You are on page 1of 7

เฉลย

อ่านถ้อยความที่กำหนดให้ต่อไปนีแ
้ ล้วตอบคำถาม
คำถามที่ ๑ ถ้อยความนีผ
้ ู้เขียนต้องการนำเสนอเรื่องใดมากที่สุด (บูรณ
าการและตีความ)

๑. ผักบุง้ เป็ นผักที่มีดอกสวยงาม

๒.สรรพคุณและลักษณะของผักบุ้ง

๓.คุณประโยชน์ของผักบุ้ง

๔.การเจริญเติบโตของผักบุ้ง

คำถามที่ ๒ ข้อใด ไม่ ถูกต้อง (เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)

๑. ดอกของผักบุ้งใช้เป็ นยาแก้กลากเกลื้อน

๒.ผักบุง้ ใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก

๓.รับประทานผักบุ้งบ่อยๆจะช่วยบำรุงสายตา

๔.ต้นสดของผักบุ้งช่วยบำรุงโลหิตให้ไหลเวียนได้ดี
คำถามที่ ๓ “เข้าทำนองใกล้เกลือกินด่าง” ทำไมผูเ้ ขียนจึงกล่าวเช่นนัน

(บูรณาการและตีความ)

๑. ไม่เคยสนใจดอกผักบุง้ เพราะเห็นบ่อยจนชิน

๒. สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรามักมีความสวยงามแต่เรามักมองข้าม

๓. ดอกไม้สวยงามมีหลายชนิดทำให้มองไม่เห็นความสวยงามของ
ผักบุง้

๔. ผักบุง้ มีสรรพคุณมากมายแต่ไม่เคยนำมาใช้
คำถามที่ ๔ จากถ้อยความข้างต้น ข้อความต่อไปนี ้ เป็ นความจริง
หรือ ไม่เป็ นความจริง

ข้อความ เป็ นความจริง จงเขียนเครื่องหมาย X ในช่อง


“ใช่”
ข้อความ ไม่เป็ นความจริง จงเขียนเครื่องหมาย √ ในช่อง
“ไม่ใช่”

ข้
ข้อความ ใช่ ไม่ใช่

ผักบุง้ มีสรรพคุณช่วยรักษาโรคเบาหวาน เนื่องจาก
๑. เป็ นยาช่วยดับร้อน √
(เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)
ผักบุง้ จะแตกยอดชูใบเฉพาะในฤดูน้ำหลากเท่านัน

๒. X
(เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)
เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก น้ำที่หลากจะพัดพาเอาความอุดม
๓. สมบูรณ์มาทับถมกลายเป็ นปุ๋ยให้เกษตรกร (เข้าถึง √
หรือค้นคืนสาระ)
ผักบุง้ ที่มีเฉพาะยอดและนิยมรับประทานกับส้มตำ
๔. หรือนำมาทำแกงส้ม เรียกว่าผักบุ้งจีน (เข้าถึงหรือค้น X
คืนสาระ)
Ipomoea aquatic Forssk เป็ นชื่อวิทยาศาสตร์
๕. √
ของผักบุ้ง (เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)
ผักบุง้ เป็ นพืชล้มลุก ลำต้นกลมสีเขียวหรือสีม่วงแดง
๖. √
ทอดเลื้อยไปตามน้ำ (เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)
ใบรูปหอก ขอบใบเรียว ปลายใบมน ฐานใบเว้าเป็ น
๗. รูปหัวใจ คือลักษณะของผักบุ้งที่เจริญเติบโตสมบูรณ์ X
(เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)
รับประทานผักบุ้งเป็ นประจำจะช่วยบำรุงสายตาและ
๘. คนเฒ่าคนแก่กล่าวว่ากินผักบุ้งแล้วจะทำให้ตาหวาน ( √
เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)
เย็นตาโฟ ต้มจับฉ่าย แกงส้ม แกงอ่อม ต้องใช้ผักบุ้ง
๙. เป็ นวัตถุดิบในการปรุงทัง้ หมด (บูรณาการและ X
ตีความ)
ผักบุง้ เป็ นพืชใบเลีย
้ งเดี๋ยวออกแบบสลับ มีดอกสีขาว

และสีชมพูเกสรตัวผู้ มี ๕ อัน และยาวเท่ากัน (เข้าถึง X
๐.
หรือค้นคืนสาระ)

คำถามที่ ๕ ให้นักเรียนบอกสรรพคุณทางสมุนไพรของผักบุ้งมาอย่าง
น้อย ๕ ข้อ (เข้าถึงหรือค้นคืนสาระ)

เฉลย ๑. ดอกของผักบุ้งใช้เป็ นยาแก้กลากเกลื้อน

๒. ผักบุง้ ใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก


๓. รับประทานผักบุ้งบ่อยๆจะช่วยบำรุงสายตา

๔. ลดอาการแพ้ อักเสบ บวมแดง

๕ ช่วยรักษาโรคเบาหวานเป็ นยาดับร้อน

๖. บำรุงสายตา บำรุงเลือด บำรุงกระดูกและฟั น

คำถามที่ ๖ จากถ้อยความข้างต้น ถ้านักเรียนต้องประกอบอาหาร

เย็นให้คุณยายรับประทาน นักเรียนจะเลือกใช้ผักบุ้งเป็ นวัตถุดิบหรือ

ไม่ เพราะเหตุใด และจะทำเมนูใดให้ท่านรับประทาน (สะท้อนและ

ประเมิน)

เฉลย ใช้ เพราะผักบุ้งเป็ นผักที่มีประโยชน์ มีสรรพคุณทางสมุนไพรช่วย

บำรุงกระดูกและฟั น บำรุงเลือด บำรุงสายตา ซึ่งเหมาะอย่างยิ่งที่นำมา

ประกอบอาหารให้คุณยาย นอกจากนัน
้ ผักบุ้งยังหาได้ง่ายตามลำคลอง

หรือตลาดทั่วไป และเมนูที่จะทำคือ แกงส้ม เนื่องจากเป็ นเมนูที่เป็ นน้ำ

รับประทานง่าย คล่องคอ (คำตอบอาจแตกต่างไปได้ อยู่ในดุลยพินิจ

ของครูผส
ู้ อน)

.............................................................................................................

.............................................................................................................

.............................................................................................................
.............................................................................................................

........................................................

.............................................................................................................

.............................................................................................................

.............................................................................................................

.............................................................................................................

........................................................

.............................................................................................................

.............................................................................................................

.............................................................................................................

You might also like