You are on page 1of 8

การอานคําพิเศษและขอสังเกตบางประการเกี่ยวกับการอานศัพทคํายืมจากภาษาบาลี-สันสกฤต (pl./skt.

) ในภาษาเขมร
พรอมดวยการอานคําที่ประกอบดวยเครื่องหมาย สังโยคสัญญา, ร บาท, ทัณฑฆาต, เลขอัษฎา และ กากบาท
ณัฐพล จันทรงาม
ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

1. คําศัพทจํานวนหนึ่งในภาษาเขมรมีการอานออกเสียงที่ไมเปนไปตามกฎเกณฑการอานโดยทั่วๆ ไป ซึ่งบางกรณีอาจจัดกลุมของคําที่มี
เสียงอานเฉพาะเชนนี้รวมกันไดบาง เชน

- คําภาษาบาลี-สันสกฤตบางคํา ที่แตเดิมออกเสียงพยางคสุดทายเปนสระเสียงสั้น เมื่อเปนคํายืมในภาษาเขมรจะไมออกเสียงสระ


ในพยางคสุดทาย แตอาจจะออกเสียงพยัญชนะของพยางคสุดทายนั้นเปนตัวสะกดของพยางคกอนหนา หรือไมออกเสียงพยางค
สุดทายเลยในบางคํา (ลักษณะเดียวกับคํายืมบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย) เชน
ធាតុ /thi´t/ ‘ธาตุ’ ជាតិ /ci´t/ ‘ชาติ’ ភូមិ /phuum/ ‘หมูบาน’ កុដិ /kot/ ‘กุฏิ’
្រពះសុេមរុ /pre·´h somae/ ‘พระสุเมรุ’ មហាហិង្គុ /mçhaah´N/ ‘มหาหิงคุ’

- คํายืมภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาเขมรที่ประกอบดวยรูปสระเอ (สระจม) “ e © ” มักจะออกเสียงเปนสระแอ “ E© ” คือ


[©1ae] และ [©2EE] เชน

េហតុ /haet/ ‘เหตุ’ េខត្ត /khaet/ ‘จังหวัด’ េស្នហ៍ /snae/ ‘เสนห’ េពទយ /pEEt/ ‘แพทย’

- คํายืมภาษาบาลี-สันสกฤตหรือคําศัพทภาษาเขมรแทบางพยางคที่มีพยัญชนะตนเปนตัว ត อาจจะออกเสียงเปน ដ /dAA/ และ


บางพยางคที่มีพยัญชนะตนเปนตัว ប อาจจะออกเสียงเปน ប៉ /pAA/ เชน
ត្រន្តី /dAntr´y/ ‘ดนตรี’ តៃម្ល /dAmlay/ ‘คา, ราคา’ េចតិយ /caed´y/ ‘เจดีย’
បិតា /b´ydaa/ ‘บิดา’ តំណក់ /dAmnAq/ ‘หยดน้ํา’ បាតុភូត /paatophuut/ ‘ปรากฏการณ’
មាតា /mi´daa/ ‘มารดา’ ប /pan)haa/ ‘ปญหา’ បាឋកថា /paathakathaa/ ‘ปาฐกถา’
តារា /daaraa/ ‘ดารา’ ប /pan)n)aa/ ‘ปญญา’ បេច្ចកេទស /paccaekkateeh/ ‘เทคนิค’

- คํายืมภาษาบาลีในภาษาเขมรที่มีพยัญชนะตัวสะกดตัวตามเปน “พฺพ” ในตําแหนงกลางคํา จะใชพยัญชนะ ព ซอนกับเชิงพยัญชนะ


ตัว វ ทําใหมีรูปรางเปน ព្វ ซึ่งเปนอักขรวิธีของอักษรเขมรโบราณที่ปรากฏอยูกระทั่งปจจุบัน กรณีนี้จะออกเสียงตัวเชิง វ ( - V )
เหมือนกับตัวเชิง ព ( - < ) คือ ออกเสียงเปน /p/ เชน និពាន /nˆppi´n/ ‘นิพพาน’ បុេព្វ /boppee/ ‘บุพเพ’

- โดยปกติคําที่ใชอักษร ប៉ /pAA/ หากมีสระอยูดานบน จะตองเปลี่ยน -¨ เปน -u แตสําหรับ ប៊ /bçç/ ที่แมจะประกอบกับ


สระที่อยูดานบน ก็ไซมตองเปลี่ยน -‘ เปน -u เพราะจะทําใหซ้ําซอนกันกับ ប៉ /pAA/ เชน
ប៉ +สระบน เชน បុិន /p´n/ ‘เกง’ ចាបុី /caap´y/ ‘กระจับป (พิณชนิดหนึ่ง)
ប៊ +สระบน เชน ប៊ីេចង /biiceiN/ ‘ผงชูรส’ ប៊ីែយរ / biiyEE / ‘เบียร (bière)’
2
- คําศัพทในเขมรที่มีพยางคเปนสระเสียงสั้นและมีพยัญชนะตัวสะกดทายพยางคเปน រ ใหออกเสียงพยัญชนะสะกด เปน “แมกล”
เสมือนมีตัวสะกดเปน ល เชน
ហឹរ /h´l/ ‘เผ็ด’ ខ្ពុរ [kHpul] /kpul/ ‘กลั้ว(ปาก)’ សមបុរ /sAmbol/ ‘สีผิว(คน), สีขน (สัตว)’
កុរ /kol/ ‘(ป)กุน’ ខ្នុរ [kHnol] /knol/ ‘ขนุน’ កណ្ដុរ /kAndol/ ‘หนู’

- คําศัพทอื่น ๆ ที่อานออกเสียงเฉพาะศัพทและพบบอย เชน


អ្នក /ne·´q/ ‘คน, คุณ, นัก’
េនះ /nih/ ‘นี่, นี้’
េនាះ /nuh/ ‘นั่น, นั้น, โนน, โนน’
តុ /tok/ ‘โตะ’
ធំ /thom/ ‘ใหญ, โต’
អ៊ំ /qom/ ‘ลุง, ปา’
អាចម៍ /qac/ ‘ขี้’
អញ /qan)/ ‘กู’
សិរមាន់ /sei mo·´n/ ‘หงอนไก’
េសចក្ដី [sac k´d´y] /sac kd´y/ ‘ความ’
េ្រសច /srac/ ‘เสร็จ’
សេ្រមច /sAmrac/ ‘สําเร็จ’
េស្ដច /sdac/ ‘เสด็จ’
សេម្ដច /sAmdac/ ‘สมเด็จ’
ផ្តិល [pHt´l] /pt´l/ ‘ขัน (ภาชนะ)’
េតជ /daec/ ‘เดช’
គជ់ /ku·´c/ ‘ไขมุก’
មីនា /miinaa/ ‘(เดือน) มีนาคม’
មិគសិរ /mik´sei/ ‘มิคสิระ (ชื่อเดือนที่ 1 ทางจันทรคติ)’
ករុណា /k´naa/ ‘กระผม, ดิฉัน สรรพนามบุรุษที่ 1 เมื่อสนทนากับพระภิกษุ’
។ល។ /laq/ ‘ฯลฯ, etc.’
3
2. การออกเสียงพยัญชนะภาษาเขมรที่ไมมีรูปสระกํากับ ในคํายืม pl./skt. สําหรับพยัญชนะตนกลุม AA (© series 1) จะออกเสียง
เปน [-aq] สวนพยัญชนะตนกลุม çç (© series 2) จะออกเสียงเปน [-e·´q] เชนตัวอยางจากพยัญชนะวรรค ต ดังนี้
สําเนียง pl./skt. เดิม r [ta] É [tha] n [da] Ì [dha] u [na]

สําเนียง pl./skt. ในภาษาเขมร ត [taq] ថ [thaq] ទ [te·´q] ធ [the·´q] ន [ne·´q]

สําเนียง pl./skt. ในภาษาไทย ต [ta$/] ถ [tHa$/] ท [tHa@/] ธ [tHa@/] น [na@/]

สําเนียงเขมร (ปกติ) ត [tAA] ថ [thAA] ទ [tçç] ធ [thçç] ន [nçç]

สําเนียงไทย (ปกติ) ต [tç˘] ถ [tHç&˘] ท [tHç˘] ธ [tHç˘] น [nç˘]

โดยในการสนทนา พยางคที่ไมเนนเสียงมักเกิดการกรอนเสียงเปนพยางคที่ออกเสียงเปนสระ / -´ / ได ตัวอยางเชน


កសិករ [kaq-seq-kAA] ~ /k´-se-kAA/ ‘เกษตรกร’
សមាជិក [saq-maa-cˆk] ~ /s´-maa-cˆk/ ‘สมาชิก’
ថវិកា [thaq-weq-kaa] ~ /th´-we-kaa/ ‘งบประมาณ’
ចលនា [caq-laq-naa] ~ /c´-l´-naa/ ‘ความเคลื่อนไหว, ขบวนการ, การปลุกปน’
ហនុមាន [haq-nuq-maan] ~ /h´-nu-maan/ ‘หนุมาน’
គណៈ [ke·´q-naq] ~ /k´-naq/ ‘คณะ, กลุม’
មករា [me·´q-kaq-raa] ~ /m´-k´-raa/ ‘(เดือน) มกราคม’
ពហិការ [pe·´q-hiq-kaa] ~ /p´-hi-kaa/ ‘คว่ําบาตร’
ភរិយា [phe·´q-riq-yi´] ~ /ph´-ri-yi´/ ‘ภรรยา, ภริยา’
រណសិរស [re·´q-naq-sei] ~ /r´-n´-sei/ ‘แนวหนา, กลุมแนวรวม’
*ប [bAA] ในคํายืม pl./skt. บางคําออกเสียง [paq] เชน
បដិមា [paq-deq-maa] ~ /p´-de-maa/ ‘รูปปน, รูปสลัก (ปฏิมา)’
បរមាណូ [paq-raq-maa-nou] ~ /p´-r´-maa-nou/ ‘ปรมาณู’
បវារណា [paq-waa-raq-naa] ~ /p´-waa-r´-naa/ ‘ปวารณา’
បរិយាកាស [paq-req-yaa-kaah] ~ /p´-re-yaa-kaah/ ‘บรรยากาศ’

3. พยางคในคํา pl./skt. ที่ประกอบดวยรูปพยัญชนะ 2 ตัว ( © © ) ในภาษาเดิมออกเสียงสองพยางค [© a © a] ซึ่งในภาษาไทย


ออกเสียงพยางคเดียวโดยออกเสียงสระโอะ (ลดรูป) [© o ©] สวนในภาษาเขมรก็จะออกเสียงเปนพยางคเดียวเชนกัน โดยออก
เสียงเหมือนกับการอานเครื่องหมายรัสสัญญา (bAntAq) ในรูป < ©>>´> > (form1) คือ
- < ©1 … > ออกเสียง [© A …] = < ©1>>´> >
- < ©2 … > ออกเสียง [© u·´ …] = < © >>´> >
2

*ยกเวนเมื่อ ©2 +ตัวสะกดในวรรค ป (เสียง [-p / -m] ) ออกเสียง [© up ] หรือ [© um]


4
ดังตัวอยางตอไปนี้
Pali-Sanskrit Khmer Thai
le sama សម / sAm / ‘เหมาะสม’ สม / so&m /

QfyrQy phalitaphala ផលិតផល / pha l´t (t´) phAl / ‘ผลผลิต’ ผลิตผล / pHa liôt ta pHo&n /

çkdV prākaṭa ្របាកដ / praa kAt / ‘แนนอน, ปรากฏ’ ปรากฏ / pra˘ ko$t /

ÎlÉ osatha ឱសថ / qao sAt / ‘ยา, สมุนไพร’ โอสถ / /o˘ so$t /

jÉ ratha រថ / ru·´t / ‘รถ’ รถ / ro@t /

jl rasa រស / ru·´h / ‘รส’ รส / ro@t /

cy bala ពល / pu·´l / ‘กําลัง, พล’ พล / pHon /

uk;d nāyaka នាយក / ni´ yu·´q / ‘ผูนํา, นายก’ นายก / na˘ jo@k /

vukxr anāgata អនាគត / qa naa ku·´t / ‘อนาคต’ อนาคต / /a na˘ kHo@t /

tuin janapada ជនបទ / cu·´n (n´) bAt / ‘ชนบท’ ชนบท / cHon na bo$t /

foÒo vibhava ពិភព / pi phup / ‘โลก, พิภพ’ พิภพ / pHiê pHo@p /

x¨jo / x©jo
េគារព / koo rup / ‘เคารพ’ เคารพ / kHaw ro@p /
gorava / gaurava

fu;e niyama និយម / ni yum / ‘นิยม’ นิยม / niê jom /

lekxe samāgama សមាគម / sa maa kum / ‘สมาคม’ สมาคม / sa ma˘ kHom /

4. คํายืม pl./skt. ในภาษาเขมรบางคํา จะใชเครื่องหมายกํากับการอาน “ -& ” ซึ่งเรียกวา สังโยคสัญญา សំេយាគស ្ញ


[saN-yook san)-n)aa] (สํโยคสฺา) ซี่งมีรูปและลักษณะการใชคลายไมหันอากาศในภาษาไทย โดยคําที่ใชเครื่องหมาย
สังโยคสัญญากํากับ จะออกเสียงเหมือนการอานเครื่องหมายรัสสัญญา (bAntAq) ในรูป < ©a>>´> > (form2) คือ
- < ©1 & >>> > ออกเสียง [© a …] = < ©1a>>´> >
- < ©2 & >>> > ออกเสียง [© o·´ …] = < © a>>´> >
2

*ยกเวนเมื่อ ©2+ตัวสะกดวรรค ก (เสียง [-q / -N] ) ออกเสียง [© e·´q] หรือ [© e·´N]


มีขอสังเกตวา คํา pl./skt. ศัพทเดียวในภาษาเดิม อาจปรากฏเปนคํายืมในภาษาเขมร 2 คําศัพทซึ่งมีความหมายตางกัน และตางกัน
ตรงที่ใชและไมใชเครื่องหมายสังโยคสัญญากํากับ จึงทําใหออกเสียงตางกันในภาษาเขมร ตัวอยางเชนคําดังตอไปนี้
Khmer Pali-Sanskrit
យ័ន្ត / yo·´n / ‘ยันต’  យន្ត / yu·´n / ‘ยนต’ ;Ur yanta ยนฺต
្របព័ន្ធ / prA-po·´n / ‘ระบบ’  ្របពន្ធ / prA-pu·´n / ‘ภรรยา, เมีย’ çcUÌ prabandha ปฺรพนฺธ
5
จากตัวอยางคําวา យន្ត /yu·´n/ ‘ยนต /yon/’ และ យ័ន្ត /yo·´n/ ‘ยันต /yan/’ หรือคําวา សងឃ /sAN/ ‘สงฆ /so&N/’
และ ស័ង្ខ /saN/ ‘สังข /sa&N/’ ทําใหพอจะสังเกตหลักการออกเสียงคํา (โดยเฉพาะคํายืม pl./skt.) ในภาษาเขมรไดอยางคราวๆ
โดยอาจสังเกตเสียงปฏิภาค (sound correspondence) เทียบกับการอานออกเสียงในภาษาไทย โดยหลักสังเกตนี้ยังใชไดกับคํายืม
pl./skt. ในภาษาเขมรบางคําที่ไมปรากฏรูปเครื่องหมายสังโยคสัญญาแตออกเสียงเหมือนมีสังโยคสัญญากํากับ ดังตัวอยางตอไปนี้
©1 អ័ព្ទ / qap / ‘หมอก’ < อัพฺท > / /a$p /

©1 ចល័ត / ca-lat / ‘เคลื่อนที่’ < จลัต > / ca la@t /

©1 ្របយ័ត្ន / prA-yat / ‘ระวัง’ < ปฺรยัตฺน > / pra ja$t /

©1 ច័ក្កច័ន / caq-ka-can / ‘ขนมชั้น’ < จักฺกจัน > / ca$k ka can /

©1 ចន្ទ / can / ‘จันทร’ < จนฺท > / can /

©1 កម្ម / kam / ‘กรรม’ < กมฺม > / kam /

©1 សត្វ / sat / ‘สัตว’ < สตฺว > / sa$t /

©1 អបសរា / qap-sa-raa / ‘(นาง) อัปสร’ < อปฺสรา > / /a$p sa ra˘ /

©1 បកសី / baq-s´y / ‘สัตวปก’ < ปกฺษี > / pa$k siÛ˘ /

©1 បណា្ណល័យ / ban-naa-lay / ‘หองสมุด’ < บณฺณาลัย > / ban na˘ laj /

©2 បាយ័ន / baa yo·´n / ‘บายน’ < บายัน > / ba˘ jan /

©2 ភ័ព្វ / pho·´p / ‘โชค’ < ภัพฺพ > / pHa@p /

©2 ទ័ព / to·´p / ‘ทัพ’ < ทัพ > / tHa@p /

©2 រដ្ឋ / ro·´t / ‘รัฐ’ < รฏ > / ra@t /

©2 វត្ត / wo·´t / ‘วัด’ < วตฺต > / wa@t /

©2 ធម្មជាតិ / tho·´m-m´-ci´t / ‘ธรรมชาติ’ < ธมฺมชาติ > / tHam ma cHa^˘t /

©2 ទសសនា / to·´h-sa-naa / ‘เที่ยวชม’ < ทสฺสนา > / tHa@t sa na˘ /

©2 យក្ខ / ye·´q / ‘ยักษ’ < ยกฺข > / ja@k /

©2 ភក្ដី / phe·´q-kd´y / ‘ภักดี’ < ภกฺตี > / pHa@k di˘ /

©2 ល័ខ / le·´q / ‘ครั่ง’ < ลัข > / la@k /

©2 លក្ខណៈ / le·´q-kha-naq / ‘ลักษณะ’ < ลกฺขณ: > / la@k kHa na$/ /

©2 រកសោ / re·´q-saa / ‘ดูแลรักษา’ < รกฺษา > / ra@k sa&˘ /

©2 រងសី / re·´N-s´y / ‘รังสี’ < รงฺสี > / raN siÛ˘ /

*นอกจากนี้ ศัพทภาษาเขมรบางคํามีการออกเสียงเฉพาะในแตละศัพทอีกจํานวนหนึ่ง ซึ่งสามารถตรวจสอบไดจากพจนานุกรมภาษา


เขมรที่มีการระบุเสียงอานคําศัพท หรือสังเกตจากการออกเสียงโดยเจาของภาษา
6

อนึ่ง เมื่อเครื่องหมายสังโยคสัญญาปรากฏรวมกับพยัญชนะสะกด យ เปน “ ©&y ” จะอานออกเสียงเชนเดียวกับ “ é© ”


คือ [©1ay] และ [©2ˆy] เชน
©1 សម័យ / sa-may / ‘สมัย’  pl. le; samaya < สมย >
©1 វិស័យ / wi-say / ‘แวดวง, วิสัย’  pl. fol; visaya < วิสย >
©2 ជ័យ / cˆy / ‘ชัย’  pl. t; jaya < ชย >
©2 ន័យ / nˆy / ‘ความหมาย, นัย’  pl. u; naya < นย >
©2 ភ័យ / phˆy / ‘กลัว, ภัย’  pl. Ò; bhaya < ภย >

นอกจากนี้ เครื่องหมายสังโยคสัญญายังปรากฏรวมกับพยัญชนะสะกด រ ในคําภาษาเขมรบางคําและคํายืมจากภาษาฝรั่งเศสที่


ลงทายดวย -eur มักปรากฏในพยางคที่มีพยัญชนะตนกลุม çç ( © series2 ) เปน “ ©&2r ” ซึ่งจะอานออกเสียง [©2ç´] เชน
ជ័រ / cç´ / ‘ยาง’ < ชัร >
ញ័រ / n)ç´ / ‘สั่น’ < ญัร >
ទំព័រ / tum-pç´ / ‘หนา (กระดาษ)’ < ทํพัร >
ប៊័រ / bç´ / ‘เนย’ < บ‘½ร >  fr. beurre

កុំពយូទ័រ / kom-pyuu-tç´ / ‘คอมพิวเตอร’ < กุMพฺยูทัร >  fr. computeur

កុងតឺន័រ / koN-t´ˆ-nç´ / ‘คอนเทเนอร’ < กุงตืนัร >  fr. conteneur

เครื่องหมาย ร บาท របាទ [ rçç baat ] ‘อักษร ร (ที่มีพยัญชนะตัวอื่นเปน) บาท’


เครื่องหมาย ร บาท “ - ’ ” มีรูปคลายสวนบนของพยัญชนะ រ [rçç] ใชในคํายืมภาษาสันสกฤตในคําที่ประกอบเครื่องหมาย
“ &Z ” ‘เรผะ’ ซึ่งในภาษาไทยแปลงรูปเปน รร (ร หัน) เมื่อภาษาเขมรนําอักขรวิธีของเครื่องหมายเรผะมาใชในรูปของเครื่องหมาย ร บาท
“ - ’ ” เครื่องหมายดังกลาวจะอยูบนพยัญชนะตัวถัดจากพยัญชนะตน {© ©’} มีหลักการอานดังนี้

- เมื่อปรากฏในรูปคํา {©2 ©’} จะออกเสียงเชนเดียวกับ ©&2r คือ [©2ç´] โดยจะไมออกเสียงพยัญชนะที่อยูใต


เครื่องหมาย ร บาท เชน
ពណ៌ / pç´ / ‘สี, พรรณ’ < พรฺณ >  skt. oÆZ varṇa < วรฺณ >
ធម៌ / thç´ / ‘ธรรม’ < ธรฺม >  skt. ÌeZ dharma < ธรฺม >
គភ៌ / kç´ / ‘ครรภ’ < ครฺภ >  skt. xÒZ garbha < ครฺภ >
7
- เมื่อพยัญชนะตัวแรกในพยางค © ©’ (พยัญชนะที่ขีดเสน) ประกอบกับรูปสระใดๆ ก็ตาม ใหอานเฉพาะพยัญชนะและสระ
นั้นๆ โดยไมออกเสียงพยัญชนะที่อยูใตเครื่องหมาย ร บาท เชน
សួគ៌ / su´ / ‘สวรรค’ < สัวรฺค >  skt. LoxZ svarga < สฺวรฺค >
កាណ៌ / kaa / ‘กรรณ’ < การฺณ >  skt. dÆZ karṇa < กรฺณ >
បរិបូណ៌ / bAA-re-bou / ‘บริบูรณ’ < บริบูรฺณ >  skt. ifjiwÆZ paripūrṇa < ปริปูรฺณ >
- หาก ร บาท ปรากฏในตําแหนงกลางคําซึ่งมีมากกวาหนึ่งพยางค อาจจะออกเสียง ร บาท เปน / r´ / เบาๆ นําหนา
พยางคที่ตามมา หรือบางคําอาจไมออกเสียง / r / เลย เชน
ព័ត៌មាន / pç´-d´-mi´n หรือ pç´-r´-mi´n / ‘ขาว’ < พัรฺตมาน >
skt. orZeku vartamāna < วรฺตมาน >

ពណ៌នា / pç´-n´-ni´ หรือ pç´-r´-ni´ / ‘พรรณนา’ < พรฺณนา >


skt. oÆZuk varṇanā < วรฺณนา >

មាគា៌ / mi´-ki´ หรือ mi´-r´-ki´ / ‘หนทาง, มรรคา’ < มารฺคา >


skt. ekxZ mārga < มารฺค >

បូពា៌ / bou-pi´ หรือ bou-r´-pi´ / ‘ทิศตะวันออก, บูรพา’ < บูรฺพา >


skt. iwoZ pūrva < ปูรฺว >

បូណ៌មី / bou-r´-m´y / (*ไมออกเสียง ណ) ‘วันเพ็ญ, บูรณมี’ < บูรฺณมี >


skt. iwÆZeh pūrṇamī < ปูรฺณมี >

เครื่องหมาย ทัณฑฆาต ទណ្ឌឃាត [ to·´n-d´-khi´t ] หรือ ปฏิเสธ បដិេសធ [ paq-de-saet ]

เครื่องหมาย ทัณฑฆาต “ - _ ” ในภาษาเขมรมีวิธีใชเชนเดียวกับภาษาไทย คือใชกํากับบนพยัญชนะที่ไมอานออกเสียง แต


ตองการรักษารูปศัพทในภาษาเดิมไวเพื่อสื่อความหมาย เชน
េរាទ៍ / roo / ‘สงเสียงรอง’ < โรท >  pl. j¨n roda < โรท >
េពាធិ៍ / poo / ‘(ตน) โพธิ์’ < โพธิ์ >  pl. c¨fÌ bodhi < โพธิ >
អារម្មណ៍ / qaa-rAm / ‘ความรูสึก’ < อารมฺมณ >  pl. ÁjEeÆ ārammaṇa < อารมฺมณ >
សាគមន៍ / swaa-kum / ‘ตอนรับ’ < สฺวาคมน >  pl. Lokxeu svāgamana < สฺวาคมน >
្របេយាជន៍ / prA-yaoc / ‘ประโยชน’ < ปฺรโยชน >  skt. ç;¨tu prayojana < ปฺรโยชน >
រាមេករ្ដិ៍ / ri´m-kei / ‘รามเกียรติ์’ < รามเกรฺติ์ >  skt. jkedh£r rāmakīrti < รามกีรฺติ >
សុីម៉ង់ត៍ / sii-mAN / ‘ซีเมนต’ < สีuม:งต >  fr. ciment

សុីរ៉ូប៍ / sii-rou / ‘น้ําหวาน, น้ําเชื่อม’ < สีuรู:ป >  fr. sirop


8

เครื่องหมาย เลขอัษฎา េលខអសា្ដ [leek qah-sdaa] หรือ េលខ្របាំបី [leek pram-b´y] ‘เลขแปด’
เครื่องหมายเลขอัษฎา “ - ¾ ” มีวิธีการใชเชนเดียวกับไมไตคูภาษาไทย คือใชกํากับบนพยัญชนะในคําที่มีออกเสียงสระเสียงสั้น
ซึ่งในภาษาเขมรมีคําที่ใชเครื่องหมายเลขอัษฎาอยูไมมาก ตัวอยางเชน
ក៏ / kA / ‘ ก็ ’ < ก็ > ដ៏ / dA / ‘ อัน, ซึ่ง, ที่ ’ < ฎ็ >
ហ៏! / hAó / ‘ อะ!, เอา! ’ < ห็ > ន៏! / nçó / ‘ นะ!, แนะ! ’ < น็! >

เครื่องหมาย กากบาท កាកបាទ [kaa-ka-baat] หรือ េជើងែក្អក [c´´N k´qaek] ‘ตีนกา’


เครื่องหมายกากบาท “ - + ” มีวิธีการใชเชนเดียวกับไมจัตวาภาษาไทย คือใชกํากับบนคําที่มีระดับเสียงสูง ซึ่งในภาษาเขมรมัก
ปรากฏในคําอุทานบางคําที่มีระดับเสียงคลายเสียงวรรณยุกตตรีหรือจัตวาในภาษาไทย เชน
នុ៎ះ! / nu@hó / ‘ นูน!, โนน! ’ < นุะ! > ច៎ះ!, ចា៎ះ! / ca@hó, ca¤ahó / ‘ จะ!, จา! ’ < จะ!, จาะ! >
ហ្ន៎! / nA¤Aó / ‘ เนาะ!, หนอ! ’ < หฺน! > អ្ហ៎! / qhA¤Aó / ‘ ออ! , ออ! ’ < อฺห! >

เอวํ υŷж ए वं

You might also like