You are on page 1of 48

เอกสารประกอบการอบรม

Risk Assessment for ISO 45001: 2018


การประเมินความเสี่ ยงและโอกาส
โดยคุณวราภรณ์ สุ มน (บริ ษทั โนวเลจน์ เซ็นเตอร์ จากัด)

วันศุกร์ที่ 14 มีนาคม 2563 เวลา 09:00 น. - 16.30 น.


ณ ห้องประชุมชั้น 9 โรงพยาบาลวิภาวดี

จัดเตรี ยมโดยฝ่ ายพัฒนาคุณภาพ (QS)


สารบัญ

1. การประเมินความเสี่ ยงและโอกาสสาหรับระบบ หน้าที่ 1 - 45


ISO 45001:2018 (Power point)

2. แบบทดสอบการประเมินความเสี่ ยงและโอกาส ISO 45001 หน้าที่ 46

จัดเตรี ยมโดยฝ่ ายพัฒนาคุณภาพ (QS)


Risk and Opportunity Assessment
For ISO45001 : 2018 ( OH&SMS )

Safety is everyone’s responsibility (First Edition 12-03-2018)


1

1
หมายเหตุ 1 ผลกระทบคือการเบี่ยงเบนไปจากสิ่ งที่คาดไว้ ทั้งบวกและลบ
หมายเหตุ 2 ความแน่นอนคือสภาพการณ์ของเหตุการณ์ที่มีขอ้ มูลตัดสิ นใจไม่เพียงพอ หรื อมีความรู ้ต่อเหตุการณ์ ว่าจะมี
ผลกระทบอะไรตามมา หรื อโอกาสที่จะเกิดขึ้น
หมายเหตุ 3 ความเสี่ ยงมักถูกกําหนด โดยอ้างอิงเหตุการณ์ที่เป็ นไปได้ที่จะเกิดและผลกระทบที่ตามมา
หมายเหตุ 4ความเสี่ ยงแสดงออกในรู ปของผลรวมของผลกระทบ ที่ตามของเหตุการณ์ กับโอกาสที่จะเกิดขึ้น
หมายเหตุ 5 ความหมายของความเสี่ ยงและโอกาส ในมาตรฐานหมายถึงความเสี่ ยงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(OH&S) และความเสี่ ยงและโอกาสด้านอื่นๆ (Other risk and opportunities for OH&SMS)

(OH&S Risk) คือผลรวมของโอกาสการเกิดเหตุการณ์หรื อสัมผัสอันตรายที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทาํ และความรุ นแรงของ


การบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ที่มาจากเหตุการณ์หรื อสิ่ งที่สมั ผัส

(OH&S opportunity) คือสถานการณ์ที่สามารถปรับปรุ งสมรรถนะอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้

5W 1H
 Who พนักงานที่ปฏิบตั ิงานจริ ง ,หัวหน้ างานและผู้ที่เกี่ยวข้ อง
 What อันตรายคืออะไรอยูใ่ นกิจกรรม/พื ้นที่ใด
 Why เพื่อชี ้บ่งอันตราย และวิธีการกําจัดหรื อควบคุมไม่ให้ สง่ ต่ออันตรายและการ
เจ็บป่ วยต่อพนักงาน และสภาพโดยรอบ สถานประกอบการ และสอดคล้ องตาม
กฎหมาย
 When มีการเปลี่ยนแปลงกิจกรรม เครื่ องจักร เวลาการทํางาน สารเคมี
 หรื อเข้ าข่ายตามการจัดการเปลี่ยนแปลง (Management of change)
 Where ทุกพื ้นที่และกิจกรรม ตามขอบข่ายและขอบเขตที่ขอการรับรอง
 How to ตามขันตอนการประเมิ
้ นที่ระบุ โดยองค์กร หรื อกฎหมาย ( ถ้ ามี )

2
5

ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
OH&S Management System

OH&S risks & Opportunities Other risks & Opportunities

มาจากการชี้บ่งอันตราย (6.1.2.1) วิเคราะห์ประเด็นภายใน ภายนอก (4.1)

การวิเคราะห์ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย (4.2)

ความเสี่ ยงที่มาระบบการจัดการตามข้อกําหนด
(6.1.2.2 & 6.1.2.3)

จากกฎหมายและข้อกําหนดอื่นๆ (6.1.3)

3
6.1 Action to address risks and opportunities
6.1.1 General ทั่วไป
เมื่อมีการวางแผนสําหรับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OH&SMS) องค์กร ต้อง พิจารณา
- ประเด็นที่ระบุใน ข้อ 4.1
- ข้อกําหนดที่ระบุในข้อ 4.2 (ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)
- ข้อ 4.3 (ขอบข่ายของระบบ OH&SMS) และกําหนดความเสี่ยงและโอกาส ที่จําเป็นต้องดําเนินการ
เพื่อ:
(a) รับรองว่าระบบ OH&SMS สามารถบรรลุตามผลลัพธ์ที่ตั้งใจไว้ (Intended Outcome)
(b) ป้องกันและลด ผลกระทบที่ไม่ได้ต้องการให้เกิดขึ้น
(c) บรรลุการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

6.1 การดําเนินการเพื่อจัดการกับความเสี่ยงและโอกาส
6.1.1 General ทั่วไป (ต่อ)
เมื่อมีการระบุความเสี่ยงและโอกาสในการปรับปรุง สําหรับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย และผลลัพ ธ์ ท่ ตี ้ อ งการ (Intended outcomes) ที่ได้ ระบุออกมา องค์ ก ร ต้ อ ง ดําเนิน การ
◦ อันตราย (6.1.2.1)
◦ ความเสี่ยง OH&S และความเสี่ยงด้ านอื่นๆ (6.1.2.2)
◦ โอกาส OH&S และโอกาสด้ านอื่นๆ (6.1.2.3)
◦ ข้ อกําหนดกฎหมายและข้ อกําหนดอื่นๆ (6.1.3)
 องค์กร ในกระบวนการวางแผน ต้ อง กําหนดการประเมินความเสี่ยง และ โอกาสที่สมั พันธ์กบั
Intended Outcome OH&SMS และเกี่ยวพันธ์กบั การเปลี่ยนแปลงกระบวนการของ
ระบบ
 ในกรณีท่ มี ีแ ผนการเปลี่ย นแปลง แบบถาวรหรื อ ชั่ว คราว การประเมิน ผลจะ ต้ อง ทํา
 ก่ อ นที่จ ะมีก ารเปลี่ย นแปลง (8.1.3)
8

4
6.1 การดําเนินการเพื่อจัดการกับความเสี่ยงและโอกาส
6.1.1 General ทั่วไป (ต่อ)

องค์ ก รจะ ต้ อ ง เก็บเอกสาร Documented Information


 ความเสี่ยงและโอกาสในการปรับปรุ ง
 กระบวนการ และการดําเนินการที่จําเป็ น และกําหนดความเสี่ยงและโอกาส (6.1.2
ถึง 6.1.4)ในการปรับปรุง ตามขอบเขตที่จําเป็ นเพื่อให้ มนั่ ใจว่ามีการดําเนินการตาม
แผน

1. การประเมินความเสี่ยงจากบริบท (4.1)
ประเด็นภายในและภายนอก
ที่ส่งผลต่อระบบอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

10

5
4.1 ความเข้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร ( Understanding the organization
and its context )
องค์กร ต้อง พิจารณาประเด็นภายนอกและภายใน
- ที่สัมพันธ์กับจุดประสงค์ขององค์กร ที่มีผลกระทบต่อความสามารถขององค์กร
ในการบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
(Intended Outcomes) ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(OH&SMS)
- ปรับปรุงสมรรถนะระบบ OH&S อย่างต่อเนื่อง
- บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ OH&S
- การปฏิบัติตามข้อกําหนดของกฎหมายและข้อกําหนดอื่นๆ
เพิ่มเติม: จุดประสงค์ อาจจะกําหนดเป็นวิสัยทัศน์ เป้าหมาย วัตถุประสงค์

11

Internal Issues (ประเด็น ภายใน) External Issues (ประเด็น ภายนอก)


นโยบาย , วัตถุประสงค์ , กลยุทธ์ วัฒนธรรม สังคม นโยบายภาครัฐ เทคโนโลยี ธรรมชาติโดยรอบ
โครงสร้ างองค์กร , บทบาทหน้ าที่ ความรับผิดชอบ การแข่งขันทางการตลาด ไม่ว่าจะเป็ นในประเทศหรื อต่างประเทศ
ทรัพยากรและความรู้ของบุคคลากร , กระบวนการ , ระบบที่มี , คู่แข่งรายใหม่ ผู้รับเหมา ผู้รับจ้ างช่วง ผู้ขาย คู่ค้า ผู้ให้ บริการ
เทคโนโลยี
ระบบสารสนเทศ และกระบวนการตัดสินใจขององค์กร เทคโนโลยีใหม่ กฎหมายใหม่
วัฒนธรรมความปลอดภัยขององค์กร เหตุการณ์ฉกุ เฉินจากอาชีพใหม่ๆ
สภาพการณ์ทํางาน เทคโนโลยีใหม่ กฎหมายใหม่ เหตุการณ์ฉกุ เฉินจากอาชีพใหม่ๆ
การจัดตารางการทํางานในปั จจุบนั ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อสุขภาพและความปลอดภัย
กิจกรรมของหน่วยงานภายนอกที่เข้ ามาในองค์กร ประเด็นสําคัญและแนวโน้ มที่เกี่ยวข้ องกับอุตสาหกรรมหรื อภาคมี
ผลกระทบต่อองค์กร
มาตรฐาน , แนวทาง และต้ นแบบความปลอดภัยในองค์กร การเปลี่ยนแปลงใดๆที่ส่งผลต่อความปลอดภัยในการทํางาน
ความสัมพันธ์และการรับรู้ด้านความปลอดภัยของพนักงาน
การให้ ความรู้ผลิตภัณฑ์ , วัตถุดิบ สารเคมี เครื่ องมือ สถานที่ อุปกรณ์
ระบบควบคุม
การเปลี่ยนแปลงใดๆที่ส่งผลต่อความปลอดภัยในการทํางาน
Refer: Annex A - Guidance on the use of this document 12

6
ภาย ภาย ส่ งผลต่ อ ความ โอกาส แผนก
ประเด็น ใน นอก ข้ อ มูล ที่วิเ คราะห์ Intended เสี่ยง มาตรการดําเนิน การ รั บ ผิด ชอบ
Outcome

จุด ประสงค์ เป้ าหมาย การ สิ่งที่ต้ อ ง แผนก ทรั พ ยากร เริ่ม สิน้ สุด ระยะ
องค์ ก รในการทํา ประเมิน ผล ดําเนิน การ รั บ ผิด ชอบ ต้ น เวลา
ระบบ

13

14

7
2. การประเมินความเสี่ยงจาก (4.2)
ความต้องการและคาดหวัง
จากผู้ปฏิบัติงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

15

4.2 ความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของ
ผู้ปฏิบัติงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ตัวอย่าง การชี้บ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(Understanding the need and expectation of
worker
And other interested parties)
องค์กร ต้อง กําหนด
a) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ และผู้ปฏิบัติงานที่มี
ความเกี่ยวข้องกับ OH&SMS
b) ความต้องการและความคาดหวัง (เช่น
ข้อกําหนด) ของผู้ปฏิบัติงานและผู้มีส่วนได้
เสียอื่นๆ
c) ความต้องการและความคาดหวังที่กลายมา
เป็นข้อกําหนดกฎหมายและข้อกําหนดอื่นๆ

16

8
( วิเคราะห์ ความต้ องการและคาดหวังของพนักงานและผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย )
ผู้ม ีส่ วนได้ ส่ วนเสีย ความต้ อ งการและความ กฎหมาย ข้ อ กําหนด ความสามารถ พิจ ารณา แผนก
คาดหวัง อื่น ๆ ในการตอบสนอง สิ่งที่ต้ อ งดําเนิน การ รับ ผิด ชอบ
ทัง้ หมด/บางส่ วน/ไม่ ไ ด้ เสี
ย ่ ง โอกาส

17

18

9
3. การประเมินความเสี่ยงและโอกาส (OH&S)
จากการชี้บ่งอันตรายในกิจกรรม/พื้นที่

19

 อุบตั ิการณ์ (Incident) หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พงึ ประสงค์ ที่เกิดขึ ้นแล้ วมีผลให้


เกิดอุบตั ิเหตุ หรื อเหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั ิเหตุ

 เหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั ิเหตุ (Near miss) หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พงึ ประสงค์


แต่เมื่อเกิดขึ ้นแล้ วมีแนวโน้ มที่จะก่อให้ เกิดอุบตั ิเหตุ

 อุบตั ิเหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พงึ ประสงค์ ที่อาจเกิดจากการที่


ไม่ได้ คาดคิด หรื อขาดการควบคุม แต่เมื่อเกิดขึ ้นแล้ วมีผลทําให้ เกิดการบาดเจ็บ หรื อ
ความเจ็บป่ วยจากการทํางาน หรื อการเสียชีวิต หรื อความสูญเสียต่อทรัพย์สนิ หรื อความ
เสียหายต่อสภาพแวดล้ อมในการทํางาน
 เหตุฉกุ เฉิน (Emergency) คือ เหตุการณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้ ทนั ทีทนั ใด
ทําให้ เกิดการเสียชีวิต บาดเจ็บ และเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ หรื ออาจก่อให้ เกิด
ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อมภาย นอกสถานประกอบการ
20

10
 การทํางานที่ป ราศจากอัน ตราย ไม่ เ สี่ย งต่ อ การเกิดอุบ ัต เิ หตุ
 ไม่ก่อให้ เกิดการเจ็บ ป่ วย
 ไม่ ก่ อ ให้ เ กิด โรคจากการทํางาน หรื อทรัพย์สนิ เสียหาย
 โรคจากการทํางาน คือ การเจ็บป่ วยที่เกิดขึ ้นระหว่ างทํางานหรื อเป็ นผลโดยตรงจาก
การทํางานที่อนั ตราย
◦ เช่น ทํางานในที่ที่มีเสียงดังทําให้ เกิดโรคหูเสื่อม การทํางานที่สมั ผัสสารตะกัว่ ก็จะเกิดโรคพิษ
ตะกัว่

21

Incident
(อุบตั ิการณ์ )

Accident Near miss


( อุบตั ิเหตุ ) ( เกือบเกิด อุบตั ิเหตุ )
- ทําให้ เกิดบาดเจ็บ - ไม่ทําให้ เกิดบาดเจ็บ
- เจ็บป่ วยหรื อโรค - ไม่เจ็บป่ วยหรื อโรค
- ทรัพย์สนิ เสียหาย - ไม่มีทรัพย์สนิ เสียหาย
- สภาพแวดล้ อมชุมชม เสียหาย (แต่มีแนวโน้ มที่จะทําให้ เกิดอุบตั ิเหตุ)

22

11
 Domino Theory ทฤษฎีโดมิโน อธิบายขั้นตอนเกิดอุบตั ิเหตุไว้ 5 ขั้นตอน

 ถ่ายทอดมา ครอบครัว ความเป็ นอยู่ ชอบเสี่ ยง


 ค่านิยม ทัศนคติ การคุมอารมณ์ ขี้ตกใจ
 ถอด PPE หยอกล้อกัน เสี ยงดังเกิน แสงสว่างไม่พอ
 ถูกบาด กระแทก กดทับ หนีบ สะดุด ตกที่สูง ล้ม
 ฟกชํ้า หัก แตก ฉี กขาด พิการ ตาย

23

ความเสี่ยงจากพฤติกรรม/ ความเสี่ยงจากสภาพที่ไม
วิธีการทํางาน ปลอดภัย

24 24

12
 การกระทําที่ไ ม่ ป ลอดภัย (Unsafe Acts 90 % )
คือการกระทําของผู้ปฏิบตั ิงาน ในขณะทํางานที่อาจก่อให้ เกิดอันตราย
เช่น
- ทํางานลัดขันตอน้
- ใช้ เครื่ องจักร เครื่ องมือไม่ถก
ู วิธี
- ทํางานที่ไม่ใช้ หน้ าที่ตวั เอง

- ไม่ทําตามกฎระเบียบหรื อข้ อบังคับ

- ไม่ใช่อป ุ กรณ์ปอ้ งกันภัยส่วนบุคคล


- หยอกล้ อ ขณะทํางาน

- ถอด หรื อดัดแปลงอุปกรณ์ ปอ ้ งกันอันตรายออก


- ซ่อมเครื่ องขณะยังเดินเครื่ องอยู่ เป็ นต้ น

25

 สภาพการณ์ ท่ ไี ม่ ป ลอดภัย (Unsafe Condition 10% )


คือสภาพแวดล้ อมที่ไม่ปลอดภัยในการทํางาน
เช่น
- บริ เวณพื ้นที่ทํางานลื่น ขรุขระ มีนํ ้าขัง

- วางวิ่งของเกะกะ ไม่เป็ นระเบียบ

- อากาศไม่ถ่ายเท ไม่มีระบบระบายอากาศ

- แสงสว่างไม่พอ แสงจ้ ามากเกินไป

- เสียงดังมาก

- ไม่มีอปุ กรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล ในจุดที่เป็ นอันตราย


- ไม่มีการติดตังสั้ ญญาณเตือนภัย

26

13
1. สาเหตุเ กิด จากคน เช่ น
• การทํางานไม่ถูกวิธี ไม่ถูกขั้นตอน • ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่ อลอย
• การทํางานอย่างเร่ งรีบ • มีนิสยั ชอบเสี่ ยง
• การฝ่ าฝื นกฎข้อบังคับ • ไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย
• การใช้เครื่ องมือผิดประเภท • หยอกล้ อกันระหว่างทํางาน
• บุคลิกและการแต่ งกายไม่ เหมาะสม • สภาพร่ างกายจิตใจไม่ พร้ อม
กับงาน • ความรู้เท่ าไม่ ถึงการณ์
• ความไม่ เอาใจใส่ ในการทํางาน
2. สาเหตุเ กิด จากการผิด พลาดของเครื่ อ งจัก รและอุป กรณ์
3. สาเหตุเ กิด จากสภาพแวดล้ อ มในการทํางานที่ไ ม่ ป ลอดภัย

27

 ทางกายภาพ (Physical Hazard)


เกิดจากสภาพแวดล้ อมในโรงงานหรื อสถานประกอบการ
เช่น ฝุ่ น ความร้ อน แสง เสียง
แสงสว่าง ไม่เพียงพอ
ความร้ อน มากเกินไป
ความเย็น มากเกินไป
ความสัน่ สะเทือน
ความกดบรรยากาศ มีปริ มาณออกซิเจนน้ อย
เสียงดังมากเกินไป

28

14
 ทางเคมี (Chemical Hazard)
เกิดเกิดจากกระบวนการผลิตที่มีการใช้ สารเคมีในการผลิตสินค้ า
ซึง่ มีรูปแบบอนุภาคต่างๆดังต่อไปนี ้
ฝุ่ น (dust) = อนุภาคของแข็งฟุ้งกระจาย ปลิว ลอยในอากาศ
ฟูม (Fume) = อนุภาคของแข็งที่รวมตัวจากไอของสาร และลอยในอากาศ
ละออง (Mist) = อนุภาคของเหลว ที่ลอยอยูใ่ นอากาศ
เส้ นใย (Fiber) = เหนียวยาวคล้ ายเส้ นด้ าย มาจากแร่ พืช สัตว์ ใยสังเคราะห์
แก๊ ส (Gas) = ของไหลปริ มาตรไม่แน่นอน ฟุ้งกระจาย
เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ คาร์ บอนมอนอกไซด์
ไอระเหย (Vapour) = สารที่อยูใ่ นรูปของก๊ าซ ปกติมีสถานะของเหลว/แข็ง ที่ P , Tปกติ
เช่น ไอระเหยองเบนซิน ทินเนอร์ ลูกเหม็น (Napthaline)

29

ทางพฤติกรรมของมนุษย์ ( Human Behaviour )


ความรู้สกึ นึกคิดในจิตใจของบุคคลและส่วนที่แสดงออกมา ให้ ผ้ อู ื่นได้ รับรู้
เกิดจากพันธุกรรมสิง่ แวดล้ อมรอบตัวมนุษย์
ตัวกําหนดพฤติกรรม
- อุปนิสย ั บุคคล (ความเชื่อ ค่านิยม อารมณ์ จิตใจ สติปัญญา)
ทํางานตามขัน้ ตอนจะปลอดภัย แต่งกายตามกฎจะดี ควบคุมสติ อย่าตกใจ
- กระบวนการทางสังคม (ตัวกระตุ้น สถานการณ์ )
สถานการณ์ตา่ งกันทําให้ คนแสดงออกต่างๆ กันไป
ภายใน ไม่สามารถสังเกตได้ ความคิด การรับรู้ เช่นทําแบบทดสอบ
ภายนอก สังเกตได้ ยืน นัง่ วิ่ง ร้ องไห้ เช่นวัดชีพจร ความดันเลือด

30

15
 ทางชีว ภาพ (Biological Hazard)
เกิดจากเชื ้อโรค ต่างๆ เชื่อรา ไวรัส
เช่น เชื ้อวัณโรค (Tuberculosis)
โรคแอนแทร็ ก (Antrax) วัวควายมาสูค่ น
ฉี่หนู (Leptospirosis) จากทํางานล้ างท่อ สัมผัสนํ ้าโสโครก
H5N1 ไข้ หวัดนก
หม้ อลวกช้ อน
ตู้นํ ้าดื่ม/ถังนํ ้าดื่ม
แบคทีเรี ย (70c 3 min) ไวรัส (98c 4 min)

31

 ทางรั งสี (Radiation Hazard)


พลังงานที่ปล่อยออกมาจากแหล่งกําเนิดเช่น ความร้ อนหรื อแสงสว่างจากดวงอาทิตย์
คลื่นไมโครเวฟจากเตาไมโครเวฟ รังสีเอกซ์จากหลอดเอกซเรย์ และรังสีแกมมาจากสาร
กัมมันตรังสี เช่น รังสีเอกซ์เรย์ (X-Ray) แสงเลเซอร์
สาเหตุก ารเกิด อุบ ัต เิ หตุ
- สูญหาย ถูกโจรกรรมหรื อทิ ้งไว้ โดยปราศจากการควบคุม
- สารรังสีขาดเครื่ องกําบังรังสี
- รั่วของสารรังสีขณะปฏิบตั ิงาน หรื อมีผ้ รู ้ ูเท่าไม่ถงึ การณ์

20 มิ ลลิ ซีเวอร์ ต (milli Sievert) ต่อปี โดยเฉลีย่ ในช่วงห้าปี ติ ดต่อกันสําหรับศีรษะ ลําตัว อวัยวะทีเ่ กี ่ยวกับการสร้าง
โลหิ ตและระบบสืบพันธุ์ ทัง้ นี ้ ในแต่ละปี จะรับปริ มาณรังสีสะสมได้ไม่เกิ น 50 มิ ลลิ ซีเวอร์ ต

32

16
 ทางเออร์ โ กโนมิค ส์ (Ergonomic Hazard)
เกิดจากการจัดสภาพแวดล้ อมในการทํางาน หรื ออุปกรณ์ให้ เหมาะสมกับร่ างกายมนุษย์
เพื่อให้ สะดวกสบาย มีสขุ ภาพอานมัยดี มีความปลอดภัยและเพิ่มผลผลิต
 หรื อมีลกั ษณะดังต่อไปนี ้
 การนัง่ ทํางาน
 การยืนทํางาน
 แสงสว่างที่ไม่เพียงพอ
 การทํางานที่เอื ้อมไกลเกินไป
 เครื่ องมือและอุปกรณ์ควบคุม
 การทํางานที่ออกแรงมาก
 ยกย้ ายงานที่ไม่ถกู ต้ อง

 ทางจิต สังคม (Psychological hazard)


เกิดจากการความเครี ยด หัวหน้ างานกับลูกน้ อง เพื่อนร่วมงาน เศรษฐกิจ ครอบครัว ทําให้
ความเครี ยดและส่งผลต่อการทํางาน เช่นจากการใช้ อปุ กรณ์โดยไม่ได้ รับการอบรม หรื อแนะนํา

33

 ทางตรง (Direct Cost)


- ค่ารักษาพยาบาล
- เงินทดแทน
- ค่าประกันชีวิต ค่าทําขวัญ ค่าทําศพ
 ทางอ้ อ ม (Indirect Cost)
- ชื่อเสียงบริ ษัท โอกาสในการกําไรจากสินค้ า
- ผลผลิตที่ลดลง การผลิตที่ลา่ ช้ า สูญเสียเวลาทํางาน
- ค่าเช่าเครื่ องจักร หรื อค่าซ่อมเครื่ องจักร
- สินค้ า วัตถุดิบ เครื่ องจักร อุปกรณ์ อาคารที่เสียหาย เป็ นต้ น

34

17
กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2549 35

36

18
37

38

19
39

การชี้บ่งอันตราย
และประเมินความเสี่ยงและโอกาส (OH&S)
( Hazard identification and assessment
of risks and opportunities )

40

20
 1. Preliminary Hazard Analysis : PHA
- ช่วงการออกแบบสินค้ าหรื อบริการ (Concept / Design phase) เพื่อหาทางป้องกัน ควบคุมก่อนจะดําเนินการ
 2. Failure Mode and Effect Analysis : FMEA
(เหมาะกับ อุปกรณ์ เครื่ องมือ กระบวนการผลิต )
 3. Fault Tree Analysis : FTA
(ชี ้บ่งอันตรายร้ ายแรง โดยดูจากความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ที่เป็ นเหตุเป็ นผล )
 4. Event Tree Analysis : ETA
(อุปกรณ์ เครื่ องมือ ความผิดพลาดของคน และหามาตรการควบคุม ผลลัพธ์ที่จะตามมา )
 5. Hazard and Operability Study : HAZOP
( วิเคราะห์ถ้าเบี่ยงเบนหรื อไม่เป็ นไปตามที่ระบบหรื อกระบวนตามที่ออกแบบไว้ จะเกิดอะไรขึ ้นบ้ าง)
 6. What –If
( ใช้ หลักการตั ้งคําถาม อะไรจะเกิดขึ ้น ถ้ า …..เกิดขึ ้น ง่ายใช้ ได้ ทวั่ ไป)
 7. Checklist
(ตรวจสอบขัน้ ตอนการทํางานหรือการทํางานของอุปกรณ์ต่างๆ)

41

ลักษณะของ ระบบ อุปกรณ์ และการทํางาน วิธีการชี้บ่งอันตรายทีเ่ หมาะสม

อุปกรณ์ที่ต่อกันเป็ นกระบวนการ HAZOP , WHAT-IF , CHECK LIST


ระบบท่อ ถัง ปั๊ม วาล์ว HAZOP , WHAT-IF , FMEA
ระบบควบคุมกระแสไฟฟ้า WHAT-IF , FMEA
ระบบความปลอดภัยของอุปกรณ์ WHAT-IF , FMEA
ระบบสนับสนุนกระบวนการ HAZOP , WHAT-IF , FMEA
โครงสร้าง WHAT-IF , FMEA , CHECK LIST
กิจกรรม (คน+อุปกรณ์) WHAT-IF , CHECK LIST , JSA จับคู่เสี่ ยง

42

21
 กรณี ระบบการจ่ายนํ ้าให้ กบั ที่ล้างตาฉุกเฉิน

43

การประเมินความเสี่ ยง
ตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม

44

22
45

46

23
47

48

24
49

50

25
51

52

26
53

54

27
การประเมินความเสี่ ยงตามวิธี มอก.18001
เป็ นการค้นหาอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทํางานในสถานที่ต่างๆ ในการ
ระบุลาํ ดับความเสี่ ยงของอันตรายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมของงานที่
ครอบคลุมสถานที่ เครื่ องจักร อุปกรณ์ บุคลากร และขั้นตอนการทํางานที่อาจ
ก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรื อเจ็บป่ วย ความเสี ยหายต่อทรัพย์สิน ความเสี ยหายต่อ
สิ่ งแวดล้อม หรื อสิ่ งต่าง ๆ

55

ระดับความรุนแรงการประเมินความเสี่ ยง

56

28
โอกาสหรื อความน่ าจะเกิดเหตุการณ์ อนั ตราย
หัวข้ อพิจารณา นํา้ หนัก เกณฑ์ การประเมินโอกาสทีเ่ กิดอันตราย
คะแนน
3 (มาก) 2(ปานกลาง) 1(เล็กน้ อย)
1.จํานวนคนที่สมั ผัสหรื อจํานวนคนที่ปฏิบตั ิงานนั้น 3 มากกว่า10 คนขึ้นไป 6-10 คน 1-5 คน
2.ความถี่และระยะเวลาที่สมั ผัส 3 30 ชม.ต่อสัปดาห์ 10-30 ชม.ต่อสัปดาห์ น้อยกว่า10 ชม.ต่อสัปดาห์
3.การตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทํางาน 3 ไม่มีการตรวจวัด มีการตรวจวัดแต่ไม่เป็ นไปตาม มีการตรวจวัดและเป็ นไปตามค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานกฎหมาย กฎหมาย
4.คู่มือความปลอดภัยที่เป็ นไปตามมาตรฐาน 3 ไม่มีเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีแต่ไม่เหมาะสมกับลักษณะ มีและเหมาะสมกับลักษณะความเสี่ ยง
ความเสี่ ยง
5.การฝึ กอบรมตามคู่มือความปลอดภัยอย่างมี 3 ไม่มีการฝึ กอบรม มีการฝึ กอบรมแต่ไม่เหมาะสม มีการฝึ กอบรมและเหมาะสมกับลักษณะความ
ประสิ ทธิภาพ กับลักษณะความเสี่ ยง เสี่ ยง
6.การควบคุมการปฏิบตั ิตามคู่มือความปลอดภัยที่ได้ 2 ไม่มีการควบคุมการปฏิบตั ิ มีการควบคุมการปฏิบตั ิแต่ไม่มี มีการควบคุมการปฏิบตั ิและมีการบันทึกอย่าง
มาตรฐาน การบันทึกหรื อบันทึกแต่ไม่ ต่อเนื่อง
ต่อเนื่อง
7.อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 2 ไม่มีหรื อมีแต่ไม่เหมาะกับ - มีอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลอย่าง
ลักษณะความเสี่ ยง เหมาะสมกับลักษณะความเสี่ ยง
8.การออกแบบให้มีอุปกรณ์ความปลอดภัยสําหรับ 3 ไม่มีหรื อมีแต่ไม่เหมาะกับ - มีการออกแบบให้มีอปุ กรณ์ความปลอดภัย
เครื่ องมือ เครื่ องจักรหรื ออาคารสถานที่ ลักษณะความเสี่ ยง เหมาะสมกับลักษณะความเสี่ ยง
9.การตรวจสอบ/ซ่อมบํารุ งรักษาเครื่ องจักรอุปกรณ์ 3 ไม่มีการตรวจสอบ ไม่มี มีการตรวจสอบมีการบํารุ งรักษา มีการตรวจสอบมีการบํารุ งรักษาและมีการบันทึก
การบํารุ งรักษา แต่ไม่มีการบันทึกหรื อบันทึกไม่ อย่างต่อเนื่อง
ต่อเนื่อง
10.การเตือนอันตราย 2 ไม่มีการเตือนอันตราย มีการเตือนอันตรายแต่ไม่ มีการเตือนอันตรายเหมาะสมกับลักษณะความ
เหมาะสมกับลักษณะความเสี่ ยง เสี่ ยง

หมายเหตุ: การถ่ วงนํา้ หนักและรายละเอียดปรับได้ ตามความเหมาะสมของแต่ ละสถานประกอบการ 57

ตารางพิจารณาโอกาสทีจ่ ะเกิดอันตราย

ระดับ ความหมาย คะแนนประเมิน(%)


โอกาส
1 มีโอกาสเกิดยาก 30 - 50
2 มีโอกาสเกิดน้ อย > 50 - 60
3 มีโอกาสเกิดปานกลาง > 60 - 75
4 มีโอกาสเกิดสูง > 75 -100
โอกาสที่จะเกิดอันตราย
= ผลรวม (ตัวถ่วงคะแนน x คะแนนที่ให้ x จํานวนข้อ) x 100
ผลรวม (ตัวถ่วงคะแนน x คะแนนเต็มแต่ละข้อ x จํานวนข้อที่ประเมิน)

58

29
59

6.1.2 การชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ยงและโอกาส


( Hazard identification and assessment of risks and opportunities )
6.1.2.1 การชี้บ่งอันตราย (Hazard identification)
องค์กร ต้อง จัดทํา นําไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งกระบวนการสําหรับการชี้บ่งอันตรายที่จะเกิดขึ้น
และแบบเชิงรุก โดยกระบวนการ ต้อง คํานึงถึง แต่ไม่จํากัด
(a) วิธีการจัดการงาน , ปั จจัยด้ านสังคม (รวมถึงภาระงาน workload, ชัว่ โมงการทํางาน work hours ,
การกลัน่ แกล้ ง , การก่อกวน , การข่มขู่ ) ภาวะผู้นําและวัฒนธรรมในองค์กร
(b) กิจกรรมประจําและไม่ประจํา และสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงอันตรายที่ที่เกิดจาก
1) โครงสร้างพื้นฐาน, อุปกรณ์ ,วัตถุดิบ, สาร, สภาวะทางกายภาพของสถานที่ทํางาน (เช่น ความร้อน แสงสว่าง เสียงดัง)
2) การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ , การวิจัย , การพัฒนา , การทดสอบ , การผลิต , การประกอบ , การก่อสร้าง
การบริการขนส่ง , การซ่อมบํารุง , การกําจัด

60

30
6.1.2 การชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ยงและโอกาส
( Hazard identification and assessment of risks and opportunities )
6.1.2.1 การชี้บ่งอันตราย (Hazard identification) (ต่อ)
3) ปัจจัยด้านบุคคล
4) วิธีการปฏิบัติงาน
(c) อุบ ัต กิ ารณ์ ใ นอดีต ที่เกี่ยวข้ องทั ้งภายในหรื อภายนอกขององค์กร รวมถึง เหตุฉกุ เฉินและสาเหตุที่ทําให้ เกิดขึ ้น
(d) แนวโน้ ม ของสถานการณ์ ฉ ุก เฉิน ที่อาจเกิดขึ ้น
(e) ตัวบุค คลคน รวมถึงการพิจารณา
1) การเข้ าพื ้นที่ปฏิบตั ิงาน และ กิจกรรมต่างๆ ร่วมถึงผู้ป ฏิบ ัต งิ าน ผู้รั บ จ้ างช่ วง ผู้ม าเยี่ยมชม และบุค คลอื่น ๆ
2) บริเวณพืน้ ใกล้ เ คียงผู้ป ฏิบ ัต งิ านซึง่ สามารถมีส่ งผลกระทบต่ อ การกิจ กรรมขององค์ ก ร
3) ผู้ป ฏิบ ัต งิ านนอกสถานที่ ที่ไม่ได้ อยู่ภายใต้ การควบคุมขององค์กร

61

6.1.2 การชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ยงและโอกาส


( Hazard identification and assessment of risks and opportunities )
6.1.2.1 การชี้บ่งอันตราย (Hazard identification) (ต่อ)
(f) ปั จ จัยอื่น ๆ รวมถึงการพิจ ารณา
1) การออกแบบพื ้นที่ปฏิบตั ิงาน, กระบวนการ , การติดตั ้ง เครื่ องจักร/เครื่ องมือ , ขันตอนการทํ
้ างาน และ การทํางานขององค์กร รวมถึง
การยอมรับความต้ องการ และความสามารถของผู้ปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวข้ อง
2) สถานการณ์ ท่ เี กิด ขึน้ บริเ วณข้ างเคียงพื ้นที่ปฏิบตั ิงาน โดยเป็ นสาเหตุเ กี่ยวข้ อ งกับ การทํางานภายใต้ ก ารควบคุม ขององค์กร
3) สถานการณ์ ท่ ไี ม่ ไ ด้ อ ยู่ภ ายใต้ ก ารควบคุม ขององค์ ก ร และเกิด ขึน้ บริเ วณใกล้ เ คียงพืน้ ที่ป ฏิบ ัต งิ าน ที่สามารถเป็ นสาเหตุของ
การบาดเจ็บ และการเจ็บป่ วยต่อบุคลากรในพื ้นที่การปฏิบตั ิงาน
(g) ผลลัพธ์ หรื อการเปลี ่ยนแปลงภายใน องค์กร, การปฏิบตั ิงาน ,กระบวนการ ,กิจกรรม และ ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย (8.1.3)
(h) การเปลี่ยนแปลงความรู้และข้ อมูลเกี่ยวกับอันตราย

62

31
6.1.2 การชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ยงและโอกาส
( Hazard identification and assessment of risks and opportunities )
6.1.2.2 การประเมินความเสี่ยง OH&S และ ความเสี่ยงด้านอื่นๆของระบบ OH&SMS
องค์ ก ร ต้ อง จัดตั ้ง นําไปปฏิบตั ิ และรักษาไว้ ซงึ่ กระบวนการ
(a) ประเมิน ความเสี่ย งด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจากการระบุอ ัน ตราย ขณะดําเนินการเพื่อประสิทธิผลการ
ดําเนินการในปั จจุบนั
(b) ประเมินผลความเสี่ยงด้ านอื่นๆที่เกี่ยวข้ องกับการจัดทํา การนําไปปฏิบตั ิ การดําเนินการ และการรักษาไว้ ของระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 วิธ ีก ารและเกณฑ์ ก ารประเมิน ความเสี่ย งด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ต้ อ ง กําหนดขอบเขต ลักษณะโดย
ธรรมชาติ และช่วงระยะเวลา เพื่อความมัน่ ใจ ว่าเป็ นการดําเนินการเชิงรุกมากกว่าเชิงรับ
 เอกสารการประเมิน Documented Information ต้ อง จัดทําเป็ นเอกสาร และ เก็บรักษาเกณฑ์และวิธีการ
ประเมิน

63

การชี ้บ่ง ประเมิน และควบคุมความเสี่ยง


(6.1.2)

วัตถุประสงค์และโครงการ การควบคุมการปฏิบตั ิ การรับมือแผนฉุกเฉิน


(6.2) (8.1) (8.2)
(8.1.4.1 ทัว่ ไป)
(8.1.4.2 ผู้รับเหมา)
(8.1.4.3 ผู้รับจ้ างภายนอก)

64

32
 อันตรายจะเกิดขึ ้นอย่างไร
◦ การลื่น หกล้ ม
◦ การตกจากที่ตา่ งระดับ
◦ ถูกกระแทก ถูกตี
◦ กระแทกกับวัตถุที่เคลื่อนไหว
◦ ถูกหนีบ ถูกบีบ
◦ ถูกของแหลมมีคมทิ่มแทง บาด/ตัด ถูกแขวน
◦ การเกิดไฟไหม้ และระเบิด
◦ สัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง ระบบหายใจ และทางปาก
◦ ถูกบด หรื อกดทับ
◦ สัมผัสกับไฟฟ้า ความร้ อน ความเย็น รังสี สารกัดกร่อน เสียงดัง
◦ ได้ รับเชื ้อโรค ความเมื่อยล้ า

65

การวิเคราะห์ ความเสี่ ยง จะเกิดอะไรขึ้นได้บา้ ง?


ที่เป็ นอันตราย

อันตราย
ถ้าเกิดจะรุนแรงมัย๊ ?
แล้วจะมีโอกาสเกิดมัย๊ ?
ชี้บ่งอันตราย
หาคําอันตราย ความเสี่ยง

คาดความรุนแรง
ประเมินความเสี่ยง คาดโอกาสที่จะเกิด
66

33
ประเภท คําอันตราย ลักษณะปรากฏ

1 กระแทก ชน ครูด ถาก เสียดสี ไม่คม


วัตถ ุแข็ง 2 ด้านมีช่องว่างตรง
2 หนีบ บีบ อัด ทับ
กลางและมีแรงเข้าหากัน
3 บาด ตัด เฉือน ฟัน ฉีก คม/แรงดึง
ทิ่ม แทง เจาะ ข่วน เกี่ยว เสียบ
4 แหลม

5 กัดกร่อน ระคายเคือง สัมผัสสารเคมี


6 ลวก ไหม้ สัมผัสของร้อน
7 ไฟฟ้าช๊อต ไฟฟ้าด ูด สัมผัสกระแสไฟฟ้า
67

8 หล่นใส่ หล่นทับ ล้มทับ เลื่อนทับ วัตถ ุอยูบ่ น

9 กระเด็นใส่ ดีดใส่ สะบัดใส่ ฟาดใส่ วัตถ ุมีแรงพุ่ง


พุ่งชน เลื่อนชน

10 ตกจากที่สงู (กระแทก) คนอยูต่ ่างระดับ

11 ตกจากยานพาหนะ ยานพาหนะเคลื่อนที่
12 ลื่นล้ม สะด ุดล้ม ไถลล้ม พื้นลื่น ขร ุขระ ต่างระดับ ลาด
เสียหลักล้ม(กระแทก) เอียง สิ่งของกีดขวาง
13 หมดสติเฉียบพลัน อับอากาศ ได้รบั สารพิษ
14 สัตว์กดั ต่อย ทําร้าย พบว่ามีสตั ว์
15 ยกของหนัก ก้มหลังยก เอี้ยวตัว ท่าทาง
เอื้อม (เสียหลัก/กระแทก)
68

34
ทําการระบุกจิ กรรม/
กระบวนการ แบบฟอร์ มการประเมิน

วิเคราะห์ อนั ตรายของแต่ ละกิจกรรม


ระบุผลกระทบของอันตราย

พิจารณาความรุนแรง S
ประเมินผลกระทบของหัวข้ อบกพร่ อง
พิจารณาโอกาสเกิด O
วิเคราะห์ หาสาเหตุของข้ อบกพร่ อง

วิเคราะห์ ระดับความสํ าคัญ RPN = S*O


กําหนดมาตรการควบคุม (8.1.2)
69

งาน / พื้นที่ แหล่งกําเนิดอันตราย ใคร(อะไร)เป็ นผูไ้ ด้รับ อันตรายเกิดขึ้นอย่างไร


อันตราย

งานเชื่อมแก๊สของ แก๊สไวไฟ -ผูป


้ ฏิบตั ิงาน แก๊สรั่วติดไฟ หรื อสะเก็ดไฟจาก
ช่างซ่อมบํารุ ง -เพื่อนร่ วมงาน การเชื่อม กระเด็นถูกเชื้อเพลิงทํา
-ทรัพย์สินของบริ ษท
ั ให้เกิดไฟไหม้และการระเบิด

ถังแก๊สมีความดัน -ผูป้ ฏิบตั ิงาน ถังแก๊สมีความดันล้ม ข้อต่อวาล์ว


-เพื่อนร่ วมงาน หัก เนื่องจากถังแก๊สไม่มีที่จบั ยึด
-ทรัพย์สินของบริ ษท
ั อย่างมัน่ คง

แสง / ความร้อน / -ผูป้ ฏิบตั ิงาน สัมผัสกับผูป้ ฏิบตั ิงานที่ไม่ได้


สะเก็ดไฟจากการเชื่อม สวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ส่ วนบุคคล
70

35
Workshop # 3
การชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ ยงโอกาส
ในกิจกรรม/พืน้ ทีป่ ฏิบัตงิ าน

71
สภาวะ R / N / E

ความรุนแรง
โอกาสเกิด
ระดับความเสี่ยง

กิจกรรม อันตราย กฎหมาย มาตรการควบคุม โอกาสพัฒนา คะแนนโอกาส


ที่อาจเกิดขึ้น ที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบัน (8.1.2) ปรับปรุง
คะแน
A B C D E นรวม
(Y/N)
A B C
พ่นสี การสูดดมสารเคมี N 3 4 4 ใส่ผ้าปิดจมูก เปลี่ยนเป็น 1 3 3 3 3 13
Solvent Base Water Base

หมายเหตุ : กรณีมีแนวโน้ มที่ไม่สอดคล้ องกฎหมาย ถือเป็ นความเสี่ยงทันที (A=ไม่ควบคุม , B= สอดคล้ อง , C= มีแนวโน้ ม/ไม่สอดคล้ อง )
โอกาสปรับปรุงที่จะนํามาพิจารณาจะนํามาจากความเสี่ยงระดับสูง (กรณีผ้ บู ริหารสัง่ การ ไม่ต้องพิจารณาคะแนนปรับปรุง ดําเนินการได้ ทนั ที)
เพิม่ เติม : R กิจกรรมประจํา , N กิจกรรมไม่ประจํา , E เหตุการณ์ฉกุ เฉิน
โอกาสในการปรับปรุง : จะดําเนินการถ้ าคะแนนรวมตังแต่
้ 10 คะแนน

36
สภาวะ R / N / E

ความรุนแรง
โอกาสเกิด
ระดับความเสี่ยง
กิจกรรม อันตราย กฎหมาย มาตรการควบคุม โอกาสพัฒนา คะแนนโอกาสปรับปรุง
ที่อาจเกิดขึ้น ที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบัน (8.1.2) คะแนน
A B C D E รวม
(Y/N)
A B C

73

( ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงและโอกาส OH&S )
ระดับ ความ บุคคล ชุมชน สิ่งแวดล้อม ทรัพย์สิน ระดับ เกณฑ์ประเมินโอกาสเกิดอันตราย
รุนแรง 1 ไม่เคยเกิดในช่วงเวลา ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป / เกิดได้ยากมาก
1 เล็กน้อย ปฐมพยาบาล เล็กน้อย เล็กน้อย < 5,000
2 มีโอกาสเกิดในช่วง 5 – 10 ปี / เกิดได้น้อย
2 ปาน เจ็บป่วย แก้ไขได้ แก้ไขได้ 5,000
3 มีโอกาสเกิดในช่วง 1 – 5 ปี / เกิดได้ปานกลาง
กลาง เล็กน้อย เวลาไม่เกิน เวลาไม่เกิน ถึง
1 เดือน 1 เดือน 10,000 4 มีโอกาสเกิดมากกว่า 1 ครั้งใน 1 ปี/ เกิดได้สูง
3 สูง เข้า รพ แก้ไขได้ แก้ไขได้ 10,001
รักษา เวลาเกิน เวลาเกิน ถึง ความรุนแรง สูงมาก สูง ปานกลาง เล็กน้อย
ต่อเนื่อง 1 เดือน 1 เดือน 100,000 โอกาสเกิด (4) (3) (2) (1)
4 สูงมาก สาหัส หน่วยงาน หน่วยงาน มากกว่า 4 4 ( 4x 4) 4 ( 4x 3) 3 ( 4x 2) 2 ( 4x 1)
พิการ ภายนอก ภายนอก 100,000
3 4 ( 3x 4) 3 ( 3x 3) 2 ( 3x 2) 2 ( 3x 1)
ตาย มาแก้ไข มาแก้ไข
เวลาเกิน 1 ปี เวลาเกิน 1 ปี 2 3 ( 2x 4) 2 ( 2x 3) 2 ( 2x 2) 1 ( 2x 1)
1 2 ( 1x 4) 2 ( 1x 3) 1 ( 1x 2) 1 ( 1x 1)

ระดับ คะแนน มาตรการดําเนินการ


ความเสี่ยง
1 = เล็กน้อย 1-2 ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน
2 = ยอมรับได้ 3-6 ต้องมีมาตรการและทบทวน
3 = สูง 8-9 ต้องดําเนินการ ติดตามเพื่อลดผลกระทบ
4 = ยอมรับไม่ได้ 12-16 ต้องหยุดกิจกรรมและปรับปรุงแก้ไชทันที

37
การกําจัดอันตรายและลดความเสี่ยง
ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
( Eliminating hazards and reducing risks)

75

6.1.4 การวางแผนดําเนินการ ( Planning action )


องค์กร ต้ อง วางแผน
a) จัดการกับ
1) การจัดการกับความเสี่ยงและโอกาส (6.1.2.2 และ 6.1.2.3)
2) การจัดการข้อกฎหมายและข้อกําหนดอื่นๆ (6.1.3)
3) เตรียมการสําหรับตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน (8.2)
b) วิธีการ
1) นําไปใช้รวมกับระบบกระบวนการของระบบ OH&SMS หรือกระบวนการธุรกิจอื่นๆ
2) การประเมินประสิทธิผลของการดําเนินการ
องค์กร ต้ อง ดําเนินการตามลําดับขั้นของการควบคุม (8.1.2) และผลจากระบบอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย เมื่อวางแผนที่จะดําเนินการ
แผนการดําเนินการ องค์กร ต้ อง พิจาณาการปฏิบัติที่ดีที่สุด , ทางเลือกด้านเทคโนโลยี และ การเงิน
การปฏิบัติงานและข้อกําหนดทางด้านธุรกิจ

76

38
การกําหนดมาตรการแก้ไขและป้องกัน
ตัวอย่างมาตรการแก้ไขและป้องกัน หลังการประเมิน

ง่ายต่อการ
ขึนลง
ความสูง = 8 ม.

77

ตัวอย่างมาตรการแก้ไขและป้องกัน หลังการประเมิน

78

39
ตัวอย่างมาตรการแก้ไขและป้องกัน หลังการประเมิน
1. อุบตั ิเหตุจากอุปกรณ์ / เครื่องจักร

อันตรายที่อาจเกิดขึ้ น การแก้ไขป้องกัน

อาจเกิดอันตรายจากสะเก็ดไฟ ติดตั้งแผ่นกระจกใสป้องกันและ
อุปกรณ์ป้องกัน เช่น แว่นตาและ
กระเด็นถูกนัยน์ตา ถุงมือ ให้แก่พนักงาน
79

ตัวอย่างมาตรการแก้ไขและป้องกัน หลังการประเมิน
2. อุบตั ิเหตุจากชิ้ นส่วนที่มีน้ าํ หนักมาก

อันตรายที่อาจเกิดขึ้ น การแก้ไขป้องกัน

ลิฟต์ไฮโดรลิกไม่สมดุล ขณะ ติดตั้งตัวล๊อกเพือ่ ป้องกันรถ


ปรับตั้งศูนย์ลอ้ ตัวรถอาจเลือ่ นตก เลือ่ นตกจากลิฟต์
ทับช่างซ่ อมได้
80

40
ตัวอย่างมาตรการแก้ไขและป้องกัน หลังการประเมิน
3. อุบตั ิเหตุจากยานพาหนะ

อันตรายที่อาจเกิดขึ้ น การแก้ไขป้องกัน
บริเวณทาง เข้า-ออก ติดตั้งป้ายเตือนให้ระวัง
รถยนต์เป็ นมุมอับอาจ รถ เข้า-ออก
ถูกรถ ชนเสียชีวิตได้
81

ตัวอย่างมาตรการแก้ไขและป้องกัน หลังการประเมิน
4. อุบตั ิเหตุจากการตกจากพื้ นที่ที่มีความสูงต่างระดับกัน

อันตรายที่อาจเกิดขึ้ น การแก้ไขป้องกัน
ฐานยืนที่ใช้ ในการล้ างรถไม่ ทํานั่งร้ านที่มีความแข็งแรง และ
แข็งแรงและแคบ อาจพลาด ป้ องกันการลื่นตก
ล้ มลงพื้นได้
82

41
8.1.2 การกําจัดอันตรายและลดความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
( Eliminating hazards and reducing risks)
องค์ ก ร ต้ อง จัดตัง้ นําไปปฏิบตั ิ และ รักษากระบวนการ สําหรับการกําจัดอันตราย และ
ลดความเสี่ยง
โดยใช้ การลําดับควบคุมตามนี ้ (Annex P.34)
a) กําจัดอันตราย
b) ทดแทนด้ วยวัสดุ กระบวนการ การปฏิบตั ิงานหรื อเครื่ องมือที่มีอนั ตรายน้ อย
กว่ามาแทน
c) ใช้ หลักการวิศวกรรมควบคุม และปรับโครงสร้ างการทํางาน เช่นติดตังระบบ ้
ระบายอากาศ
d) ใช้ การบริหารควบคุม เช่น การฝึ กอบรม ตรวจสอบสภาพ PPE
e) ใช้ อปุ กรณ์ปอ้ งกันส่วนบุคคล
83

Workshop # 4

การกําจัดและลดความเสี่ ยง
และพิจารณาโอกาสปรับปรุง

84

42
4. การประเมินความเสี่ยงและโอกาสอื่นๆ
 ในระบบจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 กฎหมายและข้อบังคับอื่นๆ

85

ระดับ มาตรการ โอกาสพัฒนา คะแนนโอกาสพัฒนา


ความรุนแรง
โอกาสเกิด

หัวข้อ ความ ควบคุม ระดับ


ความเสี่ยง เสี่ยง ในปัจจุบัน A B C D E โอกาส
(ตัวอย่าง)

43
( การประเมินความเสี่ยงและโอกาส OH&SMS + MOC + Intended Outcomes )
ระดับ มาตรการ โอกาสพัฒนา คะแนนโอกาสพัฒนา

ความรุนแรง
โอกาสเกิด
หัวข้อ ความ ควบคุม ระดับ
ความเสี่ยง เสี่ยง ในปัจจุบัน A B C D E โอกาส
(ตัวอย่าง)
การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ข้อบังคับ
อื่นๆ
การเปลี่ยนแปลงความรู้ ข้อมูลอันตราย
สารเคมี และความเสี่ยง
การเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร / Upgrade
การเปลี่ยนผู้รับเหมา ผู้รับจ้าง ผู้ขนส่ง
การเปลี่ยนแปลงข้อกําหนด OH&SMS
ผู้รับผิดชอบระบบ และกฎหมายลาออก
เลื่อนการ Audit / การประชุม
ระบบควบคุมเอกสารและบันทึก
ไม่มีการติดตามแก้ไข ความไม่
สอดคล้อง

( ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงและโอกาสอื่นๆ = OH&SMS + MOC + Intended Outcomes


)
ระดั ความ เกณฑ์ ก ารประเมิน ระดับ เกณฑ์ ป ระเมิน โอกาสเกิด อัน ตราย
บ รุ น แรง 1 ไม่เคยเกิดในช่วงเวลา ตังแต่
้ 10 ปี ขึ ้นไป / เกิดได้ ยากมาก
1 เล็กน้ อย ไม่มีผลต่อ OH&SMS หรื ออาจได้ รับ NC ภายใน
2 มีโอกาสเกิดในช่วง 5 – 10 ปี / เกิดได้ น้อย
2 ปาน อาจได้ รับ Minor NC
3 มีโอกาสเกิดในช่วง 1 – 5 ปี / เกิดได้ ปานกลาง
กลาง จากภายนอก (CB)
3 สูง อาจได้ รับ Major NC 4 มีโอกาสเกิดมากกว่า 1 ครัง้ ใน 1 ปี / เกิดได้ สงู
จาก ภายนอก (CB) ความรุ น แรง สูงมาก สูง ปาน เล็ก น้ อ ย
4 สูงมาก ถูกยกเลิกหรื อพักใบรับรอง ISO โอกาสเกิด (4) (3) กลาง (1)
ผิดกฎหมาย /ข้ อกําหนดอื่นๆ (2)
หัวข้ อ น้ อ ย ปานกลาง มาก 4 4 ( 4x 4) 4 ( 4x 3) 3 ( 4x 2) 2 ( 4x 1)
(1) (2) (3) 3 4 ( 3x 4) 3 ( 3x 3) 2 ( 3x 2) 2 ( 3x 1)
A เงินลงทุน > 60,000 30,001 – 60,000 0 – 30,000
2 3 ( 2x 4) 2 ( 2x 3) 2 ( 2x 2) 1 ( 2x 1)
B เป้าหมาย ใช้ เวลาเท่าเดิม น้ อยลง50% มากกว่า 50%
1 2 ( 1x 4) 2 ( 1x 3) 1 ( 1x 2) 1 ( 1x 1)
C ความยาก ซับซ้ อน ปานกลาง ไม่ซบั ซ้ อน
ระดับ คะแนน มาตรการดําเนิน การ
ง่าย
ความเสี่ย ง
D องค์กร ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย
ผลประโยชน์ บางส่วน ทังหมด
้ 1 = เล็กน้ อย 1-2 ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงการปฏิบตั งิ าน

E พัฒนาใหม่หมด มีรองรับบางส่วน มีรองรับทังหมด


้ 2 = ยอมรับได้ 3-6 ต้ องมีมาตรการและทบทวน
เทคโนโลยี
3 = สูง 8-9 ต้ องดําเนินการ ติดตามเพื่อลดผลกระทบ
88
หมายเหตุ : หัวข้ อการพิจารณาขึน้ การพิจารณาขององค์กร 4 = ยอมรับไม่ได้ 12-16 ต้ องหยุดกิจกรรมและปรับปรุงแก้ ไชทันที

44
89

45
คะแนนที่ได้
ชื่ อ – นามสกุล _________________________แผนก________________
บริษทั _____________________________________________________
แบบทดสอบก่ อนอบรม และหลังอบรม ก่อนอบรม
หลักสู ตร: การประเมินความเสี่ ยงโอกาสในระบบ ISO45001 หลังอบรม

พิจารณาข้อความในแต่ละข้อและทําเครื่องหมาย ( / ) เมือ่ ข้อความนัน้ ถูกต้องในช่อง “ถูก” หรือทําเครื่องหมาย ( X )


เมือ่ ขอความนัน้ ผิดในช่อง “ผิด”
ข้อที่ ถูก ผิด ข้อความ
1 (OH&S Risk) คือผลรวมของโอกาสการเกิดเหตุการณ์หรื อสัมผัสอันตรายที่เกี่ยวข้องกับงานที่
ทํา และความรุ นแรงของการบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ที่มาจากเหตุการณ์หรื อสิ่ งที่สมั ผัส
2 ความเสี่ ยงและโอกาสต้องพิจารณามาจากการชี้บ่งอันตราย ประเด็นภายในภายนอก ระบบการ
จัดการตามข้อกําหนด และกฎหมาย รวมถึงข้อกําหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
3 ในการระบุความต้องการและคาดหวังของพนักงาน จะทําโดยตัวแทนฝ่ ายบริ หารความ
ปลอดภัย และกําหนดแนวทางปฏิบตั ิให้สอดคล้อง ซึ่งจะทบทวนในการประชุมฝ่ ายบริ หารทุก
ปี และติดประกาศให้พนักงานทราบทุกครั้ง
4 คณะกรรมการความปลอดภัยและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง จะมีการทบทวนความเสี่ ยง และมาตรควบคุม
กรณี ที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบถาวรเท่านั้น ที่ส่งผลต่อด้านความปลอดภัยได้
5 ในการระบุอนั ตรายจะกําหนดมาจากกิจกรรมภายในองค์กร และอุบตั ิการณ์ในอดีต แนวโน้ม
ของเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นได้ รวมถึงผูป้ ฏิบตั ิงาน ผูร้ ับจ้างช่วง ผูม้ าเยีย่ มชม
6 อุบตั ิการณ์ (Incident) คือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ถ้าเกิดแล้วจะมีผลทําให้เกิดเหตุการณ์
เกือบเกิดอุบตั ิเหตุ แต่ไม่ถึงกับทําให้เกิดอุบตั ิเหตุแต่อย่างใด
7 แผนการดําเนินการจัดการความเสี่ ยงโอกาสที่จะปรับปรุ ง จะพิจารณามาจากวิธีปฏิบตั ิที่ดีที่สุด
ที่คิดได้ , เทคโนโลยีที่มีในปั จจุบนั , งบประมาณที่จะใช้ ,วิธีการนําไปปฏิบตั ิงานและ
ข้อกําหนดทางด้านธุรกิจ หรื อจากลูกค้าถ้ามี
8 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างาน มีหน้าที่คน้ หาความเสี่ ยง อันตรายในพื้นที่ สอนวิธี
ปฏิบตั ิงานให้กบั พนักงานใหม่ และตรวจสอบเครื่ องมือ อุปกรณ์ก่อนเริ่ มงาน
9 มาตรการกําจัดอันตรายและลดความเสี่ ยง องค์กรสามารถกําหนดได้ตามความเหมาะสม
โดยดูจากโอกาสเกิด ถ้าไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ก็ให้ทาํ การฝึ กอบรมและแจกอุปกรณ์ป้องกันภัย
ส่ วนบุคคลให้กบั พนักงานผูป้ ฏิบตั ิงาน
10 OH&S opportunity คือสถานการณ์ที่สามารถปรับปรุ งสมรรถนะอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย ให้มีความปลอดภัยมากยิง่ ขึ้น โดยจะต้องระบุโอกาสปรับปรุ งให้ครบทุกพื้นที่
กิจกรรม กระบวนการตามขอบข่าย ขอบเขตที่ขอการรับรอง

You might also like