You are on page 1of 30

หน้า 1 จาก 30

ตัวบทกฎหมายพาณิ ชย์ 3

A. ข้อสอบข้อที่ 1 หน่วยที่ 1-2 เรื่ องค้ าประกัน อาจจะออก A+D หรื อ B+C
มาตรา 680 อันว่าคา้ ประกันนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรี ยกว่าผูค้ ้ าประกัน
ค้ าประกัน ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้น้ นั
อนึ่งสัญญาคา้ ประกันนั้น ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็ นหนังสื ออย่างใดอย่างหนึ่งลง
ลายมือชื่อผูค้ ้ าประกันเป็ นสาคัญ ท่านว่าจะฟ้องร้องให้บงั คับคดีหาได้ไม่
ว.2 หลักฐานเป็ นหนังสื อไม่ ใช่ แบบ ดังนั้นจึงมีลักษณะเป็ นเอกสาร, จดหมาย,หนังสื อ
หรื ออะไรก็ได้ ที่มีข้อความว่ าคา้ ประกันกันจริ งและมีลายมือชื่ อผู้คา้ ประกันเป็ นสาคัญ
แต่ ถ้าไม่ มีหลักฐานเป็ นหนังสื อหรื อลงลายมือชื่ อผู้คา้ ประกัน ก็ไม่ ได้ ทาให้ สัญญาเป็ น
โมฆะเสียเปล่ าแต่ ประการใด เพียงแต่ จะฟ้องร้ องบังคับคดีไม่ ได้
สัญญาคา้ ประกันเป็ นสัญญาอุปกรณ์
มาตรา 681 อันคา้ ประกันนั้นจะมีได้ แต่ เฉพาะเพื่อหนีอ้ นั สมบูรณ์
ว.1 หนี้น้ นั สมบูรณ์ หนีใ้ นอนาคตหรื อหนี้ที่มีเงื่อนไข จะประกันไว้เพื่อเหตุการณ์ซ่ ึงหนี้น้ นั อาจเป็ น
ว.2 หนี้ในอนาคต ผลได้จริ ง ก็ประกันได้
ว.3 หนี้ประธานบกพร่ อง หนีอ้ นั เกิดแต่ สัญญาซึ่งไม่ ผูกพันลูกหนี้ เพราะทาด้วยความสาคัญผิดหรื อเพราะ
เป็ นผูไ้ ร้ความสามารถนั้น ก็อาจจะมีประกันอย่ างสมบูรณ์ ได้ ถ้ าหากว่ าผู้คา้ ประกันรู้ เหตุ
สาคัญผิดหรื อไร้ ความสามารถนั้นในขณะที่เข้ าทาสั ญญาผูกพันตน
หนีร้ ะหว่ างเจ้ าหนีก้ ับลูกหนีเ้ ป็ นหนีป้ ระธาน และหนีร้ ะหว่ างเจ้ าหนีก้ ับผู้คา้ ประกันเป็ น
หนีอ้ ุปกรณ์ ถ้ าหนีป้ ระธานไม่ สมบูรณ์ กม็ ีผลทาให้ หนีอ้ ุปกรณ์ เสียไปด้ วย
ว.3 ถ้ าไม่ ร้ ู เหตุสาคัญผิด สัญญาก็ไม่ ผูกพันผู้คา้ ประกันที่สาคัญผิดหรื อเป็ นผู้ไร้
ความสามารถ
มาตรา 682 ท่านว่าบุคคลจะยอมเข้าเป็ น ผู้รับเรื อน คือเป็ นประกันของผูค้ ้ าประกันอีก
ว.1 ผูร้ ับเรื อน ชั้นหนึ่ง ก็เป็ นได้
ว.2ผูค้ ้ าประกันหลายคน ถ้ าบุคคลหลายคนยอมตนเข้ าเป็ นผู้คา้ ประกันในหนีร้ ายเดียวกันไซร้ ท่านว่าผูค้ ้ า
ประกันเหล่านั้นมีความรับผิดอย่ างลูกหนี้ร่วมกัน แม้ถึงว่าจะมิได้เข้ารับค้ าประกัน
รวมกัน
ผู้รับเรื อน ไม่ ใช่ ผ้ คู า้ ประกันลูกหนี ้ ความรั บผิดชอบของผู้รับเรื อนจึงมิได้ เกิดขึน้ เมื่อ
ลูกหนีไ้ ม่ ใช้ หนี ้ แต่ จะเกิดขึน้ เมื่อผู้คา้ ประกันไม่ ใช้ หนี ้
มาตรา 683 อันคา้ ประกันอย่างไม่มีจากัดนั้นย่อมคุม้ ถึงดอกเบี้ย และค่าสิ นไหมทดแทนซึ่ง
ลูกหนี้คา้ งชาระ ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้รายนั้นด้วย
ขอบเขตความรับผิดของผูค้ ้ าประกัน (ถ้าไม่ Limited ก็ใช้มาตรานี้ แต่ถา้ Limited ก็ตาม
หน้า 2 จาก 30

ข้อตกลง)
มาตรา 684 ผู้คา้ ประกันย่ อมรับผิดเพื่อค่ าฤชาธรรมเนียมความซึ่งลูกหนีจ้ ะต้ องใช้ ให้ แก่ เจ้ าหนี้
ค่าฤชาธรรมเนียมความ แต่ถา้ โจทก์ฟ้องคดีโดยมิได้เรี ยกให้ผคู ้ ้ าประกันชาระหนี้ น้ นั ก่อนไซร้ ท่านว่าผูค้ ้ าประกัน
เป็ นค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ หาต้องรับผิดเพื่อใช้ค่าฤชาธรรมเนียมเช่นนั้นไม่
ค่ าฤชาธรรมเนียมความเป็ นค่ าใช้ จ่ายอุปกรณ์ อีกอย่างหนึ่งซึ่ งผู้คา้ ประกันจะต้ องรั บผิด
หมายเหตุ; ถ้ าไม่ ได้ ฟ้องผู้คา้ ประกันตั้งแต่ เริ่ มฟ้องคดี จะเรี ยกร้ องค่ าธรรมเนียมจากผู้คา้
ประกันไม่ ได้
มาตรา 685 ถ้าเมื่อบังคับตามสัญญาค้ าประกันนั้น ผู้คา้ ประกันไม่ ชาระหนี้ท้งั หมดของลูกหนี้
ผลของการบังคับชาระหนี้ รวมทั้งดอกเบีย้ ค่ าสิ นไหมทดแทน และอุปกรณ์ ด้วยไซร้ หนีย้ ังเหลืออยู่เท่ าใด ท่านว่า
เอาแก่ผคู ้ ้ าได้ไม่ครบ ลูกหนีย้ ังคงรับผิดต่อเจ้ าหนีใ้ นส่ วนที่เหลือนั้น
B. ผลก่อนชาระหนี้
มาตรา 686 ลูกหนีผ้ ิดนัดลงเมื่อใด ท่ านว่ าเจ้ าหนีช้ อบที่จะเรียกให้ ผ้ คู า้ ประกันชาระหนีไ้ ด้ แต่
ลูกหนี้ผิดนัด นั้น
แต่ ไม่ ได้ เรี ยกให้ ผ้ คู า้ ประกันชาระหนีไ้ ด้ ทันที ต้ องไล่ เบีย้ เอาจากลูกหนีถ้ ึงที่สุดก่ อน
มาตรา 687 ผู้คา้ ประกันไม่ จาต้ องชาระหนีก้ ่ อนถึงเวลากาหนดที่จะชาระ แม้ถึงว่าลูกหนี้จะ
กรณี ที่ลูกหนี้ไม่อาจถือ ไม่อาจถือเอาประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาเริ่ มต้นหรื อเวลาสิ้ นสุ ดได้ต่อไปแล้ว
ประโยชน์แห่งเงื่อนเวลา
มาตรา 688 เมื่อเจ้าหนี้ทวงให้ผคู ้ ้ าประกันชาระหนี้ ผูค้ ้ าประกันจะขอให้เรี ยกลูกหนี้ชาระ
ผูค้ ้ าประกันต้องชาระหนี้ ก่อนก็ได้ เว้ นแต่ ลูกหนีจ้ ะถูกศาลพิพากษาให้ เป็ นคนล้ มละลายเสี ยแล้ ว หรื อไม่ ปรากฏว่ า
ทันทีมี 2 กรณี ลูกหนีไ้ ปอยู่แห่ งใดในพระราชอาณาเขต
มาตรา 689 ถึงแม้จะได้เรี ยกให้ลูกหนี้ชาระหนี้ดงั กล่าวมาในมาตราก่อนนั้นแล้วก็ตาม ถ้ าผู้คา้
เจ้าหนี้ ตอ้ งบังคับชาระหนี้ ประกันพิสูจน์ ได้ ว่า ลูกหนี้น้ ันมีทางที่จะชาระหนีไ้ ด้ และการที่จะบังคับให้ ลูกหนีช้ าระ
เอาจากลูกหนี้ก่อน หนีน้ ้ ันจะไม่เป็ นการยากไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้จะต้องบังคับการชาระหนี้ รายนั้นเอาจาก
ทรัพย์สินของลูกหนี้ก่อน
มาตรา 690 ถ้ าเจ้ าหนีม้ ีทรัพย์ ของลูกหนีย้ ึดถือไว้ เป็ นประกันไซร้ เมื่อผูค้ ้ าประกันร้องขอ
เจ้าหนี้มีทรัพย์สินของ ท่านว่าเจ้าหนี้จะต้องให้ชาระหนี้เอาจากทรัพย์ซ่ ึงเป็ นประกันนั้นก่อน
ลูกหนี้อยูใ่ นครอบครอง
มาตรา 691 ถ้าผูค้ ้ าประกันต้องรับผิดร่ วมกันกับลูกหนี้ ท่านว่าผูค้ ้ าประกันย่อมไม่มีสิทธิ
กรณี ผคู ้ ้ าประกันไม่มีสิทธิ ดังกล่าวไว้ในมาตรา 688,689,690
เบี่ยงบ่าย
ร่ วมกันกับลูกหนี ้ = เป็ นลูกหนีร้ ่ วม ทั้ง3 มาตราก่ อนหน้ าก็เป็ นหมันใช้ การไม่ ได้
หน้า 3 จาก 30

มาตรา 692 อายุความสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ลูกหนี้ น้ นั ย่อมเป็ นโทษแก่ผคู ้ ้ าประกันด้วย


อายุความสะดุดหยุดลง
อายุความสะดุดหยุดลง เพราะการรั บสภาพหนีซ้ ึ่ งอาจทาโดยลูกหนีท้ าหนังสื อรั บสภาพ
หนี ้ หรื อโดยใช้ เงินบางส่ วน หรื อส่ งดอกเบีย้ หรื อให้ ประกัน หรื อทาการอย่างหนึ่งอย่ าง
ใดอันแสดงโดยปริ ยายว่ ารั บสภาพหนี ้
C.ผลภายหลังการชาระหนี้
มาตรา 693 ผู้คา้ ประกันซึ่งได้ ชาระหนีแ้ ล้ ว ย่ อมมีสิทธิที่จะไล่ เบีย้ เอาจากลูกหนี้ เพื่อต้นเงิน
ผูค้ ้ าประกันไล่เบี้ยเอาจาก กับดอกเบี้ยและเพื่อการที่ตอ้ งสู ญหายหรื อเสี ยหายไปอย่างใดๆ เพราะการค้ าประกันนั้น
ลูกหนี้ได้ อนึ่งผู้คา้ ประกันย่ อมเข้ ารับช่ วงสิ ทธิของเจ้ าหนีบ้ รรดามีเหนือลูกหนีด้ ้ วย
มาตรา 694 นอกจากข้อต่อสู ้ซ่ ึงผูค้ ้ าประกันมีต่อเจ้าหนี้น้ นั ท่านว่าผูค้ ้ าประกันยังอาจยกข้อ
สิ ทธิของผูค้ ้ าประกันที่จะ ต่อสู ้ท้ งั หลายซึ่งลูกหนี้ มีต่อเจ้าหนี้ข้ นึ ต่อสู ้ได้ดว้ ย
ยกข้อต่อสู ้เจ้าหนี้
EX. ถ้ าเจ้ าหนีไ้ ม่ ฟ้องทายาทของลูกหนีภ้ ายใน 1 ปี นับแต่ เจ้ าหนีท้ ราบการตายของลูกหนี ้
หนีจ้ ึงขาดอายุความตามมาตรา 1754 ว. 3 เมื่อเจ้ าหนีฟ้ ้องผู้คา้ ประกัน ผู้คา้ ย่อมยกอายุ
ความขึน้ ต่ อสู้เจ้ าหนีไ้ ด้ ตามมาตรา 694
มาตรา 695 ผูค้ ้ าประกันซึ่งละเลยไม่ยกข้อต่อสู ้ของลูกหนี้ข้ ึนต่อสู ้เจ้าหนี้น้ นั ท่านว่าย่อมสิ้ น
ผูค้ ้ าละเลยไม่ยกข้อต่อสู ้ สิ ทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่ลูกหนี้เพียงเท่าที่ไม่ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้ เว้นแต่จะพิสูจน์ได้วา่ ตน
ของลูกหนี้ข้ นึ ต่อสู ้ มิได้รู้วา่ มีขอ้ ต่อสู้เช่นนั้นและที่ไม่รู้น้ นั มิได้เป็ นเพราะความผิดของตนด้วย
มาตรา 696 ผู้คา้ ประกันไม่ มีสิทธิจะไล่ เบีย้ เอาแก่ ลูกหนีไ้ ด้ ถ้าว่าตนได้ชาระหนีแ้ ทนไปโดย
ผูค้ ้ าประกันเสี ยสิ ทธิไล่ มิได้ บอกลูกหนี้ และลูกหนีย้ ังมิร้ ู ความมาชาระหนีซ้ ้าอีก
เบี้ยเพราะชาระหนี้โดยไม่ ในกรณี เช่นว่านี้ ผูค้ ้ าประกันก็ได้แต่เพียงจะฟ้องเจ้าหนี้เพื่อคืนลาภมิควรได้
บอกลูกหนี้ แล้วลูกหนี้ เท่านั้น
ชาระซ้ า
มาตรา 697 ถ้าเพราะการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งของเจ้าหนี้เองเป็ นเหตุให้ ผู้คา้ ประกันไม่
เจ้าหนี้ทาให้ผคู ้ ้ าประกัน อาจเข้ารับช่ วงได้ท้งั หมดหรื อแต่บางส่ วนในสิทธิกด็ ี จานองก็ดี จานาก็ดี และบุริมสิ ทธิ
ไม่อาจเข้ารับช่ วงสิทธิผคู ้ ้ า อันได้ให้ไว้แก่เจ้าหนี้แต่ก่อนหรื อในขณะทาสัญญาค้ าประกันเพื่อชาระหนี้น้ นั ท่ านว่ าผู้
ประกันหลุดพ้น คา้ ประกันย่ อมหลุดพ้นจากความรับผิดเพียงเท่ าที่ตนต้ องเสี ยหายเพราะการนั้น
EX. ก.กู้เงิน ข. 5000 บาท โดยจานาแหวนไว้ หนึ่งวง ราคา 3000 บาทเป็ นประกันไว้ มี ค.
เป็ นผู้คา้ ประกันหนีเ้ งินกู้ด้วย ถ้ า ข.คืนแหวนที่จานาให้ แก่ ก. ค.ย่อมหลุดพ้ นความรั บผิด
ที่ตนต้ องเสียหาย เพราะเหตุที่จะต้ องเข้ารั บช่ วงสิ ทธิ บังคับจานาแหวนนั้นไม่ ได้ เมื่อ ก.
ผิดนัดไม่ ชาระหนี ้ ข.จะมาเรี ยกร้ องเอาจาก ค.ได้ อีกเพียง 2000 บาทเท่ านั้น
หน้า 4 จาก 30

D.ความระงับสิ้ นไปแห่งการค้ าประกัน


มาตรา 698 อันผูค้ ้ าประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิดในขณะเมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้ นไป
เหตุระงับสิ ทธิของผูค้ ้ า ไม่วา่ เพราะเหตุใดๆ
หนีป้ ระธานระงับสิ ้นไป หนีอ้ ุปกรณ์ ย่อมระงับ
สาเหตุที่ทาให้ หนีร้ ะงับ 5 ประการ
1. การชาระหนี ้ ม.321
2. การปลดหนี ้ ม.340
3. การหักกลบลบหนี ้ ม.341
4. แปลงหนีใ้ หม่ ม.349
5. หนีเ้ กลื่อนกลืนกัน ม. 353
มาตรา 699 การค้ าประกันเพื่อกิจการเนื่ องกันไปหลายคราวไม่มีจากัดเวลาเป็ นคุณแก่เจ้าหนี้
ผูค้ ้ าประกันบอกเลิกการ นั้น ท่านว่าผูค้ ้ าอาจเลิกเสี ยเพื่อคราวอันเป็ นอนาคตได้ โดยบอกกล่าวความประสงค์น้ นั
ค้ าประกัน แก่เจ้าหนี้
ในกรณี เช่นนี้ ท่านว่าผูค้ ้ าประกันไม่ตอ้ งรับผิดในกิจการที่ลูกหนี้กระทาลง
ภายหลังคาบอกกล่าวนั้นได้ไปถึงเจ้าหนี้
มาตรา 700 ถ้าค้ าประกันหนี้อนั จะต้องชาระ ณ เวลามีกาหนดแน่ นอน และเจ้ าหนี้ยอมผ่อน
เจ้าหนี้ผ่อนเวลาชาระหนี้ เวลาให้ แก่ ลูกหนีไ้ ซร้ ท่ านว่ าผู้คา้ ประกันย่ อมหลุดพ้นจากความรับผิด
ให้แก่ลูกหนี้ แต่ถา้ ผูค้ ้ าประกันได้ตกลงด้วยในการผ่อนเวลา ท่ านว่ าผู้คา้ ประกันหาหลุดพ้น
จากความรับผิดไม่
สาระสาคัญในเรื่ องการผ่ อนเวลาชาระหนีใ้ ห้ แก่ ลูกหนี ้ ที่จะทาให้ ผ้ คู า้ ประกันหลุดพ้ น
ความรั บผิดตามม. 700 ประกอบด้ วย
1. ต้ องเป็ นหนีท้ ี่มีกาหนดเวลาชาระแน่ นอน
2. เจ้ าหนีไ้ ด้ ผ่อนเวลาให้ แก่ ลูกหนี ้
3. การผ่ อนเวลานั้นไม่ ได้ รับความยินยอมจากผู้คา้ ประกัน
มาตรา 701 ผูค้ ้ าประกันจะขอชาระหนี้แก่เจ้าหนี้ต้ งั แต่เมื่อถึงกาหนดชาระก็ได้
เจ้าหนี้ไม่ยอมรับชาระหนี้ ถ้าเจ้าหนี้ไม่ยอมรับชาระหนี้ ผูค้ ้ าประกันก็เป็ นอันหลุดพ้นจากความรับผิด
จากผูค้ ้ าประกัน
ไม่ ยอมรั บชาระหนี=้ โดยมิชอบด้ วยกฎหมาย
แต่ ถ้าเป็ นตัวลูกหนีข้ อชาระหนีแ้ ล้ วเจ้ าหนีป้ ฏิเสธไม่ ยอมรั บชาระหนีโ้ ดยไม่ มีเหตุจะอ้ าง
กฎหมายได้ มีผลทาให้ เจ้ าหนีต้ กเป็ นผู้ผิดนัด คิดดอกเบีย้ ผิดนัดไม่ ได้ แต่ ไม่ ทาให้
ลูกหนีห้ ลุดพ้ นจากความรั บผิด
ข้อสอบข้อ 2 หน่วยที่ 4-5 เรื่ องจานอง
หน้า 5 จาก 30

A
มาตรา 702 อันว่าจานองนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่ง เรี ยกว่าผูจ้ านอง เอาทรัพย์สินตราไว้
ความหมายสัญญาจานอง แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรี ยกว่าผูร้ ับจานอง เป็ นประกันการชาระหนี้ โดยไม่ส่งมอบ
ทรัพย์สินนั้นให้แก่ผรู ้ ับจานอง
ผูร้ ับจานองชอบที่จะได้รับชาระหนี้จากทรัพย์สินที่จานองก่อนเจ้าหนี้สามัญ มิ
พักต้องพิเคราะห์วา่ กรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สินจะได้โอนไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรื อหาไม่
ถ้าสังหาริมทรัพย์ จะเรียกว่ า จานา
แต่ ถ้าอสังหาริมทรัพย์ จะเรี ยกว่ า จานอง
EX.ว.2 ก.กู้เงิน ข. 20000 บาท โดยเอาที่ดินจานองไว้ เป็ นประกัน ต่ อมา ก.ขายที่ดินแปลง
นั้นแก่ ค. หรื อยกที่ดินให้ โดยเสน่ หา ก.ย่อมมีสิทธิ ทาได้ แต่ ค.ผู้รับโอนจะต้ องรั บภาระ
จานองมาด้วย
การชาระหนีต้ ามลาดับดังนี ้
1. จดทะเบียนบุริมสิ ทธิ
2. จานอง
3. กู้เงิน (เจ้ าหนีส้ ามัญ)
มาตรา 703 อันอสังหาริ มทรัพย์น้ นั อาจจานองได้ไม่วา่ ประเภทใดๆ
ทรัพย์สินที่จานองได้ สังหาริ มทรัพย์อนั จะกล่าวต่อไปนี้ก็อาจจานองได้ดุจกัน หากว่าได้จดทะเบียนไว้
แล้วตามกฎหมาย คือ
1) เรื อที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป
2) แพ
3) สัตว์พาหนะ
4) สังหาริ มทรัพย์อื่นใดๆซึ่งกฎหมายหากบัญญัติไว้ให้จดทะเบียนเฉพาะการ
มาตรา 704 สั ญญาจานองต้ องระบุทรัพย์ สินซึ่งจานอง
ต้องระบุทรัพย์สิน
มาตรา 705 การจานองทรัพย์สินนั้น นอกจากผู้เป็ นเจ้ าของในขณะนั้นแล้ ว ท่ านว่ าใครอื่นจะ
ผูจ้ านองต้องเป็ นเจ้าของ จานองหาได้ไม่
มาตรา 706 บุคคลมีกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินแต่ ภายในบังคับเงื่อนไขเช่ นใด จะจานอง
กรรมสิ ทธิ์ที่มีเงื่อนไข ทรัพย์สินนั้นได้แต่ภายในบังคับเงื่อนไขเช่นนั้น
มาตรา 707 บทบัญญัติมาตรา 681 ว่าด้วยค้ าประกันนั้น ท่านให้ใช้ได้ในการจานอง อนุโลม
ตามควร
มาตรา 708 สั ญญาจานองนั้นต้ องมีจานวนเงินระบุไว้ เป็ นเรื อนเงินไทยเป็ นจานวนแน่ ตรงตัว
หน้า 6 จาก 30

ระบุจานวนเงินไทย หรื อจานวนขั้นสู งสุ ดที่ได้เอาทรัพย์สินจานองนั้นตราไว้เป็ นประกัน


แน่นอนหรื อจานวน
สูงสุด
มาตรา 709 บุคคลคนหนึ่งจะจานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้ อนั บุคคลอื่นจะต้อง
ชาระ ก็ให้ทาได้
มาตรา 710 ทรัพย์สินหลายสิ่ งมีเจ้าของคนเดียวหรื อหลายคนจะจานองเพื่อเป็ นประกันการ
ทรัพย์หลายสิ่ งเอาจานอง ชาระหนี้แต่รายหนึ่งรายเดียว ท่านก็ให้ทาได้
เป็ นประกันหนี้รายเดียว และในการนี้คู่สัญญาจะตกลงกันดังต่อไปนี้ก็ได้ คือว่า
1) ให้ผรู ้ ับจานองใช้สิทธิบงั คับเอาแก่ทรัพย์สินซึ่งจานองตามลาดับอันระบุไว้
2) ให้ถือเอาทรัพย์สินแต่ละสิ่ งเป็ นประกันหนี้ เฉพาะแต่ส่วนหนึ่งส่ วนใดที่ระบุไว้
เช่ น จะบังคับจานองเอาทรั พย์สินอันไหนก่ อนเรี ยงตามลาดับ และต้ องระบุมูลค่ าของ
ทรั พย์สินที่จานองนั้นด้ วย
มาตรา 711 การที่จะตกลงกันไว้เสียแต่ก่อนเวลาหนีถ้ ึงกาหนดชาระเป็ นข้อความอย่างใดอย่าง
ต้องไม่มีขอ้ ตกลงก่อนหนี้ หนึ่งว่า ถ้าไม่ชาระหนี้ ให้ผรู ้ ับจานองเข้าเป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งจานอง หรื อว่าให้
ถึงกาหนดชาระ จัดการแก่ทรัพย์สินนั้นเป็ นประการอื่นอย่างใด นอกจากตามบทบัญญัติท้ งั หลายว่าด้วย
การบังคับจานองไซร้ ข้ อตกลงเช่ นนั้นท่ านว่ าไม่ สมบูรณ์
เพราะสัญญาจานองเป็ นทรั พยสิ ทธิ การตกลงเปลี่ยนแปลงต้ องมีการจดทะเบียนเท่ านั้น
ดังนัน้ ข้ อตกลงล่ วงหน้ าจึงไม่ มีผลทางกฎหมาย
มาตรา 712 แม้ถึงว่ามีขอ้ สัญญาเป็ นอย่างอื่นก็ตาม ทรัพย์สินซึ่งจานองไว้แก่บุคคลคนหนึ่ ง
จานองซ้อน นั้น ท่ านว่ าจะเอาไปจานองแก่ บุคคลอีกคนหนึ่งในระหว่ างเวลาที่สัญญาก่ อนยังมีอายุอยู่
ก็ได้
ขึน้ อยู่กับเจ้ าหนีจ้ ะรั บจานองต่ อหรื อไม่ แล้ วแต่ มูลค่ าของทรั พย์สินนั้น
มาตรา 713 ถ้ามิได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่นในสัญญาจานอง ท่ านว่ าผู้จานองจะชาระหนีล้ ้ าง
สิ ทธิชาระหนี้ลา้ งจานอง จานองเป็ นงวดๆก็ได้
เป็ นงวดๆ
มาตรา 714 อันสัญญาจานองนั้น ท่านว่าต้องทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อพนักงาน
แบบของสัญญาจานอง เจ้ าหน้ าที่
ถ้าไม่ เข้ามาตรานี้สัญญาก็ตกเป็ นโมฆะ
เหตุที่ต้องมีการจดทะเบียนเพราะการจานองไม่ มีการส่ งมอบทรั พย์สินที่จานอง และจะ
ทาให้ ผ้ รู ั บจานองสามารถตรวจสอบได้ ว่าทรั พย์สินนั้นอยู่ภายใต้ จานอง
B. สิ ทธิจานองครอบเพียงใด
หน้า 7 จาก 30

มาตรา 715 ทรัพย์สินซึ่งจานองย่อมเป็ นประกันเพื่อการชาระหนี้กบั ทั้งค่าอุปกรณ์ต่อไปนี้ดว้ ย


ทรัพย์สินจานองประกัน คือ
ทั้งหนี้ประธานและหนี้ 1) ดอกเบี้ย
อุปกรณ์ 2) ค่าสิ นไหมทดแทนในการไม่ชาระหนี้
3) ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานอง
มาตรา 716 จานองย่ อมครอบไปถึงบรรดาทรัพย์ สินซึ่งจานองหมดทุกสิ่ ง แม้จะได้ชาระหนี้
สิ ทธิจานองครอบทรัพย์ แล้วบางส่ วน
ทุกสิ่ งและทุกส่ วน
EX. ก.เอาที่ดิน 3 แปลงมาจานองไว้ กับเจ้ าหนีเ้ พื่อประกันเงินกู้ 300,000 บาท โดยผ่ อน
ชาระแล้ ว 200,000 บาท เหลืออีก 100,000 บาทถ้ าไม่ ได้ ตกลงล้ างจานองเป็ นงวดๆ และ
ปลดเอาที่ดินแปลงใดออกจากจานอง จานองย่อมครอบไปถึงที่ดินทั้ง 3 แปลงที่จานอง
มาตรา 717 แม้วา่ ทรัพย์สินซึ่งจานองจะแบ่งออกเป็ นหลายส่วนก็ตาม ท่านว่าจานองก็ยงั คง
ว.2 ปลดจานองเป็ นส่วนๆ ครอบไปถึงส่ วนเหล่านั้นหมดทุกส่ วนด้วยกันอยูน่ นั่ เอง
ก็ได้แต่ตอ้ งจดทะเบียน ถึงกระนั้นก็ดี ถ้ าผู้รับจานองยินยอมด้ วย ท่ านว่ าจะโอนทรัพย์ สินส่ วนหนึ่งส่ วน
ใดไปปลอดจากจานองก็ให้ ทาได้ แต่ความยินยอมดังว่านี้หากมิได้จดทะเบียน ท่านว่าจะ
ยกเอาขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้กบั บุคคลภายนอกหาได้ไม่
หมายเหตุ; ในวรรค 2 ถ้ าไม่ ได้ จดทะเบียน ข้ อตกลงดังกล่ าวก็ยงั อยู่แต่ จะยกเป็ นข้ อต่ อสู้
กับบุคคลภายนอกไม่ ได้
มาตรา 718 จานองย่ อมครอบไปถึงทรัพย์ ท้งั ปวงอันติดพันอยู่กบั ทรัพย์ สินซึ่งจานอง แต่ต้อง
ทรัพย์ที่สิทธิจานองครอบ อยู่ภายในบังคับซึ่งท่ านจากัดไว้ ในสามมาตราต่ อไปนี้
ถึง(ส่วนควบ)
การจานองย่อมครอบไปหมดบ้ านและสิ่ งปลูกสร้ างบนที่ดิน เว้ นแต่ ม.719 ,720 ,721
มาตรา 719 จานองที่ดินไม่ ครอบไปถึงโรงเรื อนอันผู้จานองปลูกสร้ างลงในที่ดินภายหลังวัน
โรงเรื อนซึ่งปลูกสร้างใน จานอง เว้นแต่จะมีขอ้ ความกล่าวไว้โดยเฉพาะในสัญญาว่าให้ครอบไปถึง
ที่ดินจานองภายหลัง แต่กระนั้นก็ดี ผูร้ ับจานองจะให้ขายเรื อนโรงนั้นรวมไปกับที่ดิน ด้วยก็ได้แต่ผรู ้ ับ
จานอง จานองอาจใช้บุริมสิ ทธิของตนได้เพียงแก่ราคาที่ดิน เท่านั้น
เรื อนโรง คือ ส่ วนควบ ผู้รับจานองไม่ ได้ ประโยชน์ จากการขายโรงเรื อน
มาตรา 720 จานองโรงเรื อนหรื อสิ่ งปลูกสร้างอย่างอื่น ซึ่งได้ทาขึ้นไว้บนดินหรื อใต้ดิน ใน
จานองโรงเรื อนซึ่งอยูบ่ น ที่ดินอันเป็ นของคนอื่นเขานั้น ย่อมไม่ครอบไปถึงที่ดินนั้นด้วย ฉันใดกลับกันก็ฉันนั้น
ที่ดินของผูอ้ ื่น
มาตรา 721 จานองไม่ครอบไปถึงดอกผลแห่ งทรัพย์สินซึ่งจานอง เว้นแต่ในเมื่อผูร้ ับจานอง
หน้า 8 จาก 30

ดอกผลของทรัพย์ที่ ได้บอกกล่าวแก่ผจู ้ านองหรื อผูร้ ับโอนแล้วว่า ตนจานงจะบังคับจานอง


จานอง
ดอกผลของทรั พย์ตามมาตรา 148
C. สิ ทธิและหน้าที่ของผูร้ ับจานองและผูจ้ านอง
มาตรา 722 ถ้าทรัพย์สินได้จานองแล้ว และภายหลังที่จดทะเบียนจานองมีจดทะเบียนภาระ
สิ ทธิที่จะขอลบ จายอมหรื อทรัพยสิทธิอย่างอื่น โดยผู้รับจานองมิได้ ยินยอมด้ วยไซร้ ท่านว่ าสิทธิจานอง
ทรัพยสิ ทธิที่จดทะเบียน ย่อมเป็ นใหญ่กว่ าภาระจายอมหรือทรัพยสิทธิอย่างอื่นนั้น หากว่าเป็ นที่เสื่ อมเสี ยแก่สิทธิ
ภายหลัง ของผูร้ ับจานองในเวลาบังคับจานอง ก็ให้ลบสิ ทธิที่กล่าวหลังนั้นเสี ยจากทะเบียน
สิทธิจานองย่อมเป็ นใหญ่กว่ า หมายถึง ได้ รับชาระหนีก้ ่ อน
หมายเหตุ; การที่จะขอให้ ลบทรั พยสิ ทธิ ที่จดทะเบียนภายหลังนี ้ ต้ องเป็ นกรณีที่ผ้ รู ั บ
จานองมิได้ ยินยอมด้ วย ฉะนั้นถ้ าผู้รับจานองยินยอมแล้ วก็ไม่ มีสิทธิ ขอให้ ลบได้
EX. ก.กู้เงิน ข. และจานองที่ดินไว้ เป็ นประกันต่ อมา ก.จดทะเบียนภาระจายอมให้ ค.ทา
ถนนผ่ านที่ดินนั้นได้ โดย ข.ไม่ ยินยอมด้ วย ทาให้ ที่ดินราคาตก ถ้ าขายก็ได้ ราคาตา่ มาก
ไม่ พอชาระหนีจ้ านองแน่ เพราะที่ดินติดภาระจายอม ข.มีสิทธิ จะให้ ลบภาระจายอมนั้น
จากทะเบียนได้ แม้ ยงั ไม่ ถึงเวลาที่จะบังคับจานองก็ตาม
มาตรา 723 ถ้ าทรัพย์ สินซึ่งจานองบุบสลาย หรื อถ้ าทรัพย์ สินซึ่งจานองแต่ สิ่งใดสิ่ งหนึ่งสู ญ
สิ ทธิในการบังคับจานอง หายหรื อบุบสลาย เป็ นเหตุให้ ไม่ เพียงพอแก่ การประกันไซร้ ท่ านว่ าผู้รับจานองจะบังคับ
จานองเสียในทันทีกไ็ ด้ เว้นแต่เมื่อเหตุน้ นั มิได้เป็ นเพราะความผิดของผูจ้ านอง และผู ้
จานองก็เสนอจะจานองทรัพย์สินอื่นแทนให้มีราคาเพียงพอ หรื อเสนอจะรับซ่อมแซม
แก้ไขความบุบสลายนั้นภายในเวลาอันสมควรแก่เหตุ
หมายเหตุ; จะต้ องเป็ นการบุบสลายหรื อสูญหายอันเนื่องมาแต่ ความผิดของผู้จานอง จึง
จะเข้าข่ายมาตรา 723 คือไม่ จาเป็ นว่ าผู้จานองจะต้ องทาให้ บุบสลายหรื อสูญหายด้ วย
ตนเองเพียงแต่ เป็ นเพราะความผิดของผู้จานองก็ใช้ ได้ แล้ ว
มาตรา 724 ผูจ้ านองใดได้จานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้อนั บุคคลอื่นจะต้องชาระ
สิ ทธิไล่เบี้ยลูกหนี้ แล้วและเข้าชาระหนี้ เสี ยเองแทนลูกหนี้เพื่อจะปัดป้องมิให้ ต้องบังคับจานอง ท่านว่าผู ้
จานองนั้นชอบที่จะได้รับเงินใช้คืนจากลูกหนี้ตามจานวนที่ตนได้ชาระไป
ถ้าว่าต้องบังคับจานอง ท่านว่าผูจ้ านองชอบที่จะได้รับเงินใช้คืนจากลูกหนี้ตาม
จานวนซึ่งผูร้ ับจานองจะได้รับใช้หนี้จากการบังคับจานองนั้น
มาตรา 725 เมื่อบุคคล2 คนหรื อกว่านั้น ต่างได้จานองทรัพย์สินแห่งตนเพื่อประกันหนี้แต่ราย
ผูจ้ านองค้ าประกันหลาย หนึ่งรายเดียว อันบุคคลอื่นจะต้องชาระและมิได้ ระบุลาดับไว้ ไซร้ ท่านว่าผูจ้ านองซึ่งได้
คน(มิได้ระบุลาดับไว้) เป็ นผูช้ าระหนี้ หรื อเป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งต้องบังคับจานองนั้น หามีสิทธิจะไล่เบีย้ เอา
หน้า 9 จาก 30

แก่ ผ้ จู านองอื่นๆต่ อไปได้ ไม่


คงมีสิทธิ ไล่ เบีย้ เอาจากลูกหนีต้ ามมาตรา 724 เท่ านั้น
มาตรา 726 เมื่อบุคคลหลายคนต่างได้จานองทรัพย์สินแห่งตนเพื่อประกันหนี้แต่รายหนึ่งราย
สิ ทธิของผูจ้ านองคนหลัง เดียว อันบุคคลอื่นจะต้องชาระและได้ระบุลาดับไว้ดว้ ยไซร้ ท่ านว่ าการที่ผ้ ูรับจานอง
ที่จะหลุดพ้นความรับผิด ยอมปลดหนีใ้ ห้ แก่ ผ้ จู านองคนหนึ่งนั้น ย่ อมทาให้ ผ้ จู านองคนหลังๆ ได้ หลุดพ้นเพียง
เมื่อผูจ้ านองคนก่อนได้รับ ขนาดที่เขาต้องรับความเสียหายแต่การนั้น
การปลดจานอง
EX. ก.กู้เงิน ข. 500,000 บาท โดยมี ค.ง.ต่ างจานองที่ดินของตนเป็ นประกันหนี ้ และระบุ
ลาดับไว้ ว่าต้ องบังคับจานองที่ดิน ค.ก่ อนแล้ วจึงบังคับจานองที่ดิน ง.ได้ หาก ข.ปลด
จานองให้ แก่ ค.ผู้จานองลาดับแรก ง.ผู้จานองคนหลังย่อมหลุดพ้ นความรั บผิดเท่ าที่ต้อง
เสียหายคือ เท่ าราคาที่ดินของ ค. สมมุติว่าราคาที่ดินของ ค.มีราคา 300,000 บาท ง.ก็มี
สิ ทธิ หลุดพ้ นความรั บผิด 300,000 บาท คือสามารถหักหนีก้ ับ ข.ได้ 300,000 บาทคงรั บ
ผิดเพียง 200,000เท่ านั้น
มาตรา 727 ถ้าบุคคลคนเดียวจานองทรัพย์สินแห่งตนเพื่อประกันหนี้อนั บุคคลอื่นจะต้อง
สิ ทธิของผูจ้ านองที่จะ ชาระ ท่านให้ใช้บทบัญญัติมาตรา 697,700และ701 ว่าด้วยค้ าประกันนั้นบังคับอนุโลม
หลุดพ้นความรับผิด ตามควร
สิ ทธิหลุดพ้นความรับผิดได้แก่
1. มาตรา 697 ไม่อาจรับช่วงสิ ทธิ
2. มาตรา 700 เมื่อเจ้าหนี้ ผอ่ นเวลาให้ลูกหนี้
3. มาตรา 701 เมื่อเจ้าหนี้ไม่ยอมรับชาระหนี้
D. สิ ทธิและหน้าที่ของผูร้ ับโอนทรัพย์สินซึ่งจานอง
มาตรา 736 ผู้รับโอนทรัพย์ สินซึ่งจานองจะไถ่ ถอนจานองก็ได้ ถ้าหากมิได้เป็ นตัวลูกหนี้ หรื อ
สิ ทธิที่จะไถ่ถอนจานอง ผูค้ ้ าประกัน หรื อเป็ นทายาทของลูกหนี้หรื อผูค้ ้ าประกัน
มาตรา 737 ผู้รับโอนจะไถ่ถอนจานองเมื่อใดก็ได้ แต่ ถ้าผู้รับจานองได้ บอกกล่ าวว่ ามีจานงจะ
กาหนดเวลาไถ่ถอน บังคับจานองไซร้ ผูร้ ับโอนต้องไถ่ถอนจานองภายในเดือนหนึ่งนับแต่วนั รับคาบอก
จานอง กล่าว
มิฉะนั้นอาจหมดสิ ทธิ ไถ่ ถอนจานองเอาได้ เพราะผู้รับจานองก็จะดาเนินการฟ้องศาล
บังคับจานองยึดทรั พย์ขายทอดตลาดต่ อไป
ผู้รับโอน หมายถึง ผู้ที่ซื้อทรั พย์หรื อได้ มาซึ่ งทรั พย์ที่ติดจานองไว้ ในครอบครองของตน
E. การบังคับจานอง
มาตรา 728 เมื่อจะบังคับจานองนั้น ผูร้ ับจานองต้องมีจดหมายบอกกล่าวไปยังลูกหนี้ก่อนว่า
หน้า 10 จาก 30

การขายทอดตลาดทรัพย์ ให้ชาระหนี้ภายในเวลาอันสมควรซึ่งกาหนดให้ในคาบอกกล่าวนั้น ถ้ าและลูกหนีล้ ะเลย


จานอง เสียไม่ปฏิบัติตามคาบอกกล่าว ผูร้ ับจานองจะฟ้องคดีต่อศาลเพื่อให้พิพากษาสั่งให้ยดึ
ทรัพย์สินซึ่งจานองและให้ขายทอดตลาดก็ได้
วิธีการบังคับจานอง มี 2 วิธี
1. การขายทอดตลาดทรั พย์จานอง
2. การเอาทรั พย์ จานองหลุดเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของผู้รับจานอง
หมายเหตุ; ต้ องเป็ นเจ้ าหนีซ้ ึ่ งชนะคดีจึงมีอานาจบังคับจานองได้
มาตรา 729 นอกจากทางแก้ดงั บัญญัติไว้ในมาตราก่อนนั้น ผู้รับจานองยังชอบที่จะเรียกเอา
การเอาทรัพย์จานองหลุด ทรัพย์ จานองหลุดได้ ภายในบังคับแห่ งเงื่อนไขดังจะกล่ าวต่ อไปนี้
เป็ นกรรมสิ ทธิ์ของผูร้ ับ 1) ลูกหนี้ได้ขาดส่ งดอกเบี้ยมาแล้วเป็ นเวลา 5 ปี
จานอง 2) ผูจ้ านองมิได้แสดงให้เป็ นที่พอใจแก่ศาลว่าราคาทรัพย์สินนั้นท่วมจานวนเงินอัน
ค้างชาระและ
3) ไม่มีการจานองรายอื่น หรื อบุริมสิ ทธิอื่นได้จดทะเบียนไว้เหนือทรัพย์สินอัน
เดียวกันนี้ เอง
หมายเหตุ; ต้ องอยู่ในเงื่อนไขครบทั้ง 3 ประการ หากขาดข้อใดข้อหนึ่งจะเอาทรัพย์
จานองหลุดไม่ ได้
มาตรา 730 เมื่อทรัพย์ สินอันหนึ่งอันเดียวได้ จานองแก่ ผ้ ูรับจานองหลายคนด้ วยกัน ท่านให้
ผลของการจานองซ้อน ถือลาดับผูร้ ับจานองเรี ยงตามวันและเวลาจดทะเบียน และผูร้ ับจานองคนก่อนจักได้รับ
ใช้หนี้ก่อนผูร้ ับจานองคนหลัง
EX. ก.กู้เงิน ข. 100,000 บาทเอาที่ดินจานองเป็ นประกัน ต่ อมา ก.กู้เงิน ค.อีก 50,000 บาท
เอาที่ดินแปลงเดิมจานองซ้ากับ ค. สุดท้ าย ก.กู้เงิน ง. 30,000 บาท และจานองที่ดินแปลง
เดิมนั้นอีก เมื่อ ก.ไม่ ชาระหนีแ้ ละมีการบังคับจานองขายทอดตลาดที่ดินของ ก.ได้ เงิน
สุทธิ 120,000 บาท ดังนี ้ ข.ผู้รับจานองคนแรกมีสิทธิ ได้ รับชาระหนีส้ ิ ้นเชิ ง 100,000 บาท
ค.ผู้รับจานองคนที่ 2 ได้ รับเพียง 20,000 บาท ส่ วน ง.ไม่ ได้ รับชาระหนีเ้ ลย
มาตรา 731 อันผูร้ ับจานองคนหลังจะบังคับตามสิ ทธิของตนให้เสี ยหายแก่ผรู ้ ับจานองคนก่อน
นั้น ท่านว่าหาอาจทาได้ไม่
มาตรา 732 ทรัพย์ สินซึ่งจานองขายทอดตลาดได้ เงินเป็ นจานวนสุ ทธิเท่ าใด ท่านให้จดั ใช้แก่
สิ ทธิที่จะได้รับเงินที่เหลือ ผูร้ ับจานองเรี ยงตามลาดับ และถ้ายังมีเงินเหลืออยูอ่ ีก ก็ให้ส่งมอบแก่ผจู ้ านอง
จากการบังคับจานอง
มาตรา 733 ถ้ าเอาทรัพย์ จานองหลุดและราคาทรัพย์สินนั้นมีประมาณต่ากว่าจานวนเงินที่ค้าง
ลูกหนี้ไม่ตอ้ งรับผิดใน ชาระกันอยู่กด็ ี หรื อถ้าเอาทรัพย์สินซึ่งจานองออกขายทอดตลาดใช้หนี้ได้เงินจานวน
หน้า 11 จาก 30

จานวนเงินที่ขาดเมื่อขาย สุ ทธินอ้ ยกว่าจานวนเงินที่คา้ งชาระกันอยูน่ ้ นั ก็ดี เงินยังขาดจานวนอยู่เท่ าใดลูกหนีไ้ ม่


ทรัพย์ทอดตลาด ต้องรับผิดในเงินนั้น
มาตรา 737 ผูร้ ับโอนจะไถ่ถอนจานองเมื่อใดก็ได้ แต่ถา้ ผูร้ ับจานอง ได้บอกกล่าวว่ามีจานงจะ
กาหนดเวลาไถ่ถอน บังคับจานองไซร้ ผูร้ ับโอนต้องไถ่ถอนจานอง ภายในเดือนหนึ่งนับแต่วนั รับคาบอก
จานอง กล่าว
มิฉะนั้น อาจหมดสิ ทธิ ไถ่ ถอนจานองเอาได้ เพราะผู้รับจานองก็จะดาเนินการฟ้ องศาล
บังคับจานองยึดทรั พย์ขายทอดตลาดต่ อไป
มาตรา 744 อันจานองย่อมระงับสิ้ นไป
สาเหตุที่ทาให้สัญญา 1) เมื่อหนี้ที่ประกันระงับสิ้ นไปด้วยเหตุประการอื่นใด มิใช่เหตุอายุความ
จานองระงับ 2) เมื่อปลดจานองให้แก่ผจู ้ านองด้วยหนังสื อเป็ นสาคัญ(และจดทะเบียนด้วย)
3) เมื่อผูจ้ านองหลุดพ้น
4) เมื่อถอนจานอง
5) เมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สินซึ่งจานองตามคาสั่งศาลอันเนื่องมาแต่การบังคับ
จานองหรื อถอนจานอง
6) เมื่อเอาทรัพย์สินซึ่งจานองนั้นหลุด
เหตุประการอื่นใด เช่ น การชาระหนี ้ ปลดหนี ้ หักกลบลบหนี ้ หนีเ้ กลื่อนกลืนกัน
มาตรา 747 อันว่าจานานั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรี ยกว่า ผูจ้ านาส่ งมอบสังหาริ มทรัพย์สิ่ง
ความหมายของสัญญา หนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรี ยกว่า ผูร้ ับจานา เพื่อเป็ นประกันการชาระหนี้
จานา
ผู้จานาต้ องเป็ นเจ้ าของทรั พย์ ดู ม.1336 ประกอบ (จานาเฉพาะสังหาริ มทรั พย์เท่ านั้น)
สังหาริ มทรั พย์ = สิ ทธิ อันเกี่ยวกับสังหาริ มทรั พย์ ด้วยเช่ น ลิขสิ ทธิ์ , สิ ทธิ ในเครื่ องหมาย
การค้ า สิ ทธิ เหล่ านีย้ ่อมจานาได้ เหมือนสังหาริ มทรั พย์ทั่วไป แต่ สิทธิ การเช่ าอาคาร ไม่
อาจจานาได้
มาตรา 748 การจานานั้นย่อมเป็ นประกันเพื่อการชาระหนี้ กับ ทั้งค่าอุปกรณ์ต่อไปนี้ ดว้ ย คือ
ขอบเขตของสัญญาจานา (1) ดอกเบี้ย (ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี ตามมาตรา 654)
(2) ค่าสิ นไหมทดแทนในการไม่ชาระหนี้
(3) ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานา
(4) ค่าใช้จ่ายเพื่อรักษาทรัพย์สินซึ่งจานา
(5) ค่าสิ นไหมทดแทน เพื่อความเสี ยหายอันเกิดแต่ความชารุ ด บกพร่ องแห่ง
ทรัพย์สินจานาซึ่งไม่เห็นประจักษ์
มาตรา 750 ถ้าทรัพย์สินที่จานาเป็ นสิทธิซึ่งมีตราสาร และมิได้ ส่ งมอบตราสารนั้นให้แก่ผรู ้ ับ
การจานาสิ ทธิซ่ ึงมีตรา
หน้า 12 จาก 30

สารทัว่ ๆไป จานา ทั้งมิได้บอกกล่าวเป็ นหนังสื อแจ้ง การจานาแก่ลูกหนี้แห่งสิ ทธิน้ นั ด้วยไซร้ ท่านว่า
การจานาย่อมเป็ นโมฆะ
สิทธิซึ่งมีตราสาร = ใบประทวนสิ นค้ า, ตั๋วเงิน,ใบหุ้น,ใบหุ้นกู้,พันธบัตร และใบตราส่ ง
มาตรา 751 ถ้ าจานาตราสารชนิดออกให้ แก่ บุคคลเพื่อเขาสั่ งท่ าน ห้ามมิให้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้
การจานาตราสารชนิด บุคคลภายนอก เว้นแต่จะได้สลักหลังไว้ที่ ตราสารให้ ปรากฏการจานาเช่ นนั้น
ออกให้บุคคลเพื่อเขาสั่ง อนึ่ง ในการนี้ไม่จาเป็ นต้องบอกกล่าวแก่ลูกหนี้แห่ งตราสาร
ตราสารชนิดออกให้ แก่เขาสั่ง = ตั๋วเงินทั้ง 3 ประเภทได้ แก่ ตั๋วแลกเงิน, ตั๋วสัญญาใช้ เงิน
,และเช็ค
เช่ นเช็คผู้ถือ เพียงแต่ สลักหลังแล้ วส่ งมอบเป็ นอันสมบูรณ์
มาตรา 753 ถ้ าจานาใบหุ้น หรื อใบหุ้นกู้ชนิดระบุชื่อ ท่านห้ามมิ ให้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้บริ ษทั
การจานาใบหุน้ หรื อใบ หรื อบุคคลภายนอก เว้นแต่จะได้จดลง ทะเบียนการจานานั้นไว้ในสมุดของบริ ษทั ตาม
หุน้ กูช้ นิดระบุชื่อ บทบัญญัติท้ งั หลาย ในลักษณะ 22 ว่าด้วยการโอนหุน้ หรื อหุน้ กู้
มาตรา 756 การที่จะตกลงกันไว้เสี ยแต่ก่อนเวลาหนีถ้ ึงกาหนด ชาระเป็ นข้อความอย่างใดอย่ าง
คู่สัญญาไม่อาจตกลงกัน หนึ่งว่ า ถ้ าไม่ ชาระหนี้ ให้ ผ้ ูรับจานา เข้าเป็ นเจ้ าของทรัพย์ สินจานา หรื อให้ จัดการแก่
เพื่อบังคับจานาก่อนหนี้ ทรัพย์สินนั้นเป็ น ประการอื่นนอกจากตามบทบัญญัติท้งั หลายว่าด้วยการบังคับจานา นั้น
ถึงกาหนดชาระ ไซร้ ข้ อตกลงเช่ นนั้นท่ านว่ าไม่ สมบูรณ์
EX.ดากู้เงินแดง 10,000 บาท โดยเอาแหวนเพชรราคา 100,000 บาทมาจานาไว้ กับแดง
และทาข้อตกลงกันว่ า ถ้ าถึงกาหนดชาระหนี ้ ดาไม่ ชาระหนี ้ ให้ แหวนเพชรตกเป็ นของ
แดงหรื อให้ แดงนาแหวนเพชรออกขายได้ ทันที ข้อตกลงดังกล่ าวไม่ สมบูรณ์
หมายเหตุ; ตามมาตรานีใ้ ช้ เฉพาะก่ อนหนีถ้ ึงกาหนดชาระ ถ้ าหนีถ้ ึงกาหนดชาระแล้ วการ
ตกลงดังกล่ าวไม่ ต้องห้ าม คือ เมื่อถึงกาหนดชาระแล้ วไม่ ชาระหนี ้ ผู้จานาบอกผู้รับจานา
ได้ ว่าให้ ยึดทรั พย์ที่จานาได้ เลย
มาตรา 758 ผู้รับจานาชอบที่จะยึดของจานาไว้ ได้ ท้งั หมด จนกว่า จะได้รับชาระหนีแ้ ละค่า
สิ ทธิยดึ ทรัพย์ที่จานา อุปกรณ์ ครบถ้ วน
มาตรา 761 ถ้ามิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นในสัญญา หากมีดอกผล นิตินยั งอกจากทรัพย์สิน
สิ ทธิในการจัดการดอกผล นั้นอย่างไร ท่านให้ผรู ้ ับจานาจัดสรรใช้เป็ นค่า ดอกเบี้ยอันค้างชาระแก่ตน และถ้าไม่มี
นิตินยั ชาระหนี้ ดอกเบี้ยค้างชาระ ท่านให้จดั สรรใช้ตน้ เงินแห่งหนี้ อนั ได้จานาทรัพย์สินเป็ นประกันนั้น
ดอกผลนิตินัย เช่ น เงินที่ได้ จากการที่ให้ ผ้ อู ื่นเช่ ารถ , เงินปั นผลหุ้น
มาตรา 762 ค่าใช้จ่ายใด ๆ อันควรแก่การบารุ งรักษาทรัพย์สิน จานานั้น ผูจ้ านาจาต้องชดใช้
สิ ทธิและหน้าที่ของผู ้ ให้แก่ผรู ้ ับจานา เว้นแต่จะได้กาหนดไว้ เป็ นอย่างอื่นในสัญญา
จานา
หน้า 13 จาก 30

มาตรา 763 ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีดงั่ จะกล่าวต่อไปนี้ เมื่อพ้น หกเดือนนับแต่วนั ส่งคืน หรื อ


อายุความเรี ยกค่าสิ นไหม ขายทอดตลาดทรัพย์สินจานา คือ
ทดแทนและค่าใช้จ่าย (1) ฟ้องเรี ยกสิ นไหมทดแทนเพื่อความบุบสลายอันผูร้ ับจานา ก่อให้เกิดแก่
ทรัพย์สินจานา
(2) ฟ้องเรี ยกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายเพื่อการบารุ งรักษาทรัพย์สินจานา
(3) ฟ้องเรี ยกค่าสิ นไหมทดแทน เพื่อความเสี ยหายอันเกิดแก่ผรู ้ ับจานาเพราะ
ความชารุ ดบกพร่ องในทรัพย์สินจานาซึ่งไม่เห็นประจักษ์
มาตรา 764 เมื่อจะบังคับจานา ผู้รับจานาต้ องบอกกล่ าวเป็ น หนังสื อไปยังลูกหนีก้ ่ อนว่ า ให้
วิธีบงั คับจานา ชาระหนีแ้ ละอุปกรณ์ ภายในเวลา อันควรซึ่งกาหนดให้ ในคาบอกกล่ าวนั้น
ว.2 การขายทอดตลาด ถ้ าลูกหนีล้ ะเลยไม่ ปฏิบัติตามคาบอกกล่ าว ผู้รับจานาชอบที่จะเอา ทรัพย์ สินซึ่ง
ทรัพย์จานา จานาออกขายได้ แต่ต้องขายทอดตลาด
อนึ่ง ผูร้ ับจานาต้องมีจดหมายบอกกล่าวไปยังผูจ้ านาบอกเวลา และสถานที่ซ่ ึงจะ
ขายทอดตลาดด้วย
การบังคับจานา คือ การที่ผ้ ูรับจานาจัดการบังคับชาระหนีเ้ อาจากทรั พย์สินที่จานานั่นเอง
และการบังคับจานาไม่ ต้องฟ้องคดีต่อศาลด้วย ซึ่งต่ างกับการบังคับจานอง
หมายเหตุ; ในกรณีก้ ูเงินโดยไม่ ได้ ทาสัญญากู้เงินไว้ จะฟ้องคดีบังคับอย่างหนีส้ ามัญ
ไม่ ได้ ให้ ใช้ สิทธิ บังคับจานาแทน
มาตรา 765 ถ้าไม่สามารถจะบอกกล่าวก่อนได้ ผู้รับจานาจะ เอาทรัพย์ สินจานาออกขาย
กรณีไม่สามารถบอก ทอดตลาดเสีย ในเมื่อหนีค้ ้างชาระมาล่วง เวลาเดือนหนึ่งแล้วก็ให้ ทาได้ (เมื่อหนี้คา้ งชาระ
กล่าวได้ เกิน 1เดือน)
หมายเหตุ; กรณีไม่ สามารถบอกกล่ าวได้ เช่ น ลูกหนีห้ ายสาบสูญไม่ ร้ ู ไปอยู่ที่ไหน แต่ ถ้า
เป็ นกรณี ร้ ู อยู่แต่ เวลาไปส่ งหนังสื อบอกกล่ าวไม่ พบตัวหรื อไม่ ยอมรั บหนังสื อบอกกล่ าว
อย่างนีไ้ ม่ ถือว่ าไม่ สามารถบอกกล่ าวได้ จะงดไม่ บอกกล่ าวก่ อนไม่ ได้ ต้องเปลี่ยนวิธีส่ง
หนังสื อบอกกล่ าว เช่ น ส่ งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน หรื อวางหนังสื อบอกกล่ าวไว้ ต่อ
หน้ าลูกหนี ้
มาตรา 766 ถ้าจานาตัว๋ เงิน ท่านให้ผรู ้ ับจานาเก็บเรี ยกเงิน ตามตัว๋ เงินนั้นในวันถึงกาหนด ไม่
กรณี จานาตัว๋ เงิน จาเป็ นต้องบอกกล่าวก่อน
ตั๋วเงิน =( ตั๋วแลกเงิน,ตั๋วสัญญาใช้ เงิน, เช็ค) เมื่อตั๋วเงินถึงกาหนดใช้ เงิน ผู้รับจานาเรี ยก
เก็บเงินตามตั๋วนั้นได้ ทันที
ข้อสอบข้อ 3 หน่วยที่ 8-15 เรื่ องตัว๋ เงิน
มาตรา 856 อันว่าสัญญาบัญชีเดินสะพัดนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคล สองคนตกลงกันว่าสื บแต่น้ นั
หน้า 14 จาก 30

ความหมายของสัญญา ไป หรื อในชัว่ เวลากาหนดอันใดอันหนึ่ง ให้ตดั ทอนบัญชีหนี้ท้ งั หมดหรื อแต่บางส่ วนอัน


บัญชีเดินสะพัด เกิดขึ้นแต่กิจการใน ระหว่างเขาทั้งสองนั้นหักกลบลบกัน และคงชาระแต่ส่วนที่เป็ น
จานวนคงเหลือโดยดุลภาค
สัญญาบัญชีเดินสะพัด = การแสดงเจตนาตกลงให้ หักทอนบัญชีหนีส้ ิ นระหว่ างกัน
เพียงแต่ ค่ สู ัญญาแสดงเจตนาตกลงทาบัญชีเดินสะพัดกัน ก็เกิดเป็ นสัญญาที่มีผลสมบูรณ์
บังคับกันได้ ไม่ ต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อ และไม่ ต้องมีแบบอย่างใดทั้งสิ ้น
มาตรา 858 ถ้าคู่สัญญามิได้กาหนดกันไว้วา่ ให้หกั ทอนบัญชีโดย ระยะเวลาอย่างไรไซร้ ท่าน
ถ้ามิได้กาหนดเวลาไว้ให้ ให้ถือเอาเป็ นกาหนดหกเดือน
ถือว่าระยะเวลาในการหัก
ทอนบัญชีคือ 6 เดือน
มาตรา 859 คู่สัญญาฝ่ ายใดจะบอกเลิกสั ญญาบัญชีเดินสะพัด และให้หกั ทอนบัญชีกนั เสี ยใน
บัญชีเดินสะพัดระงับสิ้ น เวลาใด ๆ ก็ได้ ถ้าไม่มีอะไรปรากฏเป็ นข้อขัดกับที่กล่าวมานี้
ไปเมื่อคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่ง
บอกเลิกสัญญา
เป็ นข้อขัด หมายถึง คู่สัญญาไม่ ได้ ตกลงกาหนดอายุของสัญญาบัญชีเดินสะพัดไว้ นั่นเอง
การบอกเลิก หมายถึง ทาได้ โดยการแสดงเจตนาไปยังอีกฝ่ ายหนึ่งจะด้ วยวาจา,จดหมาย,
โทรศัพท์ กไ็ ด้ และทาได้ โดยแสดงเจตนาเพียงฝ่ ายเดียวไม่ จาเป็ นว่ าอีกฝ่ ายต้ องตกลง
ยินยอมด้ วย
มาตรา 898 อันตัว๋ เงินตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้ มีสามประเภท ประเภทหนึ่ง
ประเภทตัว๋ เงิน คือ ตั๋วแลกเงิน ประเภทหนึ่งคือ ตั๋วสัญญาใช้ เงิน ประเภทหนึ่ง คือเช็ค
มาตรา 899 ข้อความอันใดซึ่งมิได้มีบญั ญัติไว้ในประมวลกฎหมายลักษณะนี้ ถ้าเขียนลงในตั๋ว
เขียนอย่างอื่นลงในตัว๋ เงิน เงิน ท่านว่าข้อความอันนั้นหาเป็ นผลอย่างหนึ่งอย่างใดแก่ตวั๋ เงินนั้นไม่
หมายความว่ า การเขียนข้ อความอย่างอื่นนอกจากที่บัญญัติไว้ ใน ปพพ.ลักษณะตั๋วเงิน
แล้ วถือเสมือนว่ าไม่ ได้ เขียนไว้ ในตั๋วเงินนั่นเอง
มาตรา 900 บุคคลผู้ลงลายมือชื่ อของตนในตั๋วเงินย่ อมจะต้ องรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น
ความรับผิดของผูล้ งชื่อใน ถ้าลงเพียงแต่เครื่ องหมายอย่างหนึ่งอย่างใด เช่นแกงไดหรื อลายพิมพ์นิ้วมืออ้างเอา
ตัว๋ เงิน เป็ นลายมือชื่อในตัว๋ เงินไซร้ แม้ถึงว่าจะมีพยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่าหาให้ ผลเป็ น
ลงลายมือชื่ อในตั๋วเงินนั้นไม่
มาตรา 901 ถ้ าบุคคลคนใดลงลายมือชื่ อของตนในตั๋วเงิน และมิได้เขียนแถลงว่ากระทาการ
แทนบุคคลอีกคนหนึ่งไซร้ ท่านว่าบุคคลคนนั้นย่อมเป็ นผูร้ ับผิดตามความในตัว๋ เงินนั้น
หน้า 15 จาก 30

มาตรา 902 ถ้ าตั๋วเงินลงลายมือชื่ อของบุคคลหลายคน มีท้ งั บุคคลซึ่งไม่อาจจะเป็ นคู่สัญญา


ลงลายมือชื่อบุคคลหลาย แห่งตัว๋ เงินนั้นได้เลย หรื อเป็ นได้แต่ไม่เต็มผลไซร้ ท่านว่าการนี้ยอ่ มไม่กระทบกระทัง่
คนในเช็ค ถึงความรับผิดของบุคคลอื่นๆ นอกนั้นซึ่งคงต้องรับผิดตามตัว๋ เงิน
บุคคลซึ่งไม่ อาจเป็ นคู่สัญญาได้ เลย= บุคคลที่ไม่ อาจทานิติกรรมให้ มีผลสมบูรณ์ ได้ เลย
เช่ น บุคคลที่ศาลมีคาสั่งพิทักษ์ ทรั พย์ , บุคคลล้ มละลาย
บุคคลที่เป็ นคู่สัญญาได้ แต่ ไม่ เต็มผล = บุคคลที่หบ่ อนความสามารถในการทานิติกรรม
เช่ น ผู้เยาว์ , วิกลจริ ต, คนไร้ ความสามารถ หรื อผู้เสมือนไร้ ความสามารถ
EX. ก ข ค.ลงลายมือชื่ อร่ วมกันสั่งจ่ ายเช็คฉบับหนึ่ง ปรากฏว่ า ก.เป็ นบุคคลล้ มละลาย ก.
จึงไม่ อาจเป็ นคู่สัญญาแห่ งตั๋วเงินได้ เลย ส่ วน ข.เป็ นผู้เยาว์ ลงชื่ อโดยไม่ ได้ รับความ
ยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมเป็ นโมฆียะ ตาม ม.21 ดังนั้นจึงไม่ กระทบกระทั่งถึง
ความรั บผิดชอบของ ค.ที่ต้องใช้ เงินตามเช็ค
มาตรา 903 ในการใช้ เงินตามตั๋วเงินท่านมิให้ ให้ วันผ่อน
ห้ามผ่อนวันใช้เงิน
มาตรา 904 อันผู้ทรงนั้น หมายความว่าบุคคลผูม้ ีตวั๋ เงินไว้ในครอบครอง โดยฐานเป็ นผูร้ ับเงิน
ผูท้ รงตัว๋ เงิน หรื อเป็ นผูร้ ับสลักหลัง ถ้าและเป็ นตัว๋ เงินสั่งจ่ายให้แก่ผถู ้ ือ ผูถ้ ือก็นบั ว่าเป็ นผูท้ รง
เหมือนกัน
มาตรา 905 ภายในการบังคับแห่งบทบัญญัติมาตรา 1008 บุคคลผูไ้ ด้ตวั๋ เงินไว้ในครอบครอง
สลักหลังไม่ขาดสาย ถ้าแสดงให้ปรากฏสิ ทธิ ด้วยการสลักหลังไม่ขาดสาย แม้ถึงว่าการสลักหลังรายที่สุดจะ
เป็ นสลักหลังลอยก็ตาม ท่ านให้ ถือว่ าเป็ นผู้ทรงโดยชอบด้ วยกฎหมาย เมื่อใดรายการ
สลักหลังลอยมีสลักหลังรายอื่นตามหลังไปอีก ท่านให้ถือว่าบุคคลผูท้ ี่ลงรายมือชื่อในการ
สลักหลังรายที่สุดนั้น เป็ นผูไ้ ด้ไปซึ่งตัว๋ เงินด้วยการสลักหลังลอย อนึ่งคาสลักหลังเมื่อ
ขีดฆ่าเสียแล้ว ท่านให้ ถือเสมือนว่ามิได้มีเลย
ถ้ าบุคคลผู้หนึ่งผู้ใดต้ องปราศจากตั๋วเงินไปจากครอบครอง ท่านว่าผูท้ รงซึ่งแสดง
ให้ปรากฏสิ ทธิของตนในตัว๋ ตามวิธีการดังกล่าวมาในวรรคก่อนนั้น หาจาต้องสละตั๋ว
เงินไม่ เว้ นแต่ จะได้ มาโดยทุจริต หรื อได้ มาด้ วยความประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง
อนึ่งข้อความในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บงั คับตลอดถึงผูท้ รงตัว๋ เงินสั่งจ่ายให้แก่ผถู ้ ือ
ด้วย
หน้า 16 จาก 30

EX. ว.2 ผู้ที่ได้ ตั๋วเงินไว้ ในครอบครองคนปั จจุบัน ซึ่ งแสดงให้ ปรกฎสิ ทธิ ด้วยการสลัก
หลังไม่ ขาดสาย ตาม ม.905 ว.แรกเป็ นผู้ทรงโดยชอบด้ วยกฎหมาย ไม่ จาต้ องสละคืนตั๋ว
เงินให้ แก่ ผ้ ทู รงคนก่ อนๆ ที่ตั๋วเงินหลุดจากครอบครองไป เว้ นแต่ ผ้ ทู ี่ได้ ตั๋วเงินไว้ ใ น
ครอบครองคนปั จจุบัน (ผู้ทรงคนปั จจุบัน) ได้ ตั๋วเงินมาโดยทุจริ ต หรื อได้ มาด้ วยความ
ประมาทเลินเล่ ออย่างร้ ายแรง
ม. 1008 การลงลายมือชื่ อต้ องไม่ ปลอมหรื อลงลาบมือชื่ อโดยปราศจากอานาจอีกด้ วย
มาตรา 908 อันว่าตั๋วแลกเงินนั้น คือหนังสื อตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่ า ผู้สั่งจ่ าย สั่ง
ตัว๋ แลกเงิน บุคคลอีกคนหนึ่งเรี ยกว่า ผูจ้ ่าย ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งแก่บุคคลคนหนึ่ง หรื อให้ใช้ตาม
คาสั่งของบุคคลหนึ่งซึ่งเรียกว่ าผู้รับเงิน
มาตรา 909 อันตั๋วแลกเงินนั้น ต้องมีรายการดังกล่าวต่อไปนี้ คือ
รายละเอียดของตัว๋ แลก 1) คาบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ แลกเงิน
เงิน 2) คาสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็ นจานวนแน่นอน
3) ชื่อ หรื อยีห่ ้อผูจ้ ่าย (นายจันทร์)
4) วันถึงกาหนดใช้เงิน (3 เดือนนับแต่วนั นี้)
5) สถานที่ใช้เงิน (123 สุขมุ วิท61 กทม.)
6) ชื่อ หรื อยีห่ ้อผูร้ ับเงิน หรื อคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผถู ้ ือ (นายอังคารหรื อตามคาสั่ง)
7) วันและสถานที่ออกตัว๋ เงิน ( 1 พ.ค. 2536 กทม.)
8) ลายมือชื่อผูส้ ั่งจ่าย (นายอาทิตย์)

ตั๋วแลกเงิน
สถานที่ออกตั๋ว........กรุงเทพฯ
วันที.่ ..1..เดือน..พค....พศ....2536
กาหนด....3 เดือน.....นับแต่วันนี้โปรดจ่ายเงินจานวน .......10,000 บาท
ให้ แก่....นาย อังคาร.......หรื อตามคาสั่ง
ถึง.......นาย จันทร์
ที่อยู่.....123 สุขุมวิท 61 กทม.
ลงชื่ อ.....นาย อาทิตย์
ผู้สั่งจ่ าย
มาตรา 912 อันตั๋วแลกเงินนั้นจะออกคาสั่ งให้ ใช้ เงินตามคาสั่ งของผู้สั่งจ่ ายก็ได้
อนึ่งจะสั่ งจ่ ายเอาจากตัวผู้สั่งจ่ ายเอง หรื อสั่ งจ่ ายเพื่อบุคคลภายนอกก็ได้
มาตรา 913 อันวันถึงกาหนดของตัว๋ แลกเงินนั้น ท่านว่าย่อมเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าว
วันถึงกาหนดของตัว๋ แลก ต่อไปนี้ คือ
เงิน 1) ในวันใดวันหนึ่งที่กาหนดไว้ หรื อ
2) เมื่อสิ้ นระยะเวลาอันกาหนดไว้นบั แต่วนั ที่ลงในตัว๋ นั้น หรื อ
หน้า 17 จาก 30

3) เมื่อทวงถาม หรื อเมื่อได้เห็น หรื อ


4) เมื่อสิ้ นระยะเวลาอันกาหนดไว้นบั แต่ได้เห็น
มาตรา 914 บุคคลผูส้ ั่งจ่ายหรื อสลักหลังตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นอันสัญญาว่า เมื่อตัว๋ นั้นได้นายืน่
ความรับผิดของผูส้ ั่งจ่าย โดยชอบแล้วจะมีผรู ้ ับรองและใช้เงินตามเนื้ อความแห่งตัว๋ ถ้าและตั๋วแลกเงินนั้นเขาไม่
หรื อผูส้ ลักหลังตัว๋ แลก เชื่ อถือโดยไม่ ยอมรับรองก็ดีหรื อไม่ ยอมจ่ ายเงินก็ดี ผู้สั่งจ่ ายหรื อผู้สลักหลังก็จะใช้ เงินแก่
เงิน ผู้ทรง หรื อแก่ ผ้ สู ลักหลังคนหลังซึ่งต้ องถูกบังคับให้ ใช้ เงินตามตั๋วนั้น ถ้าหากว่าทาได้ทา
ถูกต้องตามวิธีการในข้อไม่รับรองหรื อไม่จ่ายเงินนั้นแล้ว
มาตรา 916 บุคคลทั้งหลายผูถ้ ูกฟ้องในมูลตัว๋ แลกเงินหาอาจจะต่อสู ้ผทู ้ รงด้วยข้อต่อสู ้ อัน
ระหว่างทางถ้ามีเหตุฉอ้ อาศัยความเกี่ยวพันกันเฉพาะบุคคลระหว่างตนกับผูส้ งั่ จ่ายหรื อกับผูท้ รงคนก่อนๆ นั้นได้
ฉลเกิดขึ้น ไม่ เว้นแต่การโอนจะได้มีขนึ้ ด้วยคบคิดกันฉ้ อฉล
EX. ก.ใช้ ปืนจี ้ ข.ให้ เขียนเช็คสั่งจ่ ายเงิน 100,000 บาทแก่ ก.ซึ่ งเป็ นการข่มขู่ สัญญาเป็ น
โมฆียะ ข.ยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ ก.ได้ แต่ ถ้า ก.เอาเช็คฉบับนีไ้ ปจ่ ายเป็ นค่ าซื ้อรถยนต์ แก่ ค.
ซึ่ งรั บไว้ โดยสุจริ ต ดังนั้น ข.จะยกข้อสัญญาเป็ นโมฆียะขึน้ ต่ อสู้ ก.ไม่ ได้ ดังนีเ้ ป็ นต้ น
มาตรา 917 อันตัว๋ แลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้วา่ จะมิใช่สั่งจ่ายให้แก่ บุคคลเพื่อเขาสั่งก็ตาม ท่าน
การโอนตัว๋ แลก ว่าย่อมโอนให้กนั ได้ดว้ ยสลักหลังและส่งมอบ
เมื่อผู้สั่งจ่ ายเขียนลงในด้ านหน้ าแห่ งตั๋วแลกเงินว่ า "เปลีย่ นมือไม่ได้" ดั่งนีก้ ด็ ี
หรื อเขียนคาอื่นอันได้ความเป็ นทานองเช่ นเดียวกันนั้นก็ดี ท่านว่าตั๋วเงินนั้นย่อมจะโอน
ให้ กนั ได้ แต่ โดยรู ปการและด้ วยผลอย่างการ โอนสามัญ
อนึ่ง ตัว๋ เงินจะสลักหลังให้แก่ผจู ้ ่ายก็ได้ ไม่วา่ ผูจ้ ่ายจะได้รับรองตัว๋ นั้นหรื อไม่
หรื อจะสลักหลังให้แก่ผสู ้ ั่งจ่าย หรื อให้แก่คู่สัญญาฝ่ ายใด แห่งตัว๋ เงินนั้นก็ได้ ส่ วนบุคคล
ทั้งหลายเหล่านี้ก็ยอ่ มจะสลักหลังตัว๋ เงิน นั้นต่อไปอีกได้
วรรค 2 ถ้ าผู้รับเงินประสงค์ จะโอนหนีต้ ามตั๋วฉบับนี ้ ต้ องทาโดยรู ปการตาม ม.306 คือ
ทาเป็ นหนังสื อลงชื่ อผู้โอนและผู้รับโอน จึงจะผูกพันผู้จ่ายและผู้สั่งจ่ ายให้ มีหน้ าที่
รั บผิดชอบตามเนือ้ ความในตั๋ว
มาตรา 918 ตัว๋ แลกเงินอันสั่ งให้ ใช้ เงินแก่ ผ้ ูถือนั้น ท่านว่าย่อมโอนไปเพียงด้วยส่ งมอบให้ กนั
ตัว๋ แลกเงินสั่งจ่ายผูถ้ ือ

มาตรา 919 คาสลักหลังนั้นต้องเขียนลงในตัว๋ แลกเงินหรื อใบประจา ต่อ และต้องลงลายมือ


วิธีสลักหลัง ชื่อผูส้ ลักหลัง
การสลักหลังย่อมสมบูรณ์แม้ท้ งั มิได้ระบุชื่อผูร้ ับประโยชน์ไว้ดว้ ย หรื อแม้ผสู ้ ลัก
หลังจะมิได้กระทาอะไร ยิง่ ไปกว่าลงลายมือชื่อของตนที่ ด้านหลังตัว๋ แลกเงินหรื อที่ใน
หน้า 18 จาก 30

ประจาต่อ ก็ยอ่ มฟังเป็ นสมบูรณ์ดุจกันการ สลักหลังเช่นนี้ ท่านเรี ยกว่า "สลักหลังลอย”


การสลักหลังลอย หมายถึง การสลักหลังที่มิได้ ระบุชื่อผู้รับประโยชน์ ไว้ ด้วย และต้ อง
เขียนไว้ ด้านหลังตั๋วแลกเงินหรื อใบประจาต่ อเท่ านั้น
สลักหลังเฉพาะ หมายถึง สลักหลังโดยระบุชื่อผู้รับไว้ เช่ น จ่ าย ก.ลงชื่ อ ข.
มาตรา 920 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิ ทธิอนั เกิดแต่ตั๋วแลกเงิน
วิธีการสลักหลัง ถ้าสลักหลังลอย ผูท้ รงจะปฏิบตั ิดงั กล่าวต่อไปนี้ ประการหนึ่งประการใดก็ได้ คือ
1) กรอกความลงในที่วา่ งด้วยเขียนชื่อของตนเองหรื อชื่อบุคคลอื่นผูใ้ ดผูห้ นึ่ง
2) สลักหลังตัว๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรื อสลักหลังให้แก่บุคคลอื่นผูใ้ ดผู ้
หนึ่ง
3) โอนตัว๋ เงินนั้นให้แก่บุคคลภายนอกโดยไม่กรอกความลงในที่วา่ ง และไม่สลัก
หลังอย่างหนึ่งอย่างใด
มาตรา 921 การสลักหลังตั๋วแลกเงินซึ่งสั่ งให้ ใช้ เงินแก่ ผ้ ถู ือนั้น ย่ อมเป็ นเพียงประกัน ( อาวัล )
สลักหลังตัว๋ แลกเงินผูถ้ ือ สาหรับผู้สั่งจ่ าย
จะกลายเป็ นการอาวัล
สาหรับผูส้ ั่งจ่าย
มาตรา 922 การสลักหลังนั้นต้องให้เป็ นข้อความอันปราศจากเงื่อนไข ถ้าและวางเงื่อนไข
การสลักหลังต้อง บังคับลงไว้อย่างใด ท่านให้ ถือเสมือนว่าข้อเงื่อนไขนั้นมิได้เขียนลงไว้เลย
ปราศจากเงื่อนไข อนึ่งการสลักหลังโอนแต่บางส่ วน ท่านว่าเป็ นโมฆะ
มาตรา 923 ผูส้ ลักหลังคนใดระบุข้อความห้ ามสลักหลังสื บไปลงไว้แล้ว ผูส้ ลักหลังคนนั้น
ห้ามสลักหลังสื บไป ย่อมไม่ตอ้ งรับผิดต่อบุคคลอันเขาสลักหลังตัว๋ แลกเงินนั้นให้ไปในภายหลัง
มาตรา 925 เมื่อใดความที่สลักหลังมีขอ้ กาหนดว่า "ราคาอยูท่ ี่เรี ยก เก็บ" ก็ดี "เพื่อเรี ยกเก็บ" ก็
การสลักหลังตัว๋ แลกเงิน ดี "ในฐานจัดการแทน" ก็ดี หรื อความสานวน อื่นใดอันเป็ นปริ ยายว่าตัวแทนไซร้ ท่านว่า
แก่ตวั แทน ผูท้ รงตัว๋ แลกเงินจะใช้สิทธิ ทั้งปวงอันเกิดแต่ตวั๋ นั้นก็ยอ่ มได้ท้ งั สิ้ น แต่ว่าจะสลักหลังได้
เพียงในฐาน เป็ นตัวแทน
ในกรณี เช่นนี้ คู่สัญญาทั้งหลายซึ่งต้องรับผิดอาจจะต่อสู ้ผทู ้ รงได้ แต่เพียงด้วยข้อ
ต่อสู้อนั จะพึงใช้ได้ต่อผูส้ ลักหลังเท่านั้น

มาตรา 927 อันตั๋วแลกเงินนั้นจะนาไปยื่นแก่ ผ้ จู ่ าย ณ ที่อยู่ของผู้จ่าย เพื่อให้รับรองเมื่อไรๆ


การรับรอง ก็ได้ จนกว่าจะถึงเวลากาหนดใช้เงิน และผูท้ รงจะเป็ นผูย้ ื่นหรื อเพียงแต่ผทู ้ ี่ได้ตวั๋ นั้นไว้
ในครอบครองจะเป็ นผูน้ าไปยืน่ ก็ได้
ในตั๋วแลกเงินนั้น ผู้สั่งจ่ ายจะลงข้ อกาหนดไว้วา่ ให้นายืน่ เพื่อรับรองโดย
หน้า 19 จาก 30

กาหนดเวลาจากัดไว้ให้ยนื่ หรื อไม่กาหนดเวลาก็ได้


ผู้สั่งจ่ ายจะห้ ามการนาตั๋วแลกเงินยื่นเพื่อรับรองก็ได้ เว้นแต่ในกรณี ที่เป็ นตัว๋ เงินอัน
ได้ออกคาสั่งให้ใช้เงินเฉพาะ ณ สถานที่อื่นใดอันมิใช่ภูมิลาเนาของผูจ้ ่าย หรื อได้ออก
สั่งให้ใช้เงินในเวลาใดเวลาหนึ่งนับแต่ได้เห็น
อนึ่งผู้สั่งจ่ ายจะลงข้ อกาหนดไว้ ว่ายังมิให้ นาตั๋วยื่นเพื่อให้ รับรองก่อนถึงกาหนดวัน
ใดวันหนึ่งก็ได้
ผูส้ ลักหลังทุกคนจะลงข้อกาหนดไว้วา่ ให้นาตัว๋ เงินยืน่ เพื่อรับรอง โดย
กาหนดเวลาจากัดไว้ให้ยนื่ หรื อไม่กาหนดเวลาก้อได้ เว้นแต่ผสู ้ งั่ จ่ายจะได้หา้ มการ
รับรอง
มาตรา 928 ผูท้ รงตัว๋ แลกเงินอันสัง่ ให้ใช้เงินเมื่อสิ้ นระยะเวลากาหนด อย่างใดอย่างหนึ่งนับแต่
ระยะเวลายืน่ ตัว๋ เพื่อให้ ได้เห็นนั้น ต้องนาตัว๋ เงินยืน่ เพื่อให้ รับรองภายในหกเดือนนับแต่วันที่ลงในตั๋วเงิน หรื อ
รับรอง ภายในเวลาช้าเร็ วกว่านั้นตามแต่ ผูส้ งั่ จ่ายจะได้ระบุไว้
มาตรา 931 การรับรองนั้นพึงกระทาด้วยเขียนลงไว้ในด้านหน้าแห่งตัว๋ แลกเงินเป็ นถ้อยคา
การรับรองตัว๋ แลกเงิน สานวนว่า “รับรองแล้ว” หรื อความอย่างอื่นทานองเช่นเดียวกันนั้น และลงลายมือชื่อ
ของผูจ้ ่าย อนึ่งแต่ เพียงลายมือชื่ อของผู้จ่ายลงไว้ ในด้ านหน้ าแห่ งตั๋วแลกเงินท่ านก็จัดว่ า
เป็ นคารับรองแล้ ว
มาตรา 939 อันการรับอาวัลย่อมทาให้ กนั ด้วยเขียนลงในตั๋วแลก เงินนั้นเอง หรื อที่ใบประจา
วิธีการทาอาวัล ต่อ
ในการนี้พึงใช้ถอ้ ยคาสานวนว่า "ใช้ได้เป็ นอาวัล" หรื อสานวนอื่นใด ทานอง
เดียวกันนั้น และลงลายมือชื่อผูร้ ับอาวัล
อนึ่ง เพียงแต่ลงลายมือชื่อของผูร้ ับอาวัลในด้านหน้าแห่งตัว๋ เงินท่าน ก็จดั ว่าเป็ น
คารับอาวัลแล้ว เว้นแต่ในกรณีที่เป็ นลายมือชื่อของผูจ้ ่าย หรื อผูส้ ั่งจ่าย
ในคารับอาวัลต้องระบุวา่ รับประกันผูใ้ ด หากมิได้ระบุ ท่านให้ถือ ว่ารับประกันผู ้
สั่งจ่าย
ผู้อาวัลนั้นต้ องรั บผิดผูกพันอย่างเดียวกับบุคคลที่ตนเข้าไปอาวัล จึงมีฐานะเป็ นลูกหนี้
ขั้นต้ น ที่อาจถูกเรี ยกร้ องให้ รับผิดได้ ทันที
มาตรา 940 ผูร้ ับอาวัลย่อมต้องผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับบุคคล ซึ่งตนประกัน
แม้ถึงว่าความรับผิดใช้เงินอันผูร้ ับอาวัลได้ประกันอยูน่ ้ นั จะตกเป็ น ใช้ไม่ได้ดว้ ย
เหตุใด ๆ นอกจากเพราะทาผิดแบบระเบียบ ท่านว่าข้อ ที่สัญญารับอาวัลนั้นก็ยงั คง
สมบูรณ์
เมื่อผูร้ ับอาวัลได้ใช้เงินไปตามตัว๋ แลกเงินแล้ว ย่อมได้สิทธิในอัน จะไล่เบี้ยเอาแก่
หน้า 20 จาก 30

บุคคลซึ่งตนได้ประกันไว้ กับทั้งบุคคลทั้งหลายผู้รับ ผิดแทนตัวผู้น้ ัน


กับทั้งบุคคลทั้งหลายผู้รับ ผิดแทนตัวผู้นั้น หมายถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องก่ อนที่ตนจะอาวัล
มาตรา 941 อันตั๋วแลกเงินนั้น ย่อมจะพึงใช้เงินในวันถึงกาหนด และถึงกาหนดวันใดผูท้ รง
การใช้เงินของตัว๋ แลกเงิน ต้องนาตัว๋ เงินไปยืน่ เพื่อให้ใช้เงินในวันนั้น
มาตรา 942 อันจะบังคับให้ ผ้ ทู รงตั๋วแลกเงิน รับเงินใช้ ก่อนตั๋วเงินถึงกาหนดนั้นท่านว่าหา
รับเงินใช้ก่อนตัว๋ ถึง อาจจะทาได้ไม่
กาหนดไม่ได้ อนึ่งผูจ้ ่ายคนใดใช้เงินไปแต่ก่อนเวลาตัว๋ เงินถึงกาหนด ท่านว่าย่อมทาเช่นนั้น
ด้วยเสี่ ยงเคราะห์ของตนเอง
มาตรา 945 การใช้เงินจะเรี ยกเอาได้ต่อเมื่อ ได้เวนตัว๋ แลกเงินให้ผใู ้ ช้เงินจะให้ผทู ้ รงลง
วิธีการนาตัว๋ แลกเงินไป ลายมือชื่อรับเงินในตัว๋ เงินนั้นก็ได้
ยืน่ ให้ใช้เงิน
มาตรา 946 อันตั๋วแลกเงินนั้น ถ้ าเขาจะให้ เงินให้ แต่ เพียงบางส่ วน ท่ านว่ าผู้ทรงจะบอกปัด
ถ้าเขาใช้เงินให้แต่เพียง เสียไม่ยอมรับเอาก็ได้
บางส่วน ถ้าและรับเอาเงินที่เขาใช้ แต่ เพียงบางส่ วน ผู้ทรงต้ องบันทึกข้ อความนั้นลงไว้ ใน
ตั๋วเงิน และส่ งมอบใบรับให้ แก่ ผ้ ใู ช่ เงิน
มาตรา 947 ถ้าตั๋วแลกเงินมิได้ยื่นเพื่อให้ ใช้ เงินในวันถึงกาหนดไซร้ ท่านว่าผูร้ ับรองจะเปลื้อง
ผลของการไม่นาตัว๋ แลก ตนให้พน้ จากความรับผิด โดยวางจานวนเงินที่ ค้างชาระตามตัว๋ นั้นไว้ก็ได้
เงินไปยืน่ ให้ใช้เงิน
มาตรา 948 ถ้าผูท้ รงตัว๋ แลกเงินยอมผ่อนเวลาให้แก่ผจู ้ ่ายไซร้ ท่านว่า ผูท้ รงสิ้ นสิ ทธิที่จะไล่เบี้ย
ถ้าผูท้ รงยอมผ่อนเวลา เอาแก่ผเู ้ ป็ นคู่สัญญาคนก่อน ๆ ซึ่งมิได้ตกลงใน การผ่อนเวลานั้น
ให้แก่ผจู ้ ่าย
มาตรา 950 ผูส้ ั่งจ่ายหรื อผูส้ ลักหลังจะระบุบุคคลผูห้ นึ่งผูใ้ ดก็ไว้ ก็ได้เป็ นผูจ้ ะรับรอง หรื อใช้
การสอดเข้าแก้หน้า เงินยามประสงค์ ณ สถานที่ใช้เงิน
ภายในเงื่อนบังคับดัง่ จะกล่าวต่อไปข้างหน้า บุคคลผูห้ นึ่งผูใ้ ดจะรับ รองหรื อใช้เงิน
ตามตัว๋ แลกเงิน ในฐานเป็ นผูส้ อดเข้าแก้หน้าบุคคลใด ผูล้ งลายมือชื่อในตัว๋ นั้นก็ได้
ผูส้ อดเข้าแก้หน้านั้นจะเป็ นบุคคลภายนอกก็ได้ แม้จะเป็ นผูจ้ ่าย หรื อบุคคลซึ่งต้อง
รับผิดโดยตัว๋ เงินนั้นอยูแ่ ล้วก็ได้ ห้ ามแต่ ผ้ ูรับรอง เท่ านั้น
ผูส้ อดเข้าแก้หน้าจาต้องให้คาบอกกล่าวโดยไม่ชกั ช้า เพื่อให้ คู่สัญญาฝ่ ายซึ่งตนเข้า
แก้หน้านั้นทราบการที่ตนเข้าแก้หน้า
การสอดเข้าแก้ หน้ า หมายถึง การที่บุคคลใดคนหนึ่งสอดเข้ามารั บรองหรื อใช้ เงินตามตั๋ว
แลกเงิน เมื่อผู้จ่ายปฏิเสธไม่ ยอมรั บรองหรื อไม่ ยอมใช้ เงิน ทั้งนีเ้ พื่อมิให้ บุคคลผู้เป็ น
หน้า 21 จาก 30

คู่สัญญาตามตั๋วแลกเงินคนใดคนหนึ่งต้ องถูกผู้ทรงใช้ สิทธิ ไล่ เบีย้


มาตรา 959 ผูท้ รงตัว๋ แลกเงินจะให้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่บรรดาผูส้ ลักหลัง ผูส้ ั่งจ่าย และบุคคล
พฤติการณ์ที่ทาให้ผทู ้ รง อื่นๆ ซึ่งต้องรับผิดตามตัว๋ เงินนั้นก็ได้ คือ
เกิดสิ ทธิไล่เบี้ย ก) ไล่เบี้ยได้เมื่อตัว๋ เงินถึงกาหนดในกรณี ไม่ใช้เงิน
ข) ไล่เบี้ยได้แม้ท้ งั ตัว๋ เงินยังไม่ถึงกาหนดในกรณี ดงั จะกล่าวต่อไปนี้คือ
1) ถ้าเขาบอกปัดไม่รับรองตัว๋ เงิน
2) ถ้าผูจ้ ่ายหากจะได้รับรองหรื อไม่ก็ตาม ตกเป็ นคนล้มละลายหรื อได้งดเว้น
การใช้หนี้ แม้การงดเว้นใช้หนี้น้ นั จะมิได้มีคาพิพากษาเป็ นหลักฐานก็ตาม
หรื อถ้าผูจ้ ่ายถูกยึดทรัพย์และการยึดทรัพย์น้ นั ไร้ผล
3) ถ้าผูส้ ั่งจ่ายตัว๋ เงินชนิ ดไม่จาเป็ นต้องให้ผใู ้ ดรับรองนั้นตกเป็ นคนล้มละลาย
มาตรา 960 การที่ตั๋วรับเงินขาดรับรองหรื อขาดใช้ เงินนั้น ต้องทาให้ เป็ นหลักฐานตามแบบ
การทาคาคัดค้าน ระเบียบด้วยเอกสารฉบับหนึ่ง เรียกว่าคาคัดค้าน
คาคัดค้านการไม่ใช้เงินต้องทาในวันซึ่งจะพึงใช้เงินตามตัว๋ นั้น หรื อวันใดวันหนึ่ง
ภายในสามวันต่อแต่น้นั ไป
คาคัดค้านการไม่รับรองต้องทาภายในจากัดเวลาซึ่งกาหนดไว้เพื่อการยืน่ ตัว๋ เงินให้
เขารับรอง หรื อภายในสามวันต่อแต่น้ นั ไป
เมื่อมีการคัดค้านการไม่รับรองขึน้ แล้วก็เป็ นอันไม่ต้องยื่นเพื่อให้ ใช้ เงินและไม่ต้อง
ทาคาคัดค้านการไม่ใช้ เงิน
ในกรณี ท้ งั หลายซึ่งกล่าวไว้ในมาตรา ๙๕๙ ข) (๒) นั้น ท่านว่าผูท้ รงยังหาอาจจะ
ใช้สิทธิไล่เบี้ยได้ไม่ จนกว่าจะได้ยนื่ ตัว๋ เงินให้ผจู ้ ่ายใช้เงินและได้ทาคาคัดค้านขึ้นแล้ว
ในกรณี ท้ งั หลายดังกล่าวไว้ในมาตรา ๙๕๙ ข) (๓) นั้น ท่านว่า ถ้าเอาคาพิพากษา
ซึ่งสั่งให้ผสู ้ ั่งจ่ายเป็ นคนล้มละลายออกแสดง ก็เป็ นการเพียงพอที่จะทาให้ผทู ้ รงสามารถ
ใช้สิทธิไล่เบี้ยได้
การทาคาคัดค้าน คือ การทาให้ เกิดการขาดความน่ าเชื่ อถือของตั๋วเงินและสามารถใช้
สิ ทธิ ไล่ เบีย้ ได้ คาคัดค้ านต้ องทาต่ อเจ้ าพนักงานหรื อทนายความซึ่ งได้ รับอนุญาตจาก
ทางการโดยเปิ ดเผย
มาตรา 961 คาคัดค้านนั้นให้นายอาเภอ หรื อผูท้ าการแทนนายอาเภอ หรื อทนายความผูไ้ ด้รับ
วิธีการและแบบคาคัดค้าน อนุญาตเพื่อการนี้ เป็ นผูท้ า
เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมมีอานาจออกกฎข้อบังคับเพื่อปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตาม
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ อันว่าด้วยการออกใบอนุญาตและการทาคาคัดค้าน
รวมทั้งกาหนดอัตราค่าฤชาธรรมเนียมอันเกี่ยวกับการนั้น
หน้า 22 จาก 30

มาตรา 962 ในคาคัดค้านนั้นนอกจาก ชื่อ ตาแหน่ง และรายมือชื่อของผูท้ า ต้องมีสาเนาตัว๋ เงิน


กับรายการสลักหลังทั้งหมดตรงถ้อยตรงคากับระบุความดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
1) ชื่อ หรื อยีห่ ้อของบุคคลผูค้ ดั ค้านและผูถ้ ูกคัดค้าน
2) มูล หรื อเหตุที่ตอ้ งทาคาคัดค้านตัว๋ เงิน การทวงถามและคาตอบ ถ้ามี หรื อข้อที่วา่
หาตัวผูจ้ ่ายหรื อผูร้ ับรองไม่พบ
3) ถ้ามีการรับรอง หรื อใช้เงินเพื่อแก้หน้า ให้แถลงลักษณะแห่งการเข้าแก้หน้าทั้งชื่อ
และยีห่ อ้ ของผูร้ ับรองหรื อผูใ้ ช้เงินเพื่อแก้หน้าและชื่อบุคคลซึ่งเขาเข้าแก้หน้านั้น
ด้วย
4) สถานที่และวันทาคาคัดค้าน
ให้ผทู ้ าคาคัดค้านส่งมอบคาคัดค้านผูร้ ้องขอให้ทา และให้ผทู ้ าคาคัดค้านรี บส่งคา
บอกกล่าวการคัดค้านนั้นไปยังผูถ้ ูกคัดค้าน ถ้าทราบภูมิลาเนาก็ให้ส่งโดยจดหมาย
ลงทะเบียนไปรษณี ย ์ หรื อส่ งมอบไว้ ณ ภูมิลาเนาของผูน้ ้ นั ก็ได้ถา้ ไม่ทราบภูมิลาเนาก็
ให้ปิดสาเนาคาคัดค้านไว้ยงั ที่ซ่ ึงเห็นได้ง่าย ร ที่วา่ การอาเภอประจาท้องที่อนั ผูถ้ ูก
คัดค้านมีถิ่นที่อยูค่ รั้งหลังที่สุด
มาตรา 963 ผูท้ รงต้องให้คาบอกกล่าวการที่เข้าไม่รับรองตัว๋ แลกเงิน หรื อไม่ใช้เงินนั้นไปยังผู ้
การทาคาบอกกล่าว สลักหลังถัดตนขึ้นไปกับทั้งผูส้ ั่งจ่ายด้วยภายในเวลา สี่ วนั ต่อจากวันคัดค้าน หรื อต่อจาก
วันยืน่ ตัว๋ ในกรณี ที่มีขอ้ กาหนดว่า "ไม่ จาต้องมีคาคัดค้าน"
ผูส้ ลักหลังทุก ๆ คนต้องให้คาบอกกล่าวไปยังผูส้ ลักหลังถัดตนขึ้นไป ภายในสอง
วัน ให้ทราบคาบอกกล่าวอันตนได้รับ จดแจ้งให้ทราบชื่อและ สานักของผูท้ ี่ได้ให้คาบอก
กล่าวมาก่อน ๆ นั้นด้วย ทาเช่นนี้ติดต่อกัน ไปโดยลาดับจนกระทัง่ ถึงผูส้ ั่งจ่าย อนึ่งจากัด
เวลาซึ่งกล่าวมานั้น ท่าน นับแต่เมื่อคนหนึ่ง ๆ ได้รับคาบอกกล่าวแต่คนก่อน
ถ้าผูส้ ลักหลังคนหนึ่งคนใดมิได้ระบุสานักของตนไว้ก็ดี หรื อได้ระบุ แต่อ่านไม่ได้
ความก็ดี ท่านว่าสุดแต่คาบอกกล่าวได้ส่งไปยังผูส้ ลักหลัง คนก่อนก็เป็ นอันพอแล้ว
บุคคลผูจ้ ะต้องให้คาบอกกล่าว จะทาคาบอกกล่าวเป็ นรู ปอย่างใด ก็ได้ท้ งั สิ้ น แม้
เพียงแต่ดว้ ยส่ งตัว๋ แลกเงินคืนก็ใช้ได้ อนึ่งต้องพิสูจน์ได้วา่ ได้ส่งคาบอกกล่าวภายในเวลา
กาหนด
ถ้าส่งคาบอกกล่าวเป็ นหนังสื อจดทะเบียนไปรษณี ย ์ หากว่าหนังสื อ นั้นได้ส่ง
ไปรษณี ยภ์ ายในเวลากาหนดดัง่ กล่าวมานั้นไซร้ ท่านให้ถือว่า คาบอกกล่าวเป็ นอันได้ส่ง
ภายในจากัดเวลาบังคับแล้ว
บุคคลซึ่งมิได้ให้คาบอกกล่าวภายในจากัดเวลาดัง่ ได้วา่ มานั้นหาเสี ย สิ ทธิไล่เบี้ย
ไม่ แต่จะต้องรับผิดเพื่อความเสี ยหายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่ ความประมาทเลินเล่อของตน
แต่ท่านมิให้คิดค่าสิ นไหมทดแทนเกิน กว่าจานวนในตัว๋ แลกเงิน
หน้า 23 จาก 30

มาตรา 964 ด้วยข้อกาหนดเขียนลงไว้วา่ “ ไม่จาต้องมีคาคัดค้าน ” ก็ดี “ ไม่มีคัดค้าน ” ก็ดี


หรื อสานวนอื่นใดทานองนั้นก็ดี ผูส้ ั่งจ่ายหรื อผูส้ ลักหลังจะยอมปลดเปลื้องผูท้ รงจากการ
ทาคาคัดค้านการไม่รับรองหรื อการไม่ใช้เงินก็ได้ เพื่อตนจะได้ใช้สิทธิการไล่เบี้ย
ข้อกาหนดอันนี้ ย่อมไม่ปลดผูท้ รงให้พน้ จากหน้าที่นาตัว๋ เงินยืน่ ภายในเวลา
กาหนด หรื อจากหน้าที่ให้คาบอกกล่าวตัว๋ เงินขาดความน่าเชื่อถือแก่ผสู ้ ลักหลังคนก่อน
หรื อผูส้ ั่งจ่าย อนึ่งหน้าที่นาสื บว่าไม่ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกาหนดเวลาจากัดนั้น ย่อมตก
อยูแ่ ก่บุคคลผูแ้ สวงจะใช้ความข้อนั้นเป็ นข้อต่อสู ้ผทู ้ รงตัว๋ แลกเงิน
ข้อกาหนดอันนี้ ถ้าผูส้ ั่งจ่ายเป็ นผูเ้ ขียนลงไปแล้ว ย่อมเป็ นผลตลอดถึงผูส้ ัญญา
ทั้งปวงบรรดาที่ได้ลงลายมือชื่อในตัว๋ เงินนั้น ถ้าและทั้งมีขอ้ กาหนดดังนี้แล้ว ผูท้ รงยัง
ขืนทาคาคัดค้านไซร้ ท่านว่าผูท้ รงย่อมเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายเพื่อการนั้น หากว่าข้อกาหนด
นั้นผูส้ ลักหลังเป็ นผูเ้ ขียนลง และถ้ามีคดั ค้านทาขึ้นไซร้ ท่านว่าค่าใช่จ่ายในการคัดค้าน
นั้นอาจจะเรี ยกเอาใช้ได้จากคู่สัญญาอื่นๆ บรรดาที่ได้ลงชื่อในตัว๋ เงินนั้น
มาตรา 975 อันตัว๋ แลกเงินนั้น นอกจากชนิดที่สงั่ จ่ายแก่ผถู ้ ือแล้ว จะออกไปเป็ นคู่ฉีกความ
ตัว๋ แลกเงินเป็ นสารับ ต้องกันสองฉบับ หรื อกว่านั้นก็อาจจะออกได้
คู่ฉีกเหล่านี้ตอ้ งมีหมายลาดับลงไว้ในตัวตราสารนั้นเอง มิฉะนั้นคู่ฉีก แต่ละฉบับ
ย่อมใช้ได้เป็ นตัว๋ แลกเงินฉบับหนึ่ง ๆ แยกเป็ นตัว๋ เงินต่าง ฉบับกัน
บุคคลทุกคนซึ่งเป็ นผูท้ รงตัว๋ เงินอันมิได้ระบุวา่ ได้ออกเป็ นตัว๋ เดี่ยว นั้น จะเรี ยกให้
ส่ งมอบคู่ฉีกสองฉบับหรื อกว่านั้นแก่ตนก็ได้ โดยยอมให้ คิดค่าใช้จ่ายเอาแก่ตน ในการนี้
ผูท้ รงต้องว่ากล่าวไปยังผูส้ ลักหลังคน ถัดตนขึ้นไป และผูส้ ลักหลังคนนั้นก็จาต้องช่วยผู ้
ทรงว่ากล่าวไปยังผูท้ ี่ สลักหลังให้แก่ตนต่อไปอีก สื บเนื่ องกันไปเช่นนี้ ตลอดสาย
จนกระทัง่ ถึงผูส้ ั่งจ่าย อนึ่งผูส้ ลักหลังทั้งหลายจาต้องเขียนคาสลักหลังของ ตนเป็ นความ
เดียวกันลงในฉบับคู่ฉีกใหม่แห่งตัว๋ สารับนั้นอีกด้วย
ตั๋วแลกเงินเป็ นสารั บ หมายถึง ตั๋วแลกเงินที่มีต้นฉบับตั้งแต่ 2 ขึน้ ไป ซึ่ งต้ นฉบับเหล่ านี ้
กฎหมายเรี ยกว่ า “คู่ฉีก”
มาตรา 982 อันว่าตั๋วสัญญาใช้ เงินนั้น คือหนังสื อตราสารซึ่ง บุคคลคนหนึ่ง เรียกว่ าผู้ออกตั๋ว
ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ให้คามัน่ สัญญาว่าจะใช้เงินจานวน หนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรื อใช้ให้ตามคาสัง่ ของ
บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่ าผู้รับเงิน
มีผ้ เู กี่ยวข้องอยู่ 2 คนคือ ผู้ออกตั๋วกับผู้รับเงิน

มาตรา 983 ตั๋วสัญญาใช้ เงินนั้น ต้องมีรายการดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ


รายการของตัว๋ สัญญาใช้ 1) คาบอกชื่อว่าเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงิน
เงิน 2) คามัน่ สัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้เงินเป็ นจานวนแน่นอน
หน้า 24 จาก 30

3) วันถึงกาหนดใช้เงิน
4) สถานที่ใช้เงิน
5) ชื่อ หรื อยีห่ ้อของผูร้ ับเงิน
6) วันและสถานที่ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน
7) ลายมือชื่อผูอ้ อกตัว๋
มาตรา 984 ตราสารอันมีรายการขาดตกบกพร่ องไปจากที่ท่าน ระบุบงั คับไว้ใน มาตรา ก่อนนี้
ถ้ารายการในตัว๋ สัญญาใช้ ย่ อมไม่ สมบูรณ์ เป็ นตั๋วสั ญญาใช้ เงิน เว้นแต่ในกรณี ดงั่ จะกล่าวต่อไปนี้ คือ
เงินขาดตกบกพร่ อง ตั๋วสั ญญาใช้ เงินซึ่งไม่ ระบุเวลาใช้ เงิน ท่านให้ถือว่าพึงใช้เงินเมื่อ ได้เห็น
ถ้าสถานที่ใช้ เงินมิได้แถลงไว้ ในตัว๋ สัญญาใช้เงิน ท่านให้ถือเอาภูมิลาเนาของผู ้
ออกตราสารนั้นเป็ นสถานที่ใช้เงิน
ถ้ าตั๋วสั ญญาใช้ เงินไม่ ระบุสถานที่ออกตั๋ว ท่านให้ถือว่าตัว๋ นั้นได้ ออก ณ ภูมิลาเนา
ของผูอ้ อกตัว๋
ถ้ามิได้ลงวันออกตั๋ว ท่านว่าผูท้ รงโดยชอบด้วยกฎหมายคนหนึ่ง คนใดทาการโดย
สุจริ ตจะจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริ งลงก็ได้
มาตรา 988 อันเช็คนั้น ต้องมีรายการดังกล่าวต่อไปนี้ คือ
รายการในเช็ค 1) คาบอกชื่อว่าเป็ นเช็ค
2) คาสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินเป็ นจานวนแน่นอน
3) ชื่อ หรื อยีห่ ้อและสานักของธนาคาร
4) ชื่อ หรื อยีห่ ้อของผูร้ ับเงิน หรื อคาจดแจงว่าให้ใช้เงินแก่ผถู ้ ือ
5) สถานที่ใช้เงิน
6) วันและสถานที่ออกเช็ค
7) ลายมือชื่อผูส้ ั่งจ่าย
มาตรา 990 ผู้ทรงเช็คต้องยื่นเช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงินคือว่า ถ้าเป็ นเช็คให้ ใช้ เงินในเมือง
การยืน่ เช็คเพื่อให้ใช้เงิน เดียวกันกับที่ออกเช็คต้องยืน่ ภายในเดือนหนึ่งนับแต่วนั ออกเช็คนั้น ถ้าเป็ นเช็คให้ ใช้ เงิน
ที่อื่นต้องยืน่ ภายในสามเดือน ถ้ ามิฉะนั้นท่ านว่ าผู้ทรงสิ้นสิ ทธิที่จะไล่ เบีย้ เอาแก่ ผ้ สู ลัก
หลังทั้งปวงทั้งเสี ยสิ ทธิอันมีต่อผู้สั่งจ่ ายด้ วยเพียงเท่ าที่จะเกิดความเสี ยหายอย่ างหนึ่ง
อย่ างใดแก่ ผ้ สู ั่ งจ่ ายเพราะการที่ละเลยเสี ยไม่ยื่นเช็คนั้น
อนึ่งผูท้ รงเช็คซึ่งผูส้ ั่งจ่ายหลุดพ้นจากความรับผิดไปแล้วนั้น ท่านให้รับช่วงสิ ทธิ
ของ ผูส้ ั่งจ่ายคนนั้นอันมีต่อธนาคาร
มาตรา 991 ธนาคารจาต้องใช้เงินตามเช็คซึ่งผูเ้ คยค้ากับธนาคาร ได้ออกเบิกเงินแก่ตน เว้นแต่
หน้าที่ของธนาคารในการ ในกรณีดังกล่าวต่อไปนี้ คือ
หน้า 25 จาก 30

ใช้เงินตามเช็ค 1) ไม่มีเงินในบัญชีของผูเ้ คยค้าคนนั้นเป็ นเจ้าหนี้พอจะจ่ายตามเช็คนั้น หรื อ


2) เช็คนั้นยืน่ เพื่อให้ใช้เงินเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วนั ออกเช็ค หรื อ
3) ได้มีคาบอกกล่าวว่าเช็คนั้นหายหรื อถูกลักไป
มาตรา 992 หน้ าที่และอานาจของธนาคารซึ่งจะใช้ เงินตามเช็คอันเบิกแก่ตนนั้น ท่านว่าเป็ น
ธนาคารสิ้ นอานาจหน้าที่ อันสุ ดสิ้นไปเมื่อกรณีเป็ นดังจะกล่ าวต่ อไปนี้ คือ
ใช้เงินตามเช็ค 1) มีคาบอกห้ามการใช้เงิน (คาบอกของผูส้ ั่งจ่ายมายังธนาคารหรื ออายัดเช็ค)
2) รู ้วา่ ผูส้ ั่งจ่ายตาย
3) รู ้วา่ ศาลได้มีคาสั่งรักษาทรัพย์ชวั่ คราว หรื อคาสั่งให้ผสู ้ ั่งจ่ายเป็ นคนล้มละลาย
หรื อได้มีประกาศโฆษณาคาสั่งเช่นนั้น
มาตรา 993 ถ้าธนาคารเขียนข้อความลงลายมือชื่ อบนเช็คเช่ นคาว่า “ใช้ ได้ ” หรื อ “ใช้ เงินได้ ”
เช็คที่ธนาคารรับรอง หรื อคาใดๆ อันแสดงผลอย่างเดียวกัน ท่านว่าธนาคารต้องผูกพันในฐานเป็ นลูกหนี้
ชั้นต้นในอันจะต้องใช้เงินแก่ผทู ้ รงตามเช็คนั้น
ถ้าผูท้ รงเช็คเป็ นผูจ้ ดั การให้ธนาคารลงข้อความรับรองดังว่านั้น ท่านว่าผูส้ ั่งจ่าย
และผูส้ ลักหลังทั้งปวงเป็ นอันหลุดพ้นจากความรับผิดชอบตามเช็คนั้น
ถ้าธนาคารลงข้อความรับรองดังนั้นโดยคาขอร้องของผูส้ ั่งจ่าย ท่านว่าผูส้ ั่งจ่ายและ
ปวงผูส้ ลักหลังก็หาหลุดพ้นไปไม่
มาตรา 994 ถ้าในเช็คมีเส้นขนานคู่ขีดขวางไว้ขา้ งด้านหน้า กับมี หรื อไม่มีคาว่า "และบริ ษทั "
วิธีขีดคร่ อมเช็ค หรื อคาย่ออย่างใด ๆ แห่งของความนี้อยู่ ในระหว่างเส้นทั้งสองนั้นไซร้ เช็คนั้นชื่ อว่าเป็ น
เช็คขีดคร่ อมทั่วไป และจะใช้เงินตามเช็คนั้นได้แต่เฉพาะให้แก่ธนาคารเท่านั้น
ถ้าในระหว่างเส้นทั้งสองนั้น กรอกชื่อธนาคารอันหนึ่งอันใดลงไว้ โดยเฉพาะ เช็ค
เช่นนั้นชื่อว่าเป็ นเช็คขีดคร่ อมเฉพาะ และจะใช้เงิน ตามเช็คนั้นได้เฉพาะให้แก่ธนาคาร
อันนั้น
มาตรา 995 (1) เช็คไม่มีขีดคร่ อม ผูส้ ั่งจ่ายหรื อผูท้ รงคนใดคนหนึ่ง จะเรี ยกขีดคร่ อมเสี ยก็ได้
ผูข้ ีดคร่ อมเช็ค และจะทาเป็ นขีดคร่ อมทัว่ ไปหรื อขีดคร่ อม เฉพาะก็ได้
(2) เช็คขีดคร่ อมทัว่ ไป ผูท้ รงจะทาให้เป็ นขีดคร่ อมเฉพาะเสี ยก็ได้
(3) เช็คขีดคร่ อมทัว่ ไปก็ดี ขีดคร่ อมเฉพาะก็ดี ผูท้ รงจะเติมคาลงว่า"ห้ามเปลี่ยน
มือ" ก็ได้
(4) เช็คขีดคร่ อมเฉพาะให้แก่ธนาคารใด ธนาคารนั้นจะซ้ าขีดคร่ อม เฉพาะให้ไป
แก่ธนาคารอื่นเพื่อเรี ยกเก็บเงินก็ได้
(5) เช็คไม่มีขีดคร่ อมก็ดี เช็คขีดคร่ อมทัว่ ไปก็ดี ส่ งไปยังธนาคารใด เพื่อให้เรี ยก
เก็บเงิน ธนาคารนั้นจะลงขีดคร่ อมเฉพาะให้แก่ตนเองก็ได้
หน้า 26 จาก 30

มาตรา 997 เช็คขีดคร่ อมเฉพาะให้แก่ธนาคารกว่าธนาคารหนึ่ งขึ้นไป เมื่อนาเบิกเอาแก่


การจ่ายเงินตามเช็คขีด ธนาคารใด ท่านให้ธนาคารนั้นบอกปัดเสี ยอย่าใช้เงินให้ เว้นแต่ที่ขีดคร่ อมให้แก่ธนาคาร
คร่ อม ในฐานเป็ นตัวแทนเรี ยกเก็บเงิน
ธนาคารใดซึ่งเขานาเช็คเบิกขืนใช้เงินไปตามเช็คที่ขีดคร่ อมอย่างว่ามา นั้นก็ดี ใช้
เงินตามเช็คอันเขาขีดคร่ อมทัว่ ไปเป็ นประการอื่นนอกจากใช้ให้ แก่ธนาคารอันใด
อันหนึ่งก็ดี ใช้เงินตามเช็คอันเขาขีดคร่ อมเฉพาะเป็ น ประการอื่นนอกจากใช้ให้แก่
ธนาคาร ซึ่งเขาเจาะจงขีดคร่ อมให้โดย เฉพาะหรื อแก่ธนาคารตัวแทนเรี ยกเก็บเงินของ
ธนาคารนั้นก็ดี ท่านว่า ธนาคารซึ่งใช้เงินไปดัง่ กล่าวนี้ จะต้องรับผิดต่อผูเ้ ป็ นเจ้าของอัน
แท้จริ ง แห่งเช็คนั้นในการที่เขาต้องเสี ยหายอย่างใด ๆ เพราะการที่ตนใช้เงินไป ตามเช็ค
ดัง่ นั้น
แต่หากเช็คใดเขานายืน่ เพื่อให้ใช้เงิน และเมื่อยืน่ ไม่ปรากฏว่าเป็ นเช็ค ขีดคร่ อมก็
ดี หรื อไม่ปรากฏว่ามีรอยขีดคร่ อมอันได้ลบล้างหรื อแก้ไข เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมเป็ น
ประการอื่นนอกจากที่อนุญาตไว้โดยกฎหมาย ก็ดี เช็คเช่นนี้ถา้ ธนาคารใดใช้เงินไปโดย
สุจริ ตและปราศจากประมาท เลินเล่อ ท่านว่าธนาคารนั้นไม่ตอ้ งรับผิดหรื อต้องมีหน้าที่
รับใช้เงิน อย่างใด ๆ
มาตรา 998 ธนาคารใดซึ่งเขานาเช็คขีดคร่ อมเบิกเงินใช้เงินไปตาม เช็คนั้นโดยสุ จริตและ
การคุม้ ครองธนาคารที่ ปราศจากประมาทเลินเล่อ กล่าวคือว่าถ้าเป็ นเช็ค ขีดคร่ อมทัว่ ไปก็ใช้เงินให้แก่ธนาคาร
จ่ายเงินโดยชอบ อันใดอันหนึ่ง ถ้าเป็ นเช็คขีดคร่ อม เฉพาะก็ใช้ให้แก่ธนาคารซึ่งเขาเจาะจงขีดคร่ อมให้
โดยเฉพาะหรื อใช้ให้ แก่ธนาคารตัวแทนเรี ยกเก็บเงินของธนาคารนั้นไซร้ ท่านว่า
ธนาคารซึ่ง ใช้ เงินไปตามเช็คนั้นฝ่ ายหนึ่ง กับถ้ าเช็คตกไปถึงมือผู้รับเงินแล้ ว ผู้สั่งจ่ ายอีก
ฝ่ ายหนึ่ง ต่างมีสิทธิเป็ นอย่างเดียวกัน และเข้ าอยู่ในฐานอัน เดียวกันเสมือนดั่งว่ าเช็คนั้น
ได้ ใช้ เงินให้ แก่ ผ้ ูเป็ นเจ้ าของอันแท้ จริงแล้ ว
มาตรา 1000 ธนาคารใดได้ รับเงินไว้ เพื่อผู้เคยค้ าของตนโดยสุ จริตและปราศจากประมาท
การคุม้ ครองของธนาคาร เลินเล่อ อันเป็ นเงินเขาใช้ ให้ ตามเช็คขีดคร่ อมทั่วไปก็ดี ขีดคร่ อมเฉพาะให้ แก่ตนก็ดี
ที่รับเงินตามเช็คขีดคร่ อม หากปรากฏว่าผูเ้ คยค้านั้นไม่มีสิทธิหรื อมีสิทธิเพียงอย่างบกพร่ องในเช็คนั้นไซร้ ท่ านว่ า
เพียงแต่ เหตุที่ได้ รับเงินไว้ หาทาให้ ธนาคารนั้นต้ องรับผิดต่ อผู้เป็ นเจ้ าของอันแท้ จริงแห่ ง
เช็คนั้นแต่อย่างหนึ่งอย่างใดไม่
หน้า 27 จาก 30

มาตรา 1001 ในคดีฟ้องผู้รับรองตั๋วแลกเงินก็ดี ผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินก็ดี ท่านห้ามมิให้ฟ้องเมื่อ


อายุความฟ้องผูร้ ับรอง , ผู ้ พ้นเวลาสามปี นับแต่วนั ตัว๋ นั้น ๆ ถึงกาหนดใช้เงิน
ออกตัว๋
มาตรา 1002 ในคดีที่ผ้ ทู รงตั๋วเงินฟ้ องผู้สลักหลังและผู้สั่งจ่ าย ท่าน ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาปี
อายุความผูท้ รงตัว๋ ฟ้อง ผู ้ หนึ่งนับแต่วนั ที่ได้ลงในคาคัดค้านซึ่งได้ทาขึ้น ภายในเวลาอันถูกต้องตามกาหนด หรื อ
สลักหลังและผูส้ ั่งจ่าย นับแต่วนั ตัว๋ เงินถึงกาหนด ในกรณี ที่มีขอ้ กาหนดไว้วา่ "ไม่จาต้องมีคาคัดค้าน"
มาตรา 1003 ในคดีผ้ สู ลักหลังทั้งหลายฟ้ องไล่ เบีย้ กันเอง และไล่ เบีย้ เอาแก่ ผ้ สู ั่ งจ่ ายแห่งตัว๋ เงิน
อายุความคดีผสู ้ ลักหลัง ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลา หกเดือนนับแต่วนั ที่ผสู ้ ลักหลังเข้าถือเอาตัว๋ เงินและใช้
ฟ้องไล่เบี้ยกันเองและผู ้ เงิน หรื อนับแต่ วันที่ผสู ้ ลักหลังนั้นเองถูกฟ้อง
สั่งจ่าย
มาตรา 1005 ถ้าตัว๋ เงินได้ทาขึ้นหรื อได้โอนหรื อสลักหลังไปแล้วในมูลหนี้อนั หนึ่งอันใด และ
ผลของหนี้เดิมเกี่ยวกับ สิ ทธิตามตัว๋ เงินนั้นมาสู ญสิ้ นไปเพราะอายุความก็ดี หรื อเพราะละเว้นไม่ดาเนินการให้
อายุความตัว๋ เงิน ต้องตามวิธีใดๆ อันจะพึงต้องทาก็ดี ท่านว่าหนี้ เดิมนั้นก็ยงั คงมีอยูต่ ามหลักกฎหมายอัน
แพร่ หลายทัว่ ไป เท่าที่ลูกหนี้ มิได้ตอ้ งเสี ยหายแต่การนั้น เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็ น
อย่างอื่น
มาตรา 1006 การทีล่ ายมือชื่ ออันหนึ่งในตั๋วเงินเป็ นลายมือปลอม ย่อมไม่กระทบกระทั่งถึง
การลงลายมือชื่อปลอม ความสมบูรณ์ แห่ งลายมือชื่ ออื่นๆ ในตั๋วเงินนั้น
ลายมือปลอม = ดาลงชื่ อว่ า “แดง” โดยเจตนาให้ คนอื่นเข้ าใจว่ าเป็ นลายมือชื่ อของแดง
มาตรา 1007 ถ้ าข้ อความในตั๋วเงินใด หรื อในคารับรองตั๋วเงินรายใด มีผ้ แู ก้ ไขเปลีย่ นแปลงใน
การปลอมตัว๋ เงินโดย ข้ อสาคัญโดยที่ผ้ สู ั ญญาทั้งปวงผู้ที่ต้องรับผิดตามตั๋วเงินมิได้ ยินยอมด้ วยหมดทุกคนไซร้
แก้ไขเปลี่ยนแปลง ท่ านว่ าตั๋วเงินนั้นก็เป็ นอันเสี ย เว้ นแต่ ยังคงใช้ ได้ ต่อคู่สัญญาซึ่งเป็ นผู้ทาการแก้ ไข
ข้อความในตัว๋ เงิน เปลีย่ นแปลงนั้นหรื อได้ ยินยอมด้ วยกับการแก้ ไขเปลีย่ นแปลงนั้น กับทั้งผู้สลักหลังใน
ภายหลัง
แต่หากตัว๋ เงินใดได้มีผแู ้ ก้ไขเปลี่ยนแปลงในข้อสาคัญ แต่ความเปลี่ยนแปลงนั้น
ไม่ประจักษ์ และตัว๋ เงินนั้นตกอยูใ่ นมือผูท้ รงชอบด้วยกฎหมายไซร้ ท่านว่าผูท้ รงคนนั้น
จะเอาประโยชน์จากตัว๋ เงินนั้นก็ได้เสมือนดังว่ามิได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเลย และจะ
บังคับการใช้เงินตามเนื้ อความเดิมแห่งตัว๋ นั้นก็ได้
กล่าวโดยเฉพาะ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงเช่นจะกล่าวต่อไปนี้ ท่านถือว่าเป็ นการ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงในข้ อสาคัญ คือ แก้ไขเปลีย่ นแปลงอย่ างใดๆ แก่วันที่ลง จานวนเงิน
อันจะพึงใช้ เวลาใช้ เงิน สถานที่ใช้ เงิน กับทั้งเมื่อตั๋วเงินเขารับรองไว้ทั่วไปไม่เจาะจง
หน้า 28 จาก 30

สถานที่ใช้ เงิน ไปเติมความระบุสถานที่ใช้ เงินเข้ าโดยที่ผ้ รู ับรองมิได้ ยินยอมด้ วย


มาตรา 1008 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติท้ งั หลายในประมวลกฎหมายนี้ เมื่อใดลายมือชื่ อใน
การสลักหลังด้วยลายมือ ตั๋วเงินเป็ นลายมือปลอมก็ดี เป็ นลายมือชื่ อลงไว้ โดยที่บุคคลซึ่งอ้ างเอาเป็ นเจ้ าของลายมือ
ชื่อปลอมหรื อสลักหลัง ชื่ อนั้นมิได้มอบอานาจให้ ลงก็ดี ท่านว่าลายมือชื่อปลอมหรื อลงปราศจากอานาจเช่นนั้น
โดยเจ้าของลายมือชื่อ เป็ นอันใช้ไม่ได้เลย ใครจะอ้างอิงแสวงหาสิ ทธิอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อยึดหน่วงตัวเงินไว้ก็
ไม่ได้มอบอานาจให้ ดี เพื่อทาให้ตวั๋ เงินนั้นหลุดพ้นก็ดี หรื อเพื่อบังคับการใช้เงินเอาแก่คู่สัญญาแห่งตัว๋ นั้นคน
ลายมือชื่อดังกล่าวเป็ นอัน ใดคนหนึ่งก็ดี ท่านว่าไม่อาจจะทาได้เป็ นอันขาด เว้ นแต่ คู่สัญญาฝ่ ายซึ่งจะพึงถูกยึด
ใช้ไม่ได้เลยมีผลทาให้การ หน่ วงหรื อถูกบังคับใช้ เงินนั้นจะอยู่ในฐานเป็ นผู้ต้องตัดบทมิให้ ยกข้ อลายมือชื่ อปลอม
สลักหลังขาดสาย หรื อข้อลงลายมือชื่ อปราศจากอานาจนั้นขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้
แต่ขอ้ ความใดๆอันกล่าวมาในมาตรานี้ ท่านมิให้กระทบกระทัง่ ถึงการให้สัตยาบัน
แก่ลายมือชื่อซึ่งลงไว้โดยปราศจากอานาจแต่หากไม่ถึงแก่เป็ นลายมือปลอม
EX. อาทิตย์ ออกเช็คสั่งให้ ธนาคารจ่ ายเงินแก่ จันทร์ อังคารขโมยเช็คไปจากจันทร์ แล้ ว
ปลอมลายมือชื่ อจันทร์ สลักหลังโอนให้ พุธ พุธสลักหลังโอนเช็คให้ พฤหัส พฤหัสนา
เช็คยื่นต่ อธนาคารเพื่อให้ ใช้ เงิน แต่ ธนาคารปฏิเสธการใช้ เงิน เช่ นนี ้ พฤหัสย่อมมีสิทธิ
เรี ยกร้ องเงินจานวนตามเช็คจากพุธผู้สลักหลังเท่ านั้น พุธจะต่ อสู้ว่าลายมือชื่ อของจันทร์
ที่สลักหลังโอนให้ พุธเป็ นลายมือชื่ อปลอมเป็ นเหตุปฏิเสธความรั บผิดตามเช็คไม่ ได้ แต่
พฤหัสไม่ มีสิทธิ ฟ้องให้ อาทิตย์ผ้ สู ั่งจ่ ายรั บผิดตามความในเช็คนั้น ถึงแม้ ว่าอาทิตย์ จะเป็ น
ผู้ลงลายมือชื่ อสั่งจ่ ายก็ตาม เพราะว่ าพฤหัสเป็ นผู้ทรงเช็คสลักหลังขาดสาย เนื่องจาก
ลายมือชื่อสลักหลังของจันทร์ เป็ นลายมือชื่อปลอม
มาตรา 1009 ถ้ ามีผ้ นู าตั๋วเงินชนิดจะพึงใช้ เงินตามเขาสั่ งเมื่อทวงถามมาเบิกต่ อธนาคารใด และ
การคุม้ ครองธนาคารที่ ธนาคารนั้นได้ ใช้ เงินให้ ไปตามทางค้ าปกติโดยสุ จริตและปราศจากประมาทเลินเล่ อไซร้
จ่ายเงินโดยสุจริ ต ท่านว่าธนาคารไม่มีหน้าที่จะต้องนาสื บว่าการสลักหลังของผูร้ ับเงิน หรื อการสลักหลัง
ในภายหลังรายใดๆ ได้ทาไปด้วยอาศัยรับมอบอานาจแต่บุคคลซึ่งอ้างเอาเป็ นเจ้าของของ
คาสลักหลังนั้น และถึงแม้วา่ รายการสลักหลังนั้นจะเป็ นสลักหลังปลอมหรื อปราศจาก
อานาจก็ตาม ท่ านให้ ถือว่ าธนาคารได้ ใช้ เงินไปถูกระเบียบ
มาตรา 1010 เมื่อผูท้ รงตัว๋ เงินซึ่งหายหรื อถูกลักทราบเหตุแล้วในทันใดนั้นต้องบอกกล่าวเป็ น
ตัว๋ เงินหายหรื อถูกลัก หนังสื อไปยังผูอ้ อกตัว๋ เงิน ผูจ้ ่าย ผูส้ มอ้างยามประสงค์ ผูร้ ับรองเพื่อแก้หน้าและผูร้ ับ
อาวัล ตามแต่มีเพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว๋ เงินนั้น
หน้า 29 จาก 30

เพิม่ เติม
มาตรา 911 ผู้สั่งจ่ ายจะเขียนข้ อความกาหนดลงไว้ ว่าจานวนเงินอันจะพึงใช้ น้ นั ให้ คิดดอกเบีย้
ตัว๋ แลกเงินอาจกาหนด ด้วยก็ได้ และในกรณี เช่นนั้น ถ้ามิได้ กล่าวลงไว้เป็ น อย่างอื่น ท่านว่าดอกเบีย้ ย่อมคิด
ดอกเบี้ยลงไปก็ได้ แต่วันที่ลงในตั๋วเงิน

ถ้ ามิได้ กาหนดไว้ ให้ คิดดอกเบีย้ ในอัตราร้ อยละ7.5ต่ อปี ตามมาตรา 7


มาตรา 915 ผูส้ ั่งจ่ายตัว๋ แลกเงินและผูส้ ลักหลังคนใด ๆ ก็ดีจะจด ข้อกาหนดซึ่งจะกล่าว
ต่อไปนี้ลงไว้ชดั แจ้งในตัว๋ นั้นก็ได้ คือ
(1) ข้อกาหนดลบล้าง หรื อจากัดความรับผิดของตนเองต่อผู้ทรงตั๋วเงิน
(2) ข้อกาหนดยอมลดละให้แก่ผทู ้ รงตัว๋ เงินซึ่งหน้าที่ท้ งั หลาย อันผูท้ รงจะพึง
ต้องมีแก่ตนบางอย่างหรื อทั้งหมด
เขียนอะไรบางอย่างลงไปเป็ นข้อความลดละความรั บผิดแก่ ผ้ ทู รงว่ า ถ้ าหากผู้จ่ายไม่
ยอมจ่ ายจะไล่ เบีย้ กับผู้โอนไม่ ได้ เป็ นต้ น
มาตรา 924 ถ้าตัว๋ แลกเงินสลักหลังต่อเมื่อสิ้ นเวลาเพื่อคัดค้านการ ไม่รับรอง หรื อการไม่ใช้
เงินนั้นแล้วไซร้ ท่านว่าผูร้ ับสลักหลังย่อมได้ไป ซึ่งสิ ทธิแห่งการรับรองตามแต่มีต่อผู ้
จ่าย กับสิ ทธิไล่เบี้ยเอาแก่บรรดา ผูซ้ ่ ึงสลักหลังตัว๋ เงินนั้นภายหลังที่สิ้นเวลาเช่นนั้น
แต่ถา้ ตัว๋ เงินนั้นได้มีคดั ค้านการไม่รับรอง หรื อการไม่ใช้เงินมาแต่ ก่อนสลักหลัง
แล้วไซร้ ท่านว่าผูร้ ับสลักหลังย่อมได้ไปแต่เพียงสิ ทธิของ ผูซ้ ่ ึงสลักหลังให้แก่ตนอันมี
ต่อผูร้ ับรอง ต่อผูส้ ั่งจ่าย และต่อบรรดาผูท้ ี่ สลักหลังตัว๋ เงินนั้นมาก่อนย้อนขึ้นไปจนถึง
เวลาคัดค้านเท่านั้น
มาตรา 934 ถ้ าผู้จ่ายเขียนคารับรองลงในตั๋วแลกเงินแล้ ว แต่หากกลับขีดฆ่าเสียก่อนตั๋วเงิน
การบอกปัดไม่รับรอง นั้นหลุดพ้นไปจากมือตนไซร้ ท่านให้ ถือเป็ นอันว่าได้บอกปัดไม่รับรอง แต่ถา้ ผูจ้ ่ายได้
แจ้งความเป็ นหนังสื อไปยัง ผูท้ รง หรื อคู่สัญญาฝ่ ายอื่นซึ่งได้ลงนามในตัว๋ เงินว่าตน
รับรองตัว๋ เงิน นั้นก่อนแล้วจึ่งมาขีดฆ่าคารับรองต่อภายหลังไซร้ ท่ านว่ าผู้จ่ายก็คงต้ อง
ผูกพันอยู่ตามเนื้อความที่ตนได้ เขียนรับรองนั้นเอง
มาตรา 987 อันว่าเช็คนั้น คือหนังสื อตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรี ยกว่าผู้สั่งจ่ าย สั่งธนาคาร
เช็ค ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกคนหนึ่ง หรื อให้ใช้ตามคาสั่งของ
บุคคลอีกคนหนึ่งอันเรี ยกว่า ผู้รับเงิน
มีผ้ เู กี่ยวข้อง 3 คนคือ ผู้สั่งจ่ าย, ธนาคาร , ผู้รับเงิน
หน้า 30 จาก 30

You might also like