You are on page 1of 4

บทที่ 1

ระบบเสียงในภาษาไทย

ระบบเสียงในภาษาไทยมีอยู่ 3 ชนิด ได้ แก่


1. รู ปสระ - เสียงสระ
รู ปสระ
ะ เรี ยกว่า วิสรรชนีย์ เรี ยกว่า ไม้ หน้ า

า เรี ยกว่า ลากข้ าง ไ เรี ยกว่า ไม้ มลาย
 เรี ยกว่า พินทุ์อิ ใ เรี ยกว่า ไม้ ม้วน
| เรี ยกว่า ฝนทอง โ เรี ยกว่า ไม้ โอ
|| เรี ยกว่า ฟั นหนู อ เรี ยกว่า ตัว ออ

เรี ยกว่า นิคหิต, หยาดน้ำค้ าง ย เรี ยกว่า ตัว ยอ
 เรี ยกว่า ตีนเหยียด ว เรี ยกว่า ตัว วอ
 เรี ยกว่า ตีนคู้ ฤ เรี ยกว่า ตัว รึ
 เรี ยกว่า ไม้ ผดั ฤๅ เรี ยกว่า ตัว รื อ
 เรี ยกว่า ไม้ ไต่ค้ ู ฦ เรี ยกว่า ตัว ลึ
ฦๅ เรี ยกว่า ตัว ลือ
ประเภทของสระ
1. เสี ยงสระ (สระเดี่ยว มี 18 เสี ยง)
สระเสี ยงสั้น (รัสสระ) สระเสี ยงยาว (ทีฆสระ)
/อะ/ /อา/
/อิ/ /อี/
/อึ/ /อือ/
/อุ/ /อู/
/เอะ/ /เอ/
/แอะ/ /แอ/
/เออะ/ /เออ/
/เอาะ/ /ออ/
/โอะ/ /โอ/
2. สระประสม (สระเลื่อน) คือ การนำเสี ยงสระเดี่ยว 2 เสี ยงมาประสมกัน ได้แก่
/อิ/ + /อะ/ = /เอียะ/ /อี/ + /อา/ = /เอีย/
/อึ/ + /อะ/ = /เอือะ/ /อือ/ + /อา/ = /เอือ/
/อุ/ + /อะ/ = /อัวะ/ /อู/ + /อา/ = /อัว/
หมายเหตุ ทางภาษาศาสตร์ ถือว่า สระประสมเสี ยงสั้นเป็ นหน่วยเสี ยงเดียวกับเสี ยงยาว
จึงถือว่าสระประสม มี 3 เสี ยง คือ /เอีย/ /เอือ/ /อัว/
ข้ อควรจำ
อำ ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
2. รู ปพยัญชนะ - เสียงพยัญชนะ
รู ปพยัญชนะ มี 44 รู ป คือ
อักษรกลาง อักษรสู ง อักษรคู่ อักษรเดีย่ ว
ก ขฃ คฅ ฆ ง
จ ฉ ชฌ ญ
ฎฏ ฐ ฑฒ ณ
ดต ถ ทธ น
บป ผฝ พฟ ภ ม
อ ศษส ห ซฮ ยรลวฬ
เสียงพยัญชนะปรากฏได้ 2 ตำแหน่ ง ในพยางค์ คือ
1. เสียงพยัญชนะต้ น
1.1 เสียงพยัญชนะต้ นเดี่ยว มี 21 เสียง คือ
1. /ก/ 12. /บ/
2. /ค/ 13. /ป/
3. /ง/ 14. /พ/
4. /จ/ 15. /ฟ/
5. /ช/ 16. /ม/
6. /ซ/ 17. /ร/
7. /ย/ 18. /ล/
8. /ด/ 19. /ว/
9. /ต/ 20. /ฮ/
10. /ท/ 21. /อ/
11. /น/

1.2 เสียงพยัญชนะต้ นประสม (เสียงควบกล้ำ) คือ พยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะต้ นสองตัวออกเสียง


ควบกันในระบบเสียงภาษาไทย มี 5 ชุด คือ
ร ล ว ข้ อควรระวัง
ก / / / คำควบไม่ แท้ จัดเป็ นเสียง
ค / / / พยัญชนะต้ นเสียงเดี่ยว
ป / /  เช่น จริ ง(จิง) สร้ าง(ส้ าง)
พ / /  โทรม(โซม) เป็ นต้ น
ต /  
2. เสียงพยัญชนะท้ าย คือ เสียงพยัญชนะที่ทำหน้ าที่เป็ นตัวสะกดมี 9 เสียง คือ
1. /ก/ เช่น เลข โรค เมฆ ครก นาก ฯลฯ
2. /บ/ หรื อ /ป/ เช่น พบ ลาภ กบ จับ กราฟ ฯลฯ
3. /ด/ หรื อ /ต/ เช่น มด กาจ คช กฎ พุทธ ฯลฯ
4. /ง/ เช่น โมง หาง สูง แกง กิ่ง ฯลฯ
5. /ม/ เช่น กรรม หาม ชิม ทำ สัมมนา ฯลฯ
6. /น/ เช่น การณ์ กลอน สัญญาณ เขิน ฯลฯ
7. /ย/ เช่น ชาย หน่อย รวย ได้ ใน ฯลฯ
8. /ว/ เช่น ขาว เลว แน่ว ชาย หิว ฯลฯ
9. /?/ หมายถึงพยางค์ที่เป็ นเสียงสั ้น ลงเสียงหนักท้ ายพยางค์ เช่น ชะ กะปิ สมาธิ

3. วรรณยุกต์ คือ ระดับเสียงสูงต่ำของพยางค์ (tone) มี 4 รูป 5 เสียง คือ


รูป    
เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
พยางค์ ปิด - พยางค์เปิ ด
พยางค์ ปิด คือ พยางค์ทมี่ ีเสียงพยัญชนะท้ าย เช่ น กิน ข้ าว ไหม ชิชะ จะจะ ชัยชนะ (มีเสี ยง /?/)
พยางค์ เปิ ด คือ พยางค์ทไี่ ม่มีเสียงพยัญชนะท้ าย เช่ น มา หรือ หนู
โครงสร้ างของพยางค์ หมายถึง ส่ วนประกอบของแต่ ละพยางค์ โดยพิจารณาจาก

เสี ยงของพยัญชนะท้ าย พยางค์ปิด หรือพยางค์ เปิ ด


เสี ยงของพยัญชนะต้ น เดีย่ วหรือควบกล้ำ
เสี ยงของสระ สระสั้ น สระยาว
เสี ยงของวรรณยุกต์ เสี ยงสามัญ เอก โท ตรี จัตวา

คำเป็ นคำตาย
1. คำเป็ น หมายถึง คำที่ประสมด้วยสระเสี ยงยาว หรือคำที่มเี สี ยงสะกด แต่ ยกเว้ น แม่ กก กบ กด
เช่ น น้ า ตี งู จง อาง ให้ เห็น
2. คำตาย หมายถึง คำที่ประสมด้ วยสระเสี ยงสั้ นและไม่ มเี สี ยงสะกด รวมทั้งคำที่อยู๋ในแม่ กก กบ
กด เช่ น กระทะ มะระ ก็ บ่ ธ ณ เป็ ด กฎ ศพ

อ้ างอิง
กาญจนา นาคสกุล. 2541. ระบบเสียงภาษาไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชาการ,กรม กระทรวงศึกษาธิการ. 2541. วรรณลักษณ์วิจารณ์ เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้ าว.
แหล่ งที่มาแหล่งที่มา ttp://www.termtem.co.th/public/perform_upload/bofperform/Perform_3_0.doc
สื บค้นเมื่อ 2 พ.ย.2554

You might also like