพร้อมกันท่านให้แบ่งภาระแห่งหนีน้ นั้ กระจายไปตามส่วนราคาแห่ง
30

ทรัพย์สินนัน้ ๆ เว้นแต่กรณีที่ได้ระบุจานวนเงินจานองไว้เฉพาะทรัพย์สินแต่ละสิ่ง เป็ นจานวน


เท่าใด ท่านให้แบ่งกระจายไปตามลาดับจานวนเงินจานองที่ระบุไว้เฉพาะทรัพย์สินสิ่งนั้นๆ
ตามปั ญหาจึงต้องแบ่งภาระแห่งนีก้ ระจายไปตามส่วนแห่งราคาทรัพย์จานอง จึงต้องจัดสรร
เงินใช้หนีด้ งั นี้ ที่ดนิ 100,000 บาท เรือยนต์ 60,000 บาท เรือกลไฟ 40,000 บาท
มาตรา 734 ถ้าจานองทรัพย์สินหลายสิ่งเพื่อประกันหนีแ้ ต่ รายหนึง่ รายเดียวและมิได้ระบุ
ลาดับไว้ไซร้ ท่านว่าผูร้ บั จานองจะ ใช้สิทธิของตนบังคับแก่ทรัพย์สินนัน้ ๆทัง้ หมด หรือแต่เพียงบางสิง่ ก็
ได้ แต่ท่านห้ามมิให้ทาเช่นนัน้ แก่ทรัพย์สินมากสิ่งกว่าที่จาเป็ น เพื่อใช้หนีต้ ามสิทธิแห่งตน
ถ้าผูร้ บั จานองใช้สิทธิของตนบังคับแก่ทรัพย์สินทัง้ หมดพร้อมกัน ท่านให้แบ่งภาระแห่งหนี้นนั้
กระจายไปตามส่วนราคาแห่งทรัพย์สิน นัน้ ๆ เว้นแต่ในกรณีที่ได้ระบุจานวนเงินจานองไว้ เฉพาะ
ทรัพย์สิน แต่ละสิ่ง ๆ เป็ นจานวนเท่าใด ท่านให้แบ่งกระจายไปตามจานวนเงิน จานองที่ระบุไว้เฉพาะ
ทรัพย์สิ่งนัน้ ๆ
แต่ถา้ ผูร้ บั จานองใช้สิทธิของตน บังคับแก่ทรัพย์สินอันใดอันหนึ่ง แต่เพียงสิ่งเดียวไซร้ ผูร้ บั
จานองจะให้ชาระหนีอ้ นั เป็ นส่วนของตน ทัง้ หมดจากทรัพย์สินอันนัน้ ก็ได้ ในกรณีเช่นนัน้ ท่านให้ถือว่า
ผูร้ บั จานองคนถัดไปโดยลาดับย่อมเข้ารับช่วงสิทธิของผูร้ บั จานองคนก่อน และจะเข้าบังคับจานอง
แทนที่คนก่อนก็ได้แต่เพียงเท่าจานวน ซึ่งผูร้ บั จานองคนก่อนจะพึงได้รบั จากทรัพย์สินอื่น ๆ ตาม
บทบัญญัตดิ งั ่ กล่าว มาในวรรคก่อนนัน้

5.2 ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจานอง
1. สัญญาจานองระงับด้วยสาเหตุใหญ่ 2 ประการคือ เมื่อทาให้หนีป้ ระธานระงับไป
ประการหนึง่ และอีกประการหนึง่ คือทาให้ตวั สัญญาจานองระงับ เช่น ปลดจานอง ไถ่จานอง
บังคับจานอง เป็ นต้น
2. จานองเป็ นทรัพย์สิทธิที่ตกติดไปกับทรัพย์จานองจนกว่าผูร้ บั จานองจะได้ชาระหนี้
การที่หนีป้ ระธานขาดอายุความจึงไม่ทาให้จานองระงับ
3. เมื่อสัญญาจานองระงับ ต้องนาความไปจดทะเบียน มิฉะนัน้ จะยกขึน้ ต่อสู้
บุคคลภายนอกไม่ได้ หลักนีใ้ ช้บงั คับตลอดถึงการผ่อนชาระหนีจ้ านอง การแก้ไขเปลี่ยนแปลง
สัญญาจานองหรือหนีอ้ นั จานองเป็ นประกันด้วย
5.2.1 สาเหตุที่ทาให้สญ ั ญาจานองระงับ
การจานองระงับด้วยเหตุประการใดบ้าง
จานองระงับด้วยเหตุมาตรา 744 ดังนี้
1) หนีท้ ี่ประกันระงับสิ้นไป ยกเว้นหนีป้ ระธานขาดอายุความไม่ทาให้จานองระงับ
2) เมื่อปลดหนีจ้ านองให้แก่ผจู้ านองด้วยหนังสือเป็ นสาคัญ
3) เมื่อผูจ้ านองหลุดพ้น
4) เมื่อถอนจานอง
5) เมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สิน ซึ่งจานองตามคาสัง่ ศาลอันเนือ่ งมาจากการบังคับ
จานองหรือถอนจานอง
6) เมื่อเอาทรัพย์สินซึ่งจานองนัน้ หลุดเป็ นสิทธิ
31

แดงกูเ้ งินดา 300,000 บาท โดยเขียวจานองที่ดนิ เป็ นประกัน แดงไม่ชาระหนี้ ดาจึง


ฟ้องบังคับคดีจานองยึดที่ดนิ ของเขียวขายทอดตลาดแต่เขียวยอมชดใช้เงินให้ดา 150,000
บาท ส่วนอีก 150,000 บาท แดงรับชาระให้ดา จึงไม่มีการขายทอดตลาดที่ดนิ ต่อมาเขียว
ขายที่ดนิ ให้เหลืองและไม่ใช้หนีใ้ ห้ดาตามที่ตกลงกันไว้ ดาจึงฟ้องบังคับจานองเท่าที่ดนิ ซึ่ง
เหลืองรับโอน เพื่อชาระหนีอ้ ีก 150,000 บาท ดาจะมีสิทธิบงั คับจานองเอากับเหลืองได้
หรือไม่
การบังคับจานองโดยขายทอดตลาดทรัพย์จานองอันจะทาให้จานองระงับตาม
มาตรา 744 (5) นัน้ ต้องมีการขายทอดตลาดกันจริง แม้ดาจะฟ้องบังคับจานองก็ตาม แต่
เมื่อไม่มีการขายทอดตลาดที่ดนิ จานอง จานองย่อมไม่ระงับไป เหลืองผูร้ บั โอนที่ดนิ จานอง
ต้องรับภาระจานองมาด้วย แดงจึงมีสิทธิบงั คับจานองเอากับที่ดนิ ที่เหลืองรับโอนมาได้
5.2.2 สัญญาจานองไม่ระงับเพราะอายุความ
ที่ว่า “จานองไม่ระงับเพราะอายุความ”นัน้ หมายความว่าอย่างไร
สัญญาจานองย่อมระงับสิ้นไปตามมาตรา 744(1) คือเมื่อหนีป้ ระธานระงับไปด้วย
เหตุใดๆ เช่น มีการชาระหนีเ้ งินกูย้ ืมที่เป็ นหนีป้ ระธาน หนีจ้ านองซึ่งเป็ นอุปกรณ์ย่อมระงับ
สิ้นไปด้วย แต่กรณีที่หนีป้ ระธานขาดอายุความไม่ให้จานองระงับ เพราะการที่หนีข้ าดอายุ
ความนัน้ กฎหมายห้ามมิให้ฟ้องร้องบังคับคดีกนั ตามมาตรา 193/9 เท่านัน้ หนีม้ ิได้ระงับไป
ด้วยและสิทธิจานองเป็ นทรัพย์สิทธิซึ่งตกติดตามไปกับทรัพย์ที่จานองจนกว่าผูร้ บั จานองจะ
ได้รบั ชาระหนี้ (มาตรา 702 วรรค 2) ฉะนัน้ การที่หนีป้ ระธานขาดอายุความจึงไม่
กระทบกระเทือนถึงสิทธิจานอง
มาตรา 193/9 สิทธิเรียกร้องใด ๆ ถ้ามิได้ใช้บงั คับภายในระยะเวลา ที่กฎหมายกาหนด สิทธิ
เรียกร้องนัน้ เป็ นอันขาดอายุความ
มาตรา 702 อันว่าจานองนัน้ คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึง่ เรียกว่า ผูจ้ านองเอาทรัพย์สินตราไว้
แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ เรียกว่าผูร้ บั จานอง เป็ นประกันการชาระหนี้ โดยไม่สง่ มอบทรัพย์สินนัน้ ให้แก่ผรู้ บั
จานอง
ผูร้ บั จานองชอบที่จะได้รบั ชาระหนีจ้ ากทรัพย์สินที่จานองก่อน เจ้าหนีส้ ามัญมิพักต้องพิเคราะห์
ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอน ไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือหาไม่

5.2.3 สัญญาจานองระงับต้องนาความไปจดทะเบียน
นกกูเ้ งินหนู 300,000 บาท โดยมีไก่จานองที่ดนิ เป็ นประกัน ครัง้ หนีค้ รบกาหนด
นกไม่ชาระหนี้ ไก่จึงเข้าชาระหนีแ้ ทนสิ้นเชิง เพื่อมิให้หนูบงั คับจานอง แต่หนูขอผลัดไปไปจด
ทะเบียนระงับจานองภายหลัง ต่อมาหนูถกู แมวเจ้าหนีฟ้ ้ องเรียกหนีจ้ านวน 500,000 บาท
แมวชนะคดีจึงยึดที่ดนิ ของไก่เพื่อบังคับชาระหนี้ ไก่จะต่อสู่แมวได้หรือไม่ว่า จานองระงับแล้ว
จะยึดที่ดนิ ขายทอดตลาดไม่ได้
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสิทธิในการจานองต้องนาไปจดทะเบียนตามหลักมาตรา
746 ที่บญ ั ญัตวิ ่า “การชาระหนีไ้ ม่ว่าครัง้ ใดๆ สิ้นเชิงหรือแต่บางส่วนก็ดี การระงับหนี้
อย่างใดๆ ก็ดี การตกลงกันแก้ไขเปลี่ยนแปลงจานองหรือหนีอ้ นั จานองเป็ นประกันนัน้ เป็ น
32

ประการใดก็ดี ท่านว่าต้องนาความไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ในเมื่อมีคาขอร้อง


ของผูม้ ีสว่ นได้เสีย มิฉะนัน้ ท่านห้ามมิให้ยกขึน้ เป็ นข้อต่อสูบ้ คุ คลภายนอก”
ดังนัน้ ไก่จะต่อสูแ้ มวว่าจานองระงับสิ้นไปแล้ว แมวจะยึดที่ดนิ ขายทอดตลาดนั้น ไก่
ต่อสูไ้ ม่ได้ เพราะไก่ชาระหนีแ้ ล้วไก่ไม่ได้นาไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่จึงใช้ตอ่ สูแ้ มว
บุคคลภายนอกไม่ได้ เนือ่ งจากในทะเบียนยังมีรายการว่าไก่เป็ นผูจ้ านองที่ดนิ เป็ นประกันหนี้
เงินกูห้ นูผรู้ บั จานองอยู่
มาตรา 746 การชาระหนีไ้ ม่ว่าครัง้ ใด ๆ สิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน ก็ดี การระงับหนีอ้ ย่างใด ๆ ก็ดี
การตกลงกันแก้ไขเปลี่ยนแปลงจานอง หรือหนีอ้ นั จานองเป็ นประกันนัน้ เป็ นประการใดก็ดี ท่านว่าต้อง
นา ความไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ในเมื่อมีคาขอร้องของ ผูม้ ีสว่ นได้เสีย มิฉะนัน้ ท่านห้ามมิให้
ยกขึน้ เป็ นข้อต่อสูบ้ คุ คลภายนอก
แบบประเมินผลหน่วยที่ 5
1. การบังคับจานองสามารถกระทาได้โดยวิธี ฟ้ องศาลให้เอาทรัพย์ที่จานองขายทอดตลาด หรือ
ฟ้ องศาลให้เอาทรัพย์จานองหลุดเป็ นสิทธิ
2. เงือ่ นไขในการบังคับจานองมีดงั นี้ ต้องมีหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนีแ้ ละต้องฟ้ องคดีตอ่ ศาล
3. หนังสือบอกกล่าวบังคับจานองต้องมีสาระสาคัญคือ บอกให้ลกู หนีช้ าระหนีแ้ ละกาหนดเวลาอัน
สมควรให้ชาระหนี้
4. ถ้าจะบังคับจานองแก่ผรู้ บั โอนทรัพย์สินจานองกฎหมายบังคับว่าต้องบอกกล่าวผูร้ บั โอน
ล่วงหน้านานกาหนด 1 เดือน
5. ในกรณีบงั คับจานองโดยการขายทอดตลาดทรัพย์ซึ่งติดจานองหลายราย เงินสุทธิที่ได้จากการ
ขายทอดตลาดทรัพย์จานอง ต้องชาระให้ผรู้ บั จานองคือ เอาชาระหนีใ้ ห้ผรู้ บั จานองเรียงตามลาดับการ
จดทะเบียนจานอง ผูร้ บั จานองก่อนได้รบั ชาระหนีก้ อ่ น
6. ถ้าบังคับจานองขายทอดตลาดทรัพย์จานองได้เงินสุทธิตา่ กว่าจานวนเงินที่คา้ งชาระ เงินที่ยงั
ขาดอยู่ ลูกหนี้ ไม่ตอ้ งรับผิด
7. สัญญาจานองมีขอ้ ตกลงระบุว่า ถ้าผูร้ บั จานองบังคับจานองได้เงินไม่พอชาระหนี้ ลูกหนีย้ ินยอม
ให้ผรู้ บั จานองบังคับชาระหนีแ้ ก่ทรัพย์สินอื่นได้จนครบจานวนหนี้ ข้อตกลงนี้ มีผลใช้บงั คับได้โดย
สมบูรณ์
8. กรณีที่ทาให้สญ ั ญาจานองระงับได้แก่ กรณีผรู้ บั จานองปลดหนีใ้ ห้ลกู หนี้
9. เมื่อหนีท้ ี่ประกันขาดอายุความ ไม่มีผลทาให้จานองระงับ
10. เมื่อสัญญาจานองระงับแล้ว ต้องปฏิบตั คิ ือ นาความไปจดทะเบียน
11. การที่หนีป้ ระธานขาดอายุความ ไม่มีผลต่อหนีจ้ านอง (จานองไม่ระงับ)
12. การไม่จดทะเบียนเมื่อจานองระงับมีผลคือ ยกขึน้ ต่อสูบ้ คุ คลภายนอกไม่ได้
13. กรณีเจ้าหนีต้ าย ไม่มีผลทาให้สญ ั ญาจานองระงับ

หน่วยที่ 6 สัญญาจานา
1. ทรัพย์ที่จานานอกจากจะต้องเป็ นสังหาริมทรัพย์แล้ว สิทธิที่มีตราสารก็อาจนามา
จานาได้โดยวิธีการที่กฎหมายกาหนด สัญญาจานาครอบคลุมทัง้ หนีต้ น้ เงินและค่าอุปกรณ์
33

ข้อตกลงบางประการที่ค่สู ญ ั ญาตกลงกันก่อนเวลาหนีถ้ ึงกาหนดชาระ กฎหมายได้กาหนดให้


ข้อตกลงนัน้ ไม่สมบูรณ์ อนึง่ บทบัญญัตทิ งั้ หลายในเรื่องจานาให้ใช้กบั โรงรับจานาเพียงเท่าที่
ไม่ขดั กับกฎหมาย หรือกฎข้อบังคับของโรงรับจานา
2. ผูร้ บั จานามีสิทธิยึดทรัพย์ที่จานาจนกว่าจะได้รับชาระหนีแ้ ละค่าอุปกรณ์ครบถ้วน
และมีหน้าที่รกั ษาและสงวนทรัพย์สินที่จานา ตลอดจนต้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบ
สลายของทรัพย์ที่จานา ส่วนค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาทรัพย์สินที่จานานัน้ ผูจ้ านามีหน้าที่
ชดใช้ให้แก่ผรู้ บั จานา
6.1 สาระสาคัญของสัญญาจานา
1. สัญญาจานา เป็ นการที่ผจู้ านาส่งมอบสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผรู้ บั จานา เพื่ อเป็ นการ
ประกันการชาระหนี้
2. สัญญาจานาย่อมครอบคลุมถึงหนีต้ น้ เงินและค่าอุปกรณ์ตา่ งๆ ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่า
สินไหมทดแทนในการไม่ชาระหนี้ ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานา ค่าใช้จ่ายเพื่อรักษา
ทรัพย์สินที่จานา และค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย อันเกิดแต่ความชารุดบกพร่อง
ของทรัพย์สินจานาซึ่งไม่เห็นประจักษ์
3. สิทธิที่มีตราสารจานาได้โดยวิธีสง่ มอบและแจ้งการจานาเป็ นหนังสือแก่ลกู หนีแ้ ห่ง
สิทธิ ถ้าสิทธิซึ่งจานาถึงกาหนดชาระก่อนหนีซ้ ึ่งประกันไว้ ลูกหนีแ้ ห่งสิทธิตอ้ งส่งมอบ
ทรัพย์สินอันเป็ นวัตถุแห่งสิทธิให้ผรู้ บั จานา และทรัพย์สินนัน้ กลายเป็ นของจานาแทนสิทธิ ถ้า
สิทธินนั้ มีวตั ถุแห่งสิทธิเป็ นเงิน ลูกหนีแ้ ห่งสิทธิตอ้ งใช้เงินให้แก่ผรู้ บั จานาและผูจ้ านาร่วมกัน
และผูจ้ านาหรือลูกหนีแ้ ห่งสิทธิจะทาให้สิทธินนั้ สิ้นไป หรือแก้ไขสิทธินนั้ ให้เสียหายแก่ผรู้ บั
จานาโดยผูร้ บั จานาไม่ยินยอมไม่ได้
4. บทบัญญัตทิ งั้ หลายในเรื่องจานานี้ ใช้กบั สัญญาจานาที่ทากับผูต้ งั้ โรงรับจานา โดย
ได้รบั อนุญาตจากรัฐบาลได้เท่าที่ไม่ขดั กับพระราชบัญญัตโิ รงรับจานา
6.1.1 ความหมายของสัญญาจานา
เด่นกูเ้ งินเด๋อ 10,000 บาท โดยเด่นนาตูเ้ ย็นของตนราคา 15,000 บาท มาให้เด๋อยึด
ไว้เป็ นประกัน แต่เนือ่ งจากบ้านเด๋อแคบ จึงตกลงกันให้จม๋ ุ จิ๋มเพื่อนบ้านเด๋อเป็ นผูเ้ ก็บรักษา
แทน สัญญาดังกล่าวนีใ้ ห้วินจิ ฉัยว่าเป็ นสัญญาจานาหรือไม่
สัญญาดังกล่าวเป็ นสัญญาจานา เพราะลักษณะของสัญญาจานาคือ
1) ทรัพย์ที่จานาต้องเป็ นสังหาริมทรัพย์ ในที่นคี้ ือตูเ้ ย็น
2) ผูจ้ านาต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์ ตูเ้ ย็ นเป็ นทรัพย์ของเด่นผูจ้ านา
3) ต้องมีการส่งมอบทรัพย์ที่จานา หรือคู่สญ ั ญาอาจตกลงให้บคุ คลภายนอกเป็ นผู้
เก็บรักษาทรัพย์แทนผูร้ บั จานา ซึ่งในที่นเี้ ด่นและเด๋อตกลงกันให้นายจุม๋ จิ๋มรักษาตูเ้ ย็นแทน
เด่น
6.1.2 ขอบเขตของสัญญาจานา
34

ดากูเ้ งินแดง 10,000 บาท โดยนาม้าแข่งมาจานาไว้กบั แดง ระหว่างที่มา้ อยู่กบั แดง


แดงเสียค่าดูแลเลี้ยงม้าวันละ 100 บาท เป็ นเวลา 10 วัน ดานาเงินมาชาระแดง 10,000
บาท แต่แดงไม่ยอมคืนม้าให้ดาเพราะดายังไม่ชาระค่าเลี้ยงม้าอีก 1,000 บาท ปั ญหาว่าแดง
มีสิทธิยึดม้าหรือไม่
ทรัพย์สินที่จานาย่อมเป็ นประกันหนีเ้ งินต้นและหนี้อปุ กรณ์ดว้ ยตามมาตรา 748 ใน
กรณีนคี้ ่าใช้จ่ายการดูแลรักษาม้า 1,000 บาท เป็ นหนีอ้ ปุ กรณ์ ดังนัน้ แดงมีสิทธิยึดม้าไว้
จนกว่าดาจะชาระเงิน 1,000 บาท
มาตรา 748 การจานานัน้ ย่อมเป็ นประกันเพื่อการชาระหนี้ กับ ทัง้ ค่าอุปกรณ์ตอ่ ไปนีด้ ว้ ย คือ
(1) ดอกเบี้ย
(2) ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชาระหนี้
(3) ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานา
(4) ค่าใช้จ่ายเพื่อรักษาทรัพย์สินซึ่งจานา
(5) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแต่ความชารุดบกพร่องแห่งทรัพย์สินจานาซึ่ง
ไม่เห็นประจักษ์

6.1.3 การจานาสิทธิที่มีตราสาร
อธิบายวิธีการจานาสิทธิที่มีตราสารทัว่ ไป
วิธีจานาสิทธิที่มีตราสารทัว่ ไป มีบญ
ั ญัตใิ นมาตรา 750 กล่าวคือ
1) ต้องส่งมอบตราสารนัน้ ให้แก่ผรู้ บั จานาและ
2) ต้องบอกกล่าวเป็ นหนังสือแจ้งการจานาแก่ลกู หนีแ้ ห่งสิทธิ มิฉะนัน้ การจานาเป็ น
โมฆะ
มาตรา 750 ถ้าทรัพย์สินที่จานาเป็ นสิทธิซึ่งมีตราสาร และมิได้ ส่งมอบตราสารนัน้ ให้แก่ผรู้ บั
จานา ทัง้ มิได้บอกกล่าวเป็ นหนังสือแจ้ง การจานาแก่ลกู หนีแ้ ห่งสิทธินนั้ ด้วยไซร้ ท่านว่าการจานาย่อม
เป็ นโมฆะ
ถ้าสิทธิซึ่งจานาถึงกาหนดชาระก่อนหนีซ้ ึ่งเป็ นประกัน ลูกหนีแ้ ห่งสิทธิตอ้ งชาระหนีแ้ ก่
ใคร
ถ้าสิทธิซึ่งจานาถึงกาหนดชาระก่อนหนีซ้ ึ่งเป็ นประกัน กฎหมายกาหนดหลักเกณฑ์
ดังนี้
1) ถ้าวัตถุแห่งสิทธิเป็ นทรัพย์สิน ลูกหนีแ้ ห่งสิทธิตอ้ งส่งมอบทรัพย์นนั้ ให้แก่ผรู้ บั
จานาและทรัพย์นนั้ ก็กลายเป็ นของจานาแทนสิทธิซึ่งจานา
2) ถ้าวัตถุแห่งสิทธิเป็ นเงิน ลูกหนีแ้ ห่งสิทธิตอ้ งชาระเงินให้แก่ผรู้ บั จานา และผูจ้ านา
ร่วมกัน ถ้าทัง้ สองตกลงกันไม่ได้ ให้วางเงินไว้ ณ สานักงานฝากทรัพย์
6.1.4 การใช้กฎหมายลักษณะจานาแก่โรงรับจานา
บทบัญญัตเิ รื่องจานาใน ปพพ. จะนามาใช้กบั สัญญาจานาที่ทากับผูต้ งั้ โรงรับจานาได้
หรือไม่
35

บทบัญญัตเิ รื่องจานาใน ปพพ. นาไปใช้กบั สัญญาจานาที่ทากับผูต้ งั้ โรงรับจานาได้แต่


เท่าไม่ขดั กับพระราชบัญญัตโิ รงรับจานา
6.2 สิทธิและหน้าที่ของผูร้ บั จานาและผูจ้ านา
1. ผูร้ บั จานามีสิทธิยึดทรัพย์ที่จานาไว้ได้ทงั้ หมดจนกว่าจะได้รบั ชาระหนี้ และค่าอุปกรณ์
ครบถ้วน และมีสิทธิในการนาดอกผลนิตนิ ยั ที่งอกจากทรัพย์จานามาจัดสรรใช้เป็ นค่า
ดอกเบี้ยที่คา้ งชาระ ถ้าไม่มีดอกเบี้ยค้างชาระให้จดั สรรใช้หนีเ้ งินต้น
2. ผูร้ บั จานามีหน้าที่ตอ้ งรักษาและสงวนทรัพย์สินจานาไว้ เช่นวิญญูชนจะพึงสงวน
ทรัพย์สินสุดของตนและต้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายของทรัพย์ที่จานาแม้จะเป็ น
เพราะเหตุสดุ วิสยั เว้นแต่จะพิสจู น์ได้ว่าถึงอย่างไร ก็คงต้องสูญหายหรือบุบสลายอยู่นนั ่ เอง
3. ผูจ้ านามีสิทธิไถ่ถอนทรัพย์จานาได้เสมอตราบที่ยงั ไม่มีการบังคับจานา และมีหน้าที่
ชดใช้ค่าใช้ จ่ายอันควรแก่การบารุงรักษาทรัพย์สินที่จานาซึ่งผูร้ บั จานาได้จ่ายไป
4. อายุความฟ้องร้องเรียกค่าสินไหมทดแทน เพื่อความบุบสลายซึ่งผูร้ บั จานาก่อให้เกิด
แก่ทรัพย์สินจานา ฟ้องเรียกค่าชดใช้ค่าใช้จ่ายเพื่อการบารุงรักษาทรัพย์หรือฟ้องเรียกค่า
สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายที่ผรู้ บั จานาได้รบั เพราะความชารุดบกพร่องในทรัพย์สิน
จานาซึ่งไม่เห็นประจักษ์ ให้ฟ้องภายใน 6 เดือน นับแต่วนั ส่งคืน หรือขายทอดตลาดทรัพย์สิน
จานา
6.2.1 สิทธิและหน้าที่ของผูร้ บั จานา
สายกูเ้ ย็นเย็น 10,000 บาท โดยนาแหวนเพชรราคา 8,000 บาท และสร้อยคอราคา
6,000 บาท มาจานา ต่อมาสายนาเงิน 5,000 บาท มาชาระหนีเ้ ย็น แลขอสร้อยคอคืนจาก
เย็น เย็นไม่ให้ ถามว่าเย็นมีสิทธิอย่างไร
เย็นมีสิทธิยึดทรัพย์ที่จานาไว้ได้ทงั้ หมดจนกว่าจะได้รบั ชาระหนีค้ รบตามมาตรา 758
ผอมนารถยนต์มาจานาอ้วนเป็ นประกันหนี้ โดยเก็บไว้ในโรงรถบ้านอ้วน ต่อมาอ้วนทา
การซ่อมโรงรถใหม่จึงนารถไปฝากไว้ในโรงรถของกลางเพื่อนบ้าน เผอิญเกิดไฟไหม้บา้ น
ละแวกนัน้ รวมทัง้ บ้านอ้วนและกลางด้วย ดังนี้ อ้วนต้องรับผิดหรือไม่เพียงใด
โดยหลักผูจ้ านาไม่ยินยอม ผูร้ บั จานาคือ อ้วนจะเอารถยนต์ให้บคุ คลภายนอกใช้สอย
หรือเก็บรักษาไม่ได้ การที่อว้ นเอารถไปฝากกลาง หากเกิดความเสียหาย มาตรา 760 อ้วน
ต้องรับผิดชอบ แต่ในกรณีตามข้อเท็จจริง อ้วนสามารถพิสจู น์ได้ว่าถึงอย่างไรก็เสียหายอยู่
ดี กล่าวคือ แม้รถจะจอดที่บา้ นอ้วนก็ตอ้ งถูกไฟไหม้เช่นกัน อ้วนจึงไม่ตอ้ งรับผิด
มาตรา 758 ผูร้ บั จานาชอบที่จะยึดของจานาไว้ได้ทงั้ หมดจนกว่า จะได้รบั ชาระหนีแ้ ละค่าอุปกรณ์
ครบถ้วน
มาตรา 760 ถ้าผูร้ บั จานาเอาทรัพย์สินซึ่งจานาออกใช้เอง หรือ เอาไปให้บคุ คลภายนอกใช้สอย
หรือเก็บรักษาโดยผูจ้ านามิได้ยินยอม ด้วยไซร้ ท่านว่าผูร้ บั จานาจะต้องรับผิดเพื่อทรัพย์สินจานานัน้ สูญ
หาย หรือบุบสลายไปอย่างใด ๆ แม้ทงั้ เป็ นเพราะเหตุสดุ วิสยั เว้นแต่จะ พิสจู น์ได้ว่าถึงอย่างไร ๆ ก็คง
จะต้องสูญหาย หรือบุบสลายอยู่นนั ่ เอง
36

6.2.2 สิทธิและหน้าที่ของผูจ้ านา


ผูจ้ านามีสิทธิและหน้าที่อย่างไร
ผูร้ บั จานามีสิทธิ์คือ
1) ให้ผรู้ บั จานาสงวนและรักษาทรัพย์ที่จานา ตามมาตรา 759
2) ได้รบั ค่าสินไหมทดแทนกรณีทรัพย์ที่จานาสูญหาย หรือบุบสลาย ตามมาตรา
760
3) สิทธิไถ่ถอนทรัพย์ที่จานา
ผูจ้ านามีหน้าที่คือ ชดใช้ค่าใช้จ่ายอันควรแก่การบารุงรักษาทรัพย์สินที่จานา ตาม
มาตรา 762
มาตรา 759 ผูร้ บั จานาจาต้องรักษาทรัพย์สินจานาไว้ให้ปลอดภัย และต้องสงวนทรัพย์สินจานา
นัน้ เช่นอย่างวิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สิน ของตนเอง
มาตรา 762 ค่าใช้จ่ายใด ๆ อันควรแก่การบารุงรักษาทรัพย์สิน จานานัน้ ผูจ้ านาจาต้องชดใช้
ให้แก่ผรู้ บั จานา เว้นแต่จะได้กาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่นในสัญญา
6.2.3 อายุความเรียกค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จ่าย
ดากูเ้ งินแดง 10,000 บาท โดยนารถยนต์มาจานาเป็ นประกันการขาระหนีก้ บั แดง
และตกลงยินยอมให้แดงใช้รถยนต์ดงั กล่าวได้ เมื่อแดงนารถยนต์ออกใช้ปรากฏว่ารถเบรก
ไม่ดี ทาให้ชนรถคันอื่นเสียหาย แดงต้องเสียเงินค่าสินไหมทดแทนไป 2,000 บาท เมื่อถึง
กาหนดชาระหนีด้ านาเงินมาชาระ 10,000 บาท ด้วยความพลัง้ เผลอ แดงส่งมอบรถคืนดา
ไปโดยไม่ได้เรียกให้ดาชาระอีก 2,000 บาท เช่นนีถ้ า้ ดาไม่ยอมชาระ 2,000 บาท แดง
สามารถเรียกร้องได้อย่างไรหรือไม่
กฎหมายกาหนดให้ ผูร้ บั จานาต้องรับผิดเพื่อความเสียหายที่เกิดแก่ทรัพย์ที่จานา
เพราะความชารุดบกพร่องในทรัพย์สินจานาซึ่งไม่เห็นประจักษ์ และกาหนดอายุความฟ้อง
เรียกค่าสินไหมทดแทน 6 เดือน นับแต่วนั ส่งคืนสินค้าหรือขายทอดตลาดทรัพย์สินจานา
ดังนัน้ แดงฟ้องเรียกค่าเสียหายที่จ่ายไป 2,000 บาท จากดาได้ ภายใน 6 เดือน นับแต่วนั
ส่งมอบรถยนต์คืน
แบบประเมินผลหน่วยที่ 6
1. ตัวอย่างของการจานาได้แก่กรณี ม่วงกูเ้ งินจากส้ม โดยเอาแหวนเพชรมาประกันการชาระหนี้
2. ดาทาสัญญากูเ้ งินแดง 50,000 บาท และนาม้ามาจานาเป็ นประกันชาระหนี้ 1 เดือน ต่อมาดา
นาเงินมาชาระหนี้ ซึ่งแดงต้องเสียค่าเลี้ยงดูมา้ ตลอด 1 เดือน เป็ นเงิน 2,000 บาท แดงสามารถเรียก
เลี้ยงม้าจากดาได้ เพราะกฎหมายกาหนดให้ผจู้ านาเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย
3. จากปั ญหาข้างต้น ระหว่างที่มา้ อยู่กบั แดง ม้าเกิดตกลูกออกมา 2 ตัว ลูกม้าจะต้องตกเป็ นของ
เจ้าของม้าคือดา
4. สิทธิซึ่งมีตราสารหมายถึง ตราสารซึ่งใช้แทนสิทธิ
37

5. ส้มกูเ้ งินองุน่ 20,000 บาท โดยนาแหวนเพชรราคา 15,000 บาท และทีวีสีราคา 9,000 บาท
มาประกันชาระหนี้ ต่อมาส้มได้นาเงินเพียง 15,000 บาท มาชาระ และขอให้องุน่ คืนทีวีสีให้ตน องุ่นไม่
ต้องคืน เพราะผูร้ บั จานามีสิทธิยึดทรัพย์ที่จานาไว้ทงั้ หมด จนกว่าจะได้รบั ชาระหนีค้ รบจานวน
6. คดีฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทน เพื่อความบุบสลายอันผูร้ บั จานาก่อให้เกิดแก่ทรัพย์สินจานานัน้
กฎหมายกาหนดให้ฟ้องภายใน ระยะเวลา 6 เดือน นับแต่วันส่งคืน
7. แดงได้เช็คผูถ้ ือมาเป็ นเช็คลงวันที่ลว่ งหน้า เมื่อยังไม่ถึงกาหนดขึน้ เงิน จึงเอาเช็คไปจานาขาว
กฎหมายกาหนดวิธีจานาเช็คโดย การส่งมอบเช็ค และสลักหลังเช็คให้ปรากฏการจานา
8. สัญญาจานาที่มีการตกลงกันก่อนเวลาหนีถ้ ึงกาหนดชาระ เป็ นข้อความว่าถ้าไม่ชาระหนี้ให้
ทรัพย์จานาเป็ นของผูร้ บั จานา ข้อตกลงเช่นนีไ้ ม่สมบูรณ์
9. การจานาย่อมเป็ นประกันเพื่อการชาระหนีก้ บั ทัง้ ค่าอุปกรณ์ ค่าอุปกรณ์ได้แก่ ค่าฤชาธรรม
เนียมในการบังคับจานา
10. จานาเป็ นการประกันการชาระหนีด้ ว้ ย สังหาริมทรัพย์
11. แสดกูเ้ งินชมพู โดยเอาตึกแถวทาเป็ นประกันการชาระหนี้ ไม่ใช่เป็ นการจานา
12. คดีฟ้องเรียกค่าใช้จ่ายเพื่อการบารุงรักษาทรัพย์สินจานา ให้ฟ้องภายในอายุความ 6 เดือน นับ
แต่วันขายทอดตลาดทรัพย์สินจานา
13. ดากูเ้ งินแดง โดยนารถยนต์มาประกันการชาระหนีแ้ ละคูส่ ญ ั ญาตกลงกันให้แดงนารถยนต์ไปให้
บุคคลภาย นอกเช่าได้ แดงให้เช่าได้เงินมา 2,000 บาท เงินค่าเช่านี้ ให้แดงนาค่าเช่านีไ้ ปจัดสรรใช้
ดอกเบี้ยที่คา้ งชาระก่อน
14. จากข้อมูลข้างต้น แดงเห็นว่ารถยนต์คนั ดังกล่าวเก่ามากและผุ จึงนาไปให้ชา่ งทาสีรถใหม่ สิ้น
เงินไป 15,000 บาท ดังนัน้ แดงจะมาขอเรียกเก็บเงินค่าทาสีจากดาตามสัญญาจานา ไม่ได้ เพราะไม่ใช่
ค่าใช้จ่ายอันควรแก่การบารุงรักษาซึ่งผูจ้ านาจะต้องจ่าย
15. การจานาใบหุน้ ชนิดระบุชื่อต้องปฏิบตั โิ ดย การจดทะเบียนการจานาไว้ในสมุดของบริษทั เพื่อยัน
บริษทั หรือบุคคลภายนอก
16. สัญญากู้ ไม่ใช่ตราสารที่จานากันได้
17. เมื่อหนีท้ ี่เอาทรัพย์ไปจานาประกันไว้ถึงกาหนดชาระแล้ว คูส่ ญ ั ญาจึงตกลงกันยอมให้ทรัพย์นนั้
ตกเป็ นของผูร้ บั จานา ข้อตกลงนีม้ ีผล ใช้ได้
18. การจานาย่อมเป็ นประกันเพื่อการชาระหนี้กบั ทัง้ ค่าอุปกรณ์ ส่วนเรื่องค่าสินไหมทดแทนเพื่อ
ความเสียหายอันเกิดจากการให้บคุ คลภายนอกใช้ทรัพย์สินจานา ไม่ถือว่าเป็ นค่าอุปกรณ์

หน่วยที่ 7 การบังคับจานาและสัญญาบัญชีเดินสะพัด
1. การบังคับจานาทาได้วิธีเดียวคือ ขายทอดตลาดทรัพย์จานาเท่านัน้ จะเอาทรัพย์จานา
หลุดเป็ นสิทธิไม่ได้ ยกเว้นการจานาที่ทากับโรงจานา กฎหมายจึงบังคับให้จานาโดยเอา
ทรัพย์หลุดเป็ นสิทธิได้
2. จานาย่อมระงับสิ้นไปเมือ่ หนีป้ ระธานระงับสิ้นไปไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ และถ้าผูร้ บั จานา
ยินยอมให้ทรัพย์จานากลับไปอยู่ในความครอบครองของผูจ้ านาแล้ว จานาระงับสิ้นไป
เหมือนกัน
38

3. สัญญาบัญชีเดินสะพัด เป็ นสัญญาที่บคุ คลสองคนตกลงให้หักทอนบัญชีหนีส้ ิน


ระหว่างเขาทัง้ สองเป็ นระยะไป และเป็ นสัญญาที่สมบูรณ์บงั คับกันได้โดยอาศัยลาพังการตก
ลง
7.1 การบังคับจานา
1. การบังคับจานาทาได้ดว้ ยการเอาทรัพย์จานาออกขายทอดตลาด โดยไม่ฟ้องคดีตอ่
ศาล แต่ตอ้ งบอกกล่าวเป็ นหนังสือให้ให้ผจู้ านาชาระหนีภ้ ายในเวลาอันสมควรก่อน และต้อง
บอกให้รถู้ ึงวันเวลาสถานที่ที่ขายทอดตลาดด้วย
2. เมื่อบังคับจานาแล้ว เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดต้องเอามาจัดสรรชาระหนีแ้ ละ
อุปกรณ์แห่งหนี้ หากมีเงินเหลือแก่ผจู้ านา แต่ถา้ ขายทอดตลาดไม่พอชาระหนี้ ตัวลูกหนี้ตอ้ ง
รับผิดชดใช้เงินที่ขาดอยู่
3. จานาย่อมระงับสิ้นไปเมือ่ หนีป้ ระธานระงับ หรือเมื่อผูร้ บั จานายอมให้ทรัพย์จานา
กลับไปอยู่ในความครอบครองของผูจ้ านา หรือเมื่อบังคับจานา
7.1.1 วิธีบงั คับจานา
เข้มกูเ้ งินข้น 10,000 บาท กาหนดชาระคืนภายใน 2 เดือน โดยไม่ได้ทาสัญญากูก้ นั
แต่เข้มจานาเข็มขัดทองคาหนัก 10 บาท เป็ นประกันหนีใ้ ห้ขน้ ครัน้ หนีค้ รบกาหนดเข้มผิดนัด
ข้นมาขอคาแนะนาว่า ถ้าจะเรียกร้องให้เข้มชาระหนีจ้ ะต้องทาอย่างไร
เนือ่ งจากหนีเ้ งินกูร้ ายนีไ้ ม่ได้ทาสัญญากูไ้ ว้ จึงฟ้องบังคับอย่างหนีส้ ามัญไม่ได้ แนะนา
ให้ขน้ ใช้สิทธิบงั คับจานาเพื่อเอาเงินชาระหนี้ โดยให้ขน้ มีหนังสือเตือนเข้มก่อนตามมาตรา
764 ถ้าเข้มยังไม่เอาเงินมาชาระตามที่เตือนก็มีหนังสือบอกเข้มว่าจะเอาเข็มขัดทองคาออก
ขายทอดตลาดโดยแจ้งสถานที่และเวลาขายทอดตลาดไปด้วย แล้วเอาเข็มขัดออกขาย
ทอดตลาดต่อไป
การบังคับจานากรณีใดที่ไม่ตอ้ งขายทอดตลาด
มีได้ 2 กรณีคือ
1) กรณีจานาตัว๋ เงิน ถ้าตัว๋ เงินถึงกาหนดใช้เงินก่อนหนีท้ ี่ประกันหรือถึงกาหนดใช้
เงินในเวลาเดียวกันกับหรือกระชัน้ ชิดกับหนีท้ ี่ประกัน ผูร้ บั จานาก็เอาตัว๋ เงินนัน้ ไปเรียกเก็บ
เงินได้เลย
2) กรณีจานากับโรงรับจานา กฎหมายให้ผรู้ บั จานาบังคับจานาโดยเอาทรัพย์จานา
หลุดเป็ นสิทธิ
มาตรา 864 เมื่อคูส่ ญ ั ญาประกันภัยยกเอาภัยใดโดยเฉพาะขึน้ เป็ นข้อพิจารณาในการวาง
กาหนดจานวนเบี้ยประกันภัย และภัยเช่นนัน้ สิ้นไปหามีไม่แล้วท่านว่าภายหน้าแต่นนั้ ไปผูเ้ อาประกันภัย
ชอบที่จะได้ลดเบี้ยประกันภัยตามส่วน

7.1.2 ผลของการบังคับจานา
39

แสงกูเ้ งินสี 20,000 บาท ไม่ได้ทาสัญญากูก้ นั โดยเสียงจานาเปี ยโนเป็ นประกันหนี้


เมื่อหนีค้ รบกาหนดชาระคืน แสงไม่มีเงินมาชาระสีจึงบังคับจานาขายทอดตลาดเปี ยโนได้เงิน
16,000 บาท หนีย้ งั อยู่อีก 4,000 บาท สีจะฟ้องให้แสงหรือเสียงชาระเงินที่ขาดอยู่ได้
หรือไม่
ฟ้องไม่ได้ เพราะการกูเ้ งินนีไ้ ม่มีหลักฐานเป็ นหนังสือ จึงเรียกร้องให้สีลกู หนีช้ ดใช้
เงินที่ขาดไม่ได้ สาหรับเสียงซึ่งเป็ นผูจ้ านาก็มิได้ตกลงว่า ยอมชดใช้เงินที่ขาด ฉะนัน้ เสียงจึง
ไม่ตอ้ งรับผิดในเงินที่ขาดอยู่
7.1.3 ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจานา
พาลีกเู้ งินสุครีพ 5,000 บาท เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2524 ไม่มีกาหนดชาระคืน โดย
ในสัญญากูท้ ี่ทานัน้ มีขอ้ ความระบุว่าหนุมาณจานากระบี่เป็ นประกัน และมีขอ้ ตกลงพิเศษด้วย
ว่า ถ้าขายทรัพย์ที่จานาได้เงินสุทธิตา่ กว่าจานวนหนีท้ ี่คา้ งแล้วหนุมาณยอมชดใช้เงินที่ขาดให้
จนครบ ต่อมาสุครีพคืนกระบี่แก่หนุมาณไปเพื่อใช้ป้องกันตัวนับแต่กเู้ งินกันแล้ว พาลีไม่เคย
ชาระเงินต้นคืนเลย จนถึงเดือนสิงหาคม 2536 สุครีพจึงทวงเงิน พาลีปฏิเสธสุครีพจะ
บังคับชาระหนีเ้ อาจากใครได้บา้ ง
ไม่สามารถบังคับชาระหนีจ้ ากใครได้ กล่าวคือ จะบังคับจานาเอากับหนุมาณก็ไม่ได้
เพราะคืนกระบี่ให้ไปแล้ว จานาจึงระงับสิ้นไป และจะฟ้องพาลีก็ไม่ได้อีก เพราะหนีเ้ งินกู้
ล่วงเลยมากว่า 10 ปี ขาดอายุความฟ้องร้อง
7.2 สัญญาบัญชีเดินสะพัด
1. สัญญาบัญชีเดินสะพัดเป็ นสัญญาระหว่างบุคคลสองคนให้หักทอนบัญชีหนีส้ ิน
ระหว่างกันเป็ นระยะ ตามที่ตกลงกัน
2. หนีท้ ี่เกิดจากหักทอนสัญญาบัญชีเดินสะพัด หากผูเ้ ป็ นลูกหนี้ไม่ชาระจะต้องเสีย
ดอกเบี้ยนัน้ แม้ค่สู ญ
ั ญาจะมิได้ตกลงให้ตอ้ งเสียดอกเบี้ยก็ตาม
3. สัญญาบัญชีเดินสะพัดระงับไปด้วยเหตุตา่ งๆ คือ เมื่อครบกาหนดอายุสญ ั ญาเมื่อมี
การบอกเลิกสัญญา หรือเมื่อคู่สญ ั ญาฝ่ ายใดตาย
7.2.1 ความหมายของสัญญาบัญชีเดินสะพัด
บัญชีเดินสะพัดมีลกั ษณะอย่างไร อธิบาย
บัญชีเดินสะพัดมีลกั ษณะ คือ
1) เป็ นสัญญาระหว่างบุคคลสองคน และสมบูรณ์โดยอาศัยเพียงการตกลง
2) เป็ นสัญญาที่ตอ้ งมีการตกลงให้หักทอนบัญชีหนีร้ ะหว่างกัน
3) เป็ นสัญญาที่มีกาหนดอายุหรือไม่ก็ได้
7.2.2 การหักทอนบัญชีเดินสะพัด
แดงกับดามีบญั ชีเดินสะพัดต่อกันมีกาหนด 3 ปี ตกลงหักทอนบัญชีกนั ทุกๆ 3 เดือน
เมื่อหักทอนบัญชีกนั ครัง้ ที่ 5 แล้ว ปรากฏว่าแดงเป็ นลูกหนีด้ าอยู่ 5,000 บาท ดาเรียกให้
40

แดงชาระเงินสด 5,000 บาท แดงไม่ยอมชาระ ขอให้ลงบัญชีไว้แล้วไปหักทอนกันในงวดหน้า


ดังนี้ ดาจะฟ้องให้แดงชาระเงิน 5,000 บาท นีไ้ ด้หรือไม่
ดามีสิทธิที่จะฟ้องแดงให้ชาระเงิน 5,000 บาท ให้แก่ตนได้เพราะเงิน 5,000 บาท นี้
เป็ นเงินที่เหลือจากการหักทอนบัญชีกนั แล้ว ซึ่งฝ่ ายที่เป็ นลูกหนีต้ อ้ งชาระหนีใ้ ห้แก่ฝ่ายที่เป็ น
เจ้าหนี้ ฉะนัน้ แดงจึงต้องชาระให้ดา ถ้าหากแดงไม่ชาระ ดาก็มีสิทธิฟ้องเรียกให้ชาระได้ ตาม
มาตรา 865 ตอนท้ายทีว่ ่า “คงชาระส่วนที่เป็ นจานวนคงเหลือโดยดุลยภาค”
และยิง่ กว่านั้น ถ้าหากแดงไม่ชาระเงิน 5,000 บาท แดงต้องเสียดอกเบี้ยในจานวนเงิน
5,000 บาทนีด้ ว้ ยและแดงจะเกี่ยงว่า ขอให้นาเงิน 5,000 บาท จดลงบัญชีไว้แล้วไปหักทอน
กันในงวดหน้าต่อไปนัน้ ไม่ได้เช่นกัน
มาตรา 865 ถ้าในเวลาทาสัญญาประกันภัย ผูเ้ อาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคล
อันการใช้เงินย่อมอาศัยความทรงชีพ หรือมรณะของเขานัน้ ก็ดี รูอ้ ยู่แล้วละเว้นเสียไม่เปิ ดเผยข้อความ
จริง ซึ่งอาจจะได้จงู ใจผูร้ บั ประกันภัยให้เรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึน้ อีก หรือ ให้บอกปั ดไม่ยอมทาสัญญา
หรือว่ารูอ้ ยู่แล้วแถลงข้อความนัน้ เป็ น ความเท็จไซร้ท่านว่าสัญญานัน้ เป็ นโมฆียะ
ถ้ามิได้ใช้สิทธิบอกล้างภายในกาหนดเดือนหนึง่ นับแต่วันที่ผรู้ บั ประกันภัยทราบมูลอันจะบอก
ล้างได้ก็ดีหรือมิได้ใช้สิทธินนั้ ภายในกาหนดห้าปี นับแต่วันทาสัญญาก็ดี ท่านว่าสิทธินนั้ เป็ นอันระงับสิ้นไป
แดง ดา พ่อค้า ต่างส่งของขายให้แก่กนั โดยมีขอ้ ตกลงให้จดบัญชีราคาของที่ได้สง่
ขายกันไว้เพื่อหักทอนกันทุกสามเดือน ครัน้ ครบกาหนดสามเดือนในวันที่ 30 กันยายน
ปรากฏว่ายอดเงินตามบัญชีว่าแดงเป็ นเจ้าหนีด้ าอยู่ 3,000 บาท แต่แดงเพิ่งคิดบัญชีเสร็จ
และบอกไปยังดาให้ชาระหนีจ้ านวนนีก้ ็ตอ่ เมื่อเวลาได้ผา่ นพ้นไปจนถึงวันที่ 15 ตุลาคม ดาจึง
ได้รบั แจ้งยอดเงินจานวนนีจ้ ากแดง ต่อมาวันที่ 31 ตุลาคม ดาจึงส่งเงินจานวนนีไ้ ปชาระหนี้
แก่แดง ดังนี้ ดาจะต้องเสียดอกเบี้ยในเงิน 3,000 บาท นัน้ หรือไม่ ถ้าเสียต้องเสียเท่าไร
ข้อตกลงระหว่างแดงกับดาพ่อค้ามีว่า ให้จดบัญชีราคาของที่ได้สง่ ขายให้แก่กนั ไว้เพื่อ
นาไปหักทอนกันทุก 3 เดือน ข้อตกลงดังกล่าวนีเ้ ป็ นข้อตกลงให้มีสญ ั ญาบัญชีเดินสะพัดต่อ
กัน ซึ่งก่อให้เกิดผลตามกฎหมายต่อไปว่าคู่สญ ั ญาจะต้องทาการหักทอนบัญชีกนั ทุก 3
เดือน (มาตรา 856 และ 858) และภายหลังจากการหักทอนบัญชีแล้วหากปรากฏว่าฝ่ ายใด
เป็ นลูกหนี้ ฝ่ ายที่เป็ นลูกหนีจ้ ะต้องชาระหนีใ้ นส่วนที่เป็ นจานวนคงเหลือให้แก่เจ้าหนีใ้ นการหัก
ทอนไป นอกจากนี้ มาตรา 860 ยังได้บญ ั ญัตติ อ่ ไปอีกด้วยว่าเงินที่ยงั ผิดกันอยู่นนั้ ถ้ายัง
มิได้ชาระให้คิดดอกเบี้ยนับแต่วนั หักทอนบัญชีเสร็จตามความในมาตรา 860 หมายความถึง
วันที่กาหนดไว้เพื่อการหักทอน มิได้หมายถึงวันที่คิดบัญชีเสร็จกันตามความเป็ นจริง
ข้อเท็จจริงฟั งเป็ นที่ยตุ วิ า่ ภายหลังจากครบกาหนดการหักทอนกันในวันที่ 30
กันยายน แล้ว ปรากฏยอดเงินตามบัญชีว่าแดงเป็ นเจ้าหนีด้ า 3,000 บาท ดังนีด้ าจึงต้อง
เสียดอกเบี้ยในวงเงิน 3,000 บาท ให้แก่แดงตัง้ แต่วนั ที่ 30 กันยายน โดยเริ่มคิดคานวณ
ดอกเบี้ยตัง้ แต่วนั ถัดไป คือ 1 ตุลาคม ถึงแม้ว่าการหักทอนบัญชีจะกระทากันเสร็จจริงและรู้
ยอดเงินเหลื่อมลา้ กันอยู่ในวันที่ 15 ตุลาคมก็ตาม
อนึง่ เนือ่ งจากมาตรา 860 ไม่ได้กาหนดอัตราดอกเบี้ยที่จะต้องเสียให้แก่กนั ไว้และ
คู่กรณีไม่ได้ทาความตกลงกันไว้ จะต้องเสียดอกเบี้ยให้แก่กนั ในอัตราอย่างไร จึงต้องคิด
ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี ตามมาตรา 7
41

มาตรา 856 อันว่าสัญญาบัญชีเดินสะพัดนัน้ คือสัญญาซึ่งบุคคล สองคนตกลงกันว่าสืบแต่นนั้


ไป หรือในชัว่ เวลากาหนดอันใดอันหนึง่ ให้ตดั ทอนบัญชีหนีท้ งั้ หมดหรือแต่บางส่วนอันเกิดขึน้ แต่กิจการ
ใน ระหว่างเขาทัง้ สองนัน้ หักกลบลบกัน และคงชาระแต่สว่ นที่เป็ น จานวนคงเหลือโดยดุลภาค
มาตรา 858 ถ้าคูส่ ญ ั ญามิได้กาหนดกันไว้ว่าให้หักทอนบัญชีโดย ระยะเวลาอย่างไรไซร้ ท่านให้
ถือเอาเป็ นกาหนดหกเดือน
7.2.3 ความระงับสิ้นไปแห่งบัญชีเดินสะพัด
แดงกับดา มีสญ ั ญาบัญชีเดินสะพัดต่อกันโดยกาหนดเวลาหักทอนบัญชีกนั ทุกเดือน
มิถนุ ายนและธันวาคม ดังนี้ แดงจะบอกเลิกสัญญานี้ ในกลางเดือนเมษายน แล้วเรียกให้
ชาระหนีก้ นั เสียให้เสร็จสิ้นโดยดา ไม่ยินยอมด้วยได้หรือไม่
สัญญาบัญชีเดินสะพัดระหว่างแดงกับดา เป็ นสัญญาบัญชีเดินสะพัดที่ไม่มีกาหนด
ระยะเวลาสิ้นสุดลงเมื่อใด เพราะตามปั ญหาไม่ปรากฏว่าคู่สญ ั ญาได้กาหนดอายุความของ
สัญญาบัญชีเดินสะพัดไว้ เป็ นเพียงแต่ได้กาหนดระยะเวลาหักทอนบัญชีไว้เท่านัน้ คือ ทุก
เดือนมิถนุ ายนและธันวาคม ฉะนัน้ เมื่อเป็ นสัญญาบัญชีเดินสะพัดที่ไม่มีกาหนดเวลาจึงต้อง
ปรับเข้ากับมาตรา 859 ที่บญ ั ญัตวิ ่า “คู่สญ
ั ญาฝ่ ายใดจะบอกเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัด
และให้หักทอนบัญชีกนั เสียในเวลาใดๆก็ได้ ถ้าไม่มีอะไรปรากฏเป็ นข้อขัดกับที่กล่าวมานี้” ซึ่ง
การบอกเลิกสัญญาตามมาตรา 859 นี้ แดงมีสิทธิที่จะแสดงเจตนาฝ่ ายเดียวบอกเลิกได้
แม้ว่าดาจะไม่ยินยอมก็ตามและการบอกเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดที่ไม่มีกาหนดระยะเวลานี้
แดงไม่จาเป็ นที่จะต้องบอกเลิกให้ตรงกับวันที่หักทอนบัญชีเลย ฉะนัน้ การที่แดงบอกเลิก
สัญญาในวันกลางเดือนเมษายน จึงใช้ได้ไม่จาตองรอให้ถึงเดือนมิถนุ ายนหรือเดือนธันวาคม
ซึ่งเป็ นกาหนดเวลาหักทอนบัญชีและเมื่อแดงบอกเลิกสัญญาแล้ว ก็จะมีการหักทอนบัญชีกนั
ในระหว่างแดงกับดานัน้ ถ้าใครเป็ นเจ้าหนีล้ กู หนีก้ นั เท่าใด ฝ่ ายที่เป็ นเจ้าหนีม้ ีสิทธิเรียกให้
ชาระหนีไ้ ด้
มาตรา 859 คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายใดจะบอกเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดและ ให้หกั ทอนบัญชีกนั เสียใน
เวลาใด ๆ ก็ได้ ถ้าไม่มีอะไรปรากฏเป็ น ข้อขัดกับที่กล่าวมานี้
มาตรา 860 เงินส่วนที่ผิดกันอยู่นนั้ ถ้ายังมิได้ชาระ ท่านให้คิด ดอกเบี้ยนับแต่วันที่หกั ทอนบัญชี
เสร็จเป็ นต้นไป
ธนาคารได้ทาสัญญาให้กบั ก. กูเ้ งินในวงเงิน 50,000 บาท โดยวิธีบญ ั ชีเดินสะพัดซึ่ง
กาหนดว่า ก. จะต้องผ่อนชาระหนีใ้ ห้ลดน้อยลงไปเรื่อยๆ และจะต้องชาระหนีใ้ ห้หมดสิ้น
ภายในวันที่ 2 มกราคม 2536 ดังนี้ ธนาคารจะเลิกสัญญานีก้ อ่ นวันที่ 1 มกราคม 2536
โดย ก. ไม่ยินยอมด้วยจะได้หรือไม่
มาตรา 859 บัญญัตวิ างหลักไว้ว่า คู่สญ ั ญาฝ่ ายใดจะบอกเลิกสัญญาบัญชี
เดินสะพัดและให้หกั ทอนบัญชีหนีก้ นั เสียในเวลาใดก็ได้ ถ้าไม่มีอะไรปรากฏเป็ นข้อขัดกับที่
กล่าวมานี้
จากบทบัญญัตดิ งั กล่าวแสดงให้เห็นว่า คู่สญั ญาในสัญญาบัญชีเดินสะพัดมีสิทธิบอก
เลิกสัญญาได้เสมอถ้าไม่มีอะไรแสดงไว้ ให้เห็นว่าการบอกเลิกสัญญาจะเป็ นการขัดต่อเจตนา
ของคู่สญ
ั ญา กรณีตามปั ญหา ก. ทาสัญญาบัญชีเดินสะพัดกับธนาคารโดยมีขอ้ ตกลงอีก
42

ด้วยว่า ก. จะต้องผ่อนชาระหนีใ้ ห้ลดน้อยลงไปเรื่อยๆ และต้องชาระให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 1


มกราคม 2536 ข้อที่จะต้องพิจารณาคือ ข้อตกลงดังกล่าวมีลกั ษณะอย่างใดอย่างหนึง่ ที่
แสดงให้เห็นว่าคู่สญ
ั ญาจะต้องผูกพันจนกว่าจะสิ้นระยะเวลาใดเวลาหนึง่ หรือไม่
ในเบื้องต้นเห็นว่าสัญญาระหว่างธนาคารกับ ก. เป็ นสัญญาที่ไม่มีกาหนดเวลา ดังนัน้
ธนาคารจึงชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเมื่อใดก็ได้ เพราะไม่มีอะไรเป็ นข้อขัดตามมาตรา 859
ส่วนข้อตกลงว่าจะต้องชาระหนีใ้ ห้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 1 มกราคม 2536 นัน้ เป็ นเพียง
ข้อกาหนดยอมลดละให้ลกู หนีผ้ อ่ นชาระหนีอ้ นั เกิดจากการหักทอนบัญชีเท่านัน้
ส่วนการหักทอนบัญชีหนีจ้ ะมีขนึ้ เมื่อใดนัน้ เป็ นอีกเรื่องหนึง่ อย่างกรณีตามปั ญหานี้
ถ้าธนาคารใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาตามมาตรา 859 การหักทอนบัญชีหนีก้ ็จะเป็ นผลที่
ตามมา ดังนัน้ ธนาคารจึงชอบที่จะบอกเลิกสัญญาได้เลยทันที และถ้าปรากฏว่าภายหลังจาก
การหักบัญชีแล้ว ก. เป็ นลูกหนีเ้ ท่าใด ก. มีสิทธิที่จะผ่อนชาระหนีไ้ ด้และจะต้องชาระให้เสร็จ
ภายในวันที่ 1 มกราคม 2536 ตามข้อตกลงในสัญญา
แบบประเมินผลหน่วยที่ 7
1. การบังคับจานาโดยทัว่ ไปทาได้โดย ขายทอดตลาดทรัพย์จานา
2. การบังคับจานากฎหมายบังคับว่าต้องมีจดหมายบอกกล่าวลูกหนีก้ อ่ น จดหมายบอกกล่าวต้อง
มีสาระคือ บอกให้ชาระหนี้ภายในระยะเวลาอันสมควร
3. การบังคับจานาได้โดยไม่ตอ้ งบอกกล่าวก่อนในกรณี เมื่อไม่สามารถบอกกล่าวได้และหนีค้ า้ ง
ชาระเกิน 1 เดือน
4. ในกรณีจานาตัว๋ เงิน และตัว๋ เงินถึงกาหนดชาระก่อนหนีป้ ระกัน ผูร้ บั จานาต้องปฏิบตั คิ ือ เรียก
เก็บเงินตามตัว๋ เงินนัน้ ทันที
5. ข้อตกลงที่ผจู้ านาตกลงให้ผรู้ บั จานาเอาทรัพย์จานาหลุดเป็ นสิทธิ ก่อนหนีถ้ ึงกาหนดชาระ
ข้อตกลงในสัญญาจานานีไ้ ม่มีผลบังคับ หรือใช้บงั คับไม่ได้
6. บัญชีเดินสะพัดหมายถึง ข้อตกลงหักทอนบัญชีหนีส้ ินระหว่างกัน
7. คูส่ ญ
ั ญาในบัญชีเดินสะพัดมีได้ เพียง 2 คน
8. ถ้าคูส่ ญั ญาไม่ได้ตกลงกันกาหนดระยะเวลาหักทอนบัญชีเดินสะพัด กฎหมายบังคับให้หกั ทอนใน
ระยะเวลา ทุกหกเดือน
9. หนีท้ ี่เกิดจากการหักทอนบัญชีเดินสะพัด ถ้าคูส่ ญ ั ญามิได้ตกลงกันว่าต้องเสียดอกเบี้ย ผูเ้ ป็ น
ลูกหนีจ้ ะต้องเสียดอกเบี้ยในอัตรา ดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี
10. เหตุที่ทาให้บญั ชีเดินสะพัดระงับสิ้นไปคือ (1) ครบกาหนดอายุสญ ั ญาบัญชีเดินสะพัด (2)
คูส่ ญ
ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ตาย (3) คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ บอกเลิกในกรณีบัญชีเดินสะพัดไม่มีกาหนด
อายุสญ ั ญา (4) คูส่ ญั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ตกเป็ นคนล้มละลาย

หน่วยที่ 8 ลักษณะทัว่ ไปของสัญญาตัว๋ เงิน


1. ตัว๋ เงินเป็ นชือ่ ของเอกเทศสัญญาลักษณะหนึง่ ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บัญญัตขิ นึ้ เพื่อคุม้ ครองหนังสือตราสารที่เป็ นหลักฐานแห่งหนี้ ซึ่งบุคคลผูล้ งลายมือชือ่ ใน
43

ตราสารต้องรับผิดใช้เงิน และโอนกันได้ดว้ ยการส่งมอบที่ผรู้ บั โอนอาจมีสิทธิบริบรู ณ์ โดยไม่


ต้องคานึงถึงข้อบกพร่องของผูโ้ อน ตัว๋ เงินที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มง่ ุ คุม้ ครองมี
3 ประเภท ได้แก่ ตัว๋ แลกเงิน ตัว๋ สัญญาใช้เงิน และเช็ค
2. ตัว๋ เงินทัง้ สามประเภท คือตัว๋ แลกเงิน ตัว๋ สัญญาใช้เงิน และเช็ค มีบทบัญญัตทิ วั ่ ไปที่ใช้
บังคับร่วมกันคือ การเขียนข้อความอื่นลงในตัว๋ เงิน ความรับผิดของผูล้ งชือ่ ในตัว๋ เงิน การ
ผ่อนวันใช้เงิน ผูท้ รงตัว๋ เงิน ผูเ้ ป็ นคู่สญ
ั ญาในตัว๋ เงินและใบประจาต่อ
8.1 ความรเ้ ู บื้องต้นเกีย่ วกับตัว๋ เงิน
1. ประวัตขิ องตัว๋ เงินนัน้ เกิดจากการชาระหนีก้ ารค้าระหว่างผูอ้ ยู่ตา่ งถิ่นกัน ที่จะไม่ตอ้ ง
ส่งเงินตราไปเพียงแต่เขียนคาสัง่ ให้ลกู หนีข้ องตนจ่ายเงินแก่ผขู้ ายแทนตน ดังนีต้ วั ๋ เงินจึงเป็ น
ประโยชน์ในการชาระหนี้ การใช้สินเชือ่ ระยะสัน้ การโอนหนีแ้ ละขนส่งเงิน
2. ตัว๋ เงินตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มี 3 ประเภทคือ ตัว๋
แลกเงิน ตัว๋ สัญญาใช้เงิน และเช็ค
8.1.1 ประวัตแิ ละประโยชน์ของตัว๋ เงิน
ประโยชน์ของตัว๋ เงินที่สาคัญมีอย่างไรบ้าง
ประโยชน์ของตัว๋ เงินที่สาคัญมีอยู่ 3 ประการคือ
(1) เป็ นเครื่องมือในการชาระหนี้ เช่น เราเป็ นหนีใ้ ครคนหนึง่ แทนที่จะต้องเสียเวลานับ
เงินจานวนมาก เราอาจออกเช็คฉบับหนึง่ ระบุจานวนเงินที่ตอ้ งการสัง่ ธนาคารให้จ่ายเงิน
จานวนนัน้ แก่เจ้าหนีข้ องเรา ดังนีเ้ ป็ นต้น และในกรณีที่มีหนีส้ ินระหว่างบุคคลหลายคนที่
เกี่ยวข้องกัน เราอาจตกลงกันออกตัว๋ แลกเงินครัง้ เดียว ระงับหนีน้ นั้ ก็ได้เช่นเราเป็ นหนี้ ข.
5,000 บาท ขณะเดียวกัน ค.เป็ นหนีเ้ รา 5,000 บาท ด้วย เราอาจออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ค. ให้
ชาระเงิน 5,000 บาทแก่ ข. เพื่อระงับหนีท้ งั้ สองรายนีโ้ ดย ค. ไม่ตอ้ งใช้เงินแก่เรา และเราไม่
ต้องใช้เงินแก่ ข. ตามหนี้แต่ละราย
(2) เป็ นเครื่องมือในการให้สินเชือ่ ระยะสัน้ หรือเป็ นการผ่อนเวลาที่ลกู หนีจ้ ะต้องชาระ
หนีเ้ ป็ นเงินสดขณะเดียวกันเจ้าหนีอ้ าจนาตัว๋ เงินออกขายโดยเสียส่วนลดในระหว่างเวลาก่อน
ตัว๋ ถึงกาหนด เช่น ก. ขายสินค้าเชือ่ แก่ ข. ข. อาจออกเช็คลงวันที่ลว่ งหน้าชาระค่าสินค้าแก่
ก. เป็ นประโยชน์แก่ ข. ที่จะไม่ตอ้ งชาระเงินสดทันที ส่วน ก. ก็อาจนาเช็คไปขายลดได้เป็ นต้น
(3) เป็ นเครื่องมือในการโอนหนีแ้ ละการส่งเงิน หมายความว่าตัว๋ เงินเป็ นเอกสาร
เปลี่ยนมือที่เพียงแต่สงมอบตัว๋ แก่กนั ก็โอนกรรมสิทธิ์แห่งตัว๋ เงินและหนีใ้ นตัว๋ เงินไปยังผูร้ บั
โอน เช่น ข. ออกเช็คลงวันที่ลว่ งหน้าชาระค่าสินค้าแก ก. ก.อาจสลักหลังโอนส่งมอบเช็คแก่
ค. เป็ นการชาระหนีต้ อ่ ไปโดยไม่ตอ้ งชาระเงินสดก็ได้ ดังนีเ้ ป็ นต้น นอกจากนีต้ วั ๋ เงินประเทศ
ตัว๋ แลกเงินอาจเป็ นเครื่องมือส่งเงินจากสถานที่แห่งหนึง่ ไปยังอีกแห่งหนึ่งด้วย เช่น ก. อยู่ที่
กรุงเทพขายสินค้าให้แก่ ข. ที่อยู่จงั หวัดเชียงใหม่ ข. อาจนาเอาเงินจานวนเท่าค่าสินค้าไปซื้อ
ตัว๋ แลกเงิน จากธนาคารกรุงเทพจากัด สาขาเชียงใหม่ ธนาคารกรุงเทพจากัด สาขา
เชียงใหม่ก็จะออก “ตัว๋ แลกเงิน” สัง่ ธนาคารกรุงเทพ จากัด สานักงานใหญ่ที่กรุงเทพ
จ่ายเงินจานวนเท่าค่าสินค้าแก่ ก. ที่กรุงเทพ ดังนีต้ วั ๋ แลกเงินจึงเป็ นประโยชน์ที่มีการส่งเงิน
44

จากจังหวัดเชียงใหม่มากรุงเทพ โดยมิตอ้ งมีการขนย้ายเงินโดยแท้จริง ซึ่งจะต้องเสีย


ค่าใช้จ่ายในการขนส่งเงินและเสี่ยงภัยด้วย
8.1.2 ประเภทของตัว๋ เงิน
ข้อแตกต่างระหว่างตัว๋ แลกเงิน กับตัว๋ สัญญาใช้เงิน
ข้อแตกต่าง ตัว๋ แลกเงิน ตัว๋ สัญญาใช้เงิน
1 คู่สญ
ั ญา 3 ฝ่ ายคือ ผูส้ งั ่ จ่าย ผูจ้ า่ ยหรือผูร้ บั 2 ฝ่ ายคือ ผูอ้ อกตัว๋ และผูร้ บั เงิน
เงิน
2 ผูร้ บั เงิน อาจเป็ นตัว๋ ระบุชอื่ ผูร้ บั เงินหรือผู้ ต้องเป็ นตัว๋ ระบุชอื่ ผูร้ บั เงิน
ถือตัว๋ เท่านัน้ จะออกตัว๋ ผูถ้ ือไม่ได้
3 ข้อสัญญา “ผูส้ งั ่ จ่าย” สัง่ ให้ “ผูจ้ ่าย” “ผูอ้ อกตัว๋ ” ให้คามัน่ สัญญาจะ
จ่ายเงิน จ่ายเงินเอง
4 ฐานะของผูส้ งั ่ ผูส้ งั ่ จ่ายอยู่ในฐานะลูกหนีข้ องผูร้ บั ผูอ้ อกตัว๋ อยู่ในฐานะลูกหนีข้ อง
จ่ายหรือผูอ้ อก เงินต่อเมื่อผูจ้ ่ายไม่ใช้เงินหรือไม่ ผูร้ บั เงินเสมอ
ตัว๋ รับรอง

8.2 บทเบ็ดเสร็จทัว่ ไปของตัว๋ เงิน


1. ตัว๋ เงินเป็ นตราสารที่เกิดจากความเชือ่ ถือกันในทางการเงิน กฎหมายจึงวาง
บทบัญญัตไิ ว้เคร่งครัดและมีลกั ษณะพิเศษของตัว๋ เงิน แตกต่างจากสัญญาอื่นหลายประการ
คือ (1) การเขียนข้อความอื่นที่มิได้บญ ั ญัตไิ ว้ในลักษณะตัว๋ เงิน ไม่มีผลแก่ตวั ๋ เงิน (2) บุคคล
ผูล้ งลายมือชือ่ ในตัว๋ เงินต้องรับผิด ยกเว้นเขียนแถลงว่าการทาแทนบุคคลอีกคนหนึง่ และ
ความสามารถของคู่สญ ั ญาแห่งตัว๋ เงินไม่มีผลถึงความรับผิดของบุคคลอื่น ทัง้ การลง
เครื่องหมายหาให้เป็ นผลลงลายมือชือ่ ในตัว๋ เงินไม่ (3) ในการใช้เงินตามตัว๋ เงินกฎหมาย
บัญญัตมิ ใิ ห้ผอ่ นวันใช้เงิน
2. ตัว๋ เงินเป็ นสัญญาที่อาจโอนหนีใ้ ห้แก่กนั ได้โดยไม่จากัด คู่สญ ั ญาผูเ้ ป็ นฝ่ ายเจ้าหนีใ้ น
ตัว๋ เงินเรียกว่าผูท้ รง ส่วนลูกหนีใ้ นตัว๋ เงินเรียกชือ่ ต่างๆ กันตามที่ได้ลงลายมือชือ่ ในตัว๋ เงิน
คือ ผูร้ บั รอง ผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูอ้ อกตัว๋ ผูส้ ลักหลัง ผูร้ บั อาวัล และผูส้ อดเข้าแก้หน้า
3. การโอนด้วยการสลักหลังเป็ นทอดๆ อาจจะไม่มีที่ในตัว๋ เงินจะสลักหลังได้ตอ่ ไป
กฎหมายจึงอนุญาตให้เอากระดาษแผ่นหนึง่ ผนึกต่อเข้ากับตัว๋ เงินฉบับเดิมเรียกว่าใบประจา
ต่อ
8.2.1 การเขียนข้อความอื่นลงในตัว๋ เงิน
ก. สัง่ ธนาคาร ข. ให้จ่ายเงินเงินตามเช็คแก่ ค. จานวนเงิน “หนึง่ แสนบาทกับดอกเบี้ย
ร้อยละห้าต่อปี ” ลงวันที่สงั ่ จ่าย 1 มกราคม 2536 ดังนี้ เมื่อเช็คถึงกาหนดธนาคาร ข.
จะต้องจ่ายเงินแก่ ค. เป็ นจานวนเท่าใด
45

เช็คไม่มีบทบัญญัตใิ ห้ ก. ผูส้ งั ่ จ่ายเขียนข้อความกาหนดให้คิดดอกเบี้ยไว้ในเช็ค


(มาตรา 989 ไม่โยงมาตรา 911 มาบังคับในเรื่องเช็ค) ดังนัน้ การเขียนข้อความสัง่ จ่าย
ดอกเบี้ยร้อยละห้าต่อปี ลงในเช็คตามปั ญหา จึงหาเป็ นผลแก่เช็คไม่ (มาตรา 899) และ
สาหรับเช็คนัน้ วันที่ 1 มกราคม 2536 ซึ่งลงในเช็คเป็ นวันให้ใช้เงิน (มาตรา 987 เช็คเป็ น
คาสัง่ ธนาคารให้ใช้เงินเมื่อทวงถาม) จึงไม่มีชว่ งเวลาให้คิดดอกเบี้ยด้วย ดังนัน้ ธนาคาร ข.
จึงเพียงแต่จ่ายเงินหนึง่ แสนบาทให้แก่ ค. ไม่ตอ้ งจ่ายดอกเบี้ยแก่ ค. ด้วย
มาตรา 899 ข้อความอันใดซึ่งมิได้มีบญ ั ญัตไิ ว้ในประมวลกฎหมาย ลักษณะนี้ ถ้าเขียนลงในตัว๋
เงิน ท่านว่าข้อความอันนัน้ หาเป็ นผล อย่างหนึง่ อย่างใดแก่ตวั ๋ เงินนัน้ ไม่
มาตรา 911 ผูส้ งั ่ จ่ายจะเขียนข้อความกาหนดลงไว้ว่าจานวนเงินอันจะ พึงใช้นนั้ ให้คิดดอกเบี้ย
ด้วยก็ได้ และในกรณีเช่นนัน้ ถ้ามิได้กล่าวลงไว้เป็ น อย่างอื่น ท่านว่าดอกเบี้ยย่อมคิดแต่วันที่ลงในตัว๋ เงิน
มาตรา 987 อันว่าเช็คนัน้ คือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึง่ เรียกว่าผูส้ งั ่ จ่าย สัง่ ธนาคารให้
ใช้เงินจานวนหนึง่ เมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกคนหนึง่ หรือให้ใช้ตามคาสัง่ ของบุคคลอีกคนหนึง่ อัน
เรียกว่า ผูร้ บั เงิน
มาตรา 989 บทบัญญัตทิ งั้ หลายในหมวด 2 อันว่าด้วยตัว๋ แลกเงิน ดัง่ จะกล่าวต่อไปนี้ ท่านให้
ยกมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขดั กับ สภาพแห่งตราสารชนิดนี้ คือบท มาตรา 910 , 914 ถึง 923 ,
925 , 926 , 938 ถึง 940 , 945 , 946 , 959 , 967 , 971

8.2.2 ความรับผิดของผูล้ งลายมือชือ่ ในตัว๋ เงิน


นายสุโขทัย ปลอมลายมือชือ่ นายธรรมา สัง่ จ่ายเช็คหนึง่ ล้านบาทให้แก่ นายธิราช
เมื่อเช็คถึงกาหนด นายธิราชนาเช็คไปขึน้ เงิน แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินอ้างว่า บัญชี
ของนายธรรมาไม่พอจ่าย ดังนี้ นายธิราชจะฟ้องใครให้รบั ผิดตามกฎหมายลักษณะเช็คได้
บ้าง
นายธิราชฟ้องนายธรรมาให้รบั ผิดตามเช็คไม่ได้เพราะนายธรรมาไม่ได้ลงลายมือชือ่
ในเช็คนัน้ โดยลายมือชือ่ ของนายธรรมาที่สงั ่ จ่ายเป็ นลายมือชือ่ ปลอม แต่นายธิราชฟ้องนาย
สุโขทัยให้รบั ผิดตามกฎหมายลักษณะเช็คได้ เพราะนายสุโขทัยเป็ นผูล้ งลายมือชือ่ เป็ นผูส้ งั ่
จ่ายเช็คฉบับนี้ แม้จะลงเป็ นชือ่ นายธรรมา ซึ่งไม่ใช่ชอื่ ของนายธรรมาเองก็ตาม ตามมาตรา
900
มาตรา 900 บุคคลผูล้ งลายมือชื่อของตนในตัว๋ เงินย่อมจะได้รบั ผิดตามเนือ้ ความในตัว๋ เงินนัน้
ถ้าลงเพียงแต่เครื่องหมายแต่อย่างหนึง่ อย่างใด เช่น แกงได หรือ ลายพิมพ์นวิ้ มือ อ้างเอาเป็ น
ลายมือชื่อในตัว๋ เงินไซร้ แม้ถึงว่าจะมี พยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่าหาให้ผลเป็ นลงลายมือชื่อในตัว๋
เงิน นัน้ ไม่

8.2.3 การผ่อนวันใช้เงิน
นาย เอ ออกตัว๋ แลกเงิน สัง่ ให้นายบี จ่ายเงินแก่นาย ซี ในวันที่ที่ 5 ธันวาคม 2536
ก่อนตัว๋ ถึงกาหนด นาย ซี สลักหลังตัว๋ โอนให้แก่นาย ดี สลักหลังโอนให้แก่นาย อี ครัน้ ถึง
วันที่ 5 ธันวาคม 2536 นาย อี ตกลงให้นาย บี รับรองตัว๋ ว่าจะใช้เงินให้ในวันที่ 10
ธันวาคม 2536 ดังนีก้ ารกระทาของนาย อี เป็ นการผ่อนวันใช้เงินหรือไม่ เพราะเหตุใด
46

ตัว๋ แลกเงินฉบับนีก้ าหนดใช้เงินวันที่ 5 ธันวาคม 2536 การที่นาย อี ผูท้ รงตัว๋ แลก


เงินตกลงยินยอมเลื่อนกาหนดเวลาใช้เงินเป็ นวันที่ 10 ธันวาคม 2536 ถือว่านาย อี ผ่านวัน
ใช้เงินแล้วเพราะนาย อี ได้แสดงเจตนาให้มีผลผูกพันนาย อี มิให้เรียกร้องใช้เงินตามตัว๋ แลก
เงินก่อนวันที่ 10 ธันวาคม 2536
8.2.4 ผูท้ รงตัว๋ เงิน
นายมกราสัง่ จ่ายเช็คแก่นายกุมภา ระบุชอื่ นายกุมภาเป็ นผูร้ บั เงิน นายกุมภาสลักหลัง
ลอยให้นายมีนา นายมีนาขึน้ รถโดยสารประจาทาง คนร้ายล้วงกระเป๋ าเอาเช็คไป ต่อมานาย
เมษาเอาเช็คฉบับนีส้ ลักหลังโอนให้แก่นายพฤษภาเพื่อชาหนีเ้ งินกู้ ดังนี้ ท่านจะให้คาปรึกษา
แก่นายมีนาเพื่อเรียกร้องเช็คฉบับนีค้ ืนจากนายพฤษภาได้อย่างไรหรือไม่
ข้าพเจ้าจะให้คาปรึกษาดังนี้ คือ เช็คฉบับนีม้ ีการสลักหลังลอยให้แก่นายมีนาเป็ นราย
ที่สดุ เช็คย่อมโอนให้แก่กนั ได้ดว้ ยการส่งมอบโดยไม่ตอ้ งสลักหลังตามมาตรา 920 (3) และ
989 เมื่อนายพฤษภาเป็ นผูท้ รงโดยรับสลักหลังโอนจากนายเมษาในการชาระหนีเ้ งินกู้ ซึ่ง
ไม่ใช่ได้มาโดยทุจริตหรือด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง นายพฤษภาเป็ นผูท้ รงโดย
ชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา 905 วรรคสอง นายมีนาเรียกร้องเช็คฉบับนีค้ ืนจากนาย
พฤษภาไม่ได้
มาตรา 905 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติ มาตรา 1008 บุคคลผู้ ได้ตวั ๋ เงินไว้ในครอบครอง ถ้า
แสดงให้ปรากฏสิทธิดว้ ยการสลักหลัง ไม่ขาดสาย แม้ถึงว่าการสลักหลังรายที่สดุ จะเป็ นสลักหลังลอยก็
ตาม ท่านให้ถือว่าเป็ นผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย เมื่อใดรายการสลักหลัง ลอยมีสลักหลังรายอื่น
ตามหลัง ไปอีกท่านให้ถือว่าบุคคลผูท้ ี่ลงลายชื่อ ในการสลักหลังรายที่สดุ นัน้ เป็ นผูไ้ ด้ซึ่งตัว๋ เงินด้วยการ
สลักหลังลอย อนึง่ คาสลักหลัง เมื่อขีดฆ่าเสียแล้ว ท่านให้ถือว่าเสมือนว่ามิได้มีเลย
ถ้าบุคคลผูห้ นึง่ ผูใ้ ดปราศจากตัว๋ เงินไปจากครอบครอง ท่านว่าผู้ ทรงซึ่งแสดงให้ปรากฏสิทธิ
ของตนในตัว๋ ตามวิธีการดัง่ กล่าวมาใน วรรคก่อนนัน้ หาจาต้องสลักตัว๋ เงินไม่ เว้นแต่จะได้มาโดยทุจริต
หรือได้มาด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
อนึง่ ข้อความในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บงั คับตลอดถึงผูท้ รงตัว๋ เงินสัง่ จ่ายให้แก่ผถู้ ือด้วย
มาตรา 920 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอนั เกิดแต่ ตัว๋ แลกเงิน
ถ้าสลักหลังลอย ผูท้ รงจะปฏิบตั ดิ งั ่ กล่าวต่อไปนีป้ ระการหนึง่ ประการใดก็ ได้ คือ
(1) กรอกความลงในที่ว่างด้วยเขียนชื่อของตนเอง หรือชื่อบุคคลอื่น ผูใ้ ดผูห้ นึง่
(2) สลักหลังตัว๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรือสลักหลังให้ แก่บคุ คลอื่นผูใ้ ดผูห้ นึง่
(3) โอนตัว๋ เงินนัน้ ให้ไปแก่บคุ คลภายนอก โดยไม่กรอกความลง ในที่ว่าง และไม่สลักหลัง
อย่างหนึง่ อย่างใด
8.2.5 ผูเ้ ป็ นคู่สญ
ั ญาในตัว๋ เงิน
เอกเป็ นผูจ้ ดั การมรดกตามคาสัง่ ศาลของโทฟ้องตรีว่า ตรีออกเช็คสัง่ จ่ายเงิน
100,000 บาท ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2536 แก่โทเพื่อชาระค่าสินค้าที่ตรีสงั ่ จากโท วันที่ 1
กันยายน 2536 โทถึงแก่กรรม ครัน้ เช็คถึงกาหนด เอกนาเช็คไปขึน้ เงิน ธนาคารปฏิเสธการ
จ่ายว่าคืนผูส้ งั ่ จ่าย เอกจึงมีหนังสือทวงถามให้ตรีชาระเงินตามเช็ค ตรีตอบจดหมายว่าที่ได้
สัง่ งดจ่ายเช็คฉบับดังกล่าวเป็ นความรอบครอบในกิจการ ขอให้นาหลักฐานผูม้ ิสิทธิโดยชอบ
47

ด้วยกฎหมายไปแสดงตรียินดีจะจ่ายเงินให้ แต่เมื่อเอกนาคาสัง่ ศาลในเรื่องตัง้ เอกเป็ น


ผูจ้ ดั การมรดกของโทไปแสดง ตรีก็ไม่จ่ายเงินให้ จึงขอให้ศาลบังคับ ตรีตอ่ สูค้ ดีว่า เช็คลง
วันที่ลว่ งหน้าไม่เป็ นตัว๋ เงินเมื่อโทถึงแก่กรรมไปก่อนถึงวันที่ลงในเช็ค สิทธิตามเช็คเป็ นอัน
สูญสิ้นไปแล้ว ดังนีเ้ อกมีสิทธิฟ้องตรีให้รบั ผิดตามเช็คหรือไม่ เพราะเหตุใด
เช็คที่ตรีลงวันที่ลว่ งหน้านัน้ ย่อมสมบูรณ์เป็ นเช็ค (มาตรา 987, 988 (6)) เมื่อตรีลง
ลายมือชือ่ เป็ นผูส้ งั ่ จ่ายเท่ากับตรีสญั ญาว่าจะรับผิดตามเนือ้ ความแห่งตัว๋ นัน้ เมื่อถึงวันที่ลง
ไว้ (มาตรา 900) โทซึ่งเป็ นผูท้ รงตัว๋ นัน้ โดยชอบ ย่อมมีสิทธิเป็ นเจ้าหนีตามตัว๋ นัน้ แม้หนีน้ นั้
จะยังไม่ถึงกาหนด เมื่อโทถึงแก่กรรมก่อนถึงวันที่ลงในเช็ค เอกซึ่งเป็ นผูจ้ ดั การมรดกของโท
จึงเข้าสรวมสิทธิของโทได้ตามที่โทมีอยู่เป็ นการโอนโดยผลของกฎหมาย (มาตรา 1599,
1600) ดังนัน้ เอกในฐานะผูจ้ ดั การมาดกของโทจึงเป็ นเจ้าหนีใ้ นตัว๋ เงินมีสิทธิฟ้องตรีให้รบั ผิด
ตามเช็คได้
มาตรา 900 บุคคลผูล้ งลายมือชื่อของตนในตัว๋ เงินย่อมจะได้รบั ผิดตามเนือ้ ความในตัว๋ เงินนัน้
ถ้าลงเพียงแต่เครื่องหมายแต่อย่างหนึง่ อย่างใด เช่น แกงได หรือ ลายพิมพ์นวิ้ มือ อ้างเอาเป็ น
ลายมือชื่อในตัว๋ เงินไซร้ แม้ถึงว่าจะมี พยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่าหาให้ผลเป็ นลงลายมือชื่อในตัว๋
เงิน นัน้ ไม่
มาตรา 987 อันว่าเช็คนัน้ คือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึง่ เรียกว่าผูส้ งั ่ จ่าย สัง่ ธนาคารให้
ใช้เงินจานวนหนึง่ เมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกคนหนึง่ หรือให้ใช้ตามคาสัง่ ของบุคคลอีกคนหนึง่ อัน
เรียกว่า ผูร้ บั เงิน
มาตรา 988 อันเช็คนัน้ ต้องมีรายการดัง่ กล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) คาบอกชื่อว่าเป็ นเช็ค
(2) คาสัง่ อันปราศจากเงือ่ นไขให้ใช้เงินเป็ นจานวนแน่นอน
(3) ชื่อ หรือยี่หอ้ และสานักของธนาคาร
(4) ชื่อ หรือยี่หอ้ ของผูร้ บั เงิน หรือคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ
(5) สถานที่ใช้เงิน
(6) วันและสถานที่ออกเช็ค
(7) ลายมือชื่อผูส้ งั ่ จ่าย

8.2.6 ใบประจาต่อ
นายมกราสัง่ จ่ายตัว๋ แลกเงินฉบับหนึง่ หนึง่ ให้ ก. จ่ายเงินแก่นายกุมภา ก่อนตัว๋ แลก
เงินถึงกาหนดนายกุมภาสลักหลังโอนให้แก่นายมีนา และมีการสลักหลังโอนต่อๆ กันมาจน
ตัว๋ แลกเงินตกแก่นายธันวา แต่ปรากฏว่าด้านหลังตัว๋ แลกเงินหมดเนือ้ ที่ที่จะสลักหลังต่อไป
นายธันวาจึงเอากระดาษแผ่นหนึง่ มาต่อเข้ากับตัว๋ แลกเงินเดิม แล้วเขีย่ นสลักหลังลงบน
กระดาษแผ่นที่ตอ่ ใหม่ให้แก่นายอาทิตย์ นายอาทิตย์สลักหลังคาบบนตัว๋ แลกเงินเดิมกับบน
กระดาษแผ่นใหม่ให้แก่นายจันทร์ นายจันทร์สลักหลังลงบนกระดาษแผ่นที่ตอ่ ให้แก่นาย
อังคาร ดังนี้ การกระทาของนายธันวา นายอาทิตย์ และนายจันทร์ เป็ นการสลักหลังลงในใบ
ประจาต่อหรือไม่
48

นายธันวาผูส้ ลักหลังในใบประจาต่อครัง้ แรก ไม่เขียนคาบบนตัว๋ แลกเงินเดิมบ้างบนใบ


ประจาต่อบ้าง จึงไม่มีผลเป็ นการสลักหลังลงในใบประจาต่อไม่มีสว่ นหนึง่ ของตัว๋ แลกเงินทา
ให้การสลักหลังของนายอาทิตย์และนายจันทร์ไม่มีผลเป็ นการสลักหลังลงในใบประจาต่อ
ด้วย
แบบประเมินผลหน่วยที่ 8
1. คาว่าตัว๋ เงินตามกฎหมาย หมายความถึง สัญญาที่ทาเป็ นหนังสือตราสารซึ่งบุคคลผูล้ งลายมือ
ชื่อในตราสารต้องรับผิดใช้เงินและโอนเงินกันได้ดว้ ยการส่งมอบ
2. ความหมายของ “ตัว๋ เงิน” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มี 3 ประเภทคือ ตัว๋ สัญญาใช้
เงิน เช็ค และตัว๋ แลกเงิน
3. หนึง่ ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ สองให้ใช้เงิน 50,000 บาท แก่สามและลงชื่อผูส้ งั ่ จ่ายว่า “หนึง่ ผูจ้ ดั การ
มรดกนายอาทิตย์” ในกรณีแรก หรือ “หนึง่ กรรมการผูจ้ ดั การ” และประทับตราของบริษทั อาทิตย์
จากัดในกรณีที่สอง ดังนี้ ถ้าสองไม่ใช้เงิน หนึง่ ต้องรับผิดใช้เงินแก่สามเฉพาะในกรณีแรกที่ไม่ระบุว่า
กระทาการแทนผูใ้ ด
4. สวยออกตัว๋ เงินสัง่ ให้สดจ่ายเงิน 30,000 บาท แก่โสด โสดสลักหลังตัว๋ แลกเงินชาระหนีเ้ งินยืม
โดยระบุสาว เป็ นผูร้ บั สลักหลังแล้วเก็บตัว๋ แลกเงินไว้ในกระเป๋ าถือ ยังไม่ได้สง่ มอบตัว๋ นัน้ ให้แก่สาว สาย
คนใช้ของโสดลักตัว๋ นัน้ ไปแล้วปลอมลายมือชื่อสาวสลักหลังลอยให้แก่สาก เป็ นการชาระสินค้า ดังนี้ ผู้
ทรงตัว๋ แลกเงินฉบับนีไ้ ด้แก่ โสด
5. นายเอ ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายบีให้จ่ายเงินแก่นายซี นายซีสลักหลังโอนให้แก่นายดี นายดี สลัก
หลังลอย ให้แก่นายอี นายอีโอนส่งมอบตัว๋ ให้แก่นายเอฟ นายเอฟสลักหลังโอนให้แก่นายจี นายจีสลัก
หลังโอนให้แก่นายเอช ดังนัน้ ผูท้ ี่ลงลายมือชื่อสลักหลังรายล่าสุด ซึ่งได้ตวั ๋ แลกเงินโดยการสลักหลัง
ลอยได้แก่ นายเอฟ
6. นายอาทิตย์ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายจันทร์ให้ใช้เงินแก่นายอังคาร นายอังคารสลักหลังโอนแก่นาย
พุธ โดยไม่รวู้ ่านายพุธเป็ นผูเ้ ยาว์ นายพุธสลักหลังโอนให้แก่นายพฤหัส โดยนายพฤหัสไม่รวู้ ่านายพุธ เป็ น
ผูเ้ ยาว์อีกเหมือนกัน ดังนีน้ ายอาทิตย์ นายอังคาร และนายพุธ จะยกข้อต่อสูว้ ่านายพุธเป็ นผูเ้ ยาว์จึงขอบ
อกล้างสัญญา ไม่ตอ้ งรับผิดต่อนายพฤหัส ดังนี้ นายพุธยกข้อต่อสูไ้ ด้แต่นายอาทิตย์และนายอังคารยก
ข้อต่อสูไ้ ม่ได้
7. นายชวดออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายฉลูให้จ่ายเงินแก่นายขาล นายขาลสลักหลังโอนแก่นายเถาะ นาย
เถาะสลักหลังลอยโอนให้แก่นายมะโรง นายมะเส็งลักตัว๋ แลกเงินจากนายมะโรงแล้วนาไปซื้อสินค้าจาก
นายมะเมีย ดังนัน้ ผูท้ ี่ไม่ตอ้ งรับผิดตามกฎหมายลักษณะตัว๋ แลกเงินต่อนายมะเมียคือ นายมะเส็ง
8. ใบประจาต่อหมายถึง กระดาษแผ่นหนึง่ ที่ผนึกต่อเข้ากับตัว๋ เงินเดิมเมื่อไม่มีที่ในตัว๋ เงินซึ่งสลัก
หลังได้ตอ่ ไป
9. นายขาวออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้นายเขียวใช้เงิน 100,000 บาท เมื่อได้เห็นแก่นายดา นายดาสลัก
หลังโอนแก่นายแดง นางแดงสลักหลังโอนแก่นายทอง นายทองยื่นตัว๋ แก่นายเขียวรับรองตัว๋ แลกเงินว่า
จะจ่ายเงินให้ในอีก 3 วัน ดังนี้ นายทองฟ้ อง นายขาว นายเขียว นายดา และนายแดงให้รบั ผิดใช้เงิน
โดยนายทองจะฟ้ องเขียวผูจ้ ่ายได้คนเดียวเท่านัน้
10. คาว่า “คูส่ ญ
ั ญาคนก่อนๆ” ในตัว๋ เงิน หมายถึง ผูส้ งั ่ จ่ายเช็คผูถ้ ือ
11. นายจันทร์เป็ นผูร้ บั เงินตามตัว๋ แลกเงินที่นายอาทิตย์สงั ่ จ่ายให้ฉบับหนึง่ นายจันทร์ สลักหลัง
ลอย ให้แก่นายอังคาร นายอังคารส่งมอบตัว๋ แลกเงินแก่นายพุธ นายพุธโอนส่งมอบตัว๋ แก่นายพฤหัส
49

นายพฤหัสสลักหลังโอนให้แก่นายศุกร์ นายศุกร์สลักหลังโอนให้แก่นายเสาร์ ผูท้ ี่ลงลายมือชื่อในการสลัก


หลังรายที่สดุ ซึ่งได้ตวั ๋ แลกเงินด้วยการสลักหลังลอย มีสิทธิโอนตัว๋ แลกเงินต่อไปคือ นายพฤหัส
12. บุคคลที่เป็ นคู่สญั ญาคนก่อนๆ ตามตัว๋ เงิน คือ ผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน
13. นายสิบออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายยี่สิบผูจ้ ่ายเงิน 2,000 บาท แก่นายสามสิบ นายสามสิบสลักหลัง
โอนแก่นายสี่สิบ นายสี่สิบ สลักหลังลอย โอนให้แก่นายห้าสิบ นายห้าสิบทาตัว๋ แลกเงินหาย นายหกสิบ
เก็บได้แล้วนาไปซื้อสร้อยคอทองคาจากนายเจ็ดสิบ ผูท้ ี่รบั ต้องรับผิดตามกฎหมายลักษณะตัว๋ แลกเงิน
ได้แก่ นายสิบและนายสี่สิบ
14. นายมกราสัง่ จ่ายเช็คเงิน 10,000 บาทให้แก่นายกุมภา นายกุมภาสลักหลังโอนให้แก่นายมีนา
นายมีนาสลักหลังโอนให้แก่นายเมษา นายเมษาทาเช็คหาย มีผเู้ ก็บได้แล้วปลอมลายมือชื่อนายเมษา
สลักหลังลอย ให้แก่นายพฤษภา ดังนี้ ผูท้ ี่ทรงตัว๋ โดยชอบด้วยกฎหมายคือ นายเมษา
15. นายเขียวเป็ นคนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้สงั ่ ว่าเป็ นคนไร้ความสามารถสัง่ จ่ายเช็คให้แก่นายทอง
โดยนายทองรูว้ ่าขณะรับโอนนายเขียววิกลจริต นายทองสลักหลังโอนเช็คแก่นายดาโดยนายดารูข้ ณะรับ
โอนว่านายเขียวเป็ นคนวิกลจริตอีกเหมือนกัน ต่อมานายดานาเช็คไปซื้อสินค้าจากนายขาวซึ่งเป็ นพ่อค้า
ดังนี้ นายเขียวสามารถยกข้อต่อสูต้ อ่ นายทองและนายดาได้ แต่ยกข้อต่อสูต้ อ่ นายขาวไม่ได้
16. นายมกราออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายกุมภาให้ใช้เงิน 100,000 บาท แก่นายมีนาผูร้ บั เงิน นายมีนา
สลักหลังลอยมอบตัว๋ แก่นายเมษา นายเมษาลงลายมือชื่อสลักหลังตัว๋ ว่า “นายเมษาตัวแทน” อย่าง
หนึง่ หรือ “นายเมษาผูจ้ ดั การทัว่ ไปของบริษทั ก.” อีกอย่างหนึง่ ดังนี้ นายเมษาจะต้องรับผิดตามตัว๋
ทัง้ สองกรณีเพราะสลักหลังไม่ระบุว่ากระทาการแทนผูใ้ ด
17. นายหนึง่ ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายสองให้ใช้เงินแก่นายสามกาหนดสามเดือนนับแต่ได้เห็นตัว๋ นาย
สามจึงนาตัว๋ ไปยื่นแก่นายสองให้รบั รองแต่กอ่ นตัว๋ ถึงกาหนด นายสามได้สลักหลังโอนตัว๋ ให้แก่นายสี่
นายสี่สลักหลังโอนให้แก่นายห้า นายห้าสลักหลังโอนให้แก่นายหก ครัน้ ตัว๋ ถึงกาหนดนายหกนาตัว๋ ไปยื่น
ให้นายสองรับรองว่าจะใช้เงินให้อย่างแน่นอนในกาหนดสามเดือน ดังนี้ นายหกฟ้ องนายสองผูจ้ ่ายได้ แต่
ฟ้ องนายหนึง่ นายสาม นายสี่ นายห้าไม่ได้

หน่วยที่ 9 การออกการโอน และการสลักหลังตัว๋ แลกเงิน


1. ตัว๋ แลกเงินต้องมีรายการตามที่กฎหมายกาหนด การออกตัว๋ แลกเงินขาดรายการที่
กฎหมายต้องการย่อมไม่สมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน ไม่กอ่ ให้เกิดสิทธิและความรับผิดตาม
กฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน
2. ตัว๋ แลกเงินย่อมโอนกันได้เสมอ เว้นแต่มีขอ้ ความห้ามโอน ส่วนการสลักหลังเป็ น
วิธีการที่ผทู้ รงลงชือ่ ในตัว๋ แลกเงินเพื่อเจตนาโอนตัว๋ อย่างหนึง่ เว้นแต่มีขอ้ ห้ามสลักหลัง
ต่อไป
3. การสลักหลังตัว๋ แลกเงินแก่ตวั แทนก็ดี การสลักหลังจานาตัว๋ แลกเงินก็ดี ย่อมทาให้ผ ู้
ทรงที่รบั สลักหลังมีสิทธิเรียกเก็บเงินตามตัว๋ ได้ แต่จะสลักหลังต่อไปอีกได้ในฐานะเป็ น
ตัวแทนเท่านัน้
9.1 การออกตัว๋ แลกเงิน
50

1. ตัว๋ แลกเงินต้องมีรายการได้แก่ (1) คาบอกชือ่ ว่าเป็ นตัว๋ แลกเงิน (2) คาสัง่ อัน
ปราศจากเงือ่ นไขให้จ่ายเงินเป็ นจานวนแน่นอน (3) ชือ่ หรือยีหอ้ ผูจ้ ่าย (4) ชือ่ หรือยีหอ้ ผูร้ บั
เงินหรือคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือและ (5) ลายมือชือ่ ผูส้ งั ่ จ่ายหากรายการดังกล่าวขาดตก
บกพร่องไปย่อมไม่สมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน
2. วันถึงกาหนดของตัว๋ แลกเงิน ก็คือ วันถึงกาหนดใช้เงินตามตัว๋ ซึ่งแยกได้เป็ น 2 ชนิด
ได้แก่ (1) ตัว๋ แลกเงินที่สงั ่ ให้ใช้เงินเมื่อทวงถามหรือเมื่อได้เห็น (2) ตัว๋ แลกเงินที่กาหนดเวลา
ให้ใช้เงิน
3. ความรับผิดของผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังตัว๋ แลกเงินเกิดขึน้ โดยเงือ่ นไขว่าผูท้ รงต้อง
ยื่นตัว๋ ต่อผูจ้ ่ายก่อน ถ้าผูจ้ ่ายไม่รบั รองหรือไม่จา่ ยเงินและผูท้ รงจัดให้ทาคาคัดค้านแล้วผูส้ งั ่
จ่ายหรือผูส้ ลักหลังจะใช้เงินแก่ผทู้ รง
4. ข้อกาหนดลบล้างหรือจากัดความรับผิดและข้อกาหนดลดหน้าที่ของผูส้ งั ่ จ่ายและผู้
สลักหลังตัว๋ แลกเงินแยกได้ 2 ประการ ได้แก่ (1) ข้อกาหนดลบล้างหรือจากัดความรับผิดของ
ผูส้ งั ่ จ่ายและผูส้ ลักหลังที่มีตอ่ ผูท้ รง (2) ข้อกาหนดลดหน้าที่ของผูท้ รงที่มีตอ่ ผูส้ งั ่ จ่ายและผู้
สลักหลัง
9.1.1 รายการในตัว๋ แลกเงิน
การเขียนตัว๋ แลกเงินที่มีรายการตามตามที่กฎหมายต้องการ
การเขียนตัว๋ แลกเงิน ดังข้อความต่อไปนี้ แล้วผูส้ งั ่ จ่ายลงลายมือชือ่

ตัว๋ แลกเงิน
วันที่ 1 มกราคม 2536
ถึงนางมณฑา
โปรดสัง่ จ่ายเงินจานวน หนึง่ ล้านบาท ให้แก่นายสังข์ทอง หรือตามคาสัง่

.....................................................
(ลามือชือ่ ท้าวสามลผูส้ งั ่ จ่าย)

9.1.2 วันถึงกาหนดของตัว๋ แลกเงิน


ท้าวสามลออกตัว๋ แลกเงินลงวันที่ 1 กันยายน 2536 สัง่ นางมณฑาให้ใช้เงินจานวน
หนึง่ ล้านบาทให้แก่นายสังข์ทองกาหนดสองเดือนนับแต่ได้เห็น วันที่ 30 ธันวาคม 2536
นางมณฑาได้เห็นและรับรองตัว๋ แลกเงินฉบับนี้ ดังนี้ นายสังข์ทองต้องนาตัว๋ แลกเงินไปยื่นให้
นางมณฑาใช้เงินเมื่อใด
วันถึงกาหนดตัว๋ แลกเงินฉบับนี้ คือสองเดือนนับแต่ได้เห็น นางมณฑาผูส้ งั ่ จ่ายได้เห็น
ตัว๋ เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2535 ครบกาหนดสองเดือน ในวันที่ 30 กุมภาพันธ์ แต่เดือน
กุมภาพันธ์ไม่มีวนั ตรงกันในเดือนสุดท้าย วันสุดท้ายแห่งเดือนกุมภาพันธ์ คื อวันที่ 28
กุมภาพันธ์ 2536 จึงเป็ นวันสุดท้ายอันเป็ นวันสิ้นระยะเวลาตามมาตรา 193/5 วรรคสอง
51

วันถึงกาหนดของตัว๋ แลกเงินฉบับนีท้ ี่นายสังข์ทองต้องนาตัว๋ แลกเงินไปยื่นให้นางมณฑาใช้


เงิน คือวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2536
9.1.3 ความรับผิดของผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังตัว๋ แลกเงิน
ท้าวสามลออกเช็คลงวันที่ลว่ งหน้าสัง่ ให้ธนาคารมณฑาจากัด จ่ายเงินให้แก่นายสังข์
ทองหนึง่ ล้านบาท ก่อนเช็คถึงกาหนด นายสังข์ทองสลักหลังโอนเช็คให้แก่เขยที่หนึง่ เขยที่
หนึง่ สลักหลังโอนแก่เขยที่สอง แล้วมีการโอนแก่เขยที่สาม เขยที่สี่ เขยที่หา้ จนถึงเขยที่หก
ตามลาดับ ครัน้ เช็คถึงกาหนด เขยที่หกนาเช็คไปยื่นแก่ธนาคารมณฑาจากัด เพื่อใช้เงิน แต่
ธนาคารมณฑาจากัด ปฏิเสธการใช้เงิน เขยที่สามได้เข้าใช้เงินแก่เขยที่หก และรับเช็คมาแล้ว
ดังนี้ เขยที่สามจะเรียกร้องต่อใครให้รบั ผิดใช้เงินตามเช็คได้บา้ ง
เขยที่สามซึ่งเป็ นผูส้ ลักหลังหลังคนที่ถกู บังคับให้ใช้เงินตามเช็ค ย่อมเรียกร้องให้ทา้ ว
สามลผูส้ งั ่ จ่ายนายสังข์ทอง เขยที่หนึง่ และเขยที่สอง ให้รบั ผิดใช้เงินตามเช็คได้ ตามมาตรา
914 967 971 และ 989
มาตรา 914 บุคคลผูส้ งั ่ จ่ายหรือสลักหลังตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นอัน สัญญาว่าเมื่อตัว๋ นัน้ ได้นายื่น
โดยชอบแล้วจะมีผรู้ บั รอง และใช้เงินตาม เนือ้ ความแห่งตัว๋ ถ้าและตัว๋ แลกเงินนัน้ เขาไม่เชื่อถือโดยไม่ยอม
รับรอง ก็ดีหรือไม่ยอมจ่ายเงินก็ดี ผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังก็จะใช้เงินแก่ผทู้ รง หรือแก่ผสู้ ลักหลังคนหลัง
ซึ่งต้องถูกบังคับให้ใช้เงินตามตัว๋ นัน้ ถ้า หากว่าได้ทาถูกต้องตามวิธีการในข้อไม่รบั รองหรือไม่จ่ายเงิน
นัน้ แล้ว
มาตรา 967 ในเรื่องตัว๋ แลกเงินนัน้ บรรดาบุคคลผูส้ งั ่ จ่ายก็ดีรบั รอง ก็ดีสลักหลังก็ดี หรือ
รับประกันด้วยอาวัลก็ดี ย่อมต้องร่วมกันรับผิดต่อ ผูท้ รง
ผูท้ รงย่อมมีสิทธิว่ากล่าวเอาความแก่บรรดาบุคคลเหล่านีเ้ รียงตัว หรื อรวมกันก็ได้ โดยมิพกั
ต้องดาเนินตามลาดับที่คนเหล่านัน้ มาต้อง ผูกพัน
สิทธิเช่นเดียวกันนี้ ย่อมมีแก่บคุ คลทุกคนซึ่งได้ลงลายมือชื่อในตัว๋ เงิน และเข้าถือเอาตัว๋ เงินนัน้
ในการที่จะใช้บงั คับเอาแก่ผทู้ ี่มีความผูกพันอยู่ แล้วก่อนตน
การว่ากล่าวเอาความแก่คส่ ู ญ ั ญาคนหนึ่ง ซึ่งต้องรับผิดย่อมไม่ตดั หน ทางที่จะว่ากล่าวเอา
ความแก่คส่ ู ญั ญาคนอื่น ๆ แม้ทงั้ จะเป็ นฝ่ ายอยู่ใน ลาดับภายหลังบุคคลที่ได้ว่ากล่าวเอาความมาก่อน
มาตรา 971 ผูส้ งั ่ จ่ายก็ดี ผูร้ บั รองก็ดี ผูส้ ลักหลังคนก่อนก็ดีซึ่งเขา สลักหลังหรือโอนตัว๋ แลก
เงินให้อีกทอดหนึง่ นัน้ หามีสิทธิจะไล่เบี้ยเอา แก่คส่ ู ญ ั ญาฝ่ าย ซึ่งตนย่อมต้องรับผิดต่อเขาอยู่กนั ก่อน
แล้วตามตัว๋ เงินนัน้ ได้ไม่
มาตรา 989 บทบัญญัตทิ งั้ หลายในหมวด 2 อันว่าด้วยตัว๋ แลกเงิน ดัง่ จะกล่าวต่อไปนี้ ท่านให้
ยกมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขดั กับ สภาพแห่งตราสารชนิดนี้ คือบท มาตรา 910 , 914 ถึง 923 ,
925 , 926 , 938 ถึง 940 , 945 , 946 , 959 , 967 , 971
ถ้าเป็ นเช็คที่ออกมาแต่ตา่ งประเทศ ท่านให้นาบทบัญญัตดิ งั ่ ต่อไปนี้ มาใช้บงั คับด้วย คือบท
มาตรา 924 , 960 ถึง 964 , 973 ถึง 977 , 980

9.1.4 ข้อกาหนดลบล้างหรือจากัดความรับผิดและข้อกาหนดลดหน้าที่ตามตัว๋ แลกเงิน


นายอาทิตย์ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายจันทร์ ให้จ่ายเงินเมื่อครบสามเดือนนับแต่ได้เห็น
เป็ นจานวนเงิน 50,000 บาท แก่นายอังคาร และนายอาทิตย์ระบุไว้ในตัว๋ ว่า “นายอาทิตย์
52

รับผิดตามตัว๋ นีเ้ พียง 10,000 บาท” นายอังคารรับตัว๋ แล้งลงชือ่ สลักหลังโอนแก่นายพุธ


และนายอังคารระบุไว้ในตัว๋ ว่า “ให้ยื่นตัว๋ นีพ้ ร้อมรับรองภายในเจ็ดวันนับจากวันสลักหลังนี้”
ดังนี้ อธิบายความรับผิดของนายอาทิตย์และนายอังคารที่มีตอ่ นายพุธ
ข้อความที่นายอาทิตย์ผสู้ งั ่ จ่ายจดลงไว้ในตัว๋ แลกเงิน เป็ นข้อกาหนดจากัดความรับ
ผิดของนายอาทิตย์ที่มีตอ่ นายพุธผูท้ รงว่า จะรับผิดชดใช้เงินตามตัว๋ เพียง 10,000 บาท
ไม่ใช่ 50,000 บาท ตามจานวนเงินในตัว๋ ส่วนข้อความที่นายอังคารผูส้ ลักหลังจดลงไว้ในตัว๋
แลกเงินเป็ นข้อกาหนดจากัดเวลายื่นตัว๋ แลกเงินให้นายจันทร์ผจู้ ่ายรับรอง ซึ่งเป็ นข้อกาหนด
จากัดความรับผิดอย่างหนึง่ ที่ผสู้ ลักหลังมีตอ่ ผูท้ รง ดังนีข้ อ้ กาหนดทัง้ สองข้อดังกล่าวย่อม
ใช้บงั คับได้ นายอาทิตย์และนายอังคารจึงมีความรับผิดจากัดตามข้อกาหนดที่ระบุไว้ในตัว๋
แลกเงินนัน้
9.2 การโอนและการสลักหลังตัว๋ แลกเงิน
1. ตัว๋ แลกเงินย่อมโอนให้แก่กนั ด้วยสลักหลังและส่งมอบ เว้นแต่ตวั ๋ ผูถ้ ือย่อมโอนกันได้
เพียงแต่สง่ มอบตัว๋ ให้แก่ผรู้ บั โอนเท่านัน้ แต่ตวั ๋ แลกเงินเป็ นสัญลักษณ์อย่างหนึง่ ผูส้ งั ่ จ่าย
หรือผูส้ ลักหลังย่อมระบุขอ้ ความห้ามโอนได้เสมอ
2. สิทธิของผูร้ บั โอนตัว๋ แลกเงินมีผรู้ บั โอนอาจมีสิทธิดกี ว่าผูโ้ อน
3. วิธีโอนตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นไปตามประเภทของตัว๋ แลกเงิน หรือตัว๋ ผูถ้ ือและตัว๋ ระบุชอื่
4. ผูส้ ลักหลังระบุขอ้ ห้ามสลักหลังไปในตัว๋ แลกเงินได้ การสลักหลังต้องไม่มีเงือ่ นไขและ
สลักหลังบางส่วนไม่ได้ การสลักหลังเมื่อสิ้นเวลาคัดค้าน การไม่รบั รองหรือไม่ใช้เงิน ผูท้ รง
ไล่เบี้ยเอาจากผูร้ บั รองและคู่สญ ั ญาที่สลักหลังภายหลังกาหนดเวลาทาคาคัดค้านได้สว่ นเมื่อ
มีคาคัดค้าน การไม่รบั รองหรือไม่ใช้เงินแล้วจึงสลักหลัง ผูท้ รงไล่เบี้ยเอาจากผูร้ บั รองและผู้
สัง่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังก่อนเวลาทาคาคัดค้านได้เท่านัน้
5. การสลักหลังตัว๋ แลกเงินระบุชอื่ ย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอนั เกิดแก่ตัว๋ แลกเงิน ได้แก่
สิทธิที่จะสลักหลังโอนตัว๋ ต่อไป สิทธิที่จะบังคับเอาเงินตามตัว๋ และสิทธิที่จะแสวงคืนการ
ครอบครองตัว๋ ส่วนการสลักหลังตัว๋ แลกเงินซึ่งสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ ไม่ทาให้ผสู้ ลักหลังรับผิด
อย่างผูส้ ลักหลังแต่มีผลให้รบั ผิดอย่างผูร้ บั อาวัลผูส้ งั ่ จ่าย
6. การสลักหลังตัว๋ แลกเงินแก่ตวั แทนเพื่อเรียกเก็บเงินหรือให้จดั การแก่ตวั ๋ แทนตนนัน้
ตัวการที่สลักหลังไม่ได้โอนสิทธิอย่างการสลักหลังตามปกติ ผูท้ รงที่สลักหลังมีอานาจ
กระทาการเพื่อให้ได้สิทธิอนั เกิดแก่ตวั ๋ นัน้ แทนตัวการที่สลักหลัง และผูท้ รงที่รบั สลักหลังจะ
สลักหลังตัว๋ แลกเงินนัน้ ต่อไปได้ในฐานะเป็ นตัวแทนเท่านัน้
7. การสลักหลังจานาตัว๋ แลกเงิน ทาให้ผทู้ รงที่รับจานามีสิทธิเรียกเก็บเงินตามตัว๋ ในวัน
ถึงกาหนด แต่เมื่อจัดสรรชาระหนีแ้ ละอุปกรณีแล้วมีเงินเหลือต้องส่งคืนให้แก่ผสู้ ลักหลังที่
จานา และผูท้ รงที่รบั จานาและสลักหลังตัว๋ แลกเงินนัน้ ต่อไปได้ในฐานเป็ นตัวแทนเท่านัน้
9.2.1 การโอนตัว๋ แลกเงิน
53

ก. ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน 100,000 บาท แก่ ข. ข. ประสงค์จะโอนตัว๋ สัญญาใช้เงิน


ฉบับนีเ้ พื่อใช้หนีแ้ ก่ ค. ดังนี้ ท่านจะให้คาแนะนาแก่ ข. ว่าจะทาอย่างไรจึงจะมีผลการโอนตาม
กฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน
ให้คาแนะนาแก่ ข. ดังนี้คือ ตามบทบัญญัตใิ นมาตรา 917 วรรคแรก ประกอบด้วย
มาตรา 985 ตัว๋ สัญญาใช้เงินย่อมโอนให้กนั ได้ดว้ ยสลักหลังและส่งมอบ ดังนี้ ข. จึงต้องลง
ลายมือชือ่ สลักหลังระบุ ค. เป็ นผูร้ บั ประโยชน์ ที่ดา้ นหน้าหรือด้านหลังของตัว๋ ก็ได้ที่เรียกว่า
เป็ นการสลักหลังเฉพาะ หรือ ข. เพียงแต่ลงลายมือชือ่ ของตนที่ดา้ นหลังของตัว๋ ที่เรียกว่า
สลักหลังลอย ก็ได้ แต่ไม่ว่า ข. จะสลักหลังเฉพาะหรือสลักหลังลอยก็ตาม ข. ต้องส่งมอบตัว๋
สัญญาฉบับนีใ้ ห้แก่ ค. ไปด้วยจึงจะมีผลสมบูรณ์เป็ นการโอนตัว๋ สัญญาใช้เงินตามกฎหมาย
อนึง่ ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ไม่มีตวั ๋ ผูถ้ ือ การโอนตัว๋ สัญญาใช้เงินจึงต้องสลักหลังและส่ง
มอบเท่านัน้ จะโอนตัว๋ ให้กนั ด้วยวิธีสง่ มอบอย่างเดียวไม่ได้
มาตรา 917 อันตัว๋ แลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่สงั ่ จ่ายให้แก่ บุคคลเพื่อเขาสัง่ ก็ตาม ท่านว่า
ย่อมโอนให้กนั ได้ดว้ ยสลักหลังและส่งมอบ
เมื่อผูส้ งั ่ จ่ายเขียนลงในด้านหน้าแห่งตัว๋ แลกเงินว่า "เปลี่ยนมือไม่ได้" ดัง่ นีก้ ็ดี หรือเขียนคาอื่น
อันได้ความเป็ นทานองเช่นเดียวกันนัน้ ก็ดี ท่านว่าตัว๋ เงินนัน้ ย่อมจะโอนให้กนั ได้แต่โดยรูปการและด้วยผล
อย่างการ โอนสามัญ
อนึง่ ตัว๋ เงินจะสลักหลังให้แก่ผจู้ ่ายก็ได้ ไม่ว่าผูจ้ ่ายจะได้รบั รองตัว๋ นัน้ หรือไม่ หรือจะสลักหลัง
ให้แก่ผสู้ งั ่ จ่าย หรือให้แก่คส่ ู ญ ั ญาฝ่ ายใด แห่งตัว๋ เงินนัน้ ก็ได้ ส่วนบุคคลทัง้ หลายเหล่านีก้ ็ย่อมจะสลัก
หลังตัว๋ เงิน นัน้ ต่อไปอีกได้
มาตรา 985 บทบัญญัตทิ ั้งหลายในหมวด 2 ว่าด้วยตัว๋ แลกเงิน ดัง่ จะกล่าวต่อไปนี้ ท่านให้ยก
มาบังคับในเรื่องตัว๋ สัญญาใช้เงินเพียงเท่าที่ไม่ขดั กับสภาพแห่งตราสารชนิดนี้ คือบท มาตรา 911 , 913 ,
916 , 917 , 919 , 920 , 922 ถึง 926 , 938 ถึง 947 , 949 , 950 , 954 ถึง 959 , 967 ถึง 971
ถ้าเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงินที่ออกมาแต่ตา่ งประเทศ ท่านให้นาบท บัญญัตติ อ่ ไปนีม้ าใช้บงั คับด้วย
คือบท มาตรา 960 ถึง 964 , 973 , 974

9.2.2 สิทธิของผูร้ บั โอนตัว๋ แลกเงิน


นายมะไฟหลอกนายมะเฟื องให้ออกเช็คสัง่ จ่ายเงิน 500,000 บาท แก่ตนเมื่อนาไป
อวดนางสาวมะกรูดสัก 2-3 วัน แล้วจะคืนให้ นายมะเฟื องเห็นแก่เพื่อนจึงออกเช็คให้ นาย
มะเฟื องได้รบั เช็คแล้วสลักหลังโอนต่อนายมะนาวเพื่อชาระค่าซื้อรถยนต์ ต่อมานายมะไฟไม่
คืนเช็คให้ นายมะเฟื องจึงอายัดเช็คต่อธนาคารไม่ให้จ่ายเงินนายมะนาวนาเช็คไปขึน้ เงินจาก
ธนาคารไม่ได้ จึงฟ้องคดีให้นายมะเฟื องรับผิดตามเช็ค ดังนี้ นายมะเฟื องจะยกข้อต่อสูว้ ่า มี
ข้อตกลงระหว่างตนกับนายมะไฟได้หรือไม่เพราะเหตุใด
ตามบทบัญญัตใิ นกฎหมายลักษณะตัว๋ เงิน มาตรา 916 ซึ่งอนุโลมใช้บงั คับในเรื่อเช็ค
ด้วยมีใจความว่าบุคคลหลังหลายผูถ้ กู ฟ้องในมูลตัว๋ เงิน หาอาจจะต่อสูผ้ ทู้ รงด้วยข้อต่อสูอ้ นั
อาศัยความเกี่ยว พันกันเฉพาะบุคคลระหว่างตนกับผูส้ งั ่ จ่ายหรือกับผูท้ รงคนก่อนๆ นัน้ ได้ไม่
เว้นแต่การโอนจะได้มีขนึ้ ด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
54

ตามอุทาหรณ์ นายมะเฟื องซึ่งเป็ นผูถ้ กู ฟ้องในมูลเช็ค จึงหาอาจจะต่อสูน้ ายมะนาวผู้


ทรงเช็คที่รบั สลักหลังโอนมาโดยสุจริตไม่รขู้ อ้ ตกลงระหว่างนายมะเฟื องกับนายมะไฟผูท้ รง
คนก่อนนัน้ ไม่ ดังนัน้ นายมะเฟื องผูส้ งั ่ จ่ายเช็คจึงต้องรับผิดใช้เงินตามเช็ค
มาตรา 916 บุคคลทัง้ หลายผูถ้ กู ฟ้ องในมูลตัว๋ แลกเงินหาอาจจะ ต่อสูผ้ ทู้ รงด้วยข้อต่อสูอ้ นั
อาศัยความเกี่ยวพันกัน เฉพาะบุคคลระหว่าง ตนกับผูส้ งั ่ จ่ายหรือกับผูท้ รงคนก่อน ๆ นัน้ ได้ไม่ เว้นแต่
การโอนจะ ได้มีขนึ้ ด้วยคบคิดกันฉ้อฉล

9.2.3 วิธีโอนตัว๋ แลกเงิน


การสลักหลังตัว๋ เงินมีกี่ประเภทอะไรบ้าง อธิบาย
การสลักหลังตัว๋ เงินมี 2 ประเภทคือ คือ
(1) สลักหลังเฉพาะ ได้แก่ สลักหลังโดยระบุชอื่ ผูร้ บั ประโยชน์ไว้ดว้ ย กล่าวคือ ต้อง
เขียนคาสลักหลังไว้ในตัว๋ เงินหรือใบประจาต่อที่ดา้ นหน้าหรือด้านหลังของตัว๋ เงินหรือใบ
ประจาต่อและต้องลงลายมือชือ่ ผูส้ ลักหลังไว้ดว้ ย เช่น เขียนว่า “จ่ายนายสุโขทัยหรือตาม
สัง่ ” และลงลายมือชือ่ ผูส้ ลักหลังไว้ที่ดา้ นหน้าหรือด้านหลังของตัว๋ เงินหรือใบประจาต่อ
(2) สลักหลังลอย ได้แก่ สลักหลังโดยมิได้ระบุชอื่ ผูร้ บั ประโยชน์ไว้ เพียงแต่ลงลายมือ
ชือ่ ผูส้ ลักหลังไว้ที่ดา้ นหลังตัว๋ เงิน หรือใบประจาต่อ เช่น ลงลายมือชือ่ ผูส้ ลักหลังไว้ที่
ด้านหลังตัว๋ เงิน หรือใบประจาต่อโดยไม่มีขอ้ ความใดเลย
9.2.4 หลักเกณฑ์ของการสลักหลังตัว๋ แลกเงิน
ที่กล่าวว่า “การสลักหลังตัว๋ แลกเงินจะมีเงือ่ นไขไม่ได้” นัน้ หมายความว่าอย่างไร
ที่กล่าวว่า “การสลักหลังตัว๋ แลกเงินจะมีเงือ่ นไขไม่ได้” นัน้ หมายความว่า ตามปกติ
การสลักหลังโอนไปซึ่งสิทธิอนั เกิดแต่ตวั ๋ แลกเงิน ดังนัน้ การที่ผสู้ ลักหลังกาหนดข้อความให้
การโอนมีผลหรือสิ้นผลเมื่อมีเหตุการณ์อนั ใดอันหนึง่ ขึน้ ในอนาคตและไม่แน่นอน จึงทาไม่ได้
ถ้าคาสลักหลังมีเงือ่ นไขดังกล่าวกฎหมายถือว่า การสลักหลังนัน้ สมบูรณ์โดยไม่มีเงือ่ นไขเลย
9.2.5 ผลของการสลักหลังตัว๋ แลกเงิน
ผลของการสลักหลังตัว๋ แลกเงินระบุชอื่ กับตัว๋ ผูถ้ ือต่างกันอย่างไร
ตัว๋ แลกเงินระบุชอื่ ย่อมโอนให้กนั ได้ดว้ ยสลักหลังและส่งมอบ (มาตรา 917 วรรค
แรก) การสลักหลังอาจเป็ นสลักหลังเฉพาะหรือสลักหลังลอยก็ได้ เมื่อสลักหลังโดยชอบแล้ว
ย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอนั เกิดแก่ตวั ๋ แลกเงิน (มาตรา 920) กล่าวคือ สิทธิที่จะสลักหลัง
หรือโอนตัว๋ นัน้ ต่อไปอีกสิทธิที่จะไล่เบี้ยบังคับเอาเงินตามตัว๋ และสิทธิที่จะแสวงคืนครองตัว๋
เมื่อแสดงให้ปรากฏสิทธิดว้ ยการสลักหลังไม่ขาดสาย
ส่วนตัว๋ ผูถ้ ือ ย่อมโอนให้แก่กนั เพียงด้วยส่งมอบ (มาตรา 918) การสลักหลังตัว๋ ผูถ้ ือ
จึงไม่จาเป็ นและไม่เป็ นเหตุให้ผสู้ ลักหลังรับผิดในฐานะผูส้ ลักหลัง แต่กฎหมายให้มีผลว่า การ
สลักหลังตัว๋ แลกเงินซึ่งสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือย่อมเป็ นประกัน (อาวัล) สาหรับผูส้ งั ่ จ่าย (มาตรา
921)
มาตรา 918 ตัว๋ แลกเงินอันสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือนัน้ ท่านว่าย่อม โอนไปเพียงด้วยส่งมอบให้กนั
55

มาตรา 920 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอนั เกิดแต่ ตัว๋ แลกเงิน


ถ้าสลักหลังลอย ผูท้ รงจะปฏิบตั ดิ งั ่ กล่าวต่อไปนีป้ ระการหนึง่ ประการใดก็ ได้ คือ
(1) กรอกความลงในที่ว่างด้วยเขียนชื่อของตนเอง หรือชื่อบุคคลอื่น ผูใ้ ดผูห้ นึง่
(2) สลักหลังตัว๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรือสลักหลังให้ แก่บคุ คลอื่นผูใ้ ดผูห้ นึง่
(3) โอนตัว๋ เงินนัน้ ให้ไปแก่บคุ คลภายนอก โดยไม่กรอกความลง ในที่ว่าง และไม่สลักหลังอย่าง
หนึง่ อย่างใด
มาตรา 921 การสลักหลังตัว๋ แลกเงินซึ่งสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือนัน้ ย่อม เป็ นเพียงประกัน (อาวัล)
สาหรับผูส้ งั ่ จ่าย
9.2.6 การสลักหลังตัว๋ แลกเงินแก่ตวั แทน
เอกออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้โทให้จ่ายเงินแก่ตรี ตรีอยู่จงั หวัดสงขลาไม่สะดวกที่จะยื่นตัว๋
แก่โทที่จงั หวัดเชียงรายเพื่อใช้เงิน ตรีมาปรึกษาขอคาแนะนาว่าจะมอบตัว๋ แลกเงินให้แก่จตั วา
คนรูจ้ กั กันให้ทาการแทนได้อย่างไรจึงจะมีผลตามกฎหมาย และไม่เกิดความเสียหายแก่ตน
ดังนี้ ขอให้คาปรึกษาแนะนาตรีในปั ญหาดังกล่าว
ต้องแนะนาตรีตามบทบัญญัตมิ าตรา 925 คือให้ตรีลงลายมือชือ่ สลักหลังตัว๋ แลก
เงินฉบับนีแ้ ก่จตั วา และเขียนข้อความเหนือลายมือชือ่ ตรีที่สลักหลังมีขอ้ ความว่า “ราคาที่
เรียกเก็บ” หรือ “เพื่อเรียกเก็บ” หรือ “ในฐานจัดการแทน” หรือความสานวนอื่นใดอันเป็ น
ปริยายว่าตัวแทน เช่น “จ่ายจัตวาตัวแทน” หรือ “มอบให้จตั วาทาการแทน” เป็ นต้น กังนีก้ ็
มีผลตามกฎหมายว่าจัตวาเป็ นผูท้ รงในฐานเป็ นตัวแทนตรี มีสิทธิทงั้ ปวงอันเกิดแต่ตวั ๋ แลก
เงินฉบับนีใ้ นการจัดการให้ได้เงินจากโท แล้วนามามอบให้แก่ตรี จัตวาจะสลักหลังตัว๋ แลกเงิน
ต่อไปได้ก็เพียงในฐานเป็ นตัวแทนตรีเท่านัน้ ไม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายแก่ตรีขนึ้ มาได้
มาตรา 925 เมื่อใดความที่สลักหลังมีขอ้ กาหนดว่า "ราคาอยู่ที่เรียก เก็บ" ก็ดี "เพื่อเรียกเก็บ"
ก็ดี "ในฐานจัดการแทน" ก็ดี หรือความสานวน อื่นใดอันเป็ นปริยายว่าตัวแทนไซร้ ท่านว่าผูท้ รงตัว๋ แลก
เงินจะใช้สิทธิ ทัง้ ปวงอันเกิดแต่ตวั ๋ นัน้ ก็ย่อมได้ทงั้ สิ้น แต่ว่าจะสลักหลังได้เพียงในฐาน เป็ นตัวแทน
ในกรณีเช่นนี้ คูส่ ญั ญาทัง้ หลายซึ่งต้องรับผิดอาจจะต่อสูผ้ ทู้ รงได้ แต่เพียงด้วยข้อต่อสูอ้ นั จะ
พึงใช้ได้ตอ่ ผูส้ ลักหลังเท่านัน้

9.2.7 การสลักหลังจานาตัว๋ แลกเงิน


นายมกราออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายกุมภาให้ใช้เงิน 400,000 บาท แก่นายมีนา นายมี
นาประสงค์จะซื้อรถยนต์ราคา 250,000 บาท จากนายเมษา แต่นายเมษาต้องการให้นายมี
นาจานาตัว๋ แลกเงินซึ่งยังไม่ถึงกาหนดที่นายมกราออกให้เป็ นประกัน นายมีนาจึงมาปรึกษา
ท่านให้แนะนาว่าจะมอบตัว๋ แลกเงินฉบับจานวนเงิน 400,000 บาท แก่นายเมษาเป็ นประกัน
หนีไ้ ด้อย่างไร จึงจะมีผลตามกฎหมายและไม่เกิดความเสียหารแก่ตน ดังนีใ้ ห้ทา่ นแนะนานาย
มีนาในปั ญหาข้างต้น
จะต้องแนะนานายมีนาตามบทบัญญัตมิ าตรา 926 คือ ให้นายมีนาลงลายมือชือ่ สลัก
หลังตัว๋ แลกเงินฉบับนีใ้ ห้แก่นายเมษา และเขียนข้อความเหนือลายมือชือ่ นายมีนาที่สลักหลังมี
ข้อความว่า “ราคาเป็ นประกัน” หรือ “ราคาเป็ นจานา” หรือข้อกาหนดอย่างอื่นใดอันเป็ น
56

ปริยายว่าจานา เช่น “จ่ายนายเมษาเป็ นการจานา” หรือ “มอบให้นายเมษาเพื่อประกันหนี้


ค่าซื้อรถยนต์” เป็ นต้น ดังนี้ ก็จะมีผลตามกฎหมายว่านายเมษาเป็ นผูท้ รงในฐานเป็ นผูร้ บั
จานา เมื่อตัว๋ แลกเงินถึงกาหนดใช้เงินตามตัว๋ เพื่อเอามาชาระค่ารถยนต์เป็ นเงิน 250,000
บาท เงินที่เหลือ 150,000 บาท นายเมษาต้องคืนให้แก่นายมีนา และนายเมษาจะโอนสลัก
หลังตัว๋ แลกเงินฉบับนีช้ าระหนีข้ องตนไม่ได้ เว้นแต่นายมีนาจะมีคาสัง่ ดังนี้ ย่อมจะไม่
ก่อให้เกิดแก่นายมีนาขึน้ มาได้
มาตรา 926 เมื่อใดความที่สลักหลังมีขอ้ กาหนดว่า "ราคาเป็ นประกัน" ก็ดี "ราคาเป็ นจานา" ก็
ดี หรือข้อกาหนดอย่างอื่นใดอันเป็ นปริยายว่า จานาไซร้ ท่านว่าผูท้ รงตัว๋ แลกเงินจะใช้สิทธิทงั้ ปวงอันเกิด
แต่ตวั ๋ นัน้ ก็ย่อมได้ทงั้ สิ้น แต่ถา้ ผูท้ รงสลักหลังตัว๋ นัน้ ท่านว่าการสลักหลังย่อม ใช้ได้เพียงในฐานเป็ นคา
สลักหลังของตัวแทน
คูส่ ญ
ั ญาทัง้ หลายซึ่งต้องรับผิดหาอาจจะต่อสูผ้ ทู้ รงด้วยข้อต่อสู้ อันอาศัยความเกี่ยวพันเฉพาะ
บุคคลระหว่างตนกับผูส้ ลักหลังนัน้ ได้ไม่ เว้นแต่การสลักหลังจะได้มีขนึ้ ด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
แบบประเมินผลหน่วยที่ 9
1. ดาออกตัว๋ แลกเงินสัง่ แดงผูจ้ ่ายว่า “ให้จ่ายเงิน 10,000 บาท ของบริษทั สยามจากัดซึ่งอยู่ที่
ท่าน เมื่อขาวยื่นตัว๋ ” ลงชื่อดาผูจ้ ่าย กรณีนี้ ไม่ใช่ตวั ๋ แลกเงินตามกฎหมาย เพราะมีเงือ่ นไขในคาสัง่ ให้
จ่ายเงิน
2. วันถึงกาหนดของตัว๋ แลกเงินคือ เมื่อสิ้นระยะเวลาอันกาหนดนับแต่วันที่ลงในตัว๋ นัน้
3. นายมกราออกเช็คสัง่ จ่ายเงิน 200,000 บาทแก่นายกุมภา นายกุมภาสลักหลังโอนแก่นายมีนา
นายมีนาเห็นชื่อนายมกราเป็ นผูส้ งั ่ จ่ายมีความแค้นเป็ นส่วนตัวอยู่แล้วจึงฟ้ องนายมกราให้รบั ผิดตาม
ฟ้ อง ดังนี้ นายมกราไม่ตอ้ งรับผิด เพราะนายมีนายังไม่ได้นาเช็คไปยืนและธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงิน
4. ความหมายของ “สลักหลัง” คือ ลงลายมือชื่อผูท้ รงที่ดา้ นหลังตัว๋ ระบุชื่อเพื่อโอนตัว๋ เงิน
5. ท้าวสามลออกตัว๋ แลกเงินสัง่ มณฑาให้จ่ายเงินแก่สงั ข์ทอง สังข์ทองสลักหลังโอนแก่รจนา รจนา
ให้มณฑารับรองตัว๋ แล้วสลักหลังโอนไปให้เขย 1 เขย หนึง่ สลักหลังให้แก่เขย 2 เขย 2 นาตัว๋ ไปให้
มณฑาใช้เงินเมื่อถึงกาหนดแต่มณฑาโกรธเขย 2 จึงไม่ใช้เงินให้ เขย 2 ไม่ทาคาคัดค้านจนพ้นกาหนดแล้ว
จึงสลักหลังโอนให้แก่เขย 3 เขย 3 สลักหลังโอนให้เขย 4 เขย 4 สลักหลังโอนให้เขย 5 เขย 5 สลักหลัง
โอนให้เขย 6 ดังนี้ เขย 6 สามารถไล่เบี้ยเอาจากเขย 2 ถึงเขย 5 ให้รบั ผิดได้เท่านัน้
6. ผูม้ ีสิทธิโอนตัว๋ แลกเงินได้แก่ ผูจ้ ดั การมรดกของผูท้ รง
7. นายหนึง่ สัง่ จ่ายเช็คเงิน 100,000 บาท แก่นายสองโดยไม่ได้ลงวันที่สงั ่ จ่ายไว้ ต่อมานายหนึง่
ตายไป นายสองรีบกรอกวัน เดือน ปี ลงในเช็คแล้วนาไปขึน้ เงิน ธนาคารไม่ยอมจ่ายเงิน นายสองจึง
ฟ้ องนายสามทายาทของนายหนึง่ ดังนี้ นายสามต่อสูว้ ่าเช็คไม่ได้ลงวันที่สงั ่ จ่าย จึงไม่ตอ้ งรับผิด ตาม
กฎหมายแล้วนายสามต่อสูไ้ ม่ได้ เพราะนายสองกระทาการโดยสุจริต กรอกวันตามที่ถกู ต้องแท้จริงได้
8. เอ ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ บี ให้จ่ายเงินแก่ ชี นาตัว๋ เงินไปยื่นให้ บี รับรองให้ ชี จึงสลักหลังโอนให้ ดี
ดี สลักหลังโอนให้ อี เมื่อตัว๋ ถึงกาหนดใช้เงิน อี นาตัว๋ ไปยื่นให้ บี ให้จ่ายเงิน แต่ บี ปฏิเสธ อี จึง ทาคา
คัดค้านการไม่ใช้เงิน แล้ว อี สลักหลังโอนตัว๋ ให้แก่ เอฟ ดังนี้ เอฟ สามารถเรียกร้องให้ เอ บี ซี ดี รับผิด
ได้เท่านัน้
9. นายชวด ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ นายฉลูให้ใช้เงินแก่ นายขาล นายขาล สลักหลังโอนแก่ นายเถาะ ให้
จัดการแทน นายเถาะ ยื่นตัว๋ แลกเงินต่อ นายฉลู เพื่อให้รบั รองแต่ นายฉลู ไม่ยอมรับรอง ดังนี้ นายขาล
มีสิทธิฟ้องนายชวดให้รบั ผิดได้ เพราะนายขาลเป็ นตัวการ
57

10. หนึง่ ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน 200,000 บาท แก่สอง ก่อนตัว๋ ถึงกาหนด สองจึงยืมเงินสามและ
สลักหลังตัว๋ สัญญาใช้เงินฉบับนีจ้ านาแก่สาม เมื่อถึงกาหนดสามนาตัว๋ สัญญาใช้เงินไปยื่ นแก่หนึง่ แต่
หนึง่ ไม่ยอมใช้เงิน ดังนี้ หนึง่ จะยกข้อต่อสูข้ องหนึง่ ที่มีตอ่ สองขึน้ ต่อสูส้ ามไม่ได้ เพราะสามเป็ นผูท้ รงที่
รับจานา
11. จันทร์ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ อังคารให้จ่ายเงินแก่พธุ 100,000 บาท โดยพุธรับรองตัว๋ นีแ้ ล้ว
อังคารได้สลักหลังโอนให้พฤหัส เมื่อตัว๋ ถึงกาหนดใช้เงิน พฤหัสนาตัว๋ ไปยื่นให้พธุ จ่ายเงิน แต่พธุ เล่นการ
พนันเสีย ไม่มีเงินจ่ายให้ ขอผลัดไป 7 วัน พฤหัสจึงทาคาคัดค้านการไม่ใช้เงินแล้วรีบสลักหลังโอนตัว๋ ไป
ให้ศกุ ร์ ศุกร์สลักหลังต่อไปยังเสาร์ เสาร์สลักหลังต่อไปยังอาทิตย์ ดังนี้ อาทิตย์มีสิทธิไล่เบี้ย แก่จนั ทร์
อังคาร และพุธ ได้นนั้
12. หนึง่ ออกตัว๋ แลกเงินสัง่ สองให้จ่ายเงิน 500,000 บาทแก่สาม สาม สลักหลังโอนแก่ สี่ สี่ สลัก
หลังโอนแก่ ห้า ห้าให้สองรับรองตัว๋ แล้วสลักหลังโอนให้แก่ หก หกนาตัว๋ ไปยื่นแก่สองแต่สองไม่ยอมใช้
เงินให้ หกไม่ทาคาคัดค้านจนพ้นกาหนดแล้วจึงสลักหลังโอนให้แก่เจ็ด เจ็ดสลักหลังโอนให้แก่แปด แปด
สลักหลังโอนให้แก่เก้า เก้าสลักหลังโอนแก่สิบ ดังนี้ สิบจะเรียกร้องเงิน 500,000 บาท จากสอง เจ็ด
แปดและ เก้า เท่านัน้
13. สามลออกตัว๋ แลกเงินสัง่ มณฑาให้จ่ายเงิน 1 ล้านบาทแก่สงั ข์ทอง สังข์ทองสลักหลังโอนให้แก่
รจนาโดยข้อความว่า “ราคาอยู่ที่เรียกเก็บ” รจนายื่นตัว๋ ต่อให้มณฑารับรอง แต่มณฑาโกรธจึงไม่ยอม
รับรอง สังข์ทองฟ้ องสามลให้รบั ผิดได้เพราะสังข์ทองเป็ นตัวการ
14. เอกออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้โท จ่ายเงิน 550,000 บาทแก่ตรี ตรียืมเงินจัตวาและสลักหลังตัว๋ จานา
แก่ จัตวา เมื่อตัว๋ ถึงกาหนด จัตวานาตัว๋ ไปยื่นแก่โท แต่โทไม่ยอมจ่ายเงิน โทจะยกข้อต่อสูม้ าต่อสูจ้ ตั วา
ดังนี้ โทยกข้อต่อสูข้ องโทที่มีตอ่ ตรีขนึ้ ต่อสูจ้ ัตวาไม่ได้ เพราะจัตวาเป็ นผูท้ รงที่รบั จานา
15. นายมกราสัง่ จ่ายเช็คเงิน 80,000 บาทแก่นายกุมภาโดยลืมลงวันที่สงั ่ จ่าย ต่อมาอีกสามเดือน
นายภุมภาสลักหลังโอนแก่นายมีนา อีก 7 วันนายมกราตาย นายมีนาทราบข่าวจึงกรอกวันที่สงั ่ จ่ายลง
ในเช็คและนาไปขึน้ เงินต่อธนาคาร แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินโดยอ้างว่านายมกราตายแล้ว นายมีนา
จึงฟ้ องนายเมษาบุตรของนายมกราให้รบั ผิดใช้เงินตามเช็ค นายเมษาต่อสูว้ ่าไม่ตอ้ งรับผิดเนือ่ งจากเช็ค
ไม่ลงวันที่สงั ่ จ่าย ข้อต่อสูฟ้ ั งไม่ขนึ้ เพราะนายมีนากระทาการโดยสุจริตกรอกวันตามที่ถกู ต้องแท้จริง

หน่วยที่ 10 การรับรอง อาวัลและการใช้เงินตามตัว๋ แลกเงิน


1. เนือ่ งจากผูจ้ ่ายเป็ นบุคคลที่จะต้องใช้เงินเมื่อตัว๋ แลกเงินถึงกาหนดดังนัน้ เพื่อให้ผทู้ รงมี
ความมัน่ ใจว่าตนจะได้รบั เงิน กฎหมายจึงให้ผทู้ รงมีสิทธินาตัว๋ แลกเงินไปให้ผจู้ ่ายรับรอง
ก่อนถึงกาหนดใช้เงินได้
2. การอาวัลเป็ นการคา้ ประกันบุคคลที่เป็ นลูกหนีต้ ามตัว๋ แลกเงินแต่กฎหมายได้บญ ั ญัติ
หลักเกณฑ์เป็ นพิเศษแตกต่างจากสัญญาคา้ ประกันหนีท้ วั ่ ไป
3. ตัว๋ แลกเงินเป็ นมูลหนีท้ ี่เจ้าหนี้จะต้องเป็ นฝ่ ายไปขอให้ลกู หนีป้ ฏิบตั กิ ารชาระหนี้ ซึ่งทา
ได้โดยการเอาตัว๋ แลกเงินไปยื่นในวันที่ตวั ๋ ถึงกาหนด
10.1 การรับรองตัว๋ แลกเงิน
58

1. การรับรองตัว๋ แลกเงินเป็ นการที่ผทู้ รงนาตัว๋ แลกเงินไปให้ผจู้ ่ายรับรองว่าจะจ่ายเงิน


ให้ผทู้ รง เมื่อตัว๋ ถึงกาหนด
2. ผูท้ รงมีสิทธิจะนาตัว๋ แลกเงินไปให้ผจู้ ่ายรับรองหรือไม่ก็ได้
3. การรับรองกระทาโดยการลงลายมือชือ่ ที่ดา้ นหน้าของตัว๋ แลกเงิน
4. การรับรองตัว๋ แลกเงินมี 2 ประเภทคือ รับรองตลอดไป และรับรองเบี่ยงบ่าย
5. ถ้าผูจ้ ่ายรับรองตัว๋ แลกเงินเพียงใด ผูจ้ ่ายต้องผูกพันรับผิดตามที่ตนรับรอง
10.1.1 ความหมายของการรับรองตัว๋ แลกเงิน
การรับรองตัว๋ แลกเงินคืออะไร
การรับรองตัว๋ แลกเงินคือ การที่ผทู้ รงตัว๋ แลกเงินไปให้ผจู้ ่ายลงลายมือชือ่ ที่
ด้านหน้าของตัว๋ เพื่อรับรองว่าเมื่อตัว๋ ถึงกาหนดก็จะใช้เงินให้
10.1.2 หลักเกณฑ์ในการนาตัว๋ แลกเงินไปให้รบั รอง
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้เหลือง 10,000 บาท ในวันที่ 1 พฤษภาคม
2536 โดยเขียนข้อกาหนดไว้ความว่า ห้ามนาตัว๋ ไปยื่นให้รบั รองก่อนวันที่ 15 เมษายน
2536 ต่อมาเหลืองนาตัว๋ ไปยื่นให้ดารับรองเมือ่ วันที่ 12 เมษายน 2536 ดาไม่ยอมรับรอง
ดังนี้ เหลืองจะทาคาคัดค้านเพื่อใช้สิทธิไล่เบี้ยได้หรือไม่
เหลืองจะทาคาคัดค้านและใช้สิทธิไล่เบี้ยไม่ได้เนือ่ งจากแดงผูส้ งั ่ จ่ายวางข้อกาหนด
ห้ามนาตัว๋ ไป ยื่นให้รบั รองก่อนวันที่ 15 เมษายน ดังนัน้ เหลืองจะนาตัว๋ ไปยื่นก่อนกาหนดได้
(มาตรา 927 วรรค 3)
มาตรา 927 อันตัว๋ แลกเงินนัน้ จะนาไปยื่นแก่ผจู้ ่าย ณ ที่อยู่ของผูจ้ ่าย เพื่อให้รบั รองเมื่อไร ๆ ก็
ได้ จนกว่าจะถึงเวลากาหนดใช้เงิน และผูท้ รงจะ เป็ นผูย้ ื่น หรือเพียงแต่ผทู้ ี่ได้ตวั ๋ นัน้ ไว้ในครอบครองจะ
เป็ นผูน้ าไปยื่นก็ได้
ในตัว๋ แลกเงินนัน้ ผูส้ งั ่ จ่ายจะลงข้อกาหนดไว้ว่าให้นายื่นเพื่อรับรองโดย กาหนดเวลาจากัดไว้ให้
ยื่น หรือไม่กาหนดเวลาก็ได้
ผูส้ งั ่ จ่ายจะห้ามการนาตัว๋ แลกเงินยื่นเพื่อรับรองก็ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เป็ นตัว๋ เงินอันได้ออกสัง่
ให้ใช้เงินเฉพาะ ณ สถานที่อื่นใดอันมิใช่ภมู ิลาเนาของ ผูจ้ ่าย หรือได้ออกสัง่ ให้ใช้เงินในเวลาใดเวลาหนึง่
นับแต่ได้เห็น
อนึง่ ผูส้ งั ่ จ่ายจะลงข้อกาหนดไว้ว่ายังมิให้นาตัว๋ ยื่นเพื่อให้รบั รองก่อน ถึงกาหนดวันใดวันหนึง่
ก็ได้
ผูส้ ลักหลังทุกคนจะลงข้อกาหนดไว้ว่า ให้นาตัว๋ เงินยื่นเพื่อรับรองโดย กาหนดเวลาจากัดไว้ให้
ยื่น หรือไม่กาหนดเวลาก็ได้ เว้นแต่ผสู้ งั ่ จ่ายจะได้ ห้ามการรับรอง

10.1.3 วิธีรบั รองตัว๋ แลกเงิน


แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท กาหนดใช้เงินวันที่ 10
เมษายน 2536 ต่อมาวันที่ 1 มีนาคม 2536 ขาวเอาตัว๋ ไปให้ดารับรอง ดาเขียนลงด้านหลัง
ตัว๋ เป็ นข้อความว่า รับรองแล้ว และลงลายมือชื่อไว้ ต่อมาวันที่ 10 เมษายน 2536 ขาวเอา
ตัว๋ ไปยื่นให้ดาใช้เงิน ดาไม่ยอมใช้ ดังนี้ ขาวจะฟ้องดาให้รบั ผิดตามตัว๋ เงินได้หรือไม่
59

ดาลงชือ่ เพื่อรับรองตัว๋ แต่ทาผิดแบบเพราะไปเขียนไว้ดา้ นหลังย่อมไม่มีผลเป็ นการ


รับรอง และ จะถือว่าเป็ นการสลักหลัง หรืออาวัล หรืออื่นๆ ก็ไม่ได้ เพราะข้อความเขียนไว้
ชัดว่ารับรอง ลายมือชือ่ ดาเป็ นอันเสียเปล่าไม่กอ่ ความรับผิดใดๆ ดังนัน้ ขาวจะฟ้องดาให้รบั
ผิดตามตัว๋ เงินไม่ได้ (มาตรา 931)
มาตรา 931 การรับรองนัน้ พึงกระทาด้วยเขียนลงไว้ในด้านหน้า แห่งตัว๋ แลกเงินเป็ นถ้อยคา
สานวนว่า "รับรองแล้ว" หรือความอย่าง อื่นทานองเช่นเดียวกันนัน้ และลงลายมือชื่อของผูจ้ ่าย อนึง่ แต่
เพียง ลายมือชื่อของผูจ้ ่ายลงไว้ในด้านหน้าแห่งตัว๋ แลกเงิน ท่านก็จดั ว่าเป็ น คารับรองแล้ว
10.1.4 ประเภทของการรับรองตัว๋ แลกเงิน
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวนาตัว๋ ไปยื่นให้ดา
รับรอง ดาเขียนข้อความด้านหน้าตัว๋ ว่า รับรอง 4,000 บาท และลงชื่อไว้ เช่นนีข้ าวจะบอก
ปั ดไม่ยอมรับการรับรองและใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อแดงได้เลยหรือไม่
กรณีดารับรองแต่เพียงบางส่วน ซึ่งถือเป็ นการรับรองเบี่ยงบ่ายขาวผูท้ รงย่อม
บอกปั ดและใช้สิทธิไล่เบี้ยได้ ตามมาตรา 936
มาตรา 936 คารับรองเบี่ยงบ่ายนัน้ ผูท้ รงตัว๋ แลกเงินจะบอกปั ดเสีย ก็ได้ และถ้าไม่ได้คา
รับรองอันไม่เบี่ยงบ่าย จะถือเอาตัว๋ เงินนัน้ เป็ นอันขาด ความเชื่อถือรับรองก็ได้
ถ้าผูท้ รงรับเอาคารับรองเบี่ยงบ่าย และผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังมิได้ให้ อานาจแก่ผทู้ รงโดย
แสดงออกชัดหรือโดยปริยายให้รบั เอาคารับรองเบี่ยง บ่ายเช่นนัน้ ก็ดีหรือไม่ยินยอมด้วยในภายหลังก็ดี
ท่านว่าผูส้ งั ่ จ่ายหรือ ผูส้ ลักหลังนัน้ ๆย่อมหลุดพ้นจากความรับผิดตามตัว๋ เงินนัน้ แต่บท บัญญัตทิ งั้ นี้
ท่านมิให้ใช้ไปถึงการรับรองแต่บางส่วน ซึ่งได้บอกกล่าว ก่อนแล้วโดยชอบ
ถ้าผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังตัว๋ เงินรับคาบอกกล่าวการรับรองเบี่ยงบ่าย แล้วไม่โต้แย้งไปยังผู้
ทรงภายในเวลาอันสมควรท่านให้ถือว่าผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังนัน้ เป็ นอันได้ยินยอมด้วยกับการนัน้ แล้ว
10.1.5 ผลของการรับรองตัว๋ แลกเงิน
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวนาตัว๋ ไปให้ดารับรอง
ดารับรองเพียง 5,000 บาท ต่อมาถึงวันครบกาหนด ขาวนาตัว๋ เงินไปยื่นให้ใช้เงิน ดาไม่
ยอมใช้ ดังนีข้ าวจะให้สิทธิไล่เบี้ยดาได้เพียงใด
ขาวไล่เบี้ยดาได้เพียง 5,000บาท เพราะดาต้องรับผิดตามเนือ้ ความที่ตนรับรอง
(มาตรา 937)
มาตรา 937 ผูจ้ ่ายได้ทาการรับรองตัว๋ แลกเงินแล้วย่อมต้องผูกพัน ในอันจะจ่ายเงินจานวนที่
รับรองตามเนือ้ ความแห่งคารับรองของตน
10.2 การอาวัลตัว๋ แลกเงิน
1. การอาวัลเป็ นการคา้ ลูกหนีค้ นใดคนหนึง่ ตามตัว๋ แลกเงิน
2. การอาวัลทาได้โดยเขียนข้อความอาวัลและลงชือ่ ไว้ดา้ นหน้าของตัวแลกเงิน
3. การอาวัลทาให้ผรู้ บั อาวัลต้องรับผิดเช่นเดียวกับบุคคลที่ตนรับอาวัล
10.2.1 ความหมายของการอาวัล
60

แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ดาให้จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท เขียวและชมพูเข้ารับอาวัล


แดง ต่อมาเมื่อตัว๋ ถึงกาหนด ดาไม่ยอมใช้เงิน ขาวไล่เบี้ยเอาจากชมพูแล้ว ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ย
เขียวให้รบั ผิด
5,000 บาท ได้หรือไม่
ชมพูไล่เบี้ยเขียวไม่ได้ เพราะกรณีนไี้ ม่นาหลักเรื่องผูค้ า้ ประกันร่วมตามมาตรา 682
มาใช้ตอ้ งบังคับตามเรื่องอาวัลเนือ่ งจากเขียวไม่ใช่คนที่ผกู พันรับผิดอยูก่ อ่ นแดง ชมพูจึงไล่
เบี้ยไม่ได้
10.2.2 วิธีอาวัล
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ผถู้ ือ 10,000 บาท แล้ว มอบตัว๋ ให้ขาว ขาว
สลักหลังลอยโอนตัว๋ ให้เขียวดังนี้ ขาวจะต้องรับผิดในฐานะใด
การสลักหลังตัว๋ แลกเงินที่ออกแก่ผถู้ ือมีผลเป็ นการอาวัลผูส้ งั ่ จ่าย ขาวจึงต้องรับ
ผิดฐานะผูร้ บั อาวัลแดง (มาตรา 921)
มาตรา 921 การสลักหลังตัว๋ แลกเงินซึ่งสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือนัน้ ย่อมเป็ นเพียงประกัน (อาวัล)
สาหรับผูส้ งั ่ จ่าย
10.2.3 ผลของการอาวัล
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังให้เขียว
ชมพูอาวัลเขียว เขียวสลักหลังให้เหลือง เหลืองสลักหลังให้มว่ ง และดาได้รบั รองตัว๋ นี้ ต่อมา
ม่วงนาตัว๋ ไปยื่นในวันครบกาหนด ดาไม่ยอมใช้เงิน ม่วงจึงใช้สิทธิไล่เบี้ยชมพู ชมพูยอมจ่าย
ทัง้ หมด ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ยใคร ได้บา้ ง
ชมพูไล่เบี้ยเขียวได้เพราะตนรับอาวัลเขียว และไล่เบี้ยดา แดง และขาว ได้เพราะเป็ น
บุคคลที่ผกู พันรับผิดแทนเขียว (มาตรา 940)
มาตรา 940 ผูร้ บั อาวัลย่อมต้องผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับบุคคล ซึ่งตนประกันแม้ถึงว่า
ความรับผิดใช้เงินอันผูร้ บั อาวัลได้ประกันอยู่นนั้ จะตกเป็ น ใช้ไม่ได้ดว้ ยเหตุใด ๆ นอกจากเพราะทาผิด
แบบระเบียบ ท่านว่าข้อ ที่สญ ั ญารับอาวัลนัน้ ก็ยงั คงสมบูรณ์
เมื่อผูร้ บั อาวัลได้ใช้เงินไปตามตัว๋ แลกเงินแล้ว ย่อมได้สิทธิในอัน จะไล่เบี้ยเอาแก่บคุ คลซึ่งตนได้
ประกันไว้ กับทัง้ บุคคลทัง้ หลายผูร้ บั ผิดแทนตัวผูน้ นั้

10.3 การใช้เงินตามตัว๋ แลกเงิน


1. ผูท้ รงจะต้องนาตัว๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงินเมื่อตัว๋ ถึงกาหนด
2. ผูท้ รงต้องนาตัว๋ แลกเงินไปยื่นต่อผูจ้ ่ายหรือรับรองเพื่อให้เขาใช้เงิน
3. การยื่นตัว๋ แลกเงินตามกาหนดย่อมทาให้ผทู้ รงได้รบั การใช้เงิน หรือถ้าผูจ้ ่าย หรือผู้
รับรองไม่ยอมใช้เงิน ผูท้ รงก็สามารถไล่เบี้ยเอาจากคู่สญ ั ญาคนอื่นๆได้
4. ถ้าผูท้ รงไม่นาตัว๋ แลกเงินไปยื่นตามกาหนด ผูท้ รงย่อมเสียสิทธิที่ไล่เบี้ยคู่สญ
ั ญาคน
อื่นๆ เว้นแต่ผรู้ บั รอง
10.3.1 กาหนดเวลานาตัว๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน
61

แดงออกตัว๋ แลกเงินลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2536 สัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000


บาท ดังนี้ ขาวจะต้องนาตัว๋ ไปยื่นให้ดาใช้เงินอย่างช้าเมื่อใด
ขาวต้องนาตัว๋ ไปยื่นภายใน 6 เดือนนับแต่วนั ที่ลงในตัว๋ จึงต้องยื่นตัว๋ ภายในวันที่ 1
พฤษภาคม 2536 (ตามมาตรา 944)
มาตรา 944 อันตัว๋ แลกเงินซึ่งให้ใช้เงินเมื่อได้เห็นนัน้ ท่านว่าย่อม จะพึงใช้เงินในวันเมื่อยื่นตัว๋
ทัง้ นีต้ อ้ งยื่นให้ใช้เงินภายในกาหนดเวลา ซึ่งบังคับไว้ เพื่อการยื่นให้รบั รองตัว๋ เงินชนิดให้ใช้เงินในเวลาใด
เวลาหนึง่ ภายหลังได้เห็นนัน้

10.3.2 วิธีการนาตัว๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน


แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังโอนตัว๋ ให้
เหลืองต่อมาดารับรองตัว๋ เมื่อถึงกาหนดใช้เงิน เหลืองยอมผ่อนเวลาให้ดา 1 เดือน ดังนี้
เมื่อครบกาหนดเหลืองจะ
ฟ้องร้องให้ผใู้ ดรับผิดได้บา้ ง
เหลืองยอมผ่อนเวลาให้ผจู้ ่ายโดยคู่สญ ั ญาอื่นไม่ยินยอม คู่สญ
ั ญาอื่นจึงหลุดพ้น
ความรับผิด เหลืองฟ้องให้ดารับผิดได้คนเดียว (ตามมาตรา 948)
มาตรา 948 ถ้าผูท้ รงตัว๋ แลกเงินยอมผ่อนเวลาให้แก่ผจู้ ่ายไซร้ท่านว่า ผูท้ รงสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ย
เอาแก่ผเู้ ป็ นคูส่ ญ
ั ญาคนก่อน ๆ ซึ่งมิได้ตกลงใน การผ่อนเวลานัน้

10.3.3 ผลของการนาตัว๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน


แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินแก่ผถู้ ือ 10,000 บาท แล้วมอบตัว๋ ให้ขาว ขาว
ทาตัว๋ ตกหาย เหลืองเก็บได้ ครัน้ ถึงวันกาหนดใช้เงิน เหลืองเอาตัว๋ ไปยื่นให้ดาใช้เงิน ดาใช้เงิน
ไปโดยสุจริต ดังนี้ ภายหลังขาวจะฟ้องเรียกตัว๋ คืนและบังคับให้ดาใช้เงินซา้ ได้หรือไม่
ดาไม่ตอ้ งใช้เงินซา้ เพราะดาใช้เงินไปโดยสุจริตในวันที่ตวั ๋ ถึงกาหนด จึงหลุดพ้นจาก
ความรับผิด ตามมาตรา 949
มาตรา 949 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติ มาตรา 1009 บุคคล ผูใ้ ช้เงินในเวลาถึงกาหนดย่อม
เป็ นอันหลุดพ้นจากความรับผิด เว้นแต่ตนจะได้ทาการฉ้อฉลหรือมีความประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรง
อนึง่ บุคคลซึ่งกล่าวนีจ้ าต้องพิสจู น์ให้เห็นจริงว่าได้มีการ สลักหลังติดต่อกันเรียบร้อยไม่ขาด
สาย แต่ไม่จาต้องพิสจู น์ลายมือ ชื่อของเหล่าผูส้ ลักหลัง

10.3.4 ผลของการไม่นาตัว๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน


แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ดายอมรับรองตัว๋ เงินนี้
และขาวสลักหลังโอนให้เขียว ครัน้ ถึงวันครบกาหนดเขียวไม่นาตัว๋ ไปยื่นต่อดา ดังนี้ ใครจะ
หลุดพ้นจากความรับผิดตามตัว๋ ได้บา้ ง
บรรดาผูส้ งั ่ จ่ายและผูส้ ลักหลังคือ แดง และขาวหลุดพ้น แต่ดาซึ่งเป็ นผูร้ บั รองไม่
หลุดพ้น มาตรา 973
มาตรา 973 เมื่อกาหนดเวลาจากัดซึ่งจะกล่าวต่อไปนีไ้ ด้ลว่ งพ้นไป แล้วคือ
(1) กาหนดเวลาสาหรับยื่นตัว๋ แลกเงินชนิดให้ใช้เงินเมื่อได้เห็น หรือ ในระยะเวลาอย่างใดอย่าง
หนึง่ ภายหลังได้เห็น
62

(2) กาหนดเวลาสาหรับทาคาคัดค้านการไม่รบั รองหรือการไม่ใช้เ งิน


(3) กาหนดเวลาสาหรับยื่นตัว๋ เพื่อให้ใช้เงิน ในกรณีที่มีขอ้ กาหนดว่า "ไม่จาต้องมีคาคัดค้าน"
ท่านว่าผูท้ รงย่อมสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่เหล่าผูส้ ลักหลัง ผูส้ งั ่ จ่าย และคูส่ ญั ญาอื่น ๆ ผูต้ อ้ งรับผิด
เว้นแต่ผรู้ บั รอง
อนึง่ ถ้าไม่ยื่นตัว๋ แลกเงินเพื่อให้เขารับรองภายในเวลาจากัดดัง่ ผูส้ งั ่ จ่ายได้กาหนดไว้ ท่านว่าผู้
ทรงย่อมเสียสิทธิที่จะไล่เบี้ยทัง้ เพื่อการที่เขา ไม่ใช้เงิน และเพื่อการที่เขาไม่รบั รอง เว้นแต่จะปรากฏจาก
ข้อกาหนดว่าผู้ สัง่ จ่ายหมายเพียงแต่จะปลดตนเองให้พน้ จากประกันการรับรอง
ถ้าข้อกาหนดจากัดเวลายื่นตัว๋ แลกเงินนัน้ มีอยู่ที่คาสลักหลังท่านว่า เฉพาะแต่ผสู้ ลักหลังเท่านัน้
จะอาจเอาประโยชน์ในข้อกาหนดนัน้ ได้
แบบทดสอบหน่วยที่ 10
1. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท การกระทาต่อไปนีท้ ี่ถือว่าเป็ นการ
รับรองคือ ดาลงลายมือชื่อที่ดา้ นหน้าของตัว๋ แลกเงิน
2. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ภายใน 3 เดือนนับแต่ได้เห็น ดังนีข้ าว
จะต้องดาเนินการ ขาวจะต้องนาตัว๋ ไปให้ดารับรอง
3. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวนาตัว๋ ไปให้ดารับรอง ดารับรอง
เพียง 5,000 บาท ดังนี้ ดาต้องรับผิดตามตัว๋ แลกเงินเพียง 5,000 บาท
4. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินแก่ผถู้ ือแล้วมอบตัว๋ ให้ขาว ขาวสลักหลังโอนให้เขียว เขียวลง
ชื่อที่ดา้ นหน้าแล้วส่งมอบให้เหลือง ดังนี้ ผูร้ บั อาวัลแดงคือ ขาวและเขียว
5. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังโอนให้เขียว ชมพูรบั
อาวัลเขียว เขียวสลัดหลังตัว๋ โอนให้เหลือง เหลืองสลักหลังให้มว่ ง ครัน้ ตัว๋ ถึงกาหนด ดาไม่ยอมใช้เงิน
ชมพูจึงชาระเงินให้มว่ งไป 10,000 บาท ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ยจากแดงได้
6. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ภายใน 3 เดือนนับแต่ได้เห็น ดังนีถ้ า้
ขาวนาตัว๋ ไปให้ดารับรอง และดาลงชื่อรับรองและลงวันที่ 30 เมษายน 2535 ดังนีข้ าวจะต้องนาตัว๋ ไป
ยื่นให้ใช้เงิน ภายใน 31 กรกฎาคม 2535
7. กรณีตอ่ ไปนีถ้ ือว่า ผูท้ รงผ่อนเวลาให้ผจู้ ่ายคือ ก่อนวันครบกาหนด ผูจ้ ่ายมาขอผลัดการชาระ
หนี้ ผูท้ รงยอมให้เวลาอีก 7 วัน นับจากวันที่ตวั ๋ ครบกาหนด โดยจะยังไม่เรียกร้องจากผูจ้ ่ายในระหว่างนี้
8. ถ้าผูท้ รงไม่นาตัว๋ ไปยื่นต่อผูร้ บั รองให้ใช้เงินในวันที่ตวั ๋ ครบกาหนด ผูท้ ี่จะหลุดพ้นจากความรับ
ผิดคือ ผูส้ งั ่ จ่ายและผูร้ บั อาวัลรับรอง
9. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินแก่ขาว 10,000 บาท กรณีที่ถือว่าเป็ นการอาวัลได้แก่
ชมพูลงลายมือชื่อที่ดา้ นหน้าของตัว๋
10. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินแก่ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังโอนตัว๋ ให้เขียว ชมพูและ
ม่วงลงลายมือชื่อที่ดา้ นหน้าของตัว๋ ต่อมาชมพูใช้เงินให้เขียวไป 10,000 บาท ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ยจาก
แดงได้ 10,000 บาท
11. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ดาลงลายมือชื่อของตนไว้ที่ดา้ นหลัง
ของตัว๋ ดังนี้ ดาจะต้องรับผิดในฐานะ ผูส้ ลักหลัง
12. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้แก่ผถู้ ือ 10,000 บาท แล้วส่งมอบต่อให้ขาว ในกรณีที่
ถือว่าเป็ นการอาวัลคือ ดาลงลายมือชื่อที่ดา้ นหลังของตัว๋
63

13. กรณีที่ แดงออกตัว๋ สัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาวเมื่อได้เห็น ขาวจะนาเอาตัว๋ แลกเงินไปให้ดารับรอง


ไม่ได้
14. แดงออกตัว๋ แรกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวนาตัว๋ ไปให้ดารับรอง ดารับรอง
โดยมีเงือ่ นไขว่าจะใช้เงินต่อเมื่อสินค้าซึ่งดาซื้อจากแดงได้สง่ มอบเรียบร้อย ขาวก็ยอมรับ ดังนีผ้ รู้ บั ผิด
ตามตัว๋ คือ ดาต้องรับผิดตามตัว๋ ถ้าเงือ่ นไขสาเร็จ
15. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังโอนตัว๋ ให้เขียว ชมพูรบั
อาวัลเขียว เขียวสลักหลังโอนตัว๋ ให้มว่ ง เมื่อครบกาหนดดาไม่ยอมใช้เงินเขียวจึ งใช้เงินม่วงไป 10,000
บาท ดังนี้ เขียวสามารถไล่เบี้ยแดงได้ 10,000 บาท
16. แดงออกตัว๋ แลกเงินเมื่อ 1 มกราคม 2535 สัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท เมื่อครบ
กาหนด 1 เดือน นับแต่ได้เห็น ขาวนาตัว๋ ไปให้ดารับรอง ดายอมรับรองแต่ไม่ได้ลงวันที่รบั รองไว้ ดังนี้
ขาวจะต้องนาตัว๋ ไปยื่นให้ใช้เงินได้เมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2535
17. ถ้าผูท้ รงผ่อนเวลาให้ผรู้ บั รอง บุคคลที่จะหลุดพ้นความรับผิดคือ ผูส้ งั ่ จ่ายและผูร้ บั อาวัลผู้
รับรอง
18. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินแก่ขาวในวันที่ 10 เมษายน 2535 จานวน 10,000 บาท
ดาได้ลงชื่อรับรองในตัว๋ ต่อมาขาวมิได้นาตัว๋ ไปยื่นให้ดาใช้เงินตามกาหนด ดังนี้ ผลคือ ดาจะหลุดพ้น
ความรับผิดต่อเมื่อดาวางเงิน 10,000 บาท
19. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้แก่ผถู้ ือ 10,000 บาท แล้วมอบให้ขาว ขาวสลักหลังให้
เขียว เขียวสลักหลังให้มว่ ง ม่วงสลักหลังตัว๋ ให้เหลือง เมื่อตัว๋ ครบกาหนดดายังไม่ยอมใช้เงิน เหลืองจึง
เรียกเงินจากม่วง ม่วงยอมชาระเงินไป 10,000 บาท ดังนี้ ม่วงจะไล่เบี้ยเอาจากแดง
20. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ในวันที่ 1 เมษายน 2535 ขาวสลัก
หลังตัว๋ ให้เขียว ดาลงชื่อรับรองในตัว๋ ครัง้ ถึงวันที่ 30 มีนาคม 2536 เขียวป่ วยเป็ นไส้ตงิ่ อักเสบต้อง
เข้าผ่าตัดและพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล 10 วัน พอออกจากโรงพยาบาลเขียวก็รีบนาตัว๋ ไปยื่นให้ดา
ใช้เงิน ดาไม่ยอมใช้เงิน เขียวจึงใช้สิทธิไล่เบี้ยกับ ดา แดง และขาว

“อาวัล”
มาตรา 938 ตัว๋ แลกเงินจะมีผคู้ า้ ประกัน รับประกันการใช้เงินทัง้ จานวน หรือแต่บางส่วนก็ได้
ซึ่งท่านเรียกว่า "อาวัล"
อันอาวัลนัน้ บุคคลภายนอกคนใดคนหนึง่ จะเป็ นผูร้ บั หรือแม้ค่สู ญ ั ญา แห่งตัว๋ เงินนัน้ ฝ่ ายใด
ฝ่ ายหนึง่ จะเป็ นผูร้ บั ก็ได้
มาตรา 939 อันการรับอาวัลย่อมทาให้กนั ด้วยเขียนลงในตัว๋ แลก เงินนัน้ เอง หรือที่ใบประจา
ต่อ
ในการนีพ้ ึงใช้ถอ้ ยคาสานวนว่า "ใช้ได้เป็ นอาวัล" หรือสานวนอื่นใด ทานองเดียวกันนัน้ และลง
ลายมือชื่อผูร้ บั อาวัล
อนึง่ เพียงแต่ลงลายมือชื่อของผูร้ บั อาวัลในด้านหน้าแห่งตัว๋ เงินท่าน ก็จดั ว่าเป็ นคารับอาวัล
แล้ว เว้นแต่ในกรณีที่เป็ นลายมือชื่อของผูจ้ ่าย หรือผูส้ งั ่ จ่าย
ในคารับอาวัลต้องระบุว่ารับประกันผูใ้ ด หากมิได้ระบุ ท่านให้ถือ ว่ารับประกันผูส้ งั ่ จ่าย
มาตรา 940 ผูร้ บั อาวัลย่อมต้องผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับบุคคล ซึ่งตนประกัน แม้ถึงว่า
ความรับผิดใช้เงินอันผูร้ บั อาวัลได้ประกันอยู่นนั้ จะตกเป็ น ใช้ไม่ได้ดว้ ยเหตุใด ๆ นอกจากเพราะทาผิด
แบบระเบียบ ท่านว่าข้อ ที่สญ ั ญารับอาวัลนัน้ ก็ยงั คงสมบูรณ์
64

เมื่อผูร้ บั อาวัลได้ใช้เงินไปตามตัว๋ แลกเงินแล้ว ย่อมได้สิทธิในอัน จะไล่เบี้ยเอาแก่บคุ คลซึ่งตนได้


ประกันไว้ กับทัง้ บุคคลทัง้ หลายผูร้ บั ผิดแทนตัวผูน้ นั้

หน่วยที่ 11 การสอดเข้าแก้หน้า สิทธิ ไล่เบี้ย และตัว๋ แลกเงินเป็นสารับ


1. เมื่อตัว๋ แลกเงินขาดความเชือ่ ถือเพราะผูจ้ ่ายไม่ยอมรับรอง หรือไม่ยอมใช้เงินอาจมี
บุคคล ภายนอก สอดเข้ามารับรองหรือใช้เงินแทน เพื่อรักษาหน้าของคู่สญ ั ญาคนหนึง่ คนใด
ในตัว๋ แลกเงิน
2. เมื่อผูท้ รงยื่นตัว๋ แลกเงินให้ผจู้ ่ายรับรองหรือใช้เงินโดยชอบแล้ว แต่ผจู้ ่ายกลับปฏิเสธ
ไม่ยอมรับรองหรือไม่ยอมใช้เงิน ดังนีผ้ ทู้ รงย่อมจะเกิดสิทธิไล่เบี้ยให้ค่สู ญ ั ญาคนอื่นๆ ในตัว๋
แลกเงินรับผิดได้
3. ตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับเป็ นตัว๋ แลกเงินที่มีตน้ ฉบับตัง้ แต่สองฉบับขึน้ ไป โดยมีขอ้ ความ
เหมือนกันทุกประการ ในกรณีเช่นนี้ ต้นฉบับทุกฉบับจะมีผลสมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน
11.1 การสอดเข้าแก้หน้า
1. การสอดเข้าแก้หน้า เป็ นวิธีการแก้ไขการขาดความเชือ่ ถือของตัว๋ แลกเงินโดยให้บคุ คล
ใดๆบุคคลหนึง่ เข้ามารับรองหรือใช้เงินแทน
2. การรับรองเพื่อแก้หน้า เป็ นการสอดเข้าแก้หน้าอย่างหนึง่ ซึ่งใช้เมื่อตัว๋ ขาดความ
เชือ่ ถือก่อนถึงกาหนดใช้เงิน
3. การใช้เงินเพื่อแก้หน้า เป็ นการสอดเข้าแก้หน้าอีกอย่างหนึง่ ซึ่งใช้เมื่อตัว๋ ขาดความ
เชือ่ ถือก่อนถึงหรือเมื่อถึงกาหนดใช้เงิน
11.1.1 ความหมายของการสอดเข้าแก้หน้า
คู่สญ ั ญาในตัว๋ แลกเงินซึ่งมีฐานะเป็ นลูกหนีค้ นใดบ้าง ที่ไม่อาจสอดเข้าแก้หน้าได้
ผูร้ บั รอง ตามมาตรา 950 วรรคสาม
มาตรา 950 ผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังจะระบุบคุ คลผูห้ นึง่ ผูใ้ ดก็ไว้ ก็ได้เป็ นผูจ้ ะรับรอง หรือใช้
เงินยามประสงค์ ณ สถานที่ใช้เงิน
ภายในเงือ่ นบังคับดัง่ จะกล่าวต่อไปข้างหน้า บุคคลผูห้ นึง่ ผูใ้ ดจะรับ รองหรือใช้เงินตามตัว๋ แลก
เงิน ในฐานเป็ นผูส้ อดเข้าแก้หน้าบุคคลใด ผูล้ งลายมือชื่อในตัว๋ นัน้ ก็ได้
ผูส้ อดเข้าแก้หน้านัน้ จะเป็ นบุคคลภายนอกก็ได้ แม้จะเป็ นผูจ้ ่าย หรือบุคคลซึ่งต้องรับผิดโดยตัว๋
เงินนัน้ อยู่แล้วก็ได้ ห้ามแต่ผรู้ บั รอง เท่านัน้
ผูส้ อดเข้าแก้หน้าจาต้องให้คาบอกกล่าวโดยไม่ชกั ช้า เพื่อให้ คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายซึ่งตนเข้าแก้หน้านัน้
ทราบการที่ตนเข้าแก้หน้า

11.1.2 การรับรองเพื่อแก้หน้า
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังตัว๋ ให้เขียว
โดยที่ชมพูอาวัลขาว เขียวสลักหลังตัวให้มว่ ง โดยมีแสดรับอาวัลเขียว ต่อมาดาบอกปั ดไม่
65

ยอมรับรอง เหลืองจึงสอดเข้าแก้หน้าให้ขาว และฟ้าสอดเข้าแก้หน้าให้เขียว ดังนีเ้ หลือง


จะต้องมีความรับผิดอย่างไรบ้าง
เหลืองต้องรับผิดต่อม่วง เขียว แสด และฟ้า ตามมาตรา 953
มาตรา 953 ผูร้ บั รองด้วยสอดเข้าแก้หน้าย่อมต้องรับผิดต่อผูท้ รง ตัว๋ เงินนัน้ และรับผิดต่อผู้
สลักหลังทัง้ หลายภายหลังคูส่ ญั ญาฝ่ ายซึ่ง ตนเข้าแก้หน้าอย่างเดียวกันกับที่คส่ ู ญ
ั ญาฝ่ ายนัน้ ต้องรับ
ผิดอยู่เอง
11.1.3 การใช้เงินเพื่อแก้หน้า
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวโอนตัว๋ ให้เขียว เขียว
โอนตัว๋ ให้มว่ ง ม่วงโอนตัว๋ ให้แสด เมื่อครบกาหนดดาไม่ยอมใช้เงิน เหลืองจึงเข้ามาใช้เงิน แก่
แสดแทนเขียว ดังนีเ้ หลืองจะมีสอทธิไล่เบี้ยใครบ้าง
เหลืองมีสิทธิไล่เบี้ยเขียว ขาว และ แดง ตามมาตรา 958
มาตรา 958 บุคคลผูใ้ ช้เงินเพื่อแก้หน้าย่อมรับช่วงสิทธิทงั้ ปวงของ ผูท้ รงอันมีตอ่ คูส่ ญ ั ญาฝ่ าย
ซึ่งตนได้ใช้เงินแทนไป และต่อคูส่ ญ ั ญาทัง้ หลายผูต้ อ้ งรับผิดต่อคูส่ ญ ั ญาฝ่ ายนัน้ แต่หาอาจจะสลักหลัง
ตัว๋ แลกเงินนัน้ อีกต่อไปได้ไม่
อนึง่ บรรดาผูซ้ ึ่งสลักหลังภายหลังคูส่ ญ ั ญาฝ่ ายซึ่งเขาได้ใช้เงินแทน ไปนัน้ ย่อมหลุดพ้นจาก
ความรับผิด
ในกรณีแข่งกันเข้าใช้เงินเพื่อแก้หน้า ท่านว่าการใช้เงินรายใดจะ ให้ผลปลดหนีม้ ากรายที่สดุ พึง
นิยมเอารายนัน้ เป็ นดียิ่ง
ถ้าไม่ดาเนินตามวิธีดงั ่ กล่าวนี้ ท่านว่าผูใ้ ช้เงินทัง้ ที่รเู้ ช่นนัน้ ย่อม เสียสิทธิในอันที่จะไล่เบี้ยเอาแก่
บุคคลทัง้ หลาย ซึ่งพอที่จะได้หลุดพ้น จากความรับผิด

11.2 สิทธิไล่เบี้ย
1. สิทธิไล่เบี้ยเป็ นสิทธิที่ผทู้ รงใช้เรียกร้องให้ค่สู ัญญาทัง้ หลายตามตัว๋ แลกเงินใช้เงินเมื่อ
ตัว๋ แลกเงินขาดความเชื่อถือ
2. ก่อนที่ผทู้ รงจะใช้สิทธิไล่เบี้ยได้ ผูท้ รงจะต้องทาคาคัดค้าน เพื่อให้การขาดความเชือ่ ถือ
ของตัว๋ แลกเงินเป็ นที่เปิ ดเผย
3. การทาคาบอกเล่าเป็ นการที่ผทู้ รงแจ้งให้ผสู้ ลักหลังซึ่งเขารับโอนตัว๋ มาทราบว่า ตัว๋
ขาดความเชือ่ ถือแล้ว เพื่อว่าผูส้ ลักหลังนัน้ จะได้เตรียมตัวหาเงินไว้ชดใช้
4. ผูท้ รงมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากคู่สญ ั ญาตามตัว๋ แลกเงินทุกคนอย่างเป็ นลูกหนีร้ ่วมกัน
11.2.1 ความหมายของสิทธิไล่เบี้ย
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ในวันที่ 1 มีนาคม 2536
ขาวโอนตัว๋ ให้มว่ ง ต่อมาแดงถูกเขียวฟ้องให้ชาระหนี้ แดงแพ้คดีและถูกศาลออกหมายบังคับ
คดียึดทรัพย์เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2535 แต่ปรากฏว่าแดงไม่มีทรัพย์สินจะให้ยึดทรัพย์ได้
ดังนีม้ ว่ งจะใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อขาวทันทีโดยไม่รอให้ตวั ๋ ถึงกาหนดได้หรือไม่
ม่วงจะใช้สิทธิไล่เบี้ยยัง ไม่ได้ เพราะไม่ใช่กรณีตามมาตรา 959 ข. และยังไม่ปรากฏ
ว่ามีเหตุอะไรที่ดาจะไม่ยอมใช้เงินเมื่อถึงกาหนด
66

มาตรา 959 ผูท้ รงตัว๋ แลกเงินจะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่บรรดาผูส้ ลักหลัง ผูส้ งั ่ จ่าย และบุคคลอื่น


ๆ ซึ่งต้องรับผิดตามตัว๋ เงินนัน้ ก็ได้คือ
(ก) ไล่เบี้ยได้เมื่อตัว๋ เงินถึงกาหนดในกรณีไม่ใช้เงิน
(ข) ไล่เบี้ยได้แม้ทงั้ ตัว๋ เงินยังไม่ถึงกาหนดในกรณีดงั ่ จะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ถ้าเขาบอกปั ดไม่รบั รองตัว๋ เงิน
(2) ถ้าผูจ้ ่ายหากจะได้รบั รองหรือไม่ก็ตาม ตกเป็ นคนล้มละลาย หรือได้งดเว้นการใช้หนี้ แม้
การงดเว้นใช้หนีน้ นั้ จะมิได้มีคาพิพากษา เป็ นหลักฐานก็ตาม หรือถ้าผูจ้ ่ายถูกยึดทรัพย์และการยึดทรัพย์
นัน้ ไร้ผล

11.2.2 การทาคาคัดค้าน
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงิน 10,000 บาท แก่ขาว ขาวโอนตัว๋ ให้เขียว พอ
ตัว๋ ครบกาหนดเขียวนาตัว๋ ไปยื่นต่อดาให้ใช้เงิน ดาปฏิเสธไม่ยอมใช้เงิน เขียวมิได้รอ้ งขอทาคา
คัดค้านจนเวลาล่วงเลยไปแล้ว 5 วัน ดังนีเ้ ขียวจะใช้สิทธิไล่เบี้ยจากใครได้บา้ ง
เขียวไม่ทาคาคัดค้านภายในกาหนดเวลา 3 วันนับจากวันยื่นตัว๋ ย่อมสิ้นสิทธิไล่เบี้ย
แดงซึ่งเป็ นผูส้ งั ่ จ่าย และขาวซึ่งเป็ นผูส้ ลักหลัง ส่วนดานัน้ มิได้ลงชือ่ รับรองจึงไม่ตอ้ งรับผิด
เขียวไม่อาจใช้สิทธิไล่เบี้ยใครได้เลย มาตรา 973
มาตรา 973 เมื่อกาหนดเวลาจากัดซึ่งจะกล่าวต่อไปนีไ้ ด้ลว่ งพ้นไป แล้วคือ
(1) กาหนดเวลาสาหรับยื่นตัว๋ แลกเงินชนิดให้ใช้เงินเมื่อได้เห็น หรือ ในระยะเวลาอย่างใดอย่าง
หนึง่ ภายหลังได้เห็น
(2) กาหนดเวลาสาหรับทาคาคัดค้านการไม่รบั รองหรือการไม่ใช้เงิน
(3) กาหนดเวลาสาหรับยื่นตัว๋ เพื่อให้ใช้เงิน ในกรณีที่มีขอ้ กาหนดว่า "ไม่จาต้องมีคาคัดค้าน"
ท่านว่าผูท้ รงย่อมสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่เหล่าผูส้ ลักหลัง ผูส้ งั ่ จ่าย และคูส่ ญั ญาอื่น ๆ ผูต้ อ้ งรับผิด
เว้นแต่ผรู้ บั รอง
อนึง่ ถ้าไม่ยื่นตัว๋ แลกเงินเพื่อให้เขารับรองภายในเวลาจากัดดัง่ ผูส้ งั ่ จ่ายได้กาหนดไว้ ท่านว่าผู้
ทรงย่อมเสียสิทธิที่จะไล่เบี้ยทัง้ เพื่อการที่เขา ไม่ใช้เงิน และเพื่อการที่เขาไม่รบั รอง เว้นแต่จะปรากฏจาก
ข้อกาหนดว่าผู้ สัง่ จ่ายหมายเพียงแต่จะปลดตนเองให้พน้ จากประกันการรับรอง
ถ้าข้อกาหนดจากัดเวลายื่นตัว๋ แลกเงินนัน้ มีอยู่ที่คาสลักหลังท่านว่า เฉพาะแต่ผสู้ ลักหลังเท่านัน้
จะอาจเอาประโยชน์ในข้อกาหนดนัน้ ได้
11.2.3 การทาคาบอกกล่าว
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวโอนตัว๋ เงินให้เขียว
เขียวโอนให้มว่ ง ม่วงโอนให้ฟ้า ถึงกาหนดดาไม่ใช้เงิน ม่วงจึงทาคาคัดค้านแต่ไม่ได้สง่ คาบอก
กล่าวการที่ดาไม่ใช้เงินให้มว่ ง ดังนัน้ ฟ้าจะใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อม่วงได้หรือไม่
ฟ้ามีสิทธิไล่เบี้ยม่วงได้ เพราะการไม่ทาคาบอกกล่าวไม่ทาให้เสียสิทธิไล่เบี้ย มาตรา
963 วรรคท้าย
มาตรา 963 ผูท้ รงต้องให้คาบอกกล่าวการที่เข้าไม่รบั รองตัว๋ แลกเงิน หรือไม่ใช้เงินนัน้ ไปยังผู้
สลักหลังถัดตนขึน้ ไปกับทัง้ ผูส้ งั ่ จ่ายด้วยภายในเวลา สี่วันต่อจากวันคัดค้าน หรือต่อจากวันยื่นตัว๋ ใน
กรณีที่มีขอ้ กาหนดว่า "ไม่ จาต้องมีคาคัดค้าน"
67

ผูส้ ลักหลังทุก ๆ คนต้องให้คาบอกกล่าวไปยังผูส้ ลักหลังถัดตนขึน้ ไป ภายในสองวัน ให้ทราบ


คาบอกกล่าวอันตนได้รบั จดแจ้งให้ทราบชื่อและสานักของผูท้ ี่ได้ให้คาบอกกล่าวมาก่อน ๆ นัน้ ด้วย ทา
เช่นนีต้ ดิ ต่อกัน ไปโดยลาดับจนกระทัง่ ถึงผูส้ งั ่ จ่าย อนึง่ จากัดเวลาซึ่งกล่าวมานัน้ ท่าน นับแต่เมื่อคนหนึง่
ๆ ได้รบั คาบอกกล่าวแต่คนก่อน
ถ้าผูส้ ลักหลังคนหนึง่ คนใดมิได้ระบุสานักของตนไว้ก็ดี หรือได้ระบุแต่อ่านไม่ได้ความก็ดี ท่าน
ว่าสุดแต่คาบอกกล่าวได้สง่ ไปยังผูส้ ลักหลัง คนก่อนก็เป็ นอันพอแล้ว
บุคคลผูจ้ ะต้องให้คาบอกกล่าว จะทาคาบอกกล่าวเป็ นรูปอย่างใด ก็ได้ทงั้ สิ้น แม้เพียงแต่ดว้ ย
ส่งตัว๋ แลกเงินคืนก็ใช้ได้ อนึ่งต้องพิสจู น์ได้ว่า ได้สง่ คาบอกกล่าวภายในเวลากาหนด
ถ้าส่งคาบอกกล่าวเป็ นหนังสือจดทะเบียนไปรษณีย์ หากว่าหนังสือ นัน้ ได้สง่ ไปรษณียภ์ ายใน
เวลากาหนดดัง่ กล่าวมานัน้ ไซร้ ท่านให้ถือว่า คาบอกกล่าวเป็ นอันได้สง่ ภายในจากัดเวลาบังคับแล้ว
บุคคลซึ่งมิได้ให้คาบอกกล่าวภายในจากัดเวลาดัง่ ได้ว่ามานัน้ หาเสียสิทธิไล่เบี้ยไม่ แต่จะต้องรับ
ผิดเพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่ความประมาทเลินเล่อของตน แต่ท่านมิให้คิดค่าสินไหม
ทดแทนเกินกว่าจานวนในตัว๋ แลกเงิน

11.2.4 การใช้สิทธิไล่เบี้ยของผูท้ รง
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินแก่ขาว 12,000 บาท ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์
2536 ขาวโอนตัว๋ เงินให้เขียว เมื่อครบกาหนดดาไม่ยอมใช้เงินเขียวจึงทาคาคัดค้าน เสีย
ค่าใช้จ่ายในการทาคาคัดค้านและค่าใช้จ่ายอื่นรวม 100 บาท เขียวใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อขาวใน
วันที่ 1 มีนาคม 2536 ดังนี้ เขียวจะไล่เบี้ยได้จานวนเท่าใด ถ้าขาวจะจ่ายเงินในวันเดียวกัน
นัน้
เขียวซึ่งเป็ นผูท้ รงมีสิทธิไล่เบี้ยในจานวนเงินดังต่อไปนี้
1. จานวนเงินตามตัว๋ โดยไม่คิดดอกเบี้ย 12,000 บาท
2. ดอกเบี้ย 5% ตัง้ แต่วนั ถึงกาหนดจนถึงวันที่ขาวใช้เงินรวม 1 เดือน
50 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการทาคาคัดค้าน และค่าใช้จ่ายอื่น 100
บาท
4. ค่าชักส่วนลดร้อยละ 1/6 ของ 12,000 บาท 20
บาท
รวม 12,170 บาท
11.3 ตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ
1. ตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ เป็ นตัว๋ แลกเงินที่มีตน้ ฉบับข้อความเหมือนกันตัง้ แต่สองฉบับขึน้
ไป
2. ในการออกตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ ผูส้ งั ่ จ่ายจะต้องลงหมายเลขลาดับไว้ในตัว๋ แลกเงินแต่
ละฉบับ
3. เนือ่ งจากตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับมีค่ฉู ีกหลายฉบับ แต่ประสงค์จะให้มีการใช้เงินเพียง
ฉบับเดียว ดังนัน้ การสลักหลัง การรับรองหรือการใช้เงินจะต้องทาด้วยความระมัดระวัง
ตามที่กฎหมายบัญญัติ
68

11.3.1 ความหมายของตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ


เหตุใดจึงต้องมีการออกตัว๋ และเงินเป็ นสารับ
เพราะในสมัยก่อนการไปรษณียย์ งั ไม่สะดวกและมีประสิทธิภาพเหมือนปั จจุบนั การ
ส่งตัว๋ แลกเงินไปใช้หนีต้ า่ งเมืองทางไปรษณียถ์ า้ ส่งไปใบเดียวอาจสูญหาย จึงต้องทาเป็ น
สารับหลายๆ ใบ แล้วทยอยส่งไปที่ละใบ เพื่อให้แน่ใจว่าเจ้าหนีจ้ ะได้รบั ตัว๋ แลกเงินนัน้ อย่าง
น้อยก็ฉบับหนึง่
11.3.2 การออกตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ
แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงิน 20,000 บาท ให้ขาวหรือผูถ้ ือ ขาวโอนให้เขียว
ดังนี้ เขียวจะเรียกร้องให้แดงออกตัว๋ เป็ นสารับให้ได้หรือไม่
ตัว๋ แลกเงินแบบนีม้ ีผลเป็ นตัว๋ ที่ออกให้ผถู้ ือ จึงทาเป็ นสารับไม่ได้ ดังนัน้ เขียวไม่มี
สิทธิเรียกร้องให้แดงทาตัว๋ นีเ้ ป็ นสารับ มาตรา 975 วรรคแรก
มาตรา 975 อันตัว๋ แลกเงินนัน้ นอกจากชนิดที่สงั ่ จ่ายแก่ผถู้ ือแล้ว จะออกไปเป็ นคูฉ่ ีกความ
ต้องกันสองฉบับ หรือกว่านัน้ ก็อาจจะออกได้
คูฉ่ ีกเหล่านีต้ อ้ งมีหมายลาดับลงไว้ในตัวตราสารนัน้ เอง มิฉะนัน้ คูฉ่ ีก แต่ละฉบับย่อมใช้ได้เป็ น
ตัว๋ แลกเงินฉบับหนึง่ ๆ แยกเป็ นตัว๋ เงินต่าง ฉบับกัน
บุคคลทุกคนซึ่งเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงินอันมิได้ระบุว่าได้ออกเป็ นตัว๋ เดี่ยว นัน้ จะเรียกให้สง่ มอบคู่ฉีก
สองฉบับหรือกว่านัน้ แก่ตนก็ได้ โดยยอมให้ คิดค่าใช้จ่ายเอาแก่ตน ในการนีผ้ ทู้ รงต้องว่ากล่าวไปยังผู้
สลักหลังคน ถัดตนขึน้ ไป และผูส้ ลักหลังคนนัน้ ก็จาต้องช่วยผูท้ รงว่ากล่าวไปยังผูท้ ี่ สลักหลังให้แก่ตน
ต่อไปอีก สืบเนือ่ งกันไปเช่นนีต้ ลอดสายจนกระทัง่ ถึงผูส้ งั ่ จ่าย อนึง่ ผูส้ ลักหลังทัง้ หลายจาต้องเขียนคา
สลักหลังของ ตนเป็ นความเดียวกันลงในฉบับคูฉ่ ีกใหม่แห่งตัว๋ สารับนัน้ อีกด้วย

11.3.3 ผลของการออกตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ


แดงออกตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับมีค่ฉู ีกสองฉบับ หมายเลข 1 และ 2 สัง่ ให้ดาจ่ายเงิน
ให้ขาว 10,000 บาท ดาลงชือ่ รับรองในคู่ฉีกหมายเลข 1 ต่อมาขาวโอนคู่ฉีกหมายเลข 1 ให้
ม่วง และโอนคู่ฉีกหมายเลข 2 ให้เขียว เขียวนาตัว๋ มายื่นต่อดาเมื่อครบกาหนด ดาใช้เงินให้
เขียวไป ต่อมาม่วงนาตัว๋ หมายเลข 1 มายื่นต่อดา ดังนีด้ าจะต้องรับผิดต่อม่วงหรือไม่
ดาผูร้ บั รองใช้เงินไปโดยไม่เรียกเอาคู่ฉีกที่ตนลงชือ่ ไว้คืนมา เมื่อม่วงผูท้ รงโดยชอบ
มาใช้สิทธิเรียกร้อง ดาต้องรับผิดต่อม่วง มาตรา 979
มาตรา 979 ถ้าผูร้ บั รองตัว๋ เงินซึ่งออกเป็ นสารับใช้เงินไปโดยมิได้ เรียกให้สง่ มอบคูฉ่ ีกฉบับซึ่ง
มีคารับรองของตนนัน้ ให้แก่ตน และในเวลา ตัว๋ เงินถึงกาหนด คูฉ่ ีกฉบับนัน้ ไปตกอยู่ในมือผูท้ รงโดยชอบ
ด้วย กฎหมายคนใดคนหนึ่งไซร้ ท่านว่าผูร้ บั รองจะต้องรับผิดต่อผูท้ รงคูฉ่ ีก ฉบับนัน้
แบบประเมินผลหน่วยที่ 11
1. คูส่ ญ
ั ญาตามตัว๋ แลกเงิน ผูร้ บั รอง ไม่อาจเข้าสอดเพื่อแก้หน้าได้
2. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท กรณีที่ทาให้ขาวมีสิทธิไล่เบี้ยแดงได้
ก่อนตัว๋ ถึงกาหนดคือ ดาถูกยึดทรัพย์ และการยึดทรัพย์ไม่เป็ นผล
3. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ชมพูและฟ้ ารับอาวัล ต่อมาขาวโอนตัว๋
ให้เขียว เขียวเอาตัว๋ ไปยื่นให้ดารับรอง ดาบอกปั ดไม่รบั รอง เหลืองสอดเข้าแก้หน้ารับรองแทนแดง
69

ต่อมาเมื่อตัว๋ ถึงกาหนด ดาและเหลืองไม่ยอมใช้เงิน เขียวไล่เบี้ยชมพู ชมพูใช้เงินไปแล้ว ดังนี้ ชมพูจะไล่


เบี้ยเอาจากแดง
4. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาวโดยมีฟ้ารับอาวัลแดง ขาวสลักหลังให้เขียว โดยชมพู
รับอาวัลขาว เมื่อตัว๋ ครบกาหนด ดาไม่ยอมใช้เงิน เหลืองจึงเข้ามาใช้เงินแก้หน้าให้ขาว ดังนี้ เหลืองจะไล่
เบี้ยได้จาก ฟ้ าและขาว
5. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาวโดยดาลงชื่อรับรองโดยมีฟ้าอาวัลแดง ขาวสลักหลัง
ให้เขียว โดยชมพูรบั อาวัลขาว เมื่อตัว๋ ครบกาหนด ดาไม่ยอมใช้เงิน เหลืองจึงเข้ามาใช้เงินแก้หน้าให้แดง
เขียวไม่ยอมรับการใช้เงิน ดังนี้ ผูท้ ี่หลุดพ้นจากการรับผิดคือ ขาว
6. เมื่อผูท้ รงเคยทาคาคัดค้านการไม่รบั รองครัง้ หนึง่ แล้ว ผูท้ รงไม่ตอ้ งทาคาคัดค้านการไม่ใช้เงิน
7. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงิน 10,000 บาท ให้ขาว ขาวโอนตัว๋ เงินให้เขียว ครัน้ ตัว๋ ครบ
กาหนดดาไม่ยอมใช้เงิน เมื่อเขียวทาคาคัดค้านแล้ว เขียวจะต้องทาคาบอกกล่าวการไม่ใช้เงินไปยังแดง
และขาว
8. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ดาลงชื่อรับรอง ต่อมาขาวสลักหลัง
โอนตัว๋ ให้เขียว เขียวโอนตัว๋ ให้แดง เมื่อตัว๋ ครบกาหนด แดงนาตัว๋ ไปยื่นให้ดาใช้เงิน ดาไม่ยอมใช้ดงั นี้ แดง
จะไล่เบี้ยเอากับดา
9. เมื่อผูท้ รงนาตัว๋ แลกเงินไปยื่นแล้วผูจ้ ่ายไม่ยอมใช้เงิน ผูท้ รงจะต้องยื่นคาร้องเพื่อทาคาคัดค้าน
กับนายอาเภอ
10. แดงออกตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ มีคฉ่ ู ีก 2 ฉบับ คือหมายเลข 1 และหมายเลข 2 สัง่ ให้ดาจ่ายเงิน
ให้ขาว ขาวโอนตัว๋ หมายเลข 1 ให้เขียว ต่อมาโอนตัว๋ หมายเลข 2 ให้ฟ้า ดังนัน้ เมื่อตัว๋ ครบกาหนด แดง
จะต้องรับผิดต่อฟ้ า
11. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ภายใน 1 เดือน นับแต่ได้เห็น ขาวโอน
ตัว๋ ให้เขียว กรณีที่เขียวมีสิทธิไล่เบี้ยแดงได้กอ่ นตัว๋ ถึงกาหนดคือ ดาตกเป็ นคนล้มละลาย
12. บุคคลซึ่งผูส้ งั ่ จ่ายระบุชื่อไว้ในตัว๋ แลกเงินว่าจะเป็ นผูใ้ ช้เงินเมื่อตัว๋ ขาดความเชื่ อถือมีชื่อเรียกว่า ผู้
จะใช้เงินยามประสงค์
13. ผูท้ รงไม่ตอ้ งทาคาคัดค้านการไม่ใช้เงิน เมื่อเป็ นตัว๋ แลกเงินในประเทศ และผูจ้ ่ายบันทึกการไม่ใช้
เงินไว้ในตัว๋ แลกเงินนัน้
14. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงิน 10,000 บาท ให้ขาว ขาวโอนตัว๋ ให้เขียว ครัน้ ตัว๋ ครบ
กาหนดดาไม่ยอมใช้เงิน เขียวทาคาคัดค้านแล้ว แต่ไม่ได้ทาคาบอกกล่าวการไม่ใช้เงิน ดังนีจ้ ะทาให้ผใู้ ด
หลุดพ้นความรับผิด ไม่มีผใู้ ดหลุดพ้น
15. แดงออกตัว๋ แลกเงินสัง่ ให้ดาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ดาลงชื่อรับรอง ต่อมาขาวสลักหลัง
โอนตัว๋ ให้เขียว เมื่อครบกาหนด เขียวนาตัว๋ ไปยื่น ดาไม่ยอมใช้เงิน ดังนีเ้ ขียวจะไล่เบี้ยจากใครก่อนก็ได้

หน่วยที่ 12 เช็ค
1. เช็คเป็ นตราสารเปลี่ยนมือที่มีการใช้มากที่สดุ ในตัว๋ เงิน 3 ประเภท โดยเช็คมีลกั ษณะ
เป็ นคาสัง่ ของผูส้ งั ่ จ่ายสัง่ ธนาคารให้ใช้เงินจานวนหนึง่ เมื่อทวงถามแก่ผรู้ บั เงิน หรือตาม
คาสัง่ ของผูร้ บั เงินหรือผูถ้ ือ เช็คจะต้องมีรายการตามที่กฎหมายกาหนดไว้ และกฎหมายให้
นาบทบัญญัตใิ นบางเรื่องของตัว๋ แลกเงินมาใช้กบั เช็คด้วย ส่วนการยื่นเช็คเพื่อให้ธนาคารใช้
70

เงินนัน้ จะต้องยื่นภายในกาหนดเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้ มิฉะนัน้ ผูท้ รงอาจสิ้นสิทธิไล่เบี้ย


เอาแก่ผสู้ ลักหลังและสิ้นสิทธิบางประการอันมีตอ่ ผูส้ งั ่ จ่าย
2. เมื่อมีการยื่นเช็คต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน โดยปกติแล้วธนาคารมีหน้าที่ใช้เงินตามเช็ค
นัน้ เว้นแต่เข้าข้อยกเว้นของกฎหมายที่ว่าธนาคารมีสิทธิไม่ใช้เงินตามเช็ค หรือธนาคารสิ้น
อานาจหน้าที่ในการใช้เงินตามเช็ค ความรับผิดหรือหน้าที่ของธนาคารที่จะต้องใช้เงินตามเช็ค
นัน้ ต้องพิจารณาลักษณะของเช็คและละฉบับด้วยว่าเป็ นกรณีเช็คทัว่ ไป เช็คที่ธนาคารรับรอง
หรือเช็คขีดคร่อม
12.1 บทบัญญัติทวั่ ไปเกีย่ วกับเช็ค
1. เช็คเป็ นตราสารเปลี่ยนมือที่มีบคุ คลเกี่ยวข้องด้วย 3 ฝ่ าย คือผูส้ งั ่ จ่าย ธนาคาร และ
ผูร้ บั เงินหรือผูถ้ ือ โดยผูส้ งั ่ จ่ายออกตราสารที่เรียกว่าเช็ค เป็ นคาสัง่ ให้ธนาคารใช้เงินจานวน
หนึง่ เมื่อทวงถามแก่ผรู้ ับเงินหรือตามคาสัง่ ของผูร้ บั เงินหรือผูถ้ ือ
2. กฎหมายกาหนดรายการที่ตอ้ งมีในเช็ค โดยมีรายการที่สาคัญซึ่งจะขาดเสียมิได้ 5
รายการ หากขาดไปย่อมมีผลทาให้ตราสารนัน้ ไม่สมบูรณ์เป็ นเช็คคือ (1) คาบอกชือ่ ว่าเป็ น
เช็ค (2) คาสัง่ อันปราศจากเงือ่ นไขให้ใช้เงินจานวนแน่นอน (3) ชือ่ ยีหอ้ และสานักงานของ
ธนาคาร (4) ชือ่ ยีหอ้ ของผูร้ บั เงิน หรือคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ และ (5) ลายมือชือ่ ผูส้ งั ่
จ่าย
3. เนือ่ งจากเช็คมีลกั ษณะคล้ายกับตัว๋ เงิน คงแตกต่างกันในสาระสาคัญที่ว่าผูจ้ ่ายเงิน
ตามเช็คได้แก่ ธนาคาร ส่วนผูจ้ ่ายเงินตามตัว๋ แลกเงินอาจเป็ นบุคคลใดก็ได้ ดังนัน้ กฎหมาย
จึงให้นาบทบัญญัตวิ ่าด้วยตัว๋ แลกเงินบางเรื่องมาใช้บงั คับกับเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขดั กับสภาพ
ของเช็คด้วย
4. ผูท้ รงเช็คซึ่งให้ธนาคารในเมืองเดียวกันกับที่ออกเช็คใช้เงินต้องยื่นเช็คแก่ธนาคาร
เพื่อให้ใช้เงินภายในหนึง่ เดือนนับแต่วนั ออกเช็ค ถ้าเป็ นเช็คให้ใช้เงินที่อื่น ต้องยื่นภายในสาม
เดือนมิฉะนัน้ ผูท้ รงสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่ผสู้ ลักหลัง และเสียสิทธิที่มีตอ่ ผูส้ งั ่ จ่ายเท่าที่จะ
เกิดความเสียหาย แก่ผสู้ งั ่ จ่าย เพราะการที่ละเลยไม่ยื่นเช็คนัน้ ภายในกาหนด
12.1.1 ความหมายของเช็ค
อธิบายความหมายของเช็ค
เช็คเป็ นตราสารเปลี่ยนมือที่มีบคุ คลเกี่ยวข้องด้วยกัน 3 ฝ่ าย คือ ผูส้ งั ่ จ่าย ธนาคาร
และผูร้ บั เงินหรือผูถ้ ือ โดยผูส้ งั ่ จ่ายออกตราสารที่เรียกว่าเช็คเป็ นคาสัง่ ให้ธนาคารใช้เงิน
จานวนหนึง่ เมื่อทวงถามแก่ผรู้ บั เงินหรือตามคาสัง่ ของผูร้ บั เงินหรือผูถ้ ือ มาตรา 987
อธิบายว่าเช็คแจกจ่างจาก ตัว๋ แลกเงินและตัว๋ สัญญาใช้เงินอย่างไร
เช็คแตกต่างจากตัว๋ แลกเงินในประการที่ว่า ผูร้ ับคาสัง่ ให้จ่ายเงินตามเช็คจะต้องเป็ น
ธนาคารเท่านัน้ ส่วนผูร้ บั คาสัง่ ให้ใช้เงินตามตัว๋ แลกเงินจะเป็ นบุคคลใดก็ได้ นอกจากนัน้ เช็ค
ยังมีลกั ษณะเป็ นคาสัง่ ให้ใช้เงินเมื่อทวงถาม ส่วนตัว๋ แลกเงินอาจมีการกาหนดเวลาใช้เงินตาม
ตัว๋ ได้
71

เช็คมีลกั ษณะแตกต่างจากตัว๋ สัญญาใช้เงินในประการที่ว่าเช็คต้องมีบคุ คลที่


เกี่ยวข้อง 3 ฝ่ าย คือ ผูส้ งั ่ จ่าย ธนาคาร และผูร้ บั เงิน กับเช็คเป็ นคาสัง่ ให้จ่ายเงินเมื่อทวง
ถาม ส่วนตัว๋ สัญญาใช้เงินมีบคุ คลเกี่ยวข้องเพียง 2 ฝ่ าย คือผูอ้ อกตัว๋ ซึ่งเป็ นบุคคลใดๆก็ได้
กับผูร้ บั เงิน และมีลกั ษณะเป็ นคามัน่ สัญญาอันปราศจากเงือ่ นไขว่าจะใช้เงินเป็ นจานวน
แน่นอนเมื่อถึงวันกาหนดใช้เงิน มาตรา 982 และ มาตรา 987
มาตรา 982 อันว่าตัว๋ สัญญาใช้เงินนัน้ คือหนังสือตราสารซึ่ง บุคคลคนหนึง่ เรียกว่าผูอ้ อกตัว๋
ให้คามัน่ สัญญาว่าจะใช้เงินจานวน หนึง่ ให้แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ หรือใช้ให้ตามคาสัง่ ของบุคคลอีกคนหนึง่
เรียกว่าผูร้ บั เงิน
มาตรา 987 อันว่าเช็คนัน้ คือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึง่ เรียกว่าผูส้ งั ่ จ่าย สัง่ ธนาคารให้
ใช้เงินจานวนหนึง่ เมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกคนหนึง่ หรือให้ใช้ตามคาสัง่ ของบุคคลอีกคนหนึง่ อัน
เรียกว่า ผูร้ บั เงิน
12.1.2 รายการในเช็ค
ให้เขียนเช็คที่ออกชาระชาระหนีใ้ ห้แก่นายแดงจานวนหนึง่ พันบาท โดยสมมติ
รายการต่าง ๆ ให้ครบถ้วนตามกฎหมายกาหนด
เช็ค
ธนาคารสยามพาณิชย์ จากัด 12 เมษายน 2536
สานักงานใหญ่ ถนนราชดาเนิน กร ุงเทพฯ

จ่าย ……นาย หรือ ผูถ้ ือ


แดง…………………………………………
(หนึง่ พันบาท)
จานวนเงิน…………..
1000.00…………………………....บาท

ลงชือ่ ……นายประชุม อินทรโชติ…

เช็คต่อไปนีม้ ีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายหรือไม่
1) เช็คลงวันที่สงั ่ จ่ายล่วงหน้า
2) เช็คไม่ได้ลงวันที่สงั ่ จ่าย
3) เช็คที่ไม่ได้ลงลายมือชือ่
เช็คลงวันที่สงั ่ จ่ายล่วงหน้ามีผลสมสมบูรณ์ตามกฎหมายโดยถือว่าวันที่สงั ่ จ่ายเป็ น
วันออกเช็ค
72

เช็คไม่ลงวันที่ที่สงั ่ จ่ายมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย ผูท้ รงชอบด้วยกฎหมายคนหนึง่


คนใดทาการโดยสุจริตจะจดวันตามที่ถกู ต้องแท้จริงลงก็ได้ โดยผลของมาตรา 910
ประกอบมาตรา 989
มาตรา 910 ตราสารอันมีรายการขาดตกบกพร่องไปจากที่ท่านระบุ บังคับไว้ใน มาตรา ก่อน
นี้ ย่อมไม่สมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน เว้นแต่กรณีดงั ่ จะกล่าว ดังต่อไปนี้ คือ
ตัว๋ แลกเงินซึ่งไม่ระบุเวลาใช้เงิน ท่านให้ถือว่าพึงใช้เงินเมื่อได้เห็น
ถ้าสถานที่ใช้เงินมิได้แถลงไว้ในตัว๋ แลกเงิน ท่านให้ถือเอาภูมิลาเนาของ ผูจ้ ่ายเป็ นสถานที่ใช้เงิน
ถ้าตัว๋ แลกเงินไม่แสดงให้ปรากฏสถานที่ออกตัว๋ ท่านให้ถือว่าตัว๋ เงินนัน้ ได้ออก ณ ภูมิลาเนา
ของผูส้ งั ่ จ่าย
ถ้ามิได้ลงวันออกตัว๋ ท่านว่าผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย คนหนึง่ คนใดทา การโดยสุจริต จะ
จดวันที่ถกู ต้องแท้จริงลงก็ได้

12.1.3 บทบัญญัตวิ ่าด้วยตัว๋ แลกเงินที่นามาใช้กบั เช็ค


อธิบายวิธีการโอน (1) เช็คระบุชอื่ ผูร้ บั (2) เช็คผูถ้ ือ
(1) การโอนเช็คที่ระบุชอื่ ผูร้ ับเงินย่อมโอนกันได้โดยวิธีการสลักหลังและส่งมอบ ทัง้ นี้
โดยผลของมาตรา 989 ที่ให้นาวิธีการโนตัว๋ แลกเงินตามมาตรา 917 ถึงมาตรา 923 มาใช้
กับเช็ค การสลักหลังมี 2 ประเภท คือ การสลักหลังลอย ซึ่งได้แก่ การลงลายมือชือ่ ผูส้ ลัก
หลังที่ดา้ นหลังเช็คโดยไม่ระบุชอื่ ผูร้ ับประโยชน์ และการสลักหลังที่ระบุชอื่ ผูร้ บั โอน ซึ่งได้แก่
การเขียนระบุชอื่ ผูร้ บั ประโยชน์และลงลายมือชือ่ สลักหลังไว้ดา้ นหลังเช็ค
(2) การโอนเช็คผูถ้ ือย่อมโอนไปเพียงด้วยการส่งมอบให้กนั โดยไม่จาเป็ นต้องมีการ
สลักหลัง ทัง้ นี้ โดยผลของมาตรา 918 ประกอบมาตรา 989 การสลักหลังเช็คซึ่งสัง่ ให้ใช้
แก่ผถู้ ือ ย่อมมีผลเป็ นการประกัน (อาวัล) สาหรับผูส้ งั ่ จ่าย โดยผลของมาตรา 921
ประกอบมาตรา 989
นายซื่อถูกนายคดใช้อาวุธขูใ่ ห้ลงชือ่ สัง่ จ่ายเช็คเงินห้าพันบาทให้ตน นายซื่อมีความ
กลัวจึงยอมลงลายมือชื่อในเช็คให้ แต่เพราะมีไหวพริบดี จึงแกล้งลงลายมือชือ่ ให้ผิดไปจาก
ลายมือชือ่ ที่มอบไว้เป็ นตัวอย่างแก่ธนาคาร นายคดนาเช็คไปโอนใช้หนีใ้ ห้บริษทั บริโภค ผูร้ บั
เช็คนัน้ ไว้โดยสุจริต บริษทั นาเช็คนัน้ ไปขึน้ เงินทีธ่ นาคาร ธนาคารไม่ยอมจ่ายเพราะลายมือชือ่
แตกต่างกับที่ใช้ตวั อย่างไว้ ดังนี้ บริษทั จะฟ้องนายซื่อให้รบั ผิดใช้เงินตามเช็คได้หรือไม่
บริษทั ฟ้องนายซื่อได้ให้รบั ใช้เงินตามเช็คได้เพราะนายซื่อเป็ นผูล้ งลายมือชือ่ สัง่ จ่าย
เช็ค ทัง้ นี้ โดยผลของมาตรา 900 มาตรา 914 ประกอบมาตรา 989
นายซื่อผูถ้ กู ฟ้องในมูลเช็คหาอาจต่อสูบ้ ริษทั ผูท้ รงโดยชอบด้วยข้อต่อสูอ้ นั อาศัย
ความเกี่ยวพันกับเฉพาะบุคคลระหว่างตนกับนายคดผูท้ รงคนก่อนนัน้ ได้ไม่ เพราะบริษทั ผู้
ทรงรับโอนเช็คจากนายคดไว้โดยสุจริต การโอนมิได้มีขนึ้ ด้วยคบคิดกันฉ้อฉล มาตรา 916
มาตรา 989
มาตรา 900 บุคคลผูล้ งลายมือชื่อของตนในตัว๋ เงินย่อมจะได้รบั ผิดตามเนือ้ ความในตัว๋ เงินนัน้
ถ้าลงเพียงแต่เครื่องหมายแต่อย่างหนึง่ อย่างใด เช่น แกงได หรือ ลายพิมพ์นวิ้ มือ อ้างเอาเป็ น
ลายมือชื่อในตัว๋ เงินไซร้ แม้ถึงว่าจะมี พยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่าหาให้ผลเป็ นลงลายมือชื่อในตัว๋
เงิน นัน้ ไม่
73

มาตรา 914 บุคคลผูส้ งั ่ จ่ายหรือสลักหลังตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นอัน สัญญาว่าเมื่อตัว๋ นัน้ ได้นายื่น


โดยชอบแล้วจะมีผรู้ บั รอง และใช้เงินตาม เนือ้ ความแห่งตัว๋ ถ้าและตัว๋ แลกเงินนัน้ เขาไม่เชื่อถือโดยไม่ยอม
รับรอง ก็ดีหรือไม่ยอมจ่ายเงินก็ดี ผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังก็จะใช้เงินแก่ผทู้ รง หรือแก่ผสู้ ลักหลังคนหลัง
ซึ่งต้องถูกบังคับให้ใช้เงินตามตัว๋ นัน้ ถ้า หากว่าได้ทาถูกต้องตามวิธีการในข้อไม่รบั รองหรือไม่จ่ายเงิน
นัน้ แล้ว
มาตรา 916 บุคคลทัง้ หลายผูถ้ กู ฟ้ องในมูลตัว๋ แลกเงินหาอาจจะต่อสู้ ผูท้ รงด้วยข้อต่อสูอ้ นั
อาศัยความเกี่ยวพันกัน เฉพาะบุคคลระหว่าง ตนกับผูส้ งั ่ จ่ายหรือกับผูท้ รงคนก่อน ๆ นัน้ ได้ไม่ เว้นแต่
การโอนจะ ได้มีขนึ้ ด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
มาตรา 917 อันตัว๋ แลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่สงั ่ จ่ายให้แก่ บุคคลเพื่อเขาสัง่ ก็ตาม ท่านว่า
ย่อมโอนให้กนั ได้ดว้ ยสลักหลังและส่งมอบ
เมื่อผูส้ งั ่ จ่ายเขียนลงในด้านหน้าแห่งตัว๋ แลกเงินว่า "เปลี่ยนมือไม่ได้" ดัง่ นีก้ ็ดี หรือเขียนคาอื่น
อันได้ความเป็ นทานองเช่นเดียวกันนัน้ ก็ดี ท่านว่าตัว๋ เงินนัน้ ย่อมจะโอนให้กนั ได้แต่โดยรูปการและด้วยผล
อย่างการ โอนสามัญ
อนึง่ ตัว๋ เงินจะสลักหลังให้แก่ผจู้ ่ายก็ได้ ไม่ว่าผูจ้ ่ายจะได้รบั รองตัว๋ นัน้ หรือไม่ หรือจะสลักหลัง
ให้แก่ผสู้ งั ่ จ่าย หรือให้แก่คส่ ู ญ ั ญาฝ่ ายใด แห่งตัว๋ เงินนัน้ ก็ได้ ส่วนบุคคลทัง้ หลายเหล่านีก้ ็ย่อมจะสลัก
หลังตัว๋ เงิน นัน้ ต่อไปอีกได้
มาตรา 918 ตัว๋ แลกเงินอันสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือนัน้ ท่านว่าย่อม โอนไปเพียงด้วยส่งมอบให้กนั
มาตรา 919 คาสลักหลังนัน้ ต้องเขียนลงในตัว๋ แลกเงินหรือใบประจา ต่อ และต้องลงลายมือชื่อ
ผูส้ ลักหลัง
การสลักหลังย่อมสมบูรณ์แม้ทงั้ มิได้ระบุชื่อผูร้ บั ประโยชน์ไว้ดว้ ย หรือแม้ผสู้ ลักหลังจะมิได้
กระทาอะไร ยิ่งไปกว่าลงลายมือชื่อของตนที่ ด้านหลังตัว๋ แลกเงินหรือที่ในประจาต่อ ก็ย่อมฟังเป็ น
สมบูรณ์ดจุ กันการ สลักหลังเช่นนีท้ ่านเรียกว่า "สลักหลังลอย"
มาตรา 920 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอนั เกิดแต่ ตัว๋ แลกเงิน
ถ้าสลักหลังลอย ผูท้ รงจะปฏิบตั ดิ งั ่ กล่าวต่อไปนีป้ ระการหนึง่ ประการใดก็ ได้ คือ
(1) กรอกความลงในที่ว่างด้วยเขียนชื่อของตนเอง หรือชื่อบุคคลอื่น ผูใ้ ดผูห้ นึง่
(2) สลักหลังตัว๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรือสลักหลังให้ แก่บคุ คลอื่นผูใ้ ดผูห้ นึง่
(3) โอนตัว๋ เงินนัน้ ให้ไปแก่บคุ คลภายนอก โดยไม่กรอกความลงในที่ว่าง และไม่สลักหลัง
อย่างหนึง่ อย่างใด
มาตรา 921 การสลักหลังตัว๋ แลกเงินซึ่งสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือนัน้ ย่อม เป็ นเพียงประกัน (อาวัล)
สาหรับผูส้ งั ่ จ่าย
12.1.4 การยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงิน
กฎหมายกาหนดเวลาที่ผทู้ รงจะต้องยื่นเช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินไว้อย่างไร หากผู้
ทรงไม่ยื่นเช็คภายในกาหนดเวลาดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
กฎหมายกาหนดเวลาที่ผทู้ รงจะต้องยื่นเช็คให้ตอ่ ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินไว้ ดังนี้
1) ภายใน 1 เดือนนับแต่วนั ออกเช็คถ้าเป็ นเช็คที่ให้ใช้เงินในเมืองเดียวกันกับที่
ออกเช็ค
2) ภายใน 3 เดือนนับแต่วนั ออกเช็คที่ใช้ใช้เงินที่อื่น
74

ผลของการที่ผทู้ รงไม่ยื่นเช็คภายในกาหนดดังกล่าวทาให้ผทู้ รงสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ย


เอาแก่ผสู้ ลักหลัง และเสียสิทธิที่มีตอ่ ผูส้ งั ่ จ่ายเพียงเท่าที่จะเกิดความเสียหายแก่ผสู้ งั ่ จ่าย
เพราะหารที่ละเลยไม่ยื่นเช็คนัน้ ภายในกาหนด มาตรา 990
เค็มออกเช็คสัง่ ให้ธนาคารในเมืองเดียวกันที่เค็มออกเช็คสัง่ จ่ายเงินจานวนหนึง่ พัน
บาท ลงวันที่สงั ่ จ่าย 1 พฤษภาคม 2536 โดยระบุในเช็คว่า “จ่าย จืด หรือผูถ้ ือ” จืดสลัก
หลังเช็คโอนให้แก่เปรี้ยว เปรี้ยวได้ยื่นเช็คนัน้ ให้ธนาคารใช้เงินเมื่อวันที่ 10 มิถนุ ายน 2536
ธนาคารปฏิเสธการใช้เงินเพราะเงินในบัญชีเค็มไม่พอจ่าย ให้วินจิ ฉัยว่าเปรี้ยวมีสิทธิ
เรียกร้องเงินตามเช็คจากเค็มและจืดหรือไม่
เช็คที่ระบุว่าจ่ายให้ “จืด หรือ ผูถ้ ือ” ถือว่าเป็ นเช็คที่จ่ายให้แก่ผถู้ ือ
จืดสลักหลังเช็คระบุให้จ่ายแก่ผถู้ ือดังกล่าวโอนให้แก่เปรี้ยว ย่อมเป็ นการอาวัลผูส้ งั ่
จ่ายตามมาตรา 921 มาตรา 989
ถึงแม้ว่าเปรี้ยวจะนาเช็คไปยื่นต่อธนาคารให้ใช้เงินเกินกาหนด 1 เดือน ตามที่
กาหนดไว้ในมาตรา 990 อันจะเป็ นเหตุให้เปรี้ยวสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่ผสู้ ลักหลังก็ตาม
แต่ในกรณีจืดมีฐานะเป็ นผูอ้ าวัลสาหรับผูส้ งั ่ จ่ายด้วย เปรี้ยวจึงมีสิทธิเรียกร้องจากจืด
เปรี้ยวมีสิทธิเรียกร้องเงินตามเช็คจากเค็มผูส้ งั ่ จ่ายตามมาตรา 990 มาตรา 914
ประกอบมาตรา 989
มาตรา 914 บุคคลผูส้ งั ่ จ่ายหรือสลักหลังตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นอัน สัญญาว่าเมื่อตัว๋ นัน้ ได้นายื่น
โดยชอบแล้วจะมีผรู้ บั รอง และใช้เงินตาม เนือ้ ความแห่งตัว๋ ถ้าและตัว๋ แลกเงินนัน้ เขาไม่เชื่อถือโดยไม่ยอม
รับรอง ก็ดีหรือไม่ยอมจ่ายเงินก็ดี ผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูส้ ลักหลังก็จะใช้เงินแก่ผทู้ รง หรือแก่ผสู้ ลักหลังคนหลัง
ซึ่งต้องถูกบังคับให้ใช้เงินตามตัว๋ นัน้ ถ้า หากว่าได้ทาถูกต้องตามวิธีการในข้อไม่รบั รองหรือไม่จ่ายเงิน
นัน้ แล้ว
มาตรา 921 การสลักหลังตัว๋ แลกเงินซึ่งสัง่ ให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือนัน้ ย่อมเป็ นเพียงประกัน (อาวัล)
สาหรับผูส้ งั ่ จ่าย
มาตรา 938 ตัว๋ แลกเงินจะมีผคู้ า้ ประกัน รับประกันการใช้เงินทัง้ จานวน หรือแต่บางส่วนก็ได้
ซึ่งท่านเรียกว่า "อาวัล"
มาตรา 989 บทบัญญัตทิ งั้ หลายในหมวด 2 อันว่าด้วยตัว๋ แลกเงิน ดัง่ จะกล่าวต่อไปนี้ ท่านให้
ยกมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขดั กับ สภาพแห่งตราสารชนิดนี้ คือบท มาตรา 910 , 914 ถึง 923 ,
925 , 926 , 938 ถึง 940 , 945 , 946 , 959 , 967 , 971
ถ้าเป็ นเช็คที่ออกมาแต่ตา่ งประเทศ ท่านให้นาบทบัญญัตดิ งั ่ ต่อไปนี้ มาใช้บงั คับด้วย คือบท
มาตรา 924 , 960 ถึง 964 , 973 ถึง 977 , 980
มาตรา 990 ผูท้ รงเช็คต้องยื่นเช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน คือว่า ถ้าเป็ นเช็คให้ใช้เงินในเมือง
เดียวกันกับที่ออกเช็ค ต้องยื่นภายใน เดือนหนึง่ นับแต่วันออกเช็คนัน้ ถ้าเป็ นเช็คให้ใช้เงินที่อื่นต้องยื่น
ภายในสามเดือน ถ้ามิฉะนัน้ ท่านว่าผูท้ รงสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่ ผูส้ ลักหลังทั้งปวง ทัง้ เสียสิทธิอนั มี
ต่อผูส้ งั ่ จ่ายด้วยเพียงเท่าที่จะ เกิดความเสียหายอย่างหนึง่ อย่างใดแก่ผสู้ งั ่ จ่ายเพราะการที่ละเลย เสียไม่
ยื่นเช็คนัน้
75

อนึง่ ผูท้ รงเช็คซึ่งผูส้ งั ่ จ่ายหลุดพ้นจากความรับผิดไปแล้วนัน้ ท่านให้รบั ช่วงสิทธิของผูส้ งั ่ จ่าย


คนนัน้ อันมีตอ่ ธนาคาร
12.2 ความรับผิดของธนาคาร
1. ปกติธนาคารมีหน้าที่ตอ้ งใช้เงินตามเช็คซึ่งผูเ้ คยค้ากับธนาคารได้ออกเบิกเงินแก่ตน
เว้นแต่ในกรณีที่ (1) ไม่มีเงินในบัญชีของผูเ้ คยค้าพอจะจ่ายตามเช็ค หรือ (2) เช็คนัน้ ยื่น
เพื่อให้ใช้เงินเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วนั ออกเช็ค หรือ (3) ได้มีคาบอกกล่าวว่าเช็คนัน้
หายหรือถูกลักไป
2. หน้าที่และอานาจของธนาคารซึ่งจะใช้เงินตามเช็คสิ้นสุดลงเมื่อมีกรณีหนึง่ กรณีใด
เกิดขึน้ ใน 3 กรณีดงั นี้ คือ (1) มีคาบอกห้ามการใช้เงิน (2) ธนาคารผูร้ วู้ ่าผูส้ งั ่ จ่ายตาย (3)
ธนาคารรูว้ ่าได้มีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์หรือคาสัง่ ให้ผสู้ งั ่ จ่ายเป็ นบุคคลล้มละลาย หรือได้มี
ประกาศโฆษณาคาสัง่ เช่นว่านัน้
3. การที่ธนาคารรับรองเช็คด้วยการเขียนข้อความลงลายมือชือ่ บนเช็ค เช่น คาว่า
“ใช้ได้” หรือ “ใช้เงินได้” ธนาคารต้องผูกพันในฐานเป็ นลูกหนีช้ นั้ ต้นในอันจะต้องใช้เงินแก่ผ ู้
ทรงตามเช็คและมีผลให้ผสู้ งั ่ จ่ายและสลักหลังหลุดพ้นความผิดตามเช็คนัน้ เว้นแต่ธนาคารจะ
ได้ลงคารับรองดังกล่าวโดยคาขอร้องของผูส้ งั ่ จ่าย
4. กฎหมายกาหนดวิธีการขีดคร่อมเช็คและบุคคลผูม้ ีอานาจขีดคร่อมเช็คไว้ และเมื่อขีด
คร่อมเช็คแล้ว การขีดคร่อมนัน้ ย่อมเป็ นส่วนสาคัญของเช็ค โดยจะลบล้างไม่ได้ ซึ่งก่อให้เกิด
ผลว่าการเรียกเก็บเงินตามเช็คขีดคร่อมย่อมกระทาได้ แต่โดยวิธีการให้ธนาคารเป็ นตัวแทน
เรียกเก็บ กฎหมายจึงกาหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องความรับผิด หน้าที่ ของคู่สญ ั ญาในเช็คและ
ของธนาคาร ตลอดจนให้ความคุม้ ครองธนาคารที่จ่ายเงินกับธนาคารที่รบั เงินตามเช็คขีด
คร่อมไว้โดยเฉพาะ
12.2.1 หน้าที่ใช้เงินตามเช็ค
ปกติธนาคารมีหน้าที่ใช้เงินตามเช็คซึ่งผูเ้ คยค้าได้ออกเบิกเงินแก่ตน เว้นแต่กรณี
ต่อไปนีท้ ี่ธนาคารมีสิทธิปฏิเสธการใช้เงินตามเช็คคือ
1.) ไม่มีเงินในบัญชีของผูเ้ คยค้านัน้ เป็ นเจ้าหนีพ้ อจะจ่ายตามเช็ค
2.) เช็คนัน้ ยื่นให้ใช้เงินเมือ่ พ้นเวลา 6 เดือนนับแต่วนั ออกเช็ค
3.) ได้มีคาบอกกล่าวว่าเช็คนัน้ หายหรือถูกลักไป
ธนาคารไม่จาเป็ นต้องใช้เงินตามเช็คซึ่งผูเ้ คยค้ากับธนาคารได้ออกเบิกเงินแก่ตนใน
3 กรณีตอ่ ไปนี้
1.) มีคาบอกห้ามการใช้เงิน
2.) รูว้ ่าผูส้ งั ่ จ่ายตาย
3.) รูว้ ่าศาลได้มีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ชวั ่ คราว หรือคาสัง่ ให้ผสู้ งั ่ จ่ายเป็ นคนล้มละลาย
หรือได้มีประกาศโฆษณาคาสัง่ เช่นว่านัน้
76

พิเศษออกเช็คสัง่ ธนาคารสยามพาณิชย์ให้จ่ายเงินจานวนหนึง่ พันบาทแก่เอก ลง


วันที่สงั ่ จ่าย 1 มกราคม 2535 เอกเก็บเช็คไว้ในโต๊ะทางานลืมไปจนกระทัง่ วันที่ 1 สิงหาคม
2535 จึงได้นาเช็คไปยื่นต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารจ่ายเงินหนึง่ พันบาทให้แก่เอกไป
ให้วินจิ ฉัยว่าธนาคารมีสิทธิหกั เงินจานวนหนึง่ พันบาทจากบัญชีของพิเศษหรือไม่
ถึงแม้ว่าธนาคารจ่ายเงินตามเช็คให้แก่เอกไปโดยเอกนาเช็คนัน้ มายื่นต่อธนาคาร
เพื่อให้ใช้เงินเมื่อพ้นกาหนดเวลา 6 เดือนแล้วก็ตาม แต่ธนาคารก็มีสิทธิหกั เงินจานวนหนึง่
พันบาททีจ่ ่ายให้แก่เอกไปจากบัญชีพิเศษได้เพราะมาตรา 991(2) เป็ นเพียงบทบัญญัตใิ ห้
สิทธิธนาคารที่จะไม่จ่ายเงินตามเช็ค เมื่อเช็คนัน้ ได้ยื่นให้ใช้เงินเมื่อเวลา 6 เดือนนับแต่วนั ออก
เช็คเท่านัน้
มาตรา 991 ธนาคารจาต้องใช้เงินตามเช็คซึ่งผูเ้ คยค้ากับธนาคาร ได้ออกเบิกเงินแก่ตน เว้นแต่
ในกรณีดงั ่ กล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ไม่มีเงินในบัญชีของผูเ้ คยค้าคนนัน้ เป็ นเจ้าหนีพ้ อจะจ่ายตาม เช็คนัน้ หรือ
(2) เช็คนัน้ ยื่นเพื่อให้ใช้เงินเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันออกเช็ค หรือ
(3) ได้มีคาบอกกล่าวว่าเช็คนัน้ หายหรือถูกลักไป
ดาออกเช็คสัง่ ธนาคารเหลืองให้จ่ายเงินจานวนหนึง่ พันบาทแก่แดง โดยระบุให้
จ่ายเงินแก่ผถู้ ือ แดงทาเช็คหายและได้ประกาศหนังสือพิมพ์ให้ผเู้ ก็บเช็คได้สง่ คืน ห้าวันต่อมา
เขียวเก็บเช็คได้จึงนาไปยื่นต่อธนาคารเหลืองเพื่อให้ใช้เงิน หลังจากธนาคารเหลืองได้จ่ายเงิน
ตามเช็คให้แก่เขียวไปเพียง 5 นาที บุรษุ ไปรษณียน์ าโทรเลขของดา ซึ่งมีขอ้ ความเป็ นสาคัญ
ให้ธนาคารระงับการจ่ายเงินตามเช็คมาถึงธนาคาร ให้วินจิ ฉัยว่าธนาคารมีสิทธิหกั เงิน
จานวนหนึง่ พันบาทจากบริษทั ของดาหรือไม่
มาตรา 992 (1) บัญญัตใิ ห้อานาจหน้าที่ของธนาคารสิ้นสุดลง เมื่อมีคาบอกห้าม
การใช้เงินซึ่งย่อมหมายความว่าคาบอกห้ามนัน้ จะต้องไปถึงธนาคารแล้ว กรณีตามปั ญหา
เนือ่ งจากธนาคารได้รบั คาบอกห้ามของผูส้ งั ่ จ่ายภายหลังจากที่ได้จ่ายเงินแก่เขียวไปแล้ว
เช่นนีจ้ ะถือว่าอานาจหน้าที่ของธนาคาร ในการใช้เงินตามเช็คสิ้นสุดลงตามมาตรา 992 (1)
หาได้ไม่ ธนาคารมีสิทธิหกั บัญชีของดาสัง่ จ่ายให้
มาตรา 992 หน้าที่และอานาจของธนาคารซึ่งจะใช้เงินตามเช็คอันเบิก แก่ตนนัน้ ท่านว่าเป็ นอัน
สุดสิ้นไปเมื่อกรณีเป็ นดัง่ จะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) มีคาบอกห้ามการใช้เงิน
(2) รูว้ ่าผูส้ งั ่ จ่ายตาย
(3) รูว้ ่าศาลได้มีคาสัง่ รักษาทรัพย์ชวั ่ คราว หรือคาสัง่ ให้ผ สู้ งั ่ จ่ายเป็ น คนล้มละลาย หรือได้มี
ประกาศโฆษณาคาสัง่ เช่นนัน้

12.2.2 เช็คที่ธนาคารรับรอง
อธิบายผลของกฎหมายในกรณีที่ธนาคารเขียนข้อความลงลายมือชือ่ บนเช็คว่า “ใช้
เงินได้”
77

ในกรณีที่ธนาคารเขียนข้อความลงลายมือชือ่ บนเช็คว่า “ใช้ได้” มีผลทาให้ธนาคาร


ต้องผูกพันตนในฐานเป็ นลูกหนีช้ นั้ ต้นในอันที่จะต้องใช้เงินแก่ผทู้ รงเช็คนัน้ กล่าวคือผูท้ รงเช็ค
ใช้สิทธิเรียกร้องในหนีต้ ามมูลเช็คจากธนาคารได้โดยตรง ตามมาตรา 993
มะลิออกเช็คสัง่ ให้ธนาคารมะปรางจ่ายเงินจานวนหนึง่ แก่มะม่วง มะม่วงนาเช็คไปให้
ธนาคารรับรอง ธนาคารมะปรางได้รบั รองโดยเขียนข้อความลงลายมือชือ่ บนเช็คว่า “ใช้ได้”
ต่อมาธนาคารมะปรางล้มละลายโดยยังไม่ทนั ได้จ่ายเงินตามเช็คให้แก่มะม่วง เช่นนีใ้ ห้วินจิ ฉัย
ว่ามะม่วงจะฟ้องเรียกเงินตามเช็คจากมะลิได้หรือไม่
การที่ธนาคารมะปรางได้รบั รองโดยเขียนข้อความลงลายมือชือ่ บนเช็คว่า “ใช้ได้”
โดยคาขอร้องของมะม่วงซึ่งเป็ นผูท้ รงเช็ค ย่อมมีผลให้ผสู้ งั ่ จ่ายและผูส้ ลักหลังหลุดพ้นความ
รับผิดตามเช็คนัน้ ทันทีตามมาตรา 993 ดังนัน้ มะม่วงจึงไม่มีสิทธิฟ้องเรียกเงินตามเช็คจาก
มะลิซึ่งเป็ นผูส้ งั ่ จ่าย ตามมาตรา 993 วรรค 2
มาตรา 993 ถ้าธนาคารเขียนข้อความลงลายมือชื่อบนเช็ค เช่นคาว่า "ใช้ได้" หรือ "ใช้เงินได้"
หรือคาใด ๆ อันแสดงผลอย่างเดียวกัน ท่านว่าธนาคารต้องผูกพันในฐานเป็ นลูกหนีช้ นั้ ต้นในอันจะต้อง
ใช้เงิน แก่ผทู้ รงตามเช็คนัน้
ถ้าผูท้ รงเช็คเป็ นผูจ้ ดั การให้ธนาคารลงข้อความรับรองดัง่ ว่านัน้ ท่านว่าผูส้ งั ่ จ่ายและผูส้ ลัก
หลังทัง้ ปวงเป็ นอันหลุดพ้นจากความรับผิด ตามเช็คนัน้
ถ้าธนาคารลงข้อความรับรองดัง่ นัน้ โดยคาขอร้องของผูส้ งั ่ จ่าย ท่านว่าผูส้ งั ่ จ่ายและปวงผู้
สลักหลังก็หาหลุดพ้นไปไม่

12.2.3 เช็คขีดคร่อม
อธิบายว่าการขีดคร่อมคืออะไร
การขีดคร่อมคือ การขีดเส้นขนานคู่วางไว้ดา้ นหน้ากับมีหรือไม่มีคา อย่างใดๆว่า
“บริษทั ” หรือคาย่ออย่างใดๆ ในความหมายนี้อยู่ในระหว่างเส้นขนานทัง้ สอง การขีดคร่อม
มีผลทาให้เช็คนัน้ จะใช้เงินตามเช็คได้แต่เฉพาะให้แก่ธนาคารเท่านัน้
การขีดคร่อมทัว่ ไปคือการขีดเส้นขนานคู่ โดยไม่ระบุชอื่ ธนาคารหนึง่ ธนาคารใดไว้
โดยเฉพาะหากมีการระบุชอื่ ธนาคารหนึง่ ธนาคารใดไว้โดยเฉพาะย่อมทาให้เช็คนัน้ เป็ นเช็คขีด
คร่อมเฉพาะ และจะใช้เงินตามเช็คนัน้ ได้เฉพาะให้แก่ธนาคารที่ระบุไว้โดยเฉพาะเท่านัน้
ผูท้ ี่จะทาการขีดคร่อมเช็คมีดงั ต่อไปนี้
1.) เช็คไม่มีขดี คร่อม ผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูท้ รงคนใดคนหนึง่ จะขีดคร่อมเสียก็ได้ และจะทา
เป็ นขีดคร่อมทัว่ ไปหรือขีดคร่อมเฉพาะก็ได้
2.) เช็คขีดคร่อมทัว่ ไปผูท้ รงจะทาให้เป็ นขีดคร่อมเฉพาะเสียก็ได้
3.) เช็คขีดคร่อมทัว่ ไปก็ดี ขีดคร่อมเฉพาะก็ดี ผูท้ รงจะเติมคาลงไปว่า “ห้ามเปลี่ยน
มือ” ก็ได้
4.) เช็คขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ธนาคาร ธนาคารนัน้ จะซา้ ขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ธนาคาร
อื่นเพื่อเรียกเก็บเงินก็ได้
78

5.) เช็คไม่มีขดี คร่อมก็ดี เช็คขีดคร่อมทัว่ ไปก็ดี ส่งไปยังธนาคารใดเพื่อเรียกเก็บเงิน


ธนาคารนัน้ จะลงขีดคร่อมเฉพาะให้ตนเองก็ได้ มาตรา 994 และมาตรา 995
มาตรา 994 ถ้าในเช็คมีเส้นขนานคูข่ ดี ขวางไว้ขา้ งด้านหน้า กับมี หรือไม่มีคาว่า "และบริษทั "
หรือคาย่ออย่างใด ๆ แห่งของความนีอ้ ยู่ ในระหว่างเส้นทัง้ สองนัน้ ไซร้ เช็คนัน้ ชื่อว่าเป็ นเช็คขีดคร่อม
ทัว่ ไป และจะใช้เงินตามเช็คนัน้ ได้แต่เฉพาะให้แก่ธนาคารเท่านัน้
ถ้าในระหว่างเส้นทัง้ สองนัน้ กรอกชื่อธนาคารอันหนึ่งอันใดลงไว้ โดยเฉพาะ เช็คเช่นนัน้ ชื่อว่า
เป็ นเช็คขีดคร่อมเฉพาะ และจะใช้เงิน ตามเช็คนัน้ ได้เฉพาะให้แก่ธนาคารอันนัน้
มาตรา 995
(1) เช็คไม่มีขดี คร่อม ผูส้ งั ่ จ่ายหรือผูท้ รงคนใดคนหนึ่ง จะเรียกขีดคร่อมเสียก็ได้ และจะทาเป็ น
ขีดคร่อมทัว่ ไปหรือขีดคร่อม เฉพาะก็ได้
(2) เช็คขีดคร่อมทัว่ ไป ผูท้ รงจะทาให้เป็ นขีดคร่อมเฉพาะเสียก็ได้
(3) เช็คขีดคร่อมทัว่ ไปก็ดี ขีดคร่อมเฉพาะก็ดี ผูท้ รงจะเติมคาลงว่า"ห้ามเปลี่ยนมือ" ก็ได้
(4) เช็คขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ธนาคารใด ธนาคารนัน้ จะซา้ ขีดคร่อม เฉพาะให้ไปแก่ธนาคารอื่น
เพื่อเรียกเก็บเงินก็ได้
(5) เช็คไม่มีขดี คร่อมก็ดี เช็คขีดคร่อมทัว่ ไปก็ดี ส่งไปยังธนาคารใด เพื่อให้เรียกเก็บเงิน
ธนาคารนัน้ จะลงขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ตนเองก็ได้
อธิบายหลักกฎหมายในเรื่องหน้าที่และความรับผิดของธนาคารในการจ่ายเงินตาม
เช็คขีดคร่อม
ถ้ามีผนู้ าเช็คขีดคร่อมมายื่นต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารจะจ่ายเงินสดแก่ผมู้ า
ขึน้ เงินไม่ได้ แต่ตอ้ งจ่ายให้แก่ธนาคารด้วยกัน โดยถ้าเช็คขีดคร่อมทัว่ ไป ธนาคารตามเช็คจะ
จ่ายเงินให้แก่ธนาคารใดที่เรียกเก็บเงินมาก็ได้ แต่ถา้ เป็ นเช็คขีดคร่อมเฉาะ ธนาคารตามเช็ค
จะจ่ายเงินให้ได้ก็แต่เฉพาะธนาคารที่เขาระบุเจาะจงขีดคร่อมให้โดยเฉพาะเท่านัน้ หากธนาคาร
ปฏิบตั ผิ ิดไปจากที่กล่าวมาธนาคารจะต้องรับผิดต่อผูเ้ ป็ นเจ้าของอันแท้จริงแห่งเช็คนัน้ ใน
การที่เขาต้องเสียหายอย่างใดๆ เพราะการที่ธนาคารใช้เงินไปตามเช็คนัน้ ตามมาตรา 997
มาตรา 997 เช็คขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ธนาคารกว่าธนาคารหนึง่ ขึน้ ไป เมื่อนาเบิกเอาแก่
ธนาคารใด ท่านให้ธนาคารนัน้ บอกปั ดเสียอย่าใช้เงินให้ เว้นแต่ที่ขดี คร่อมให้แก่ธนาคารในฐานเป็ น
ตัวแทนเรียกเก็บเงิน
ธนาคารใดซึ่งเขานาเช็คเบิกขืนใช้เงินไปตามเช็คที่ขดี คร่อมอย่างว่ามา นัน้ ก็ดี ใช้เงินตามเช็คอัน
เขาขีดคร่อมทัว่ ไปเป็ นประการอื่นนอกจากใช้ให้ แก่ธนาคารอันใดอันหนึง่ ก็ดี ใช้เงินตามเช็คอันเขาขีด
คร่อมเฉพาะเป็ น ประการอื่นนอกจากใช้ให้แก่ธนาคาร ซึ่งเขาเจาะจงขีดคร่อมให้โดย เฉพาะหรือแก่
ธนาคารตัวแทนเรียกเก็บเงินของธนาคารนัน้ ก็ดี ท่านว่า ธนาคารซึ่งใช้เงินไปดัง่ กล่าวนี้ จะต้องรับผิดต่อ
ผูเ้ ป็ นเจ้าของอันแท้จริง แห่งเช็คนัน้ ในการที่เขาต้องเสียหายอย่างใด ๆ เพราะการที่ตนใช้เงินไป ตามเช็ค
ดัง่ นัน้
แต่หากเช็คใดเขานายื่นเพื่อให้ใช้เงิน และเมื่อยื่นไม่ปรากฏว่าเป็ นเช็ค ขีดคร่อมก็ดี หรือไม่
ปรากฏว่ามีรอยขีดคร่อมอันได้ลบล้างหรือแก้ไข เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมเป็ นประการอื่นนอกจากที่อนุญาต
ไว้โดยกฎหมาย ก็ดี เช็คเช่นนีถ้ า้ ธนาคารใดใช้เงินไปโดยสุจริตและปราศจากประมาท เลินเล่อ ท่านว่า
ธนาคารนัน้ ไม่ตอ้ งรับผิดหรือต้องมีหน้าที่รบั ใช้เงิน อย่างใด ๆ
79

อธิบายหลักกฎหมายในเรื่องการคุม้ ครองธนาคารรับเงินตามเช็คขีดคร่อม
ธนาคารที่รบั เงินตามเช็คขีดคร่อมจะได้รบั ความคุม้ ครอง ไม่ตอ้ งรับผิดต่อผูเ้ ป็ น
เจ้าของอันแท้จริงแห่งเช็คในการที่ธนาคารรับเงินไว้เพื่อผูเ้ คยค้าของตน หากปรากฏต่อมาว่า
ผูเ้ คยค้านัน้ ไม่มีสิทธิหรือสิทธิบกพร่อง แต่จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ดงั นี้ (มาตรา
998)
1.) ธนาคารต้องกระทาโดยสุจริตและไม่ประมาทเลินเล่อ
2.) ธนาคารที่รบั เงินต้องได้รบั เช็คที่มีการขีดคร่อมแล้ว
3.) การเรียกเก็บเงินของธนาคารตามเช็คขีดคร่อมนัน้ เป็ นการเรียกเก็บเพื่อ
ประโยชน์ของผูเ้ คยค้า
มาตรา 998 ธนาคารใดซึ่งเขานาเช็คขีดคร่อมเบิกเงินใช้เงินไปตาม เช็คนัน้ โดยสุจริตและ
ปราศจากประมาทเลินเล่อ กล่าวคือว่าถ้าเป็ นเช็ค ขีดคร่อมทัว่ ไปก็ใช้เงินให้แก่ธนาคารอันใดอันหนึง่ ถ้า
เป็ นเช็คขีดคร่อม เฉพาะก็ใช้ให้แก่ธนาคารซึ่งเขาเจาะจงขีดคร่อมให้โดยเฉพาะหรือใช้ให้ แก่ธนาคาร
ตัวแทนเรียกเก็บเงินของธนาคารนัน้ ไซร้ ท่านว่าธนาคารซึ่ง ใช้เงินไปตามเช็คนัน้ ฝ่ ายหนึง่ กับถ้าเช็คตก
ไปถึงมือผูร้ บั เงินแล้ว ผูส้ งั ่ จ่ายอีกฝ่ ายหนึง่ ต่างมีสิทธิเป็ นอย่างเดียวกัน และเข้าอยู่ในฐานอัน เดียวกัน
เสมือนดัง่ ว่าเช็คนัน้ ได้ใช้เงินให้แก่ผเู้ ป็ นเจ้าของอันแท้จริงแล้ว
พิเศษออกเช็คสัง่ ให้ธนาคารบางกอกจ่ายเงินจานวนหนึง่ พันบาทแก่เอก โดยได้ขดี
คร่อมเช็คนัน้ ไว้ดว้ ย โทขโมยเช็คนัน้ ไปจากเอก แล้วปลอมบัตรประจาตัวข้าราชการเป็ นชือ่ เอก
นาเช็คและบัตรประจาตัวปลอมนัน้ ไปยื่นต่อธนาคารบางกอกเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารบางกอก
ได้ใช้ความระมัดระวังแล้วไม่พบร่องรอยการปลอมบัตรประจาตัวจึงเข้าใจว่าโทคือเอก และได้
จ่ายเงินสดให้โอไทหนึง่ พันบาทโดยสุจริต เช่นนีธ้ นาคารบางกอกจะต้องรับผิดต่อเอกหรือไม่
เช็คฉบับนีเ้ ป็ นเช็คที่มีการขีดคร่อม ดังนัน้ ธนาคารบางกอกซึ่งเป็ นธนาคารที่มี
หน้าที่ใช้เงินตามเช็คนัน้ จะจ่ายเป็ นเงินสดตามเช็คให้แก่ผนู้ าเช็คนัน้ มายื่นต่อธนาคารไม่ได้
ธนาคารบางกอกมีหน้าที่ที่จะต้องใช้เงินตามเช็คให้แก่ธนาคารหนึง่ ธนาคารใดที่เรียกเก็บเงิน
มาเท่านัน้ ถึงแม่ธนาคารบางกอกจะได้กระทาการโดยสุจริตและไม่ประมาทเลินเล่อก็ตาม แต่
กระทาผิดวิธีการใช้เงินตามเช็คขีดคร่อมที่กฎหมายกาหนดไว้ ธนาคารจึงยังต้องรับผิดต่อ
เอกผูเ้ ป็ นเจ้าของเช็คที่แท้จริง ตามมาตรา 997 และมาตรา 1000
มาตรา 1000 ธนาคารใดได้รบั เงินไว้เพื่อผูเ้ คยค้าของตนโดยสุจริต และปราศจากประมาท
เลินเล่อ อันเป็ นเงินเขาใช้ให้ตามเช็คขีดคร่อม ทัว่ ไปก็ดี ขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ตนก็ดี หากปรากฏว่าผูเ้ คย
ค้านัน้ ไม่มีสิทธิหรือมีสิทธิเพียงอย่างบกพร่องในเช็คนัน้ ไซร้ ท่านว่าเพียงแต่ เหตุที่ได้รบั เงินไว้หาทาให้
ธนาคารนัน้ ต้องรับผิดต่อผูเ้ ป็ นเจ้าของอัน แท้จริงแห่งเช็คนัน้ แต่อย่างหนึง่ อย่างใดไม่
แบบประเมินผลหน่วยที่ 12
1. วันที่ออกเช็ค ไม่มีผลกระทบถึงความสมบูรณ์ของเช็ค
2. จืดออกเช็คชาระหนีใ้ ห้แก่เค็ม โดยเติมรายการในแบบพิมพ์เช็คซึ่งมีขอ้ ความว่า “จ่าย.เค็ม…
หรือผูถ้ ือ” โดยไม่ได้ขดี ฆ่าคาว่า “หรือผูถ้ ือ.” ออก เช็คฉบับนีม้ ีผลทางกฎหมายคือ ถือว่าเป็ นเช็คจ่าย
ให้แก่ผถู้ ือ
80

3. จืดใช้ปืนข่มขูใ่ ห้เค็มสัง่ จ่ายเช็คให้แก่ตน เค็มกลัวตายจึงลงลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็คให้แก่จืดไป จืดนา


เช็คนัน้ ไปสลักหลังโอนชาระหนีค้ า่ เช่าซื้อรถยนต์ให้แก่บริษทั ไทยซื่อตรงจากัด บริษทั ไทยซื่อตรงไม่รเู้ รื่อง
เกี่ยวกับที่จืดใช้ปืนข่มขูเ่ ค็ม จึงได้รบั เช็คไว้ แล้วนาเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน แต่ธนาคารปฏิเสธ
การใช้เงินตามเช็ค เช่นนี้ บริษทั ไทยซื่อตรงมีสิทธิเรียกร้องเงินตามเช็คจากเค็มและจืด
4. กฎหมายกาหนดเวลาให้ยื่นเช็คแก่ธนาคารเพื่อใช้เงินภายในกาหนดเวลา ภายใน 1 ปี นับแต่วัน
ออกเช็ค
5. เช็คนัน้ ยื่นให้ใช้เงินเมื่อพ้นเวลาสามเดือนนับแต่วันออกเช็ค ไม่เป็ นเหตุที่ธนาคารจะปฏิเสธการ
จ่ายเงินตามเช็คซึ่งผูเ้ คยค้ากับธนาคารได้ออกเบิกเงินแก่ตน
6. ถ้าธนาคารตามเช็คเขียนข้อความลงลายมือชื่อบนเช็คว่า “ใช้ได้” จะทาให้ธนาคารมีสถานะ
ผูกพันในฐานเป็ นลูกหนีช้ นั้ ต้นต่อผูท้ รง
7. การที่ธนาคารซึ่งใช้เงินตามเช็คขีดคร่อมเฉพาะโดยใช้เงินไปตามเช็คโดยสุจริตปราศจากประมาท
เลินเล่อแก่ธนาคารซึ่งเขาเจาะจงขีดคร่อมให้โดยเฉพาะแล้ว หากปรากฏภายหลังว่าผูท้ รงเช็คซึ่งเรีย กเก็บ
เงินแต่แรกนัน้ มิใช่เป็ นผูม้ ีสิทธิอนั แท้จริงในเช็คนัน้ จะมีผลทางกฎหมายคือ ถือว่าเช็คนัน้ ได้ใช้เงินให้แก่ผ ู้
เป็ นเจ้าของที่แท้จริงแล้ว
8. หลักเกณฑ์สาคัญที่จะทาให้ธนาคารที่ได้รบั เงินไว้เพื่อลูกค้าของตน อันเป็ นเงินที่ธนาคารอื่นใช้ให้
ตามเช็คขีดคร่อม ไม่ตอ้ งรับผิดต่อผูเ้ ป็ นเจ้าของอันแท้จริงแห่งเช็คนัน้ หากปรากฏต่อมาว่าลูกค้าของตน
ที่นาเช็คมาเข้าบัญชีนนั้ ไม่มีสิทธิในเช็คนัน้ คือ หลักการกระทาโดยสุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อ
9. เหตุที่แบบพิมพ์เช็คของธนาคาร จึงมีขอ้ ความไว้ให้เติมรายการว่า “จ่าย….หรือผูถ้ ือ” เพราะ
รายการในเช็คที่สาคัญต้องมีชื่อหรือยี่หอ้ ของผูร้ บั เงินหรือคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู้ ือ
10. หากมีการยื่นเช็คเพื่อให้ธนาคารใช้เงินเมื่อพ้นเวลา 6 เดือนนับแต่วันออกเช็คผลคือ ธนาคารมี
สิทธิที่จะไม่จ่ายเงินตามเช็ค
11. กาหนดเวลาให้ยื่นเช็คภายใน 1 เดือนนับแต่วันออกเช็คใช้กบั เช็คที่ใช้เงินในเมืองเดียวกันกับที่
ออกเช็ค
12. เช็คที่มีการขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ 2 ธนาคารมีผลทางกฎหมายคือ ธนาคารตามเช็คบอกปั ดไม่ใช้
เงินได้เว้นแต่เป็ นการขีดคร่อมให้แก่ธนาคารในฐานเป็ นตัวแทนเรียกเก็บ
13. กรณีเช็คไม่ได้ลงวันที่ออกเช็คไว้ ผูท้ รงทาการโดยสุจริตจดวันตามที่ถกู ต้องแท้จริงลงได้
14. ธนาคารที่ระบุไว้ในการขีดคร่อมเฉพาะ จะทาการขีดคร่อมเฉาะซา้ อีกอันหนึง่ ให้แก่ธนาคารอื่น
เพื่อเรียกเก็บเงินก็ได้
15. พิเศษถูกเอกฉ้อฉลให้ออกเช็คสัง่ จ่ายเงินจานวนหนึง่ แก่เอก เอกไม่กล้านาเช็คนัน้ ไปขึน้ เงินกับ
ธนาคาร จึงได้นาเช็คนัน้ สลักหลังโอนชาระหนีใ้ ห้บริษทั สุจริตจากัด ทัง้ ๆ ที่บริษทั สุจริตจากัดรูอ้ ยู่แล้วว่า
พิเศษถูกเอกฉ้อฉลให้ออกเช็คฉบับนัน้ แต่ก็ยงั รับเช็คไว้ บริษทั สุจริตจากัด นาเช็คเข้าบัญชีในธนาคารเพื่อ
เรียกเก็บ ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค บริษทั สุจริต จากัด มีสิทธิเรียกร้องจาก เอก ให้ชาระหนี้
ตามเช็ค

หน่วยที่ 13 ตัว๋ สัญญาใช้เงิน อายุความ ตัว๋ เงินปลอม ตัว๋ เงินถ ูกลัก ตัว๋ เงิน
หาย
81

1. ตัว๋ สัญญาใช้เงินเป็ นตราสารซึ่งผูอ้ อกตัว๋ ให้คามัน่ สัญญาว่า จะใช้เงินจานวนหนึง่ ให้แก่


ผูร้ บั เงินหรือตามคาสัง่ ของผูร้ บั เงิน ซึ่งจะต้องมีรายการตามที่กฎหมายกาหนดไว้ โดย
กฎหมายให้นบั บทบัญญัติในบางเรื่องของตัว๋ แลกเงินมาใช้กบั ตัว๋ สัญญาใช้เงินด้วย
2. มูลหนีต้ ามตัว๋ เงินจะต้องดาเนินการเรียกร้องภายในอายุความที่กฎหมายกาหนดไว้
เป็ นพิเศษซึ่งมี 3 กรณีคืออายุความฟ้องผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงินและผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน อายุ
ความฟ้องผูส้ งั ่ จ่ายและผูส้ ลักหลัง และอายุความผูส้ ลักหลังฟ้องไล่เบี้ย นอกจากนัน้ กฎหมาย
ยังกาหนดผลของการที่อายุความสะดุดหยุดลงและผลของหนีเ้ ดิมเกี่ยวกับอายุความตัว๋ เงิน
3. ตัว๋ เงินปลอม หมายถึงตัว๋ เงินนัน้ ได้มีการกระทาให้ผิดแปลกไปจากตัว๋ เงินที่แท้จริง
อาจจะเป็ นการปลอมทัง้ ฉบับ หรือบางส่วน
4. เมื่อตัว๋ เงินหาย หรือถูกลัก ผูท้ รงต้องบอกกล่าวเป็ นหนังสือไปยังผูอ้ อกตัว๋ เงิน ผูจ้ ่าย
ผูส้ มอ้างยามประสงค์ ผูร้ บั รองเพื่อแก้หน้าและผูร้ บั อาวัลตามแต่มี เพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงิน
ตามตัว๋ เงินนัน้ และอาจร้องขอไปยังผูส้ งั ่ จ่ายให้ออกตัว๋ เงินเป็ นเนือ้ ความเดียวกันแก่ตนใหม่
ฉบับหนึง่ ก็ได้
13.1 ตัว๋ สัญญาใช้เงิน
1. ตัว๋ สัญญาใช้เงินเป็ นตัว๋ เงินประเภทหนึง่ ที่ผอู้ อกตัว๋ ให้คามัน่ ว่าจะใช้เงินจานวนหนึง่
ให้แก่ผรู้ บั เงินหรือตามคาสัง่ ของผูร้ บั เงิน
2. กฎหมายกาหนดรายการที่จะต้องในตัว๋ สัญญาใช้เงินไว้ ซึ่งจะต้องมีรายที่ขาดเสียมิได้
รวม 4 รายการคือ (1) คาบอกชือ่ ว่าเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิน (2) คามัน่ สัญญาอันปราศจาก
เงือ่ นไขว่าจะใช้เงินเป็ นจานวนแน่นอน (3) ชือ่ หรือยี่หอ้ ของผูร้ บั เงิน และ (4) ลายมือชือ่ ผู้
ออกตัว๋
3. กฎหมายกาหนดให้นาบทบัญญัตใิ นบางเรื่องของตัว๋ แลกเงินมาใช้กบั ตัว๋ สัญญาใช้เงิน
เพียงเท่าที่ไม่ขดั กับสภาพแห่งตราสารชนิดนีด้ ว้ ย
4. ผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงินย่อมต้องผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงิน
13.1.1 ความหมายของตัว๋ สัญญาใช้เงิน
ตัว๋ สัญญาใช้เงินคืออะไร
ตัว๋ สัญญาใช้เงินคือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึง่ เรียกว่า ผูอ้ อกตัว๋ ให้คามัน่
สัญญาว่าจะใช้เงินจานวนหนึง่ แก่บคุ คลอีกคนหนึง่ หรือให้ใช้ตามคาสัง่ ของบุคคลอีกคนหนึง่
เรียกว่าผูร้ บั เงิน
13.1.2 รายการในตัว๋ สัญญาใช้เงิน
เค็มสัง่ ซื้อสินค้าจากหวานเมื่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2536 เป็ นราคาสินค้าทัง้ สิ้น
10,000 บาท เค็มยังไม่มีเงินจ่ายค่าสินค้าดังกล่าวแก่หวาน หวานตกลงให้เค็มออกตัว๋
สัญญาใช้เงินจานวนเงินดังกล่าวและดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 12 ต่อปี กาหนดใช้เงินในวันที่
1 ธันวาคม 2536
ให้เขียนตัว๋ สัญญาใช้เงินดังกล่าวให้มีรายการครบถ้วนตามที่กฎหมายกาหนดไว้
82

ออกที่บา้ นเลขที่ 123 ถนน 86


ตัว๋ สัญญาใช้เงิน แขวงบางมด เขตบางเขน กรุงเทพฯ
วันที่ 1 มิถนุ ายน 2536
ข้าพเจ้านายเค็มสัญญาว่าจะใช้เงินให้เป็ นจานวน 10,000 บาท พร้อมกับดอกเบี้ยใน
อัตราร้อยละ 12 ต่อปี ของจานวนเงินดังกล่าวแก่นายหวาย ในวันที่ 1 ธันวาคม 2536 ณ
ภูมิลาเนาของข้าพเจ้าข้างต้น
ลงชือ่ เค็ม
13.1.3 บทบัญญัตวิ ่าด้วยตัว๋ แลกเงินที่นามาใช้กบั ตัว๋ สัญญาใช้เงิน
เมื่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2536 มะพร้าวยืมเงินมะนาว 10,000 บาท กาหนดใช้คืน
ภายใน 3 เดือน มะนาวตกลงให้ยืมแต่ขอคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 10 ต่อเดือน คิดเป็ นค่า
ดอกเบี้ย 3,000 บาท ขอหักค่าดอกเบี้ยล่วงหน้าคงจ่ายเงินสดไป 7,000 บาท และให้
มะพร้าวออกตัว๋ สัญญาใช้เงินลงวันที่ 1 มิถนุ ายน 2536 สัญญาจะใช้เงินจานวน 10,000
บาท แก่มะนาว ต่อมามะนาวสลักหลังโอนตัว๋ สัญญาใช้เงินให้แก่มะปรางเป็ นการชาระหนีค้ ่า
ซื้อสินค้า โดยมะปรางไม่รถู้ ึงการคิดดอกเบี้ยดังกล่าว เมื่อตัว๋ สัญญาใช้เงินถึงกาหนดใช้เงิน
มะปรางยื่นตัว๋ เพื่อให้มะพร้าวใช้เงินมะพร้าวไม่ยอมใช้อา้ งว่าเป็ นหนีท้ ี่เกิดขึน้ จากการกูย้ ืมที่
คิดดอกเบี้ยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกาหนด จงวินจิ ฉัยว่ามะปรางมีมีสิทธิเรียกร้องจาก
มะพร้าวได้หรือไม่ เพียงใด
กรณีเป็ นเรื่องที่มะปรางทรงตัว๋ สัญญาใช้เงินฟ้องมะพร้าว ผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน
ให้ชาระหนีต้ ามตัว๋ นัน้ เช่นนีม้ ะพร้าวไม่อาจยกข้อต่อสูใ้ นเรื่องการคิดดอกเบี้ยเกินอัตราขึน้
เป็ นข้อต่อสูท้ ี่มะพร้าวมีตอ่ มะนาวผูท้ รงคนก่อนมาใช้กบั มะปรางได้ ทัง้ นีเ้ พราะการอนตัว๋
สัญญาใช้เงินระหว่างมะนาวกับมะปรางมิได้มีขนึ้ ด้วยการคบคิดกันฉ้อฉล กรณีตอ้ งบังคับ
ตามมาตรา 916 ซึ่งมาตรา 985 ให้นามาใช้กบั ตัว๋ สัญญาใช้เงินด้วย มะพร้าวต้องรับผิดใช้
เงินด้วย มะพร้าวต้องรับผิดใช้เงินเต็มจานวนในตัว๋ สัญญาใช้เงินแก่มะปราง
13.1.4 ความรับผิดของผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน
อธิบายว่ากฎหมายกาหนดความรับผิดของผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงินไว้อย่างไร
มาตรา 986 กาหนดความรับผิดของผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงินเสมือนกับความรับผิด
ของผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงิน กล่าวคือผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงินย่อมได้ลงลายมือชือ่ ของตนในฐานะ
ผูอ้ อกตัว๋ ซึ่งมีขอ้ ความเป็ นคามัน่ ปราศจากเงือ่ นไขว่าจะใช้เงินจานวนแน่นอนให้แก่ผรู้ บั เงิน
ย่อมเป็ นอันสัญญาว่าจะใช้เงินตามตัว๋ นัน้ แก่ผทู้ รงเมื่อตัว๋ ถึงกาหนดใช้เงิน ในกรณีของตัว๋
แลกเงินความรับผิดของผูจ้ ่ายเกิดขึน้ เมื่อผูจ้ ่ายได้ลงลายมือชือ่ รับรองตัว๋ แลกเงิน ในกรณี
ของตัว๋ สัญญาใช้เงินเมื่อมาตรา 986 กาหนดให้ผอู้ อกตัว๋ รับผิดอย่างเดียวกับผูร้ บั รองตัว๋
แลกเงินแล้ว จึงไม่มีความจาเป็ นที่จะต้องมีวิธีการรับรองตัว๋ สัญญาใช้เงินดังเช่นกรณีของตัว๋
แลกเงินเว้นแต่เป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงินที่ออกมาแต่ตา่ งประเทศ
13.2 อาย ุความตัว๋ เงิน
83

1. อายุความตามลูกหนีเ้ ดิม และอายุความตามตัว๋ เงิน กฎหมายกาหนดไว้แตกต่างดัน


โดยอายุความตัว๋ เงินกาหนดไว้สนั้ กว่าอายุความตามมูลหนีเ้ ดิม
2. กฎหมายกาหนดอายุความตัว๋ เงินไว้เป็ นพิเศษ ในกรณีฟ้องผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงินหรือผู้
ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาสามปี นับแต่วนั ตัว๋ นัน้ ถึงกาหนดใช้เงิน
3. ในกรณีผทู้ รงตัว๋ เงินฟ้องผูส้ ลักหลังและผูส้ งั ่ จ่าย ห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาหนึง่ ปี
นับแต่วนั ที่ได้ลงในคาคัดค้าน หรือนับแต่วนั ตัว๋ เงินถึงกาหนดในกรณีที่มีขอ้ กาหนดไว้ว่าไม่
จาต้องมีคาคัดคาน
4. ในกรณีผสู้ ลักหลังฟ้องไล่เบี้ยกันเองและไล่เบี้ยเอาแก่ผสู้ งั ่ จ่าย ห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้น
เวลาหกเดือนนับแต่วนั ทีผ่ สู้ ลักหลังเข้าถือเอาตัว๋ เงินและใช้เงิน หรือนับแต่วนั ที่ผสู้ ลักหลัง
นัน้ เองถูกฟ้อง
5. เมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแก่ค่สู ญ ั ญาแห่งตัว๋ เงินฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ย่อมมีผลสะดุด
หยุดลงเพียงแก่แก่ค่สู ญ ั ญาฝ่ ายนัน้ เท่านัน้
6. ถ้าตัว๋ เงินได้ทาขึน้ หรือได้โอนหรือสลักหลังไปแล้วในมูลหนีอ้ นั ใด และสิทธิตามตัว๋ เงิน
สูญสิ้นไปเพราะอายุความ หนีเ้ ดิมนัน้ ก็ยงั คงมีอยู่เท่าที่ลกู หนีม้ ิตอ้ งเสียหายแต่การนัน้ เว้นแต่
จะได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น
13.2.1 อายุความตามมูลหนีเ้ ดิม และอายุความตามตัว๋ เงิน
ก. สัง่ จ่ายเช็คฉบับหนึง่ แก่ ข. ต่อมา ข. เอาเช็คนัน้ ไปทาสัญญาขายลดให้แก่ธนาคาร
เมื่อถึงกาหนดธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน หลังจากนัน้ 1 ปี ธนาคารที่รบั ซื้อลดเช็ค
ได้นาเช็คนัน้ ไปฟ้องให้ ก. และ ข. รับผิดใช้เงินคืน ก. และ ข. สูค้ ดีว่าขาดอายุความแล้ว ให้
วินจิ ฉัยว่าข้อต่อสูข้ อง ก. และ ข. ฟั งได้หรือไม่พียงใด
กรณีเป็ นเรื่องธนาคารฟ้อง ก. ให้รบั ผิดในฐานะผูท้ รงเช็คตามมาตรา 1002 เมื่อ
เกิน 1 ปี นับแต่วนั ออกเช็คคดีจึงขาดอายุความ ส่วนธนาคารฟ้อง ข. นัน้ เป็ นการฟ้องให้รบั
ผิดตามสัญญาขายลดเช็คมีอายุความ 10 ปี คดีไม่ขาดอายุความ ดังนัน้ ข้อต่อสูข้ อง ก. ฟั ง
ขึน้ ส่วนข้อต่อสูข้ อง ข. ฟั งไม่ได้
13.2.2 อายุความฟ้องผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงินและผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน
จันทร์ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินลงวันที่ 1 มีนาคม 2532 สัญญาจะใช้เงินจานวนหนึง่
แก่องั คารผูร้ บั เงิน เมื่อผูร้ บั เงินเรียกร้องทวงถาม ต่อมาวันที่ 1 มีนาคม 2536 อังคารให้
ทนายความทวงถามจันทร์ให้ใช้เงินตามตัว๋ และต่อมาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2536 อังคาร
ได้ยื่นฟ้องจันทร์ให้รบั ผิดตามตัว๋ ให้วินจิ ฉัยว่าคดีของอังคารขาดอายุความฟ้องร้องแล้ว
หรือไม่
กรณีเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงินเมื่อทวงถาม ผูอ้ อกตัว๋ ให้ใช้เงินตามตัว๋ เป็ นวันเริ่มต้นถึง
กาหนดใช้เงิน ดังนัน้ จึงต้องถือเอาวันที่ 1 มีนาคม 2536 เป็ นวันเริ่มนับอายุความ เมื่อ
อังคารฟ้องคดีภายใน 3 ปี นับแต่วนั ถึงกาหนดใช้เงินดังกล่าว คดีของอังคารจึงไม่ขาดอายุ
ความ
84

13.2.3 อายุความฟ้องผูส้ งั ่ จ่ายและผูส้ ลักหลัง


มะลิออกเช็คสัง่ ให้ธนาคารชาวนาไทยจ่ายเงินจานวนห้าพันบาทแก่กหุ ลาบลงวันที่
สัง่ จ่าย 1 มกราคม 2536 ต่อมาวันที่ 15 มกราคม 2536 กุหลาบนาเช็คดังกล่าวยื่นต่อ
ธนาคารชาวนาไทยเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารชาวนาไทยปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คอ้างว่าเงินใน
บัญชีมะลิไม่พอจ่าย กุหลาบทวงถามเงินตามเช็คจากมะลิแต่มะลิผดั ผ่อนเรื่อยมาจนกระทัง่
วันที่ 10 มกราคม 2537 กุหลาบจึงได้ยื่นฟ้องมะลิตอ่ ศาลขอให้บงั คับใช้เงินตามเช็ค มะลิ
ต่อสูว้ ่าคดีขาดอายุความแล้ว ให้วินจิ ฉัยว่าข้อต่อสูข้ องมะลิดงั กล่าวฟั งขึน้ หรือไม่
กรณีเป็ นเรื่องที่กหุ ลาบในฐานะผูท้ รงเช็คฟ้องมะลิผสู้ งั ่ จ่ายเช็คให้รบั ผิดตามความใน
เช็ค จึงอยู่ในบังคับของอายุความตามมาตรา 1002 กุหลาบจะต้องฟ้องมะลิกอ่ นพ้นเวลา 1
ปี นับแต่วนั เช็คถึงกาหนด ซึ่งในกรณีนวี้ นั ที่เช็คถึงกาหนดคือวันที่ลงในเช็ค 1 มกราคม
2536 เมื่อกุหลาบฟ้องคดีในวันที่ 10 มกราคม 2537 จึงพ้นเวลา 1 ปี คดีขาดอายุความ
ฟ้องร้อง ข้อต่อสูข้ องมะลิฟังขึน้
13.2.4 อายุความฟ้องผูส้ ลักหลังฟ้องไล่เบี้ยกันเองและผูส้ งั ่ จ่าย
กฎหมายกาหนดอายุความในคดีที่ผสู้ ลักหลังฟ้องไล่เบี้ยกันเองและไล่เบี้ยเอาแก่ผสู้ งั ่
จ่ายแห่งตัว๋ เงินไว้อย่างไร
มาตรา 1003 บัญญัตใิ ห้มีผลว่าในคดีที่ผสู้ ลักหลังฟ้องไล่เบี้ยกันเองและไล่เบี้ยเอา
แก่ผสู้ งั ่ จ่าย ห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วนั ที่ผสู้ ลักหลังเข้าถือเอาตัว๋ เงินและ
ใช้เงิน หรือนับแต่วนั ที่ผสู้ ลักหลังนัน้ เองถูกฟ้อง
มาตรา 1003 ในคดีผสู้ ลักหลังทัง้ หลายฟ้องไล่เบี้ยกันเอง และไล่เบี้ยเอาแก่ผสู้ งั ่ จ่ายแห่งตัว๋ เงิน
ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันที่ผสู้ ลักหลังเข้าถือเอาตัว๋ เงินและใช้เงินหรือนับแต่
วันที่ผสู้ ลักหลังนัน้ เองถูกฟ้ อง

13.2.5 อายุความสะดุดหยุดลง
ดาเป็ นผูส้ งั ่ จ่ายตัว๋ แลกเงิน เขียวเป็ นผูร้ บั รอง เหลืองและแดงเป็ นผูส้ ลักหลัง ตัว๋ ขาด
ความเชือ่ ถือ พิเศษซึ่งเป็ นผูท้ รงตัว๋ แลกเงินทาคาคัดค้านแล้วใช้สิทธิไล่เบี้ยฟ้องแดงผูส้ ลัก
หลังให้รบั ผิดแต่เพียงผูเ้ ดียว เวลาผ่านไปกว่า 3 ปี คดีที่พิเศษฟ้องแดงยังอยู่ในระหว่างการ
พิจารณาของศาลอุทธรณ์ พิเศษจึงได้มาฟ้องดา เขียว และเหลืองให้รับผิด ดา เขียว และ
เหลืองยกอายุความขึน้ ต่อสู้ ให้วินจิ ฉัยว่าคดีที่พิเศษฟ้องดา เขียว และเหลืองให้รบั ผิด
ดังกล่าวขาดอายุความหรือไม่
กรณีของดาและเหลือง เป็ นการฟ้องผูส้ งั ่ จ่ายและผูส้ ลักหลัง ซึ่งตามมาตรา 1002
ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาหนึง่ ปี นับแต่วนั ที่ได้ลงในคาคัดค้าน และกรณีของเขียวเป็ นการฟ้อง
ผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงิน ซึ่งมาตรา 1001 ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาสามปี นับแต่วนั ตัว๋ ถึง
กาหนด การที่พิเศษฟ้องแดงผูส้ ลักหลังคนหนึง่ หาทาให้อายุความสะดุดหยุดลงแก่ดา เขียว
และเหลืองไม่ ทัง้ นีโ้ ดยผลของมาตรา 1004 คดีของพิเศษจึงขาดอายุความ
มาตรา 1001 ในคดีฟ้องผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงินก็ดี ผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน ก็ดี ท่านห้ามมิให้ฟ้อง
เมื่อพ้นเวลาสามปี นับแต่วันตัว๋ นัน้ ๆ ถึงกาหนดใช้เงิน
85

มาตรา 1002 ในคดีที่ผทู้ รงตัว๋ เงินฟ้ องผูส้ ลักหลังและผูส้ งั ่ จ่าย ท่าน ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลา
ปี หนึง่ นับแต่วันที่ได้ลงในคาคัดค้านซึ่งได้ทาขึน้ ภายในเวลาอันถูกต้องตามกาหนด หรือนับแต่วันตัว๋ เงิน
ถึงกาหนด ใน กรณีที่มีขอ้ กาหนดไว้ว่า "ไม่จาต้องมีคาคัดค้าน"
มาตรา 1004 เมื่ออายุความสะดุดหยุดลงเพราะการอันหนึง่ อันใด ซึ่งกระทาแก่คส่ ู ญ ั ญาแห่ง
ตัว๋ เงินฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ท่านว่าย่อมมีผลสะดุด หยุดลงเพียงแต่แก่คส่ ู ญ ั ญาฝ่ ายนัน้

13.2.6 ผลของหนีเ้ ดิมเกี่ยวกับอายุความตัว๋ เงิน


เค็มสัง่ จ่ายเช็คจานวนหนึง่ พันบาทนาไปแลกเงินสดจากจืดซึ่งเป็ นเพื่อกัน จืดลืมเช็ค
ไว้ในโต๊ะทางานจนเวลาล่วงพ้นไปกว่าหนึง่ ปี นับแต่วนั สัง่ จ่ายเช็คแล้ว จึงได้นาเช็คไปยื่นต่อ
ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารปฏิเสธการใช้เงินตามเช็คจืดทวงเงินตามเช็คจากเค็ม แต่เค็ม
ปฏิเสธไม่ยอมใช้ให้ จงให้คาแนะนาแก่จืดว่ามีทางที่จะได้รบั ชาระหนีจ้ านวนหนึง่ พันบาทนี้
หรือไม่
สิทธิเรียกร้องในมูลหนีต้ ามเช็คซึ่งจืดในฐานะผูท้ รงมีตอ่ เค็มผูจ้ ่ายนัน้ กฎหมาย
กาหนดอายุความไว้เพียงหนึง่ ปี เต็ม มาตรา 1002 ดังนัน้ จึงไม่อาจใช้สิทธิฟ้องบังคับให้เค็ม
ชาระหนีต้ ามเช็คเพราะถ้าเค็มต่อสูว้ ่าคดีขาดอายุความฟ้องร้องแล้วศาลก็ตอ้ งพิพากษายก
ฟ้อง และกรณีนเี้ ป็ นเรื่องการสัง่ จ่ายเช็คแลกเงินสด จึงไม่มีมลู หนีเ้ ดิมที่จะบังคับกันได้อีก
13.3 ตัว๋ เงินปลอม ตัว๋ เงินถูกลัก ตัว๋ เงินหาย
1. ตัว๋ เงินปลอมหมายถึง ตัว๋ เงินที่มีการกระทาให้ผิดแปลกไปจากตัว๋ เงินที่แท้จริง ได้แก่
ตัว๋ เงินที่มีลายมือชือ่ ปลอมหรือมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขในข้อสาคัญแห่งตัว๋ เงิน
2. การที่ลายมืออันหนึง่ ในตัว๋ เงินปลอมย่อมไม่กระทบถึงความสมบูรณ์ของลายมือชือ่
อื่นๆ ในตัว๋ เงิน แต่ผลที่มีตอ่ ลายมือชือ่ ปลอมหรือลายมือชือ่ ลงโดยปราศจากอานาจนัน้
กฎหมายกาหนดว่าเป็ นอันใช้ไม่ได้เลย
3. ถ้าข้อความในตัว๋ เงินใดมีการเปลี่ยนแปลงในข้อสาคัญ ตัว๋ เงินนัน้ เป็ นอันเสียไป เว้นแต่
ยังคงใช้ได้ตอ่ คู่สญ ั ญาซึ่งเป็ นผูท้ าการแก้ไขเปลี่ยนแปลงนัน้ หรือได้ยินยอมกับการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงนัน้ กับผูส้ ลักหลังในภายหลัง
4. เมื่อตัว๋ เงินถูกลักหรือตัว๋ เงินหาย ผูท้ รงต้องบอกกล่าวเป็ นหนังสือไปยังผูอ้ อกตัว๋ เงิน
ผูจ้ ่ายผูส้ มอ้างยามประสงค์ ผูร้ บั รองเพื่อแก้หน้าและผูร้ บั อาวัลตามแต่มี เพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้
เงินตามตัว๋ นัน้
13.3.1 ตัว๋ เงินปลอม
ดาลงลายมือชือ่ ในเช็คสัง่ ธนาคารสยามพาณิชย์ให้จ่ายเงินจานวน 1,000 บาทแก่
แดง ต่อมาแดงทาเช็คหายมีคนเก็บได้แล้วปลอมลายมือชือ่ แดงสลักหลังโอนให้ขาวผูร้ บั โอนไว้
โดยสุจริต ขาวสลักหลังเช็คโอนใช้หนีค้ ่าซื้อสินค้าแก่บริษทั มะม่วงจากัด
(ก) หากบริษทั มะม่วงจากัด นาเช็คไปยื่นต่อธนาคารสยามพาณิชย์ แต่ธนาคาร
สยามพาณิชย์ปฏิเสธการใช้เงินบริษทั มะม่วงจากัดจะเรียกร้องเงินตามเช็คจากใครได้บา้ ง
หรือไม่
86

(ข) หากธนาคารสยามพาณิชย์จากัดได้จ่ายเงินตามเช็คให้แก่บริษทั มะม่วงจากัดไป


โดยไม่ทราบว่าลายมือชื่อของแดงเป็ นลายมือชือ่ ปลอม ธนาคารสยามพาณิชย์จากัดจะหัก
เงินที่จ่ายไปจากบัญชีเงินฝากของดาได้หรือไม่
(ก) บริษทั มะม่วงจากัด เรียกเงินตามเช็คได้จากขาวผูส้ ลักหลัง แต่ไม่มีสิทธิ
เรียกร้องจากแดงเพราะลายมือชือ่ แดงเป็ นลายมือชือ่ ปลอม และไม่มีสิทธิเรียกร้องจากดาผู้
สัง่ จ่ายเพราะการสลักหลังขาดสาย
(ข) ธนาคารหักบัญชีเงินฝากของดาได้เพราะธนาคารได้ใช้เงินตามเช็คไปตาม
ทางการค้าปกติ โดยสุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อ ถึงแม้ลายมือชือ่ ของแดงจะปลอม
แต่ก็เป็ นลายมือชือ่ ผูส้ ลักหลังไม่ใช่ลายมือชือ่ ผูส้ งั ่ จ่าย ธนาคารย่อมได้รบั การคุม้ ครองตาม
มาตรา 1009
มาตรา 1009 ถ้ามีผนู้ าตัว๋ เงินชนิดจะพึงใช้เงินตามเขาสัง่ เมื่อทวงถาม มาเบิกต่อธนาคารใด
และธนาคารนัน้ ได้ใช้เงินให้ไปตามทางค้าปกติโดย สุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อไซร้ ท่านว่า
ธนาคารไม่มีหน้าที่จะ ต้องนาสืบว่าการสลักหลังของผูร้ บั เงิน หรือการสลักหลังในภายหลังราย ใด ๆ ได้
ทาไปด้วยอาศัยรับมอบอานาจแต่บคุ คลซึ่งอ้างเอาเป็ นเจ้าของ คาสลักหลังนัน้ และถึงแม้ว่ารายการสลัก
หลังนัน้ จะเป็ นสลักหลังปลอม หรือปราศจากอานาจก็ตาม ท่านให้ถือว่าธนาคารได้ใช้เงินไปถูกระเบียบ
13.3.2 ตัว๋ เงินถูกลัก ตัว๋ เงินหาย
เมื่อตัว๋ เงินหายไปจากการครอบครองของผูท้ รง กฎหมายกาหนดหน้าที่ของผูท้ รง
ไว้อย่างไร
ผูท้ รงมีหน้าที่บอกกล่าวเป็ นหนังสือแจ้งไปยังคู่สญ
ั ญาทุกฝ่ ายในตัว๋ เงินเพื่อให้บอก
ปั ดไม่ใช้เงินตามตัว๋ มาตรา 1010
มาตรา 1010 เมื่อผูท้ รงตัว๋ เงินซึ่งหายหรือถูกลักทราบเหตุแล้วในทันใดนัน้ ต้องบอกกล่าวเป็ น
หนังสือไปยังผูอ้ อกตัว๋ เงิน ผูจ้ ่าย ผูส้ มอ้างยามประสงค์ ผูร้ บั รองเพื่อแก้หน้าและผูร้ บั อาวัล ตามแต่มี
เพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว๋ เงินนัน้
แบบประเมินผลหน่วยที่ 13
1. ผูม้ ีหน้าที่ใช้เงินตามตัว๋ สัญญาใช้เงินคือ ผูอ้ อกตัว๋
2. คาบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิน เป็ นรายการสาคัญซึ่งจะขาดเสียมิได้ในตัว๋ สัญญาใช้เงิน
3. การกาหนดอัตราดอกเบี้ยในตัว๋ สัญญาใช้เงิน ถ้าตัวสัญญาใช้เงินไม่ได้กาหนดดอกเบี้ยไว้ ผูท้ รง
เรียกดอกเบี้ยไม่ได้
4. ในคดีฟ้องผูร้ บั รองตัว๋ แลกเงินหรือผูอ้ อกตัว๋ สัญญาใช้เงิน กฎหมายห้ามมิให้ฟ้องเพื่อพ้นเวลา
3 ปี นับแต่วันที่ตวั ๋ นัน้ ถึงกาหนดใช้เงิน
5. ในคดีผทู้ รงเช็คฟ้ องผูส้ งั ่ จ่ายให้รบั ผิดตามตัว๋ เงิน กฎหมายห้ามมิให้ฟ้องคดี เมื่อพ้นกาหนด 1 ปี
นับแต่วันที่ลงในเช็ค
6. ในคดีที่ผสู้ ลักหลังฟ้ องไล่เบี้ยกันเองและไล่เบี้ยเอาแก่ผสู้ งั ่ จ่าย กฎหมายห้ามมิให้ฟ้องคดี เมื่อพ้น
เวลา 6 เดือน นับแต่วันที่ผสู้ ลักหลังเข้าถือเอาตัว๋ เงินและใช้เงินหรือนับแต่วันที่ผสู้ ลักหลังนัน้ เองถูกฟ้ อง
7. การที่ลายมือชื่ออันหนึง่ ในตัว๋ เงินปลอมนัน้ ย่อมไม่กระทบถึงความสมบูรณ์แห่งลายมือชื่ออื่นๆ
ในตัว๋ เงินนัน้
87

8. การลงลายมือชื่อในกรณีที่ถือว่าเป็ นการลงลายมือชื่อปลอม เช่น ดาลงชื่อว่า “แดง” โดย


เจตนาให้คนอื่นเข้าใจว่าเป็ นลายมือชื่อของแดง
9. ธนาคารซึ่งไม่จ่ายเงินตามเช็คให้แก่ผทู้ รงตามทางค้าโดยสุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อจะ
หักเงินที่ได้จ่ายไปนัน้ จากบัญชีลกู ค้าไม่ได้ในกรณี ลายมือชื่อผูส้ งั ่ จ่ายปลอม
10. ตัว๋ เงินหายหรือถูกลัก ผูท้ รงมีหน้าที่คือ บอกกล่าวเป็ นหนังสือเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ไปยัง
คูส่ ญ
ั ญาทุกฝ่ ายแห่งตัว๋ เงินเพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว๋ นัน้
11. ผูท้ ี่เป็ นคูส่ ญ
ั ญาในตัว๋ สัญญาใช้เงินคือ ผูอ้ อกตัว๋ ผูร้ บั เงิน
12. อายุความ 3 ปี นับแต่วันที่ตวั ๋ ถึงกาหนดใช้เงินใช้สาหรับกรณี ผูส้ ลักหลังฟ้ องผูส้ งั ่ จ่าย
13. ดาออกเช็คสัง่ จ่ายธนาคารให้ธนาคารจ่ายเงินจานวนหนึง่ แก่แดง แต่ธนาคารปฏิเสธการใช้เงิน
ตามเช็ค ถ้าแดงจะฟ้ องเรียกเงินตามเช็คจากดา จะฟ้องเสียภายในกาหนดเวลา ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ที่
ลงในเช็ค
14. เค็มออกเช็คสัง่ ให้ธนาคารจ่ายเงินจานวนหนึง่ แก่ให้จืด จืดสลักหลังโอนให้หวานเป็ นการชาระหนี้
หวานสลักหลังโอนให้เปรี้ยว เปรี้ยวยื่นเช็คต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงินแต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน
เปรี้ยวเรียกร้องเงินตามเช็คจากหวานและได้เงินตามเช็คไปแล้ว เปรี้ยวคืนเช็คให้หวาน เช่นนี้ หากหวาน
ประสงค์จะฟ้องไล่เบี้ยจากจืด จะต้องฟ้ องภายในอายุความ ภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่หวานใช้เงินตาม
เช็คให้แก่เปรี้ยวไป
15. ดาลงชื่อว่าแดง โดยตัง้ ใจลงชื่อแทนแดง แต่ความจริงแดงหาได้มอบอานาจให้ดาลงชื่อแทนไม่
เช่นนี้ ลายมือชื่อลงโดยปราศจากอานาจของแดง ซึ่งแดงอาจให้สตั ยาบันในภายหลังได้
16. ธนาคารซึ่งได้ใช้เงินไปตามเช็คซึ่งมีรายการสลักหลังปลอม จะถือว่าได้ใช้เงินไปถูกระเบียบเมื่อ ได้
ใช้เงินโดยตรวจลายมือคูส่ ญ ั ญาในตัว๋ ถูกต้อง

หน่วยที่ 14 แนวปฏิบตั ิทางธ ุรกิจเกีย่ วกับตัว๋ เงินและการประกันด้วยบ ุคคล


และทรัพย์
1. ตัว๋ แลกเงินเป็ นเครื่องมือทางธุรกิจการค้าทาให้ดาเนินการไปอย่างสะดวกประหยัด
และปลอดภัย
2. แนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจ การประกัน เป็ นเครื่องมืออีกชนิดหนึง่ ที่ส่งเสริมให้ธรุ กิจดาเนิน
ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ระหว่างผูร้ ่วมค้าด้วย
14.1 แนวปฏิบตั ิทางธ ุรกิจเกีย่ วกับตัว๋
1. ตัว๋ แลกเงินมีความสาคัญต่อธุรกิจการค้าอย่างมาก เป็ นตราสารที่เจ้าหนีส้ งั ่ ให้ลกู หนี้
จ่ายเงินและสามารถทาตราสารอันนีเ้ พื่อ
(ก) เป็ นเครื่องมือในการชาระหนี้
(ข) เป็ นเครื่องมือหรือหลักประกันในการขอกูย้ ืมเงิน
(ค) เป็ นเครื่องมือในการโอน หรือขนส่งเงิน
88

2. ตัว๋ สัญญาใช้เงิน เป็ นเครื่องมือเครดิต ที่มีความสาคัญต่อธุรกิจการค้าเช่นเดียวกับ


ตัว๋ แลกเงิน เป็ นตราสารที่ลกู หนีอ้ อกให้เจ้าหนี้ โดยให้คามัน่ สัญญาว่าจะใช้เงินจานวนหนึง่ แก่
บุคคลหนึง่
3. เช็ค เป็ นเครื่องมือที่ใช้เพื่อชาระหนี้ เป็ นตราสารที่ผสู้ งั ่ จ่ายสัง่ ให้ธนาคารจ่ายเงินแก่
ผูร้ บั ซึ่งมีความสาคัญต่อธุรกิจการค้ามาก ผูท้ รงสามารถนาตราสารนีเ้ พื่อ
(ก) ชาระหนี้
(ข) เป็ นหลักประกันเพื่อกูย้ ืมเงิน
14.1.1 แนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจเกี่ยวกับตัว๋ แลกเงิน
ตัว๋ แลกเงินมีความสาคัญต่อธุรกิจอย่างไร
ตัว๋ แลกเงินมีความสาคัญต่อธุรกิจอย่างมาก สามารถนาตราสารอันนี้ เพื่อเป็ น
ประโยชน์ ดังนี้
(1) เครื่องมือในการชาระหนี้
(2) หลักประกันในการขอกูเ้ งิน
(3) เป็ นเครื่องมือในการโอนหรือขนส่งเงิน
14.1.2 แนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจเกี่ยวกับตัว๋ สัญญาใช้เงิน
นาย ก. เป็ นตัวแทนจาหน่ายนา้ มันปิ โตรเลี่ยม การซื้อขายแต่ละครัง้ การปิ โตรเลี่ยม
จะให้เครดิต 30 วัน โดยจะยอมรับตัว๋ สัญญาใช้เงินที่ธนาคารอาวัลจากผูซ้ ื้อ เพื่อให้มีการซื้อ
ขายเป็ นไปตามแนวปฏิบตั ขิ องการปิ โตรเลียม นาย ก. จะปฏิบตั อิ ย่างไร
นาย ก. ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน โดยระบุขอ้ ความครบถ้วนตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา 983 แล้วนาไปให้ธนาคารอาวัล จึงส่งมอบให้แก่การปิ โตรเลี่ยมเพื่อรับ
นา้ มัน
มาตรา 983 ตัว๋ สัญญาใช้เงินนัน้ ต้องมีรายการดัง่ จะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) คาบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิน
(2) คามัน่ สัญญาอันปราศจากเงือ่ นไขว่าจะใช้เงินเป็ นจานวนแน่นอน
(3) วันถึงกาหนดใช้เงิน
(4) สถานที่ใช้เงิน
(5) ชื่อ หรือยี่หอ้ ของผูร้ บั เงิน
(6) วันและสถานที่ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน
(7) ลายมือชื่อผูอ้ อกตัว๋
14.1.3 แนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจเกี่ยวกับเช็ค
ท่านมีวิธีสงั ่ จ่ายเช็คอย่างไร จึงจะเป็ นวิธีการที่รัดกุมและปลอดภัย อธิบาย
การสัง่ จ่ายเช็ควิธีที่รดั กุมและปลอดภัยที่สดุ ควรระบุชอื่ ผูร้ บั เงิน ขีดฆ่า “หรือผู้
ถือ” ออกและขีดคร่อมเช็คในกรณีที่จาเป็ นเท่านัน้ จึงจะสัง่ จ่ายเช็คเงินสด หรือเช็คผูถ้ ือ
89

14.2 แนวปฏิบตั ิทางธ ุรกิจเกีย่ วกับการประกันด้วยบ ุคลและทรัพย์


1. การประกันด้วยบุคคล เป็ นกรณีที่มีบคุ คลภายนอกเข้ามาทาสัญญาคา้ ประกันจะชาระ
หนีแ้ ทนลูกหนีต้ อ่ เจ้าหนี้ ในเมื่อลูกหนีไ้ ม่ชาระ การประกันด้วยบุคคลมีบทบาทต่อธุรกิจ
การค้าอย่างมาก
2. การคา้ ประกันด้วยบุคคล เจ้าหนีจ้ ะพิจารณาถึงความสามารถในการชาระหนีข้ อง
ลูกหนีแ้ ละของผูค้ า้ ประกัน
3. การประกันด้วยทรัพย์ เป็ นการที่ผปู้ ระกันเอาทรัพย์เข้าเป็ นหลักประกันในหนีข้ อง
ลูกหนีค้ ือ การจานอง และจานา
4. การประกันด้วยทรัพย์ มีบทบาทต่อธุรกิจการค้ามากเช่นกัน ตามปกติธนาคารจะ
พิจารณาถึงวัตถุประสงค์ของการกู้ และความสามารถในการชาระหนี้คืนของผูก้ เู้ ป็ นอันดับ
แรก ส่วนหลีกประกันจะพิจารณาอันดับสอง ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากวัตถุประสงค์ของการให้ก ู้
ธนาคารหวังจะให้ผกู้ ชู้ าระคืนด้วยเงินไม่ใช่หลักทรัพย์ที่นามาเป็ นประกัน
14.2.1 แนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจเกี่ยวกับการประกันด้วยบุคคล
แนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจ บุคคลประเภทไหนสามารถเป็ นผูค้ า้ ประกันหนีข้ องธนาคารได้
และหนีน้ นั้ หากแยกออกตามประเภทของสินเชือ่ สามารถแยกออกได้มีอะไรบ้าง
แนวทางปฏิบตั ทิ างธุรกิจ บุคคลที่ธนาคารยินยอมให้เป็ นผูค้ า้ ประกันหนีไ้ ด้นนั้
จะต้องเป็ นบุคคลที่ธนาคารเชือ่ ถือและไว้ใจได้ นอกจากนัน้ จะต้องมีทรัพย์สินพอที่จะชาระหนี้
แก่ธนาคารได้หากลูกหนีไ้ ม่ยอมชาระ ส่วนหนีท้ ี่คา้ ประกันได้ดว้ ยบุคคล สามารถแยกออกได้
ดังนี้
(1) เงินกูท้ วั ่ ไป
(2) เงินกูเ้ บิกเกินบัญชี
(3) การซื้อลดตัว๋ เงิน
(4) การคา้ ประกัน
(5) การรับรองและอาวัลตัว๋ เงิน
14.2.2 แนวปฏิบตั ทิ างธุรกิจเกี่ยวกับการประกันด้วยทรัพย์
ทรัพย์อะไรบ้างที่ธนาคารนิยมรับเป็ นหลักประกันเงินกู้
ทรัพย์ที่ธนาคารนิยมรับประกันเงินกูม้ ี 2 ประเภทคือ
(ก) อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ที่ดนิ และสิ่งปลูกสร้างบนดิน
(ข) สังหาริมทรัพย์ 7 ชนิด ได้แก่
- เงินฝากธนาคาร
- พันธบัตร
- ตัว๋ สัญญาใช้เงินของบริษทั การเงินที่เชือ่ ถือได้
- สินค้า
90

- เครื่องจักร
- เรือ
- ใบหุน้
แบบประเมินผลหน่วยที่ 14
1. ตัว๋ เงินมีประโยชน์คือ ช่วยให้ธรุ กิจการค้าดาเนินไปอย่างสะดวก ปลอดภัยและประหยัด
2. ตัว๋ สัญญาใช้เงินประเภทที่มีเครดิตที่สดุ คือตัว๋ สัญญาใช้เงินที่ธนาคารรับอาวัล
3. ตัว๋ แลกเงินมีประโยชน์สาหรับผูท้ รงตัว๋ หรือผูร้ บั เงินตามตัว๋ คือ ผูท้ รงหรือผูร้ บั เงินตามตัว๋
สามารถนาตัว๋ เงินนีไ้ ปขายลดแก่ธนาคารก่อนที่จะถึงกาหนดจ่ายเงินตามตัว๋
4. นาย ก. อยู่จงั หวัดเชียงใหม่ มีความประสงค์จะมาเที่ยวกรุงเทพฯ เพื่อฉลองวันขึน้ ปี ใหม่ นาย ก.
มีความประสงค์จะนาเงินมาใช้จานวน 10,000 บาท ท่านเป็ นนาย ก. จะนาเงิน 10,000 บาท ลงมา
กรุงเทพฯ ด้วยวิธีการที่สะดวกและปลอดภัยคือ ซื้อดร๊าฟท์สงั ่ จ่ายเงินที่กรุงเทพฯ
5. ตัว๋ สัญญาใช้เงิน มีประโยชน์แก่ลกู หนี้คือ ช่วยผ่อนผันระยะเวลาการชาระหนีแ้ ก่ลกู หนี้
6. การใช้เช็คเบิกเงินจากธนาคารนัน้ ลูกค้าจะต้องใช้เช็คชนิดที่ ได้มาจาธนาคาร
7. การประกันชนิดที่ธนาคารมีความเสี่ยงมากที่สดุ คือ คา้ ประกัน
8. ธนาคารจะเข้าไปคา้ ประกันหนีข้ องลูกหนีโ้ ดยออกหนังสือคา้ ประกันให้ได้แก่ (1) คา้ ประกันซอง
ประกวดราคา (2) คา้ ประกันสัญญา (3) คา้ ประกันซื้อเชื่อ (4) คา้ ประกันการชาระภาษีอากร
9. การประเมินราคาที่ดินและบ้าน เพื่อประกันหนีเ้ งินกู้ ปกติธนาคารจะอนุมตั ใิ ห้กไู้ ด้ในอัตรา ร้อย
ละ 50-60
10. สังหาริมทรัพย์ที่ธนาคารจะรับจานาได้แก่ พันธบัตรรัฐบาล กับตัว๋ สัญญาใช้เงินที่เชื่อถือได้
11. แคชเชียร์เช็คหมายถึง เช็คที่ธนาคารเป็ นผูส้ งั ่ จ่าย
12. ตัว๋ เงินมีประโยชน์ตอ่ ธุรกิจ การค้าภายในประเทศและระหว่างประเทศ
13. ดร๊าฟท์มีประโยชน์ตอ่ ธุรกิจการค้าคือ เป็ นเครื่องมือโอนเงินไปต่างจังหวัดหรือจากต่างจังหวัด
เข้ากรุงเทพฯ หรือระหว่างประเทศ
14. นาย ก. ขายสินค้าให้นาย ข. นาย ข. ผูซ้ ื้อสินค้าได้สงั ่ จ่ายเช็คขีดคร่อมให้แก่นาย ก. เพื่อชาระค่า
สินค้า นาย ก. ไม่มีความประสงค์ที่จะได้รบั เช็คของนาย ข. เพื่อเป็ นการชาระค่าสินค้าเนือ่ งจากไม่มีความ
มัน่ ใจว่าเงินในบัญชีจะมีพอจ่ายหรือไม่ ท่านเป็ นนาย ก. จะแก้ไขปั ญหาโดย นาเช็คนัน้ ไปให้ธนาคาร
รับรอง
15. วิธีการใช้เช็คที่ถกู ต้องที่สดุ คือ ควรระบุชื่อผูร้ บั เงิน พร้อมทัง้ ขีดฆ่า “หรือผูถ้ ือ” ออก และขีด
คร่อมเช็คเช็คในกรณีที่จาเป็ นเท่านัน้ จึงจะจ่ายเช็คเงินสด หรือผูถ้ ือ
16. การกูเ้ งินธนาคารโดยบุคคลคา้ ประกันมีหลักเกณฑ์อย่างไร ในการเลือกผูก้ แู้ ละผูค้ า้ ประกันคือ
ต้องมีทรัพย์และเชื่อถือได้
17. นาย ก. เป็ นพ่อค้าในกรุงเทพฯมีความประสงค์ขอกูเ้ งินธนาคารเพื่อหมุนเวียนในธุรกิจการค้า
โดยเสนออสังหาริมทรัพย์ จดทะเบียนจานองเป็ นประกัน ธนาคารจะพิจารณาหลักเกณฑ์ที่จะอนุมตั เิ งินกู้
รายนีค้ ือ วัตถุประสงค์ในการกูอ้ ยู่ในหลักการที่จะลงทุน ลงทุนในสินค้าที่ตอ้ งใช้เป็ นประจาวันของ
ผูบ้ ริโภค และกาลังอยู่ในความนิยม ส่วนหลักทรัพย์มีราคา 2:1 ของจานวนเงินกู้ ผูข้ อกูเ้ ป็ นคนดีและ
เชื่อถือได้
18. สังหาริมทรัพย์ที่ธนาคารไม่รบั จานาได้แก่ แหวนเพชร
91

19. หากพ่อค้า มีความประสงค์จะได้เงินทุนเพื่อหมุนเวียนในธุรกิจ จะมีวิธีการที่จะให้ได้เงินทุนนัน้ มา


เช่น (ก) ขอกูธ้ นาคาร โดยเสนอสังหาริมทรัพย์จานองเป็ นประกัน (ข) ขอกูธ้ นาคาร โดยเสนอ
อสังหาริมทรัพย์จานาเป็ นประกัน (ค) ขอกูโ้ ดยมีบคุ คลคา้ ประกัน (ง) นาสินค้ามนคลังไปจานากับ
ธนาคาร
20. ตัว๋ สัญญาใช้เงิน และตัว๋ แลกเงิน มีประโยชน์แก่ผทู้ รงคือ นาตัว๋ ไปขายลด ก่อนที่ตวั ๋ จะถึงกาหนด
ชาระตามวันที่ในตัว๋ ได้

หน่วยที่ 15 ความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการใช้เช็ค
1. พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 เป็ นกฎหมายที่บญ ั ญัติ
ความผิดทางอาญาของผูอ้ อกเช็คเพิ่มขึน้ เป็ นอีกส่วนหนึง่ ต่างหากจากความรับผิดทางแพ่ง
อันเป็ นมาตรการทางอาญาเพื่อคุม้ ครองสิทธิและป้องกันความเสียหายจากผูเ้ กี่ยวข้องทุก
ฝ่ ายในการใช้เช็ค
2. ลักษณะของการกระทาอันเป็ นความผิดเกี่ยวกับการใช้เช็ค จะต้องเข้าลักษณะ
อนุมาตราในอนุมาตราหนึง่ ในมาตรา 4 แห่งพรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ซึ่ง
แต่ละลักษณะความผิดย่อมเป็ นความผิดแยกต่างหากจากกัน
3. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค เป็ นความผิดอันยอม
ความได้ ซึ่งผูเ้ สียหายจะต้องร้องทุกข์ตอ่ เจ้าพนักงานหรือฟ้องคดีตอ่ ศาลภายในกาหนด 3
เดือน นับแต่วนั ที่รเู้ รื่องความผิดและรูต้ วั ผูก้ ระทาความผิด
15.1 สาระสาคัญของกฎหมายว่าด้วยความผิดเกีย่ วกับการใช้เช็ค
1. พรบ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คบัญญัตขิ นึ้ เพื่อเป็ นเครื่องคุม้ ครอง
ป้องกันความเสียหายจากการใช้เช็ค
2. เช็คที่จะเป็ นมูลฐานความผิดทางอาญา จะต้องอาศัยหลักกฎหมายเบื้องต้นอัน
เกี่ยวกับเช็ค ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็ นหลักประกอบการพิจารณา รวมทัง้
เช็คนัน้ จะต้องเป็ นเช็คที่ออกเพื่อชาระหนีโ้ ดยชอบด้วยกฎหมายก่อให้เกิดความผูกพันแก่
คู่กรณี
15.1.1 ความเป็ นมาของกฎหมาย
พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คประกอบด้วยความผิดอย่างไรบ้าง
พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คได้กาหนดลักษณะความผิดไว้ 5
ประการ ดังที่บญ
ั ญัตไิ ว้ในมาตรา 4 ว่า ผูใ้ ดออกเช็คเพื่อชาระหนีท้ ี่มีอยู่จริงและบังคับได้ตาม
กฎหมายโดยมีลกั ษณะหรือมีการกระทาออย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี้
(1) ออกเช็คโดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนัน้
(2) ออกเช็คโดยในขณะที่ออกไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินได้
92

(3) ออกเช็คให้ใช้เงินมีจานวนสูงกว่าที่มีอยู่ในบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออก


เช็คนัน้
(4) ถอนเงินทัง้ หมด หรือแต่บางส่วนนอกจากบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินตามเช็คจน
จานวนเงินไม่เพียงพอทีจ่ ะให้ใช้เงินตามเช็คนัน้ ได้
(5) ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนัน้ โดยเจตนาทุจริต
15.1.2 ลักษณะของเช็คที่จะเป็ นมูลฐานแห่งความผิด
อ้วน สัง่ จ่ายเช็คให้ผอมไว้เป็ นประกันค่าซื้อเครื่องรับโทรทัศน์ที่ผอมได้ขายให้แก่อว้ น
โดยมีขอ้ ตกลงกันว่าผอมจะต้องนาเช็คมาแลกเงินจากอ้วนก่อน แต่ผอมกับนาเช็คไปเบิกเงิน
จากธนาคาร โดยไม่นามาแลกเงินจากอ้วนตามข้อตกลง เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตาม
เช็ค อ้วนจะมีความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คหรือไม่
อ้วนไม่มีความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค เพราะผอมนา
เช็คไปเบิกเงินจากธนาคารฝ่ าฝื นข้อตกลง ถือได้ว่าผอมยังไม่มีอานาจทาได้ (มาตรา 4 พรบ.
ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534)
15.2 ลักษณะของการกระทาอันเป็ นความผิด
1. การออกเช็คโดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คเป็ นเรื่องที่ผอู้ อกเช็คมีบญั ชี
หรือไม่มีบญ ั ชีอยู่ที่ธนาคาร แต่มีเจตนาทุจริตในการเขียนเช็คเพื่อมิให้ธนาคารจ่ายเงิน
2. การออกเช็คโดยในขณะที่ออกเช็คนัน้ ไม่มีเงินในบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินได้ เป็ นเรื่องที่ผ ู้
ออกเช็คมีบญ ั ชีอยู่ในธนาคาร แต่พอถึงวันที่เช็คถึงกาหนดชาระเงินอยู่ผอู้ อกเช็คไม่มีเงินอยู่
ในบัญชีเลย
3. การออกเช็คให้ใช้เงินมีจานวนสูงกว่าจานวนเงินที่มีอยู่ในบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินได้
ในขณะที่ออกเช็ค เป็ นเรื่องที่ผทู้ ี่เคยค้ากับธนาคารได้ออกเช็คสัง่ จ่ายเงิน พอถึงวันที่เช็คถึง
กาหนดใช้เงิน ปรากฏว่าเงินในบัญชีไม่พอจ่ายตามเช็ค
4. การออกเช็คแล้วถอนเงินทัง้ หมดหรือบางส่วนจากบัญชีจนมีเงินเหลือไม่พอจ่ายตาม
เช็ค เป็ นกรณีทีผสู้ งั ่ จ่ายเช็คมีเงินอยู่ในบัญชีพอที่จะจ่ายตามเช็คได้ในขณะออกเช็ค แต่ตอ่ มา
ได้ถอนเงินทัง้ หมดหรือบางส่วนจนไม่พอจ่ายตามเช็คได้
5. การห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คโดยเจตนาทุจริต เป็ นเรื่องที่ผสู้ งั ่ จ่ายเช็คกระทา
เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองและผูอ้ ื่น โดยมุง่ หมาย
จะไม่ให้ผทู้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายได้รบั เงินจากธนาคาร
15.2.1 การออกเช็คโดยเจตนาที่ไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนัน้
เรืองมีเงินในบัญชีกระแสรายวันจานวน 100,000 บาท ได้เขียนเช็คสัง่ จ่ายเงินชาระ
หนีบ้ วั 80,000 บาท เช็คลงวันที่ 1 เมษายน 2536 และวนเดียวกันนัน้ เอง ก็ได้เขียนเช็คสัง่
จ่ายเงินเพื่อชาระค่าซื้อโทรทัศน์จากแมวจานวน 25,000 บาท เมื่อแมวไปเบิกเงินจาก
ธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เนือ่ งจากเงินในบัญชีของเรืองไม่พอจ่าย เพราะบัวไม่ได้
93

เบิกเงิน 80,000 บาท ก่อนหน้านัน้ ดังนีใ้ ห้วินจิ ฉัยว่า เรืองมีความผิดจาก พรบ. ว่าด้วย
ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีนเี้ รืองมีความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดเกิดจากการใช้เช็ค เพราะว่า การ
ที่เรืองออกเช็คชาระหนีบ้ วั ไปแล้วจานวน 80,000 บาท เหลือเงินในบัญชีเพียง 20,000 บาท
เรืองยังได้เขียนเช็คชาระหนี้ค่าสินค้าให้แก่แมวอีก 25,000 บาท การกระทาของเรืองเป็ น
การออกเช็คโดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินแก่แมวตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจาก
การใช้เช็คมาตรา 4(1)
15.2.2 การออกเช็คโดยในขณะที่ออกเช็คนัน้ ไม่มีเงินในบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินได้
การออกเช็คโดยในขณะที่ออกนัน้ ไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินได้ หมายความ
ว่าอย่างไร
หมายความว่าในวันที่ออกเช็ค (วันที่ลงในเช็ค) อันเป็ นวันที่เช็คถึงกาหนดชาระหนี้ ผู้
ทรงนาเช็คไปขึน้ เงินจากธนาคาร แต่บญั ชีเงินฝากของผูส้ งั ่ จ่ายไม่มีเงินเหลืออยู่เลย
15.2.3 การออกเช็คให้ใช้เงินมีจานวนสูงกว่าจานวนเงินที่มีอยู่ในบัญชีอนั จะพึงให้ใช้
เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนัน้
การออกเช็คให้ใช้เงินมีจานวน สูงกว่าจานวนเงินที่มีอยู่ในบัญชี อันจะพึงให้ใช้เงินได้
ในขณะที่ออกเช็คนัน้ หมายความว่าอย่างไร
หมายความว่า ออกเช็คมียอดจานวนเงินสูงกว่าจานวนเงินที่มีอยู่ในบัญชีเงินฝากใน
วันที่เช็คถึงกาหนดชาระเงินจึงมีเงินไม่พอจ่ายตามเช็คได้
15.2.4 การออกเช็คแล้วถอนเงินทัง้ หมดหรือบางส่วนออกจากบัญชี อันจะพึงให้ใช้
เงินตามเช็คจนจานวนเงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คนัน้ ได้
การออกเช็คแล้วถอนเงินทัง้ หมดหรือบางส่วนออกจากบัญชีอนั จะพึงให้ใช้เงินตาม
เช็คจนจานวนเงินที่เหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คได้นนั้ หมายความว่าอย่างไร
ผูส้ งั ่ จ่ายออกเช็คได้ให้ผอู้ ื่นไปแล้วโดยมีจานวนพอจ่ายตามเช็คให้ แต่ตอ่ มาก่อนวันที่
ถึงกาหนดในเช็คผูอ้ อกเช็คถอนเงินทัง้ หมดหรือบางส่วนออกจากบัญชีจนทาให้มีเงินในบัญชี
ไม่พอจ่ายตามเช็ค
15.2.5 ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนัน้ โดยเจตนาทุจริต
มัน่ สัง่ ซื้อสินค้าจากแม้น มัน่ จ่ายเช็คชาระหนีค้ ่าซื้อสินค้าให้แม้นไว้กอ่ นที่แม้นจะส่ง
มอบสินค้าให้มนั ่ เมื่อถึงกาหนดส่งมอบสินค้าแล้ว แม้นไม่สง่ มอบสินค้าให้มนั ่ ตามกาหนด
มัน่ จึงแจ้งอายัดเช็คกับธนาคารห้ามจ่ายเงินตามเช็ค ดังนี้ มัน่ จะมีความผิดหรือไม่
มัน่ ย่อมไม่มีความผิด เพราะการกระทาของมัน่ ไม่มีเจตนาทุจริตในการสัง่ ห้าม
ธนาคารมิให้จ่ายเงินตามเช็ค (มาตรา 4 พรบ. ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534)
15.3 การดาเนินคดี
1. ผูเ้ สียหายในคดีความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการใช้เช็ค ได้แก่ ผูท้ ี่ได้รับความเสียหาย
เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เช่นผูท้ รงเช็ค
94

2. ผูก้ ระทาความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค นอกจากผูส้ งั ่ จ่าย


เช็คแล้วบางกรณีผรู้ ่วมกระทาผิดซึ่งอาจเป็ นตัวการหรือผูส้ นับสนุนการกระทาความผิด
3. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเป็ นความผิดอันยอมความ
ได้ ผูเ้ สียหายต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วนั ที่รเู้ รื่องความผิดและรูต้ วั ผูก้ ระทา
ความผิด มิฉะนัน้ คดีเป็ นอันขาดอายุความ
4. การควบคุมหรือขังผูต้ อ้ งหา หรือจาเลย ตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการ
ใช้เช็คเป็ นไปตาม พรบ. จัดตัง้ ศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง พ.ศ. 2499
ส่วนการปล่อยชัว่ คราวให้พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาลสัง่ ปล่อยชัว่ คราว
โดยมีประกัน แต่ไม่มีหลักประกัน หรือมีประกันและหลักประกันไม่เกินหนึง่ ในสามของจานวน
เงินตามเช็ค
5. เนือ่ งจากความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเป็ นความผิดอัน
ยอมความได้เมื่อผูเ้ สียหายถอนคาร้องทุกข์ ถอนฟ้อง ยอมความ และคดีเลิกกัน สิทธินา
คดีอาญามาฟ้องตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ ย่อมระงับไป
15.3.1 ผูเ้ สียหาย
แดงออกเช็คใช้เงินให้ขาว และขาวสลักหลังใช้หนีใ้ ห้เหลือง เหลืองลงลายมือชือ่
ด้านหลังเช็คและส่งมอบเช็คให้ชมพูนาไปเข้าบัญชีของชมพู แต่ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการ
จ่ายเงิน ต่อมาเช็คได้กลับมาอยู่ที่ฟ้า ดังนี้ ฟ้าจะมีสิทธิรอ้ งทุกข์และฟ้องคดีตอ่ ศาลได้หรือไม่
ฟ้าไม่ใช่ผทู้ รงเช็คในวันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน อันเป็ นวันเกิดเหตุจึงไม่ใช่
ผูเ้ สียหายที่จะมีสิทธิรอ้ งทุกข์และไม่มีอานาจนาเช็คมาฟ้อง
15.3.2 ผูก้ ระทาความผิด
แดงกับดาเป็ นหนีข้ าว แดงเขียนกรอกข้อความลงในเช็ค ให้ดาเซ็นชือ่ เป็ นผูส้ งั ่ จ่าย
นาเช็คไปชาระหนีข้ าว ต่อมาธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค ขาวจึงร้องทุกข์และฟ้องคดี
หาว่าแดง และดา ร่วมกันออกเช็คโดยไม่มีเงินอันเป็ นความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอัน
เกิดจากการใช้เช็คฯ แดงจะอ้างว่าตนมิได้เป็ นผูส้ งั ่ จ่ายไม่ตอ้ งรับผิด ได้หรือไม่
การกระทาของแดงที่เขียนกรอกข้อความในเช็คซึ่งธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน
ดังกล่าวย่อมมีความผิดฐานเป็ นตัวการร่วมกระทาความผิดฐานออกเช็คไม่มีเงิน
15.3.3 การร้องทุกข์ อายุความร้องทุกข์ การฟ้องคดี การควบคุม ขัง ปล่อย
ชัว่ คราว
แดงได้รอ้ งทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนได้ดาเนินคดีแก่ดาในความผิดฐานออกเช็คไม่มี
เงิน ในหนังสือร้องทุกข์มีขอ้ ความให้เจ้าพนักงานดาเนินคดีจนถึงที่สดุ ผูเ้ สียหายบอกกับ
ตารวจว่าต้องการให้ได้เงินตามเช็คคืนเท่านัน้ ไม่อยากเอาโทษ ตารวจจึงยังไม่สอบสวน
ดาเนินคดี ต่อมาเมื่อดาไม่ใช้เงิน แดงจึงมาแจ้งตารวจจับดา ดังนีพ้ นักงานสอบสวนจะ
ดาเนินคดีได้หรือไม่
95

พนักงานสอบสวนย่อมมีอานาจทาการสอบสวนดาเนินคดีได้ เพราะได้มีการร้อง
ทุกข์ที่ชอบด้วยกฎหมายแต่แรกแล้ว ส่วนกรณีที่แดงบอกกับตารวจว่าต้องการได้เงินคืน ไม่
อยากเอาโทษนัน้ มิใช้เป็ นการแสดงเจตนาว่าไม่ตดิ ใจดาเนินคดีดาแต่อย่างไรหรือไม่
15.3.4 การถอนคาร้องถอนฟ้อง ยอมความและคดีเลิกกัน
แดงผูเ้ สียหายได้รอ้ งทุกข์ในคดีความผิดอันเกี่ยวกับการใช้เช็ค กล่าวหาขาวต่อ
ร.ต.ต. เหลือง ซึ่งเป็ นพนักงานสอบสวนไว้แล้ว ต่อมาแดงได้ขอถอนคาร้องทุกข์ตอ่ ร.ต.ต.
เหลือง ดังนี้ แดงจะฟ้องคดีนตี้ อ่ ศาลอีกได้หรือไม่
แดงย่อมนาคดีไปฟ้องต่อศาลไม่ได้ เพราะการถอนคาร้องทุกข์ทาให้สิทธินา
คดีอาญามาฟ้องเป็ นอันระงับไป ตาม ปวอ. มาตรา 39 (2)
แบบประเมินผลหน่วยที่ 15
1. กรณีที่ถือว่าเป็ นการออกเช็คเพื่อก่อให้เกิดความผูกพันในการชาระหนี้ อันเป็ นความผิดตาม
พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คได้แก่ การออกเช็คล่วงหน้าเพื่อชาระหนี้
2. การออกเช็คโดยการแกล้งเขียนตัวเลขกับตัวอักษรแสงดจานวนเงินต่างกัน เมื่อผููทรงนาเช็ค
ขึน้ เงินที่ธนาคารๆ ปฏิเสธการจ่ายเงิน การกระทาของผูส้ งั ่ จ่ายเข้าลักษณะความผิด ออกเช็คโดยเจตนา
ที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนัน้
3. ก. ออกเช็คโดยไม่ลงวันที่ให้ ข. ข. นาเช็คไปยื่นให้ธนาคารใช้เงิน ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินดังนี้
ไม่มีความผิด เพราะไม่มีวันที่ที่กระทาความผิด
4. การออกเช็คโดยในขณะที่ออกไม่มีเงินในบัญชีอนั จะพึงใช้เงินได้ หมายถึง ผูส้ งั ่ จ่ายเช็คไม่มีเงินอยู่
ในบัญชีในวันที่ในวันที่ลงในเช็ค
5. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ เกิดขึน้ เมื่อ ธนาคารปฏิเสธการใช้
เงิน
6. แดง ออกเช็คชาระหนีใ้ ห้ดา ดาสลักหลังส่งมอบเช็คชาระหนีเ้ ขียว เขียวนาเช็คไปยื่นเข้าบัญชีที่
ธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เขียวส่งมอบเช็คชาระหนีใ้ ห้เหลือง ดังนี้ ผูเ้ สียหายในการร้องทุกข์
ดาเนินคดีคือ เขียว
7. แดงเป็ นลูกหนีด้ า 5,000 บาท ถูกดาทวงหนีจ้ ึงไปหาขาวกับเหลือง ให้ออกเช็คใช้ แล้วแดงนา
เช็คมาสลักหลังให้ดาเป็ นการชาระหนี้ ซึ่งแดง ขาว เหลือง รูว้ ่าเงินในบัญชีของขาวและเหลืองที่ธนาคาร
ไม่พอจ่าย ดังนีบ้ คุ คลที่ถือว่าเป็ นผูก้ ระทาผิดคือ แดง เหลือง และขาว
8. ธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2536 ผูเ้ สียหายรูถ้ ึงการกระทา
ผิดและรูต้ วั ผูก้ ระทาผิดในวันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ผูเ้ สียหายจะต้องร้องทุกข์ตอ่ พนักงาน
สอบสวนหรือยื่นฟ้ องต่อศาลภายในวันที่ 10 เมษายน 2536
9. แดงผูเ้ สียหายได้รอ้ งทุกข์ภายในเวลาที่กฎหมายกาหนดแล้ว แดงจะต้องฟ้ องคดีภายใน
กาหนดเวลาพร้อมกับได้ตวั ผูก้ ระทาผิดมาด้วยอย่างช้าที่สดุ ภายใน 5 ปี คดีจึงจะไม่ขาดอายุความ
10. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ เลิกกัน เมื่อผูก้ ระทาความผิดนาเงิน
ตามเช็คฯไปชาระแก่ผทู้ รงเช็ค ภายในกาหนด 30 วัน นับแต่วันที่ผอู้ อกเช็คได้รบั หนังสือบอกกล่าวจากผู้
ทรงเช็คว่าธนาคารไม่ใช้เงินตามเช็ค
11. กรณี การออกเช็คใหม่แทนฉบับเก่า เพื่อชาระหนีเ้ ดิม ถือว่าเป็ นการออกเช็คเพื่อก่อให้เกิดความ
ผูกพันในการชาระหนีอ้ นั เป็ นความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค
96

12. นายชมออกเช็คสัง่ จ่ายเงินให้นายชื่นจานวน 1,000 บาท แต่นายชมไม่ตอ้ งการให้นายชื่นได้รบั


เงิน จึงแกล้งเขียนตัวหนังสือเป็ นหนึง่ ร้อยบาทถ้วน เมื่อผูท้ รงนาเช็คไปขึน้ เงินจากธนาคาร ๆ ปฏิเสธ
การจ่ายเงิน ดังนีผ้ สู้ งั ่ จ่ายเช็คมีความผิดฐาน ออกเช็คโดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค
13. แดงออกเช็คสัง่ จ่ายโดยระบุชื่อดาเป็ นผูร้ บั เงินและขีดฆ่าคาว่า “หรือผูถ้ ือ” ออก เนือ่ งจากแดงไม่
มีเงินในบัญชีที่จะจ่ายให้ดา การกระทาของแดงเข้าลักษณะ ออกเช็คในขณะที่ที่ออกไม่มีเงินในบัญชีจะพึง
ใช้เงินได้
14. นายสีเขียนเช็คในวันที่ 1 กันยายน 2535 สัง่ เงินจ่ายเงินให้นายส้ม 50,000 บาท โดยลงวันที่ใน
เช็ควันที่ 10 กันยายน 2535 ต่อมาวันที่ 11 กันยายน 2535 นายส้มนาเช็คไปยื่นต่อธนาคาร แต่
ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนีค้ วามผิดเกิดขึน้ เมื่อ วันที่ 11 กันยายน 2535
15. กรณีความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเกิดขึน้ แล้ว ผูเ้ สียหายในการร้องทุกข์ได้แก่ ผูท้ รงเช็ค
16. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ ผูเ้ สียหายต้องร้องทุกข์ภายใน
ระยะเวลา 3 เดือน นับตัง้ แต่วันที่รถู้ ึงการกระทาความผิดและรูต้ วั ผูก้ ระทาความผิด
17. ผูเ้ สียหายได้รอ้ งทุกข์ภายในกาหนดเวลาแล้วต้องฟ้ องคดีภายใน กาหนดเวลา 5 ปี

******************************

You might also like