You are on page 1of 750

เขาสูวชิ า

มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน

รศ. ดร. สมเกียรติ วรปญญาอนันต


คําอธิบายรายวิชา
มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน
ลักษณะทั่วไปของกฎหมาย ในฐานะที่เปนแบบแผนความ
ประพฤติของมนุษยในสังคม หลักการพื้นฐานของนิติรัฐ
คุณคาของกฎหมายในฐานะที่เชื่อมโยงกับหลักคุณธรรมของ
ประชาชน ความรูพื้นฐานในเรื่องกฎหมายเอกชนและกฎหมาย
มหาชนที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยควรตองรูทงั้ ในดาน
ของสิทธิ และในดานของหนาที่ การระงับขอพิพาทและ
กระบวนการยุติธรรมของไทย หลักการใชสิทธิ การใชและการ
ตีความกฎหมาย โดยเนนการศึกษาจากกรณีตัวอยางที่เกิดขึ้น
ในชีวิตประจําวัน
กฎหมายเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของมนุษย
ตัวอยางที่หนึ่ง
เมื่อเจาหนาที่ตํารวจเรียกใหผูขับขี่รถยนตชิดขางทางแลวแจง
ขอหาทําผิดกฎจราจร ตํารวจบอกวา “ขอใบอนุญาตครับ” เรา
ตองสงใบขับขี่ใหตํารวจทันทีหรือไม ถาไมสง ใหแลวจะมี
ความผิดหรือไม
ปญหาดังกลาว สามารถพิจารณาตาม พรบ. การจราจรทางบก
พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๔๐ เดิม และประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๓๖๘
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 บัญญัติวา “ผูใด
ทราบคําสั่งของเจาพนักงานซึ่งสั่งการตามอํานาจที่มี
กฎหมายใหไว ไมปฏิบตั ิตามคําสั่งนั้นโดยไมมีเหตุหรือขอ
แกตัวอันสมควร ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบวัน หรือ
ปรับไมเกินหารอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
พรบ. การจราจรทางบก พ.ศ. 2522
มาตรา 140 (เดิม) เมื่อเจาพนักงานจราจรหรือพนักงานเจาหนาที่พบวาผูขับขี่
ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทแหงพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอันเกี่ยวกับ
รถนั้นๆ จะวากลาวตักเตือนผูขับขี่ หรือ ออกใบสั่งใหผูขับขี่ชําระคาปรับตามที่
เปรียบเทียบก็ได ในกรณีที่ไมพบตัวผูขับขี่ก็ใหติดหรือผูกใบสั่งไวที่รถที่ผูขับขี่เห็นได
งาย
สําหรับความผิดที่กําหนดไวในมาตรา ๑๕๗/๑ มาตรา ๑๕๙ มาตรา ๑๖๐มาตรา
๑๖๐ ทวิ และมาตรา ๑๖๐ ตรี หามมิใหวากลาวตักเตือนหรือทําการเปรียบเทียบ
ในการออกใบสั่งใหผขู ับขี่ชําระคาปรับตามที่เปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง เจา
พนักงานจราจรหรือพนักงานเจาหนาที่จะเรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่ไวเปนการ
ชั่วคราวก็ได แตตองออกใบรับแทนใบอนุญาตขับขี่ใหแกผูขับขี่ไว และเจาพนักงาน
จราจรหรือพนักงานเจาหนาที่ตองรีบนําใบอนุญาตขับขี่ที่เรียกเก็บไวไปสงมอบ
พนักงานสอบสวนภายในแปดชั่วโมง นับแตเวลาที่ออกใบสั่ง
ดังนั้น แตเดิม เมื่อตองพิจารณาตามบทบัญญัติกฎหมายเดิม ตองเปน
กรณี “ในการออกใบสั่ง” เทานั้น เจาพนักงานตํารวจจึงจะมีอํานาจ
เรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่ไวเปนการชั่วคราวได มิฉะนั้นมีความผิดฐาน
ขัดคําสั่งเจาพนักงาน แตหากยังมิไดเขาสูกระบวนการออกใบสั่งใหผู
ขับขี่ชําระคาปรับตามที่เปรียบเทียบตามมาตรา ๑๔๐ เดิม ยอมยังมิใช
กรณีที่เปนคําสั่งของเจาพนักงานซึ่งสั่งการตามอํานาจที่มีกฎหมายให
ไว ผูที่เกี่ยวของเปนคูกรณีจึงยังไมมีหนาที่ตามกฎหมายที่จะตองปฏิบัติ
ตามคําสั่งที่ยังไมอยูในขอบเขตที่มีกฎหมายใหอํานาจไว
อยางไรก็ตาม ไดมีการแกไขกฎหมายใหมในป พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยเปลี่ยนแปลงความ
ในบทบัญญัติมาตรา ๑๔๐ เดิม โดยกําหนดไมใหอํานาจเจาพนักงานตํารวจเรียกเก็บ
ใบอนุญาตขับขี่ไวเปนการชั่วคราวอีก แตกลับกําหนดเปนหนาที่ของผูขับขี่ตาม
มาตรา ๓๑/๑ ที่บัญญัติเพิ่มขึ้นใหมในวรรคหนึ่งวา “ในขณะขับรถในทางเดินรถ ผู
ขับขี่ตองมีใบอนุญาตขับขี่อยูกับตัวและตองแสดงตอเจาพนักงานจราจรเมื่อขอ
ตรวจ” ดังนั้น ผูขับขี่มหี นาที่แสดงใบอนุญาตขับขี่ในทันทีที่เจาพนักงานจราจรขอ
ตรวจดู แตเจาพนักงานจราจรไมมีอํานาจเรียกเก็บใบอนุญาตขับขี่ไวเปนการชั่วคราว
อีกตอไป และการใชอาํ นาจยึดใบอนุญาตขับขี่ของผูขับขี่หรือบันทึกการยึดใบอนุญาต
ขับขี่ดวยวิธกี ารทางขอมูลอิเล็กทรอนิกส หรือระงับการใชรถเปนการชั่วคราวเพื่อมิ
ใหผูนั้นขับรถอาจกระทําไดแตเฉพาะกรณีตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๐/๒ ใหม
เนื่องจากผูขบั ขี่ผูนั้นอยูในสภาพที่หากใหขับรถตอไปอาจเปนอันตรายตอชีวิต
รางกาย หรือทรัพยสินของตนเองหรือผูอื่นเทานั้น หรือในกรณีที่ผูขับขี่ผใู ดเปนผูขาด
คุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามในการไดรับใบอนุญาตขับขี่ ใหเจาพนักงานจราจรมี
อํานาจยึดใบอนุญาตขับขี่ หรือบันทึกการยึดใบอนุญาตขับขี่ดวยวิธีการทางขอมูล
อิเล็กทรอนิกสของผูขับขี่ผูนั้นตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๐/๓ ใหม
ตัวอยางที่สอง: ถูกตํารวจจับ โดยทั่วไปแลวตองทําอยางไร
จะปฏิเสธไมใหการไดหรือไม มีสิทธิพบทนายความหรือไม
การประกันตัว กฎหมายคุมครองสิทธิของจําเลยหรือ
ผูตองหาหรือไมอยางไร
การปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธพ
ี ิจารณาความอาญา
(จะไดศึกษาตอไปในหัวขอ “กระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา”)
กฎหมายไมดจี ริงหรือไม กฎหมายเปน
อุปสรรคในการแกไขปญหาตางๆ ใชหรือไม
กฎหมายเปนแบบแผนความประพฤติ ปรากฏตัวอยูในหลายรูปแบบ
กฎหมายเปนเครื่องมือที่สาํ คัญอยางหนึ่งในการแกไขปญหาตางๆ ถา
กฎหมายไมดีก็ตองแกไข แตตราบใดที่ยังไมมีการแกไขกฎหมาย ทุก
คนมีหนาที่ตองปฏิบัตติ ามกฎหมาย ไมถอื เปนขออางวาเมื่อตนเห็นวา
กฎหมายไมดีก็ไมยอมปฏิบัติตามกฎหมาย ตองถือเอากฎหมายเปน
ใหญตามหลักการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติรัฐ และตองมีการ
ใชบังคับกฎหมายอยางเสมอหนากัน ไมมกี ารเลือกปฏิบตั ิ
กฎหมาย? ไมเกี่ยวกับกฎหมาย?
ซื้อของไมเขาคิว?
ม็อบปดถนน?
เรื่องนี้ควรนําหลักรัฐศาสตรมาใชมากกวาหลักนิติศาสตร ...
หลักนิติรัฐคืออะไร?
หลักประชาธิปไตย?
กฎหมายไมเกี่ยวกับศีลธรรม?
กฎหมายเปนคนละเรื่องกับศีลธรรม ศีลธรรมเปน
เรื่องความคิดเห็นสวนบุคคลที่จะแตกตางกันไป
แลวแตจะคิด?
กฎหมายเปนเรื่องการบัญญัติกฎหมายมาบังคับใช
สวนศีลธรรมเปนเรื่องทางศาสนา?
วัตถุประสงคของการศึกษาวิชา มธ.122
1. เพื่อใหนักศึกษาซึ่งมิไดศึกษาวิชากฎหมายเปนวิชาเอก มี
พื้นฐานความรูกฎหมายในเบื้องตนสําหรับใชในการเตรียม
ตัวสอบคัดเลือกเขาทํางาน
2. เพื่อใหนักศึกษามีพื้นฐานความรูกฎหมายในเบื้องตน
สําหรับใชในการประกอบอาชีพหรือในชีวิตประจําวัน เมื่อ
สําหรับการศึกษาในมหาวิทยาลัยไปแลว
เกณฑแปลงคะแนนเปนเกรด
A = 85 – 100
B+ = 75 – 84
B = 70 – 74
C+ = 65 – 69
C = 60 – 64
D+ = 50 – 59
D = 40 – 49
F = 0 - 39
บทที่ 1
ลักษณะทั่วไปของกฎหมายในฐานะที่เปนแบบแผน
ความประพฤติของมนุษยในสังคม
1.ขอความเบื้องตน
1.1ความสําคัญของ “รัฐ” (State) ในสังคมปจจุบัน และใน
ระบบกฎหมายปจจุบัน
1.2กฎหมายกับสังคม : ubi societas, ibi ius. (ที่ใดมีสังคม
ที่นั่นมีกฎหมาย)
แนวคิดเรื่องรัฐ ไมมีประเด็นนี้ในชวงยุคสมัยเกา
ถือหลักอํานาจนิยม
– สมัยโรมัน
– สมัยกลาง
แนวคิดเรื่องรัฐสมัยใหม เชื่อมโยงกับความเสื่อมของศาสนจักร และ
เกิดทฤษฎีวาดวยอํานาจอธิปไตย เปนผลทําให “รัฐ” เขาแทนที่ God
ในเรื่องระบบกฎหมายและการเมืองการปกครอง
องคประกอบของรัฐไดแกอะไรบาง?
19
ในประเทศฝรั่งเศสช ว งเวลานั น
้ มี การทํ าสงครามกั บ ปรั ส เซี ย ระหว า งวั นที ่ ๑๙ กรกฎาคม
1 870 29 1 18 70
๑๘๗๐ ถึงวันที่ ๒๙ มกราคม ๑๘๗๑ ดังนั้น แมวาในชวงป ๑๘๗๐ จะเกิดกระบวนการพัฒนา
187

หลักนิตริ ฐั ขึ้นในแควนบาเดน (เยอรมนี) แตประเทศฝรั่งเศสดูเหมือนจะมีเหตุผลในทาง


ประวัตศิ าสตรของตนเองในการเปลี่ยนแปลง แมวาการปฏิวัติฝรั่งเศสครั้งที่สองในป ๑๘๔๘
ซึ่งนําโดยฝายเสรีนยิ มและปญญาชนฝายซายจะประสบผลสําเร็จและนําไปสูการสิ้นสุดของการ
ปกครองในระบบกษัตริยข องพระเจาหลุยสฟลิปที่เปลี่ยนเปนยุคสาธารณรัฐที่สองในเดือน
มิถุนายน ๑๘๔๘ ก็ตาม แตตอมาการปกครองในระบอบสาธารณรัฐกลับไมประสบความสําเร็จ
และถูกชี้นําดวยแนวทางอนุรักษนิยม หลุยสนโปเลียนโบนาปารตผูเปนหลานของนโปเลียนโบ
นาปารตไดรับเลือกตั้งใหดาํ รงตําแหนงประธานาธิปดีภายใตการสนับสนุนของเกษตรกรชาวไร
ชาวนา ตอมาในป ๑๘๕๒ หลุยสนโปเลียนโบนาปารตยุบเลิกระบอบสาธารณรัฐและกอตัง้ ยุค
จักรวรรดิที่สอง (Second Empire) และประกาศตนเองเปนจักรพรรดินโปเลียนที่สาม
จักรพรรดินโปเลียนที่สามในชวง Second Empire ดังกลาวปฏิเสธหลักการแบงแยกอํานาจ
และทําการปกครองดวยระบบอํานาจนิยม ลดทอนบทบาทของมหาวิทยาลัยในการจัดการเรียน
การสอนวิชากฎหมายมหาชน และจํากัดใหศาลมีอาํ นาจเกี่ยวดวยการอํานวยความยุติธรรม
ทางแพงเทานั้นเพื่อคงอํานาจของผูปกครองไวตามระบบอํานาจนิยม ซึ่งไดรบั การโตแยง
คัดคานจากฝายเสรีนิยมเปนอยางมาก เมื่อสิ้นยุคจักรวรรดิดงั กลาว จึงนําไปสูการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะของกฎหมาย

1)กฎเกณฑที่เปนแบบแผนความประพฤติ
(Norm)
2)มีกระบวนการบังคับที่เปนกิจจะลักษณะ
(Organized Enforcement)

ถอนคําสงกรมป ั ับซอ
่ าไม้ ออกคําสงท ้ นทีชาวบ้านเพชรบุร ี
กรุงเทพธุรกิจออนไลน (30ก.ย.2552) ผูสื่อขาวรายงานวา ศาลปกครองกลาง
ไดมคี ําพิพากษา เพิกถอนประกาศกรมปาไม เรื่อง กําหนดบริเวณพื้นที่ใหสวน
ราชการหรือองคการของรัฐเขาใชประโยชนภายในเขตปาสงวนแหงชาติ ฉบับที่
190 / 2539 ลงวันที่ 10 ต.ค. 2539 เฉพาะสวนเนื้อที่ที่ทับซอนกับพื้นที่ ตาม
แบบแจงการครอบครอง (ส.ค.1) เลขที่ 101 หมูที่ 6 ต.หนองกะปุ ส.ค.1 เลขที่
129 หมูท่ี 5 ตําบลบานทาน ส.ค.1 เลขที่ 103 หมูที่ 6 ตําบลหนองกะปุ ส.ค.1
เลขที่ 127 หมูที่ 5 ตําบลบานทาน ส.ค.1 เลขที่ 136 หมูที่ 5 ตําบลบานทาน
ส.ค.1 เลขที่ 148 หมูที่ 5 ตําบลบานทาน ส.ค.1 เลขที่ 138 หมูที่ 5 ตําบลบาน
ทาน ส.ค.1 เลขที่ 133 หมูที่ 5 ตําบลบานทาน และหนังสือรับรองการทํา
ประโยชน (น.ส. 3) เลขที่ 112 หมูที่ 6 ตําบลบานทาน อําเภอบานลาด จังหวัด
เพชรบุรี ที่ผูฟอ งคดี คือนายหวัด นางทอง นางบุญมี นางเผิ่น บานแยม นาง
บุญสง นายนอบ นางผิ่น นางสรอย และนายพวน ครอบครองและทําประโยชน
ตามลําดับ และใหกรมปาไม สถาบันราชภัฎเพชรบุรี กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และรมว.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ผูถูกฟองคดีทั้งสี่ถือปฏิบตั ิตอสิทธิและหนาที่ของผูฟองคดีทั้งเกา
ตามหลักฐาน ส.ค.1 และ น.ส.3 ดังกลาว
ศาลปกครองเพชรบุรี มีคําพิพากษากรณีออกโฉนดที่ดินทับซอนกับที่ดิน
ส.ป.ก. ตามโครงการปฏิรูปที่ดินปาหนองหญาปลอง และทับซอนเขตปา
สงวนแหงชาติปา หนองหญาปลอง อ.หนองหญาปลอง จังหวัดเพชรบุรี
เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2563 ศาลปกครองเพชรบุรไี ดมีคาํ พิพากษาในคดีหมายเลขแดงที่
123/2563 ระหวาง นาย ถ. กับพวกรวม 7 คน ผูฟองคดี เจาพนักงานที่ดินจังหวัดราชบุรี
สาขาปากทอ ผูถูกฟองคดี และ นาย ก. ผูรองสอด
ที่ดินตามโฉนดที่ดินพิพาททั้ง 6 แปลงของผูรองสอด เดิมเปนที่ดินมือเปลา ไมมีเอกสารแสดง
สิทธิใดๆ ในที่ดิน ไมเคยมีการแจงการครอบครอง (ส.ค.1) มิไดมีการแจงความประสงคจะได
สิทธิในที่ดินตามกฎหมาย ตั้งอยูในเขตปาสงวนแหงชาติ ปาหนองหญาปลอง อําเภอหนอง
หญาปลอง จังหวัดเพชรบุรี โดยเนื้อที่ดนิ ประมาณครึ่งแปลงของโฉนดที่ดินแตละแปลงทับซอน
กับที่ดิน ส.ป.ก. ในเขตปฏิรูปที่ดินตามโครงการปฏิรูปที่ดินปาหนองหญาปลอง และเนื้อที่ดิน
สวนที่เหลือของโฉนดที่ดินแตละแปลงในที่ดินทั้ง 6 แปลงทั้งหมด ทับซอนกับเขตปาสงวน
แหงชาติ ปาหนองหญาปลอง อําเภอหนองหญาปลอง จังหวัดเพชรบุรี โฉนดที่ดินพิพาททั้ง 6
แปลงของผูรองสอด จึงเปนโฉนดที่ดินที่ไมชอบดวยกฎหมาย ศาลจึงมีคําพิพากษาเพิกถอน
โฉนดที่ดินพิพาททั้ง 6 แปลง ของผูรองสอดและใหแจงหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหมด
ดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไป
การทางฯ พลิกชนะ! ศาลฎีกาชี้ขาดไมตอ งจายคาโง 6 พันลาน
โดย ผูจัดการออนไลน 15 กุมภาพันธ 2550 (คําพิพากษาศาลฎีกาที่
7277/2549)
ศาลฎีกามีคําพิพากษาใหการทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) ไมตองจายคา
โงทางดวน 6.03 พันลาน ระบุอดีตผูวา ฯ กทพ. ลงนามในสัญญาสัมปทานกับ
กิจการรวมคาบีบีซีดีโดยมิชอบ เพื่อแลกกับผลประโยชนสวนตัวเปนสิทธิการซื้อ
หุนราคาถูกจากเอกชนผูฟอง จึงไมมเี หตุที่ กทพ. จะตองชําระคาเสียหายจาก
การผิดสัญญาสัมปทาน
ศาลฎีกามีคําพิพากษาใหยกคํารองของกิจการรวมคา บีบีซีดี ผูรอง ที่ไดยื่นฟอง
ขอใหศาลมีคําพิพากษาบังคับคดีกับการทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.)
ปฏิบัติตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ที่ 36 /2544 ลงวันที่ 20 ก.ย.
2544 ที่ให กทพ. ตองชําระเงินแกกิจการรวมคา บีบีซีดี เปนเงินจํานวน
6,039,893,254 บาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป จากกรณีที่กิจการรวมคา
บีบีซีดี กลาวหาวา กทพ. ผิดสัญญาสัมปทานโครงการกอสรางทางดวนยกระดับ
บางนา บางพลี บางปะกง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7277/2549
ผูรองทั้งสามยื่นคํารองขอใหศาลมีคําพิพากษาและบังคับใหผูคัดคานชําระเงินใหแกผู
รองตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
ผูคัดคานเปนหนวยงานทางปกครองที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายฝายมหาชนทําสัญญา
จางเหมาออกแบบรวมกอสรางโครงการทางดวนกับผูรองทั้งสาม ผูคัดคานทําโดย
อาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายในฐานะหนวยงานทางปกครองที่เปน
องคกรนิติบุคคลขอ 17 ของประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 บัญญัติใหมีผูวา
การการทางพิเศษแหงประเทศไทยเปนผูกระทําการในนามผูคัดคานในกิจการที่
เกี่ยวกับบุคคลภายนอกและเปนผูกระทําการแทนผูคัดคานตามบทบัญญัติของ
กฎหมายดังกลาว การใชอํานาจของผูวาการการทางพิเศษแหงประเทศไทยซึ่งกระทํา
การในนามผูคัดคานจะผูกพันผูคัดคานตอเมื่ออยูภายใตหลักความชอบดวยกฎหมาย
กลาวคือ นอกจากจะตองอยูภายในขอบเขตแหงอํานาจหนาที่ตามกฎหมายที่จัดตั้ง
กําหนดไวเปนไปตามระเบียบวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครองและไมฝาฝนบทบัญญัติ
แหงกฎหมายหรือกฎระเบียบและขอบังคับที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายแลว
การใชอํานาจของผูคัดคานจะตองมิใชเปนการใชอํานาจโดยมิชอบหรือมีการบิดผัน
อํานาจทางหนึ่งทางใดอีกดวย ผูคัดคานโตแยงคําพิพากษาศาลชั้นตนใหบังคับตามคํา
ชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7277/2549
ศาลฎีกาวินิจฉัยขอที่วา ศ. ผูดํารงตําแหนงผูวาการการทางพิเศษแหงประเทศ
ไทย เจาหนาที่อื่นของผูคัดคานและเจาหนาที่รัฐหนวยอื่น ๆ รับประโยชนจากผู
รองทั้งสาม หากมีอยูจริงดังคําคัดคาน การใชอํานาจตามกฎหมายของ ศ. ใน
ฐานะผูวาการการทางพิเศษแหงประเทศไทยในการทําสัญญาจางเหมาออกแบบ
รวมกอสรางโครงการทางดวนฯ ในนามผูคัดคานยอมเปนการไมชอบดวย
กฎหมาย นิติกรรมหรือสัญญา หากมีการทําขึ้นเพราะกลฉอฉลหากมีอยูจริงก็ไม
ทําใหสัญญาจางเหมาออกแบบรวมกอสรางโครงการทางดวนฯ เปนโมฆะนั้น
ฝาฝนตอบทบัญญัติของประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 อันเปนกฎหมาย
เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน ซึ่งผูคดั คานยอมอุทธรณไดตาม
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ พ.ศ.2545 มาตรา 45 (2) ซึ่งบัญญัติไวอยางเดียวกับ
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ พ.ศ.2530 มาตรา 26 (2)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7277/2549
การที่ ศ. ซึ่งดํารงตําแหนงผูวาการการทางพิเศษแหงประเทศไทยในขณะเกิดเหตุปดบัง
ขอเท็จจริงเกี่ยวกับการสงมอบพื้นที่กอ สราง ในการประชุมคณะกรรมการ กทพ. และลงนามใน
ขณะที่ยังไมมีการวาจางวิศวกรที่ปรึกษาเพื่อใหคําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินการโครงการกับผู
คัดคาน เพือ่ มิใหผคู ดั คานตองเสียประโยชน ทําใหเกิดปญหาหลายอยางตามมา นอกจากนั้น
การลงนามของ ศ. ยังมีลักษณะเรงรีบโดยลงนามกอนวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปน
การทั่วไปเพียง 4 วัน จากขอเท็จจริงดังกลาวทําใหเห็นไดวา การกระทําของ ศ. เพื่อใหมีการ
ลงนามในสัญญาดังกลาวใหจงได นับเปนการผิดปกติวิสยั ของเจาหนาที่รัฐที่ตองรักษา
ผลประโยชนของประเทศชาติ ประกอบกับขอที่ ศ. ไดรับประโยชนจากการซื้อหุนจองของ
บริษัทผูรองที่ 2 และของบริษัททางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ที่ผรู องที่ 2 เปนผูถือหุนราย
ใหญแลว โดยผูรองที่ 2 กําหนดสัดสวนในการจัดสรรใหแกผมู ีอุปการะคุณ 10 เปอรเซ็นต และ
ปรากฏวาเจาหนาที่ระดับสูงทุกคนของผูคดั คานไดรับสิทธิจากการจัดสรร เมื่อลงนามในสัญญา
แลว เมื่อ ศ. ขายหุนของบริษัทผูรองที่ 2 ไปไดกําไรประมาณ 1,000,000 บาท และใชสิทธิซื้อ
หุนของบริษัททางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) อีกจํานวน 2,870,000 บาท มีเหตุผลใหเชื่อ
ไดวา ศ. ตองการจะชวยเหลือผูร องทั้งสามโดยเห็นแกประโยชนที่ผูรองทั้งสามจัดให จึงถือวา
การใชอํานาจในฐานะผูวาการการทางพิเศษแหงประเทศไทยของ ศ. ที่ลงนามในสัญญาจาง
เหมาออกแบบรวมกอสรางโครงการทางดวนฯ เปนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบดวยกฎหมาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7277/2549
การที่ผูรองที่ 2 เพิ่มทุนและจัดสรรหุนใหแก ศ. และเจาหนาที่ของรัฐคนอื่นไดซื้อหุนในฐานะผู
มีอุปการะคุณ รวมทั้งการจัดสรรหุนของบริษัททางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ให ศ. กับ
เจาหนาที่ของรัฐคนอื่นมีสิทธิซื้อกอนทําสัญญาจางเหมาออกแบบรวมกอสรางโครงการทาง
ดวนฯ ก็ถือไดวาผูรองทั้งสามไดใหผลประโยชนแก ศ. และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของเพื่อจูงใจให ศ.
และเจาหนาที่ดังกลาวปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการทําสัญญาจางเหมาออกแบบรวมกอสราง
โครงการทางดวนฯ โดยเอื้อประโยชนแกผรู องทั้งสามนั้นเอง กรณีจึงตองถือวาในการทําสัญญา
ดังกลาวของผูรองทั้งสาม ผูรองทั้งสามใชสิทธิโดยไมสุจริต สัญญาจางเหมาออกแบบรวม
กอสรางโครงการทางดวนฯ ซึ่งเกิดจากการกระทําโดยไมชอบดวยกฎหมายอันเกีย่ วดวยความ
สงบเรียบรอยของประชาชน จึงไมมีผลผูกพันผูคัดคาน คําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการในขอ
พิพาทหมายเลขแดงที่ 36/2544 ที่ชี้ขาดใหผูคัดคานชําระเงินใหแกผูรอ งทัง้ สามตามสัญญาซึ่ง
เกิดขึ้นจากการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมายดังกลาวนั้น หากศาลบังคับใหตามคําชี้ขาดนั้น
ยอมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยของประชาชน ชอบที่ศาลชั้นตนจะปฏิเสธไมรับบังคับให
ตาม พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการฯ มาตรา 44 ดังนั้น คําพิพากษาของศาลชั้นตนที่บังคับตามคําชี้
ขาดของอนุญาโตตุลาการดังกลาวจึงฝาฝนตอกฎหมายอันเกีย่ วดวยความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน พิพากษากลับใหยกคํารองของผูรองทั้งสาม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4371/2528
คดีนี้ตัดสินตามมาตรา 10 “เมื่อความขอใดขอหนึ่งในเอกสารอาจตีความได
สองนัย นัยไหนจะทําใหเปนผลบังคับได ใหถือเอาตามนัยนั้นดีกวาที่จะถือเอา
นัยที่ไรผล”
ระเบียบขอบังคับวาดวยการลาออกมิไดกําหนดตัวผูมีอํานาจหนาที่อนุมัติใบลา
ออกไวชดั แจง แตไมอาจแปลจํากัดเพียงวานอกจากกรรมการผูจดั การผูมี
อํานาจหนาที่กระทําการแทนจําเลยผูเดียวเทานั้นแลว ผูอื่นใดหามีอํานาจที่จะ
อนุมัติอีกไมเปนการแปลเฉพาะขอความตอนใดตอนหนึ่งอันไมตองดวยหลักการ
ตีความ การตีความจักตองตีความไปตามความประสงคในทางสุจริตโดย
พิเคราะหเทียบเคียงถึงขอสัญญาและขอตกลงอื่นๆ ประกอบดวย และตอง
ตีความโดยนัยที่จะทําใหเปนผลบังคับไดการเลิกจางตามระเบียบขอบังคับของ
จําเลยมีขอความเปนทํานองเดียวกับประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การ
คุมครองแรงงานฯขอ 47(1) ถึง (6) เปนการเลิกจางในทางวินัย เปนการลงโทษ
ในสถานที่หนักที่สุดที่นายจางพึงกระทําตอลูกจางไดน้นั ใหอํานาจผูจัดการ
โรงงานไว สวนการลาออกโดยความสมัครใจ ซึ่งโดยปกติยอมไมมีผลรายแก
ลูกจางไมมีประโยชนและความจําเปนประการใดที่จําเลยจะสงวนอํานาจเชนวา
นี้ไวเปนอํานาจโดยเฉพาะสําหรับกรรมการผูจัดการผูเดียวเทานั้น ผูจัดการ
โรงงานจึงมีอํานาจอนุมัติได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3701/2545
คดีนี้ตัดสินตามมาตรา 11 “ในกรณีที่มีขอสงสัย ใหตีความไปในทางที่เปนคุณแก
คูกรณีฝายซึ่งจะเปนผูตองเสียในมูลหนี้น้นั ”
กรณีตามใบขนสินคาขาเขาฉบับหลังกรมศุลกากรโจทกนําเงินที่ไดรับจากธนาคาร
ชําระหนี้คาอากรขาเขากอนแลวจึงนําสวนที่เหลือไปชําระเงินเพิ่ม สวนกรณีตามใบ
ขนสินคาขาเขา 2 ฉบับแรก มีขอสงสัยวาโจทกนําเงินที่ไดรับจากธนาคารไปชําระหนี้
คาอากรขาเขากอนหรือชําระเงินเพิ่มกอน ตองตีความไปในทางที่เปนคุณแกจําเลย
ซึ่งเปนคูกรณีฝายซึ่งจะเปนผูตองเสียในมูลหนี้นั้น ตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยมาตรา 11 จึงฟงไดวา โจทกนําเงินที่ไดรับจากธนาคารไปหักชําระเปนคา
อากรขาเขากอนเมื่อเงินที่ธนาคารสงใหโจทกเพื่อชําระหนี้ตามใบขนสินคาขาเขาแต
ละฉบับมีจํานวนมากกวาอากรขาเขา จึงไมมีอากรขาเขาที่คางชําระอีกตอไป เงินที่
ขาดจํานวนอีก 345,890.88 บาท จึงเปนเงินเพิ่มที่จําเลยยังคางชําระ แม
พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 112 จัตวา วรรคสาม จะบัญญัติใหถือ
วาเงินเพิ่มเปนเงินอากร แตมาตรา 112 จัตวา วรรคหนึ่ง ใหเรียกเก็บเงินเพิ่มใน
อัตรารอยละหนึ่งตอเดือนของคาอากรที่นํามาชําระโดยไมคิดทบตน ดังนั้น โจทก
(กรมศุลกากร) จึงไมมีสิทธิเรียกเก็บเงินเพิ่มในอัตรารอยละหนึ่งตอเดือนจากเงินเพิ่มที่
คางชําระจํานวน 345,890.88 บาท เพราะเปนการคิดเงินเพิ่มทบตน ตองหามตาม
บทกฎหมายดังกลาว
กฎหมายกับสังคม : ubi societas, ibi ius.
ครอบครัวเปนชุมชนเบื้องตนของมนุษย และเปนสวนสําคัญของสังคม
เพราะเปนสังคมในระดับพื้นฐานที่สอนเรื่องศีลธรรม ภายใตระบบ
ควบคุมสังคม ศีลธรรมจึงเปนรากเหงาของกฎหมาย โดยพื้นฐาน
กฎเกณฑเปนสิ่งที่กอตัวขึ้นเอง ภายใตลกั ษณะการเกิดขึ้นดวยตัวของ
มันเองของกฎหมายประเพณีท่มี ีองคประกอบภายนอกที่มกี ารประพฤติ
ปฏิบตั ิกันอยางตอเนื่องนมนานสม่ําเสมอจนเกิดความรูสึกรวมกันใน
สังคมวาเปนสิ่งที่ถูกตอง (opinio iuris) และจําตองปฏิบัติเชนนั้น
(opinio necessitatis) สวนที่มาจากการนิติบัญญัติของมนุษยเปนสิ่ง
ที่เกิดขึ้นในภายหลังเทานั้นและไมใชสวนที่เปนรากฐานของระบบ
กฎหมาย
ครอบคร ัว : ชุมชนเบืองต้นของมนุษย์

ธรรมชาติของมนุษย ในแงที่มนุษยเปนสิ่งที่ตองการอยูรวมกัน
ในสังคม
การอยูรวมในสังคมเปนขอเท็จจริงทางสังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยา
ครอบครัวในฐานะเปนจุดเริ่มตนของสังคม (primary society)
– การที่มนุษยตองพึ่งพากันเปนเหตุปจจัยที่กอใหเกิดครอบครัว
– ความสัมพันธแบบแมกบั ลูก เปนความสัมพันธขั้นพื้นฐานที่สุด
– ครอบครัว บาน และเครือญาติ ในฐานะเปน spontaneous order
ครอบคร ัว
มาตรา 1461 สามีภริยาตองอยูกินดวยกันฉันสามีภริยา
สามีภริยาตองชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของ
ตน
มาตรา 1546 เด็กเกิดจากหญิงที่มิไดมีการสมรสกับชาย ใหถอื วาเปนบุตรชอบ
ดวยกฎหมายของหญิงนั้น เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติไวเปนอยางอื่น
มาตรา 1547 เด็กเกิดจากบิดามารดาที่มิไดสมรสกัน จะเปนบุตรชอบดวย
กฎหมายตอเมื่อบิดามารดาไดสมรสกันในภายหลังหรือบิดาไดจดทะเบียนวาเปน
บุตรหรือศาลพิพากษาวาเปนบุตร
มาตรา 1563 บุตรจําตองอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
มาตรา 1564 บิดามารดาจําตองอุปการะเลี้ยงดูและใหการศึกษาตามสมควรแก
บุตรในระหวางที่เปนผูเยาว
บิดามารดาจําตองอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวแตเฉพาะผู
ทุพพลภาพและหาเลี้ยงตนเองมิได
มาตรา 1450 ชายหญิงซึ่งเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไปหรือ
ลงมาก็ดีเปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดาหรือมารดาก็ดี จะ
ทําการสมรสกันไมได ความเปนญาติดังกลาวมานี้ใหถือตาม
สายโลหิต โดยไมคํานึงวาจะเปนญาติโดยชอบดวยกฎหมายหรือไม
มาตรา 1495 การสมรสที่ฝาฝนมาตรา 1449 มาตรา 1450 มาตรา
1452 และมาตรา 1458 เปนโมฆะ
มาตรา 1496 (วรรคหนึ่ง) คําพิพากษาของศาลเทานั้นที่จะแสดงวา
การสมรสที่ฝาฝนมาตรา 1449 มาตรา 1450 และมาตรา 1458 เปน
โมฆะ
มาตรา 1457 การสมรสตามประมวลกฎหมายนี้จะมีไดเฉพาะ
เมื่อไดจดทะเบียนแลวเทานั้น
มาตรา 1452 ชายหรือหญิงจะทําการสมรสในขณะที่ตนมีคู
สมรสอยูไมได
มาตรา 1598/32 การรับบุตรบุญธรรมยอมเปนอันยกเลิกเมื่อมี
การสมรสฝาฝนมาตรา 1451
ครอบคร ัว : ชุมชนเบืองต้นของมนุษย์
ภารกิจ (functions) ของครอบครัว
– ภารกิจทางชีววิทยา
– ภารกิจทางสังคมและวัฒนธรรม
– ภารกิจทางเศรษฐกิจ
ครอบครัวสั่งสอนเรื่องหลักศีลธรรม-อยูภายใตระบบ
ควบคุมสังคม-ศีลธรรมเปนศีลธรรมตามความสํานึก
ผิดชอบชั่วดีของสังคม ไมใชแตละครอบครัวไปคิด
เอาเอง

วิว ัฒนาการของสงคม : จากครอบคร ัวไปสูร่ ัฐ

การคลี่คลายขยายตัวของครอบครัวไปสูสังคมใหญ
(ครอบครัว-โคตรตระกูล-ชนเผา-รัฐ)
ความสัมพันธระหวางคนในครอบครัว 2 แบบ
(แบบผูใหญกับผูนอย และแบบพี่นอง)
ความจําเปนในการปกครองบังคับบัญชาในสังคมที่เปนรัฐ
การอุบัติขึ้นของรัฐในแงของวิวัฒนาการของสังคม
ร ัฐสม ัยใหม่ และกฎหมายสม ัยใหม่
รัฐตางจากครอบครัวที่ลักษณะการปกครอง
องคประกอบของรัฐ คือ อํานาจอธิปไตย อาณาเขต และ
พลเมือง
การอุบัติขึ้นของรัฐสมัยใหม พิจารณาในแงประวัติศาสตร
ลักษณะพิเศษของรัฐสมัยใหม คือ
– เปนรัฐประชาชาติ (Nation-State)
– มีผลประโยชนสาธารณะ (Common Good)
– หลักสัญญาประชาคม (Social Contract)
Self Determination/Reason/ชีวิต-รางกาย-เสรีภาพ-ทรัพยสิน
ร ัฐสม ัยใหม่ และกฎหมายสม ัยใหม่
• ลักษณะพิเศษของกฎหมายสมัยใหม
1. การนับถือบุคคลในฐานะเปนตัวการ (subject) ทางกฎหมาย
2. ความศักดิ์สิทธิ์แหงเสรีภาพทางทรัพยสิน
3. การนับถือแดนอิสระของเอกชน (private autonomy)
4. การปฏิรูปกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญา
5. หลักการปกครองโดยถือเอากฎหมายเปนใหญ (The Rule of
Law) Government of Law, not of man
เปรียบเทียบล ักษณะพิเศษของ
“ครอบคร ัว” และ “ร ัฐ”
เปรียบเทียบลักษณะความสัมพันธและบรรยากาศ
เปรียบเทียบลักษณะกฎเกณฑความประพฤติ
-spontaneous order
-artificial order
เปรียบเทียบลักษณะการปกครอง
ี ธรรมไปสูก
จากศล ่ ฎหมาย
1ขอความเบื้องตน
-ระบบควบคุมสังคม (social control)
-การอุบัติข้นึ ของกฎเกณฑ
2การอุบัติขึ้นของศีลธรรม
-ความสามารถในการจําไดหมายรู
-ความสามารถในการเทียบเคียง
3การอุบัติขึ้นของกฎหมาย
ศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี กฎหมาย
ระบบควบคุมสังคมหรือการควบคุมทางสังคม (social control)
พัทยา สายหู. กลไกของสังคม. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534.
– แสดงใหเห็นกลไกของชีวิตของสังคมตั้งแตระดับเล็กที่สุดขึ้นไป
มนุษยกับสังคม
อํานาจพลังของสังคม
กลไกของระเบียบสังคม
กลุมและระบบสังคม
การกระทําระหวางกันทางสังคม
การจัดและรักษาระเบียบทางสังคม
มนุษยกับสังคม
มนุษยเปนสัตวสังคม ตองอยูรวมกับผูอื่น และมีการพึ่งพาอาศัยให
ประโยชนแกกันและกันตั้งแตเกิดจนตาย และในการอยูรวมกันในสังคม
มนุษยจําเปนตองถูกจํากัดเสรีภาพบางประการเพื่อแลกเปลี่ยนกับ
ผลประโยชนที่ไดจากสังคมนั้น
อํานาจพลังของสังคม
เปนการแสดงใหเห็นบทบาทของแบบแผนชีวิตประจําวัน
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม อันเปนอํานาจของสังคมที่
บุคคลไมรสู กึ สวนหนึ่งเปนการถูกกลอมเกลามาตั้งแตเด็ก หรือการ
กระทําโดยสมัครใจ แตอีกสวนหนึ่งอาจมาจากเงื่อนไขบังคับที่บุคคล
ตองจํายอมเมื่อเขาสูสังคมใหม หรือเงื่อนไขใหม
กลไกของระเบียบสังคม
เปนการแสดงรายละเอียดของกลไกของสังคมตั้งแตหนวยยอยที่สดุ คือ คน อัน
เปนเงื่อนไขทางกายภาพ ชีวภาพ บุคคล ซึ่งเกิดจากคนที่สัมพันธเชื่อมโยงกับ
บทบาทและสถานภาพตางๆ การกระทําทางสังคม อันหมายถึง การใหและรับ
เสนอสนองกันระหวางบุคคล และการรวมมือกันกระทําการของคนตั้งแตสองคน
ขึ้นไป เพื่อใหไดมาซึ่งประโยชนที่ทกุ คนตองการ แตไมสามารถกระทําเองโดย
ลําพังได
กลุมและระบบสังคม
แสดงใหเห็นความแตกตางกันระหวางกลุมในสังคม 2 แบบคือ (โปรดดู Charles Horton
Cooley Human Nature and the Social Order. New York : Charles Scribner's
Sons. (1902) หรือ Charles Horton Cooley. Social Organization: A study of the
larger mind. New York: Charles Scribner's Sons. (1909)
– กลุมปฐมภูมิหรือกลุมวิสาสะ คือ กลุมที่สมาชิกมีความสนิทสนมใกลชิดผูกพันกันมาก เพราะไดพบกัน
อยูเปนประจํา มีสมาชิกถาวร ไมเปลี่ยนแปลงและใชชีวิตรวมกันในทุกเรื่อง
– กลุมทุติยภูมิ หรือกลุมแบบแผนทางการ คือกลุมสังคมที่คนเขามาเกี่ยวของกันเพื่อธุระประโยชนที่ตอง
ทําตอกันตามบทบาทหนาที่สถานภาพของความเปนบุคคล มักเปนกลุมการงาน สมาชิกของกลุมอาจ
เปลี่ยนแปลงโยกยายเขาออกกันไดบอยๆ จนไมสามารถรูจักใกลชิดผูกพันกันไดจริงจัง อาศัยกฎเกณฑ
ระเบียบแบบแผนที่ชัดเจนเปนแนวกําหนดการกระทําของกันและกันตามบทบาทสถานภาพหนาที่หรือ
ตําแหนง
สวนระบบสังคม คือระบบความสัมพันธที่เกิดจากการกระทําของคนตั้งแตสองคนขึ้นไป ดวย
จุดหมายที่เปนประโยชนหรือความสนใจรวมกันเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งของชีวิตที่ตองติดตอกัน
เพราะฉะนั้นระบบสังคมขนาดยอมเชนครอบครัวกับระบบสังคมขนาดใหญเชนประเทศชาติ จึง
มีคนที่มกี ารกระทําและความสัมพันธกันจํานวนมากนอยตางกัน
During this period, Cooley was highly focused on the concept of
the primary group, which sought to express each individual’s
common ideals through all of society. (Charles Horton Cooley,
Social Organization: A Study of the Larger Mind (New York:
Charles Scribner’s Sons, 1909), 23.)
… his ongoing work on communications technology would always
strive to demonstrate the organic social process between the
individual and society through a modern approach. (Charles
Horton Cooley, Human Nature and the Social Order (New York:
Charles Scribner’s Sons, 1902), 399.)
การกระทําระหวางกันทางสังคม
เปนการใหความสําคัญกับความหมายของการกระทําทางสังคมที่มีการ
ตอบสนอง ไมวาจะเปนการกระทําที่มีเจตนาหรือไมก็ตาม คําสําคัญทาง
สังคมวิทยาที่ปรากฏในเรื่องนี้คือ บรรทัดฐานทางสังคม ซึ่งหมายถึง
มาตรฐานการปฏิบัติตามบทบาทและสถานภาพที่ บุคคลมีในการกระทํา
ตางๆ ของชีวติ ซึ่งมีหลายระดับ ตั้งแตระดับลางสุดคือ วิถี ประชา/วิถี
ชาวบาน ธรรมเนียมชาวบาน ขั้นตอมาคือจารีตประเพณีและกฎหมาย
การจัดและรักษาระเบียบทางสังคม
เปนเรื่องการอบรมบมนิสัยทางสังคม ซึ่งศัพทสังคมวิทยาสมัยหลังๆ ใชคําวา
การกลอมเกลาทางสังคม (socialization) มีจดุ มุงหมายเพื่อใหบุคคลสามารถ
ปฏิบัติตอผูอื่นไดถูกตองตามระเบียบที่สังคมวางไวให และใหการกระทําการ
สัมพันธกันไดตามความคาดหมายของแตละบทบาทสถานภาพของแตละคน
เพื่อใหสังคมมีความเปนระเบียบเรียบรอย อยูรวมกันได
พัทยา สายหู เสนอวาในสังคม [ไทย] มีการควบคุมรักษาระเบียบสังคมดวย
อํานาจหลายแบบ ไดแก อํานาจของบุคคล อํานาจของธรรมเนียมประเพณี
(อํานาจของชุมชน) อํานาจของกฎหมาย อํานาจของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงอํานาจ
ของมโนธรรมดวย
จันทรเพ็ญ อมรเลิศวิทย. 2542. การควบคุมทางสังคม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ
มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมทางสังคม หรือที่เรียกกันในภาษาอังกฤษวา Social
Control นั้น โดยทั่วไปการควบคุมทางสังคมทําใหสมาชิกสวนใหญ ประพฤติ
ในแนวทางที่ถูกคาดหวังไว คือบุคคลทั่วไปดําเนินชีวิตตามที่สังคมคาดหวัง
สถาบันทางสังคมทุกสถาบันก็ใหการสนับสนุนกระบวนการที่มีอิทธิพลเหนือ
ปจเจกชนดังกลาว เนื่องจากสถาบันแตละสถาบัน พยายามที่จะปลูกฝงคานิยม
และบรรทัดฐานของสถาบัน โดยเฉพาะใหแกสมาชิกของสังคม โดยผานการขัด
เกลาทางสังคม นั่นคือ สถาบันทางสังคมแตละสถาบัน พยายามที่จะควบคุมการ
กระทําของมนุษย ซึ่งเกี่ยวของกับปญหาการอยูรว มกัน
การอุบ ัติขนของกฎเกณฑ์

มีปญหาพื้นฐานที่ตองพิจารณาวา
– กฎหมายเกิดขึ้นโดยมนุษยบัญญัติขึ้น ?
หรือ ...
– กฎหมายเกิดขึ้นโดยการกอตัวขึ้นเอง ?
ผลการศึกษาพฤติกรรมของสัตว และการศึกษาวัฒนธรรม
ของมนุษยในชนเผาลาหลังทางวิชามานุษยวิทยา
หลักบังคับทางดินแดน (Territorial Imperative)
– Basically, 'territorial imperative' refers to a sociological construct
about man's need to stake out (กลาวอางหวงแหน CLAIM : to claim
ownership of or a particular interest in something ) territory or land
for himself. Humans are said to be innately territorial. This means
that we will defend our property against interlopers (ผูบุกรุก), much
in the same way as some wild animals do. The idea of territorial
imperative was outlined in the book The Territorial Imperative: A
Personal Inquiry into the Animal Origins of Property and Nations by
Robert Ardrey, which was first published in 1966.
A territory is an area of space which an animal
guards as its exclusive possession and which it will
defend against all members of its kind. In this
revolutionary book Robert Ardrey takes a concept
familiar to every biologist, brings together for the
first time a fair sampling of all scientific
observations of this form of behavior, and
demonstrates that man obeys the same laws as
does many other animal species.
A territory is an area of space, whether of water or earth or air, which an animal
or group of animals defends as an exclusive preserve. The word is also used to
describe the inward compulsion in animate beings to possess and defend such a
space. A territorial species of animals, therefore, is one in which all males, and
sometimes females too, bear an inherent drive to gain and defend an exclusive
property.
We may also say that in all territorial species, without exception, possession of a
territory lends enhanced energy to the proprietor. Students of animal behavior
cannot agree as to why this should be, but the challenger is almost invariably
defeated, the intruder expelled. In part, there, seems some mysterious flow of
energy and resolve which invests a proprietor on his home grounds. But likewise,
so marked is the inhibition lying on the intruder, so evident his sense of
trespass, we may be permitted to wonder if in all territorial species there does
not exist, more profound than simple learning, some universal recognition of
territorial rights.
https://theconversation.com/war-in-the-time-of-neanderthals-how-our-
species-battled-for-supremacy-for-over-100-000-years-148205
Around 600,000 years ago, humanity split in two. One group stayed in Africa,
Homo sapiens, evolving into us. The other struck out overland, into Asia, then
Europe, becoming Homo neanderthalensis – the Neanderthals. They weren’t
our ancestors, but a sister species, evolving in parallel.
Territorial conflicts
– The Neanderthal resistance
for around 100,000 years, Neanderthals resisted modern human expansion. Why else
would we take so long to leave Africa? Not because the environment was hostile but
because Neanderthals were already thriving in Europe and Asia.
– Sapiens victorious
We don’t know why. It’s possible the invention of superior ranged weapons – bows,
spear-throwers, throwing clubs – let lightly-built Homo sapiens harass the stocky
Neanderthals from a distance using hit-and-run tactics. Or perhaps better hunting and
gathering techniques let sapiens feed bigger tribes, creating numerical superiority in
battle.
Even after primitive Homo sapiens broke out
(escape) of Africa 200,000 years ago, it took
over 150,000 years to conquer Neanderthal
lands. In Israel and Greece, archaic Homo
sapiens took ground only to fall back against
Neanderthal counteroffensives, before a final
offensive by modern Homo sapiens, starting
125,000 years ago, eliminated them.
การอุบ ัติขนของศ
ึ ลี ธรรม
ความสามารถพิเศษ ๒ ประการของมนุษย
– ความสามารถในการจําไดหมายรูถึงความแตกตาง ความเหมือน
หรือความคลายคลึงกันของสิ่งตางๆ หรือความสามารถในการ
จําแนกแยกแยะขอเท็จจริง (Factual Reason)
– ความสามารถในการเทียบเคียงนําไปสูความสามารถที่จะรูวาอะไร
ผิดอะไรถูก อะไรควร อะไรไมควร หรือเรียกวาเหตุผลทางศีลธรรม
(Moral Reason)
ลธรรม
" "

น ของ ประชาชน

ไป
ี ธรรมอยูใ่ น ปพพ. นนเอง
ศล ั
ห ก ห ก จ ต กรรม

บรรพ ๑ มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๑๕๐ มาตรา ๑๕๑



บรรพ ๒ มาตรา 194 ดวยอํานาจแหงมูลหนี้ เจาหนี้ยอมมีสิทธิจะเรียกใหลูกหนี้
ชําระหนี้ไดอนึ่งการชําระหนี้ดวยงดเวนการอันใดอันหนึ่งก็ยอมมีได มาตรา
368 สัญญานั้นทานใหตีความไปตามความประสงคในทางสุจริต โดยพิเคราะห
ถึงปกติประเพณีดวย มาตรา 420 (ละเมิด)
ญญา
เอกเทศ ใ โดย เส หา
การ

บรรพ ๓ มาตรา 531 การถอนคืนการใหเพราะเหตุผูรบั ประพฤติเนรคุณ


ท พ น
บรรพ ๔ สิทธิติดตามเอาคืนในมาตรา ๑๓๓๖, หลักกรรมสิทธิ์รวมในมาตรา
๑๓๕๖
ครอบค ว
บรรพ ๕ มาตรา 1461/1463/1464
มรดก

บรรพ ๖ มาตรา 1599 วรรคหนึ่ง เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอด


แกทายาท ฯลฯ
ดี
อั
ศี
นิ
พ่
วํ
สุ
นิ
สั
ลั
ลั
ช์
ห้
ติ
ติ
รั
นี้
น่
ริ
ย์
สิ
รั
ตัวอยางที่แสดงวาศีลธรรมและความเปนธรรมอยูในตัวบทกฎหมาย
มาตรา 4 วรรคหนึ่ง กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติ
ใดๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัตนิ ั้นๆ
(กฎหมายตองใชใหตองดวยกรณีท่สี ามารถปรับใชไดสมตามความมุงหมาย
ของกฎหมายและตรงตามตัวอักษรในตัวบทกฎหมายไปพรอมกัน โดยไมยึด
ติดแตตัวอักษร ทั้งนี้ กฎหมายนําหลักจารีตประเพณีสวนใหญไปบัญญัติ
รองรับไวในกฎหมายเพราะสอดคลองกับหลักศีลธรรม)
นายดํากับนางแดงอยูกนิ กันโดยไมจดทะเบียนสมรส ซื้อตึกแถวทํารานอาหาร
มาดวยกัน ใสชื่อนายดําไวคนเดียว ตอมานายดําตาย แมไมเปนสินสมรสและ
นางแดงไมใชทายาท แตนางแดงก็มีสิทธิในตึกแถวครึ่งหนึ่งตามหลัก
กรรมสิทธิ์รวม ทายาทจะโตแยงไมได แตถา นางแดงไมชวยทํามาหาได ยอม
ไมมีสิทธิใดๆ)
มาตรา 1356 ถาทรัพยสินเปนของบุคคลหลายคนรวมกัน ทานใหใช
บทบัญญัติในหมวดนี้(หมวด 3 กรรมสิทธิ์รวม)บังคับ เวนแตจะมีกฎหมาย
บัญญัติไวเปนอยางอื่น ใ น ษฐานไ อน า วน ค งคน ละ
สั
มีส่
ว่
ก่
ว้
ห้
รั้
นิ
มาตรา 5 ในการใชส ้ ท
ิ ธิแห่งตนก็ด ี ในการ
ชําระหนีก็ ด ี บุคคลทุกคนต้องกระทําโดย
สุจริต จ → จล

0
ผูรองฟองจําเลยเปนคดีแพงและทําสัญญาประนีประนอม
co
ยอมความกันเพื่อจะใหผูรองเขามาขอเฉลี ่ยทรัพย เปน
การสมคบกับจําเลยเพื่อจะมิใหมีการนําเงินที่ไดจากการ
ขายทอดตลาดทรัพยของจําเลยไปชําระหนี้ใหโจทก เปน
การใชสิทธิโดยไมสุจริต ศาลยกคํารอง (คําพิพากษาศาล
ฎีกาที่ 137/2551)
คําพิพากษาศาลฎีกาที 6428/2546 โกงทีดิน
จ + เ ย +
ก 6 e 8 4 00 + 100 ะ
5°◦

โจทกอางวาตนครอบครองที่ดินประมาณ 700 ไร เมื่อทางราชการออกหนังสือ


รับรองการทําประโยชนโดยกําหนดใหผูครอบครองขอออกหนังสือรับรองการทํา
ประโยชนไดไมเกินคนละ 50 ไร โจทกไดขอออกหนังสือรับรองการทําประโยชน
ในชื่อโจทก ภริยาโจทกและบุตรโจทกอีก 6 คน แลว ยังเหลืออีกประมาณ 0 100
ไร โจทกจึงใหจําเลยที่ 1 และที่ 2 ขอออกหนังสือรับรองการทําประโยชนท่ดี ิน
ดังกลาวในชื่อจําเลยที่ 1 และที่ 2 คนละแปลง โดยตกลงวา จะโอนคืนแกโจทก
ในภายหลัง ดังนี้ ที่ดินทั้งสองแปลงจึงเปนที่ดินสวนที่โจทกไมอาจขอใหทาง
ราชการออกหนังสือรับรองการทําประโยชนไดตามกฎหมายการที่โจทกสมคบ
กับจําเลยที่ 1 และที่ 2 ขอใหทางราชการออกหนังสือรับรองการทําประโยชน
จึงเปนการหลีกเลี่ยงเงื่อนไขของกฎหมาย อันเปนการใช ☐ สิทธิโดยไมสุจริต โจทก
จึง0ไมมีอํานาจฟองขอใหบังคับจําเลยที่ 1 และที่ 2 โอนที่ดินทั้งสองแปลงแก
โจทก
ลู
มี
ี ธรรมอยูใ่ น ปพพ. นนเอง
ศล ั (ต่อ)
มาตรา 150 การใดมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัด
แจงโดยกฎหมายเปนการพนวิสัยหรือเปนการขัดตอ
ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การ
นั้นเปนโมฆะ
กรรมใด
มาตรา 151 การใดเปนการแตกตางกับบทบัญญัติของ
กฎหมาย ถามิใชกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย
หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นไมเปนโมฆะ
กรรม
นิ
นิ
นั
ติ
ติ
มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิด
กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี
เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้น
ทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 954/2482
– ชนะคดีรองตอศาลใหยดึ ทรัพยผแู พคดีกอนครบกําหนดในหมายบังคับโดย
เจตนาแกลงใหผูแพคดีไดรับความเสียหายนั้น ผูแพคดีฟองเรียกคาเสียหาย
ได
– ศาลฎีกาอางถึงฎีกาที่ ๓๗๖/๒๔๘๑ ดวยวา การใชสิทธิทางศาลจักตอง
กระทําโดยสุจริต ไมจงใจจะใหผูใดไดรับความเสียหายโดยใชศาลเปนเครื่อง
กําบัง
ี ธรรมอยูใ่ น ปพพ. นนเอง
ศล ั (บรรพ 4)

มาตรา 1336 ภายในบังคับแหงกฎหมาย เจาของทรัพยสินมีสิทธิใช


สอยและจําหนายทรัพยสินของตนและไดซึ่งดอกผลแหงทรัพยสินนั้น
กับทั้งมีสิทธิตดิ ตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสนิ ของตนจากบุคคลผูไมมีสิทธิ
จะยึดถือไว และมีสทิ ธิขัดขวางมิใหผูอื่นสอดเขาเกี่ยวของกับทรัพยสนิ
นั้นโดยมิชอบดวยกฎหมาย
บรรพ ๕ มาตรา 1461/1463/1464
มาตรา 1461 สามีภริยาตองอยูกินดวยกันฉันสามีภริยา ภาร จ ว ทยา
ทาง

สามีภริยาตองชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของตน
มาตรา 1463 ในกรณีที่ศาลสั่งใหสามีหรือภริยาเปนคนไรความสามารถหรือเสมือนไร
ความสามารถ ภริยาหรือสามียอมเปนผูอนุบาลหรือผูพิทักษ แตเมื่อผูมีสวนไดเสีย
หรืออัยการรองขอ และถามีเหตุสําคัญ ศาลจะตั้งผูอื่นเปนผูอนุบาลหรือผูพิทักษก็ได
มาตรา 1464 (วรรคหนึ่ง) ในกรณีที่คสู มรสฝายใดฝายหนึ่งเปนคนวิกลจริต ไมวา
ศาลจะไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถหรือไม ถาคูสมรสอีกฝายหนึ่งไมอุปการะเลี้ยง
ดูฝายที่วิกลจริตตามมาตรา 1461 วรรคสอง หรือกระทําการหรือไมกระทําการอยาง
ใด อันเปนเหตุใหฝา ยที่วิกลจริตตกอยูในภาวะอันนาจะเกิดอันตรายแกกายหรือจิตใจ
หรือตกอยูในภาวะอันนาจะเกิดความเสียหายทางทรัพยสินถึงขนาด บุคคลตามที่ระบุ
ไวในมาตรา 28 หรือผูอนุบาลอาจฟองคูสมรสอีกฝายหนึ่งเรียกคาอุปการะเลี้ยงดู
ใหแกฝายที่วิกลจริต หรือขอใหศาลมีคําสั่งใด ๆ เพื่อคุมครองฝายที่วิกลจริตนั้นได
ชี
วิ
กิ
ในความเปนจริง ไมมคี วามแตกตางระหวางศีลธรรมกับกฎหมาย ไมวา
จะเปนในดานเนื้อหา ลักษณะ หรือเปาหมาย เหตุที่ไมมีความแตกตาง
นั้นเปนอันเนื่องมาจากกฎหมายตองทําใหความยุติธรรมเปนสิ่งที่
เกิดขึ้นจริง และแนวคิดเรื่องความยุติธรรมมีรากฐานมากจากศีลธรรม
โดยตรง ศีลธรรมกลายเปนกฎหมาย แตศีลธรรมก็เปนรากเหงาของ
กฎหมาย ถือเปนสาระสําคัญที่ไมควรละเลย ไมควรมีการมุงเนนที่ความ
ตาง ในทางตรงกันขาม ควรมุงเนนที่ความเหมือนและความสัมพันธที่มี
ตอกันของสองสิ่งนี้เปนอันดับแรก (G. Ripert, La règle morale
dans les obligations civiles, LGDJ, 2013, n. 6.)
Fr 1 8 04
/๗
Codification -
1 9 00
te \
Th 2 4 68 ปผบ
การที่ศีลธรรมกลายเปนกฎหมายเพราะเกิดมีสภาพบังคับที่เปน
.

กิจลักษณะโดยอาศัยกลไกอํานาจสาธารณะ สภาพบังคับที่เปน
กิจลักษณะนี้ เปนเรื่องที่สังคมมีกลไกมาบังคับและเปนสภาพบังคับที่
จําเปนเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามระบบควบคุมสังคมใหเกิดมีสภาพ
บังคับที่เปนจริงลธรรม
า ป

(โปรดพิจารณาเปรียบเทียบจากงานเขียนของ Carré de Malberg,


Contribution à la théorie générale de l’Etat, 2 vol., 1921-
1922;- Réglade, “Essai sur le fondement du droit” , Archives
de philosophie du droit, 1933, n. 3-4; - Gény, “La laïcité du
droit naturel”, ibid., 1933, n. 3-4)
ฟ้
ศี
Fr 1 8 04
/ Gr
codifica% ้
| 900
0ท
\
/ Tn 24 แ ปบน

ศีลธรรมเปนแกนกลางของกฎหมายและมีความชัดเจนยิ่งขึ้นโดยเทคนิค
ของการบัญญัติกฎหมาย เมื่อกฎเกณฑเชนนี้ไดรับการไดรับการรับรอง
ผานการนิติบัญญัติ รูปแบบที่ปรากฏออกมาภายนอกทําใหเขาใจไปได
วากฎหมายไดแยกตัวเดนชัดออกจากศีลธรรม ทั้งๆ ที่ศีลธรรมเปน
รากฐานหรือรากเหงา (fondement) ของกฎหมาย ในลักษณะที่วา
กฎหมายไดบงชี้เฉพาะตัวเองจากการปรากฏตัวของกฎหมายที่บัญญัติข้นึ
และเปนสิ่งที่เพียงพอในตัวเอง เนื่องจากกฎหมายไดวางกฎเกณฑแบบ
แผนความประพฤติและมีสภาพบังคับในตัวเอง ยอมเปนการเพียงพอที่จะ
บังคับใหเคารพกฎเกณฑตามกฎหมายที่บัญญัติขึ้นแลว
การแยกความแตกตางระหวางกฎหมายกับศีลธรรมใหมี
ลักษณะแบงแยกตางหากจากกันในโลกตะวันตกเกิดจาก
แนวคิดเรื่องสิทธิเสรีภาพในลักษณะที่รฐั ของฆราวาส เพื่อ
ขจัดอิทธิพลของศาสนจักรซึ่งเปนปญหาสืบเนื่องมาจาก
ปญหาตางๆ ที่ดํารงอยูในยุคสมัยกลาง เชน ในคําปรารภ
ของรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ฉบับ ค.ศ. 1946 กลาววา
ประเทศฝรั่งเศสเปนสาธารณรัฐฆราวาส (république
laïque)
ดวยเหตุน้ี จึงเกิดคําอธิบายในลักษณะที่วา สิทธิเสรีภาพเปนสิ่งที่ชวยใหยึดถือ
เปนสาระสําคัญและไมจําตองยึดติดกับลักษณะของความศักดิ์สิทธิ์ในทางศาสนา
เปดชองใหทุกคนเคารพกฎหมายโดยไมเกิดความยุงยากทางจิตใจวาจะขัดแยง
กับหลักในทางศาสนาหรือศีลธรรมอีกตอไป เนื่องจากกฎหมายไดวางกฎเกณฑ
เพื่อใชบังคับรวมกันในสังคม เปนการขจัดปญหาขอขัดแยงภายในใจวา
กฎหมายที่ใชบังคับอยูในขณะนั้น (positive law) จะยุติธรรมหรือไมยุติธรรม
เพราะกฎหมายที่เปนอยูมีความยุติธรรมอยูในตัว (โปรดดู Georges Ripert et
Philippe Jestaz, “Droit naturel et positivisme juridique”,.Dalloz-
Sirey, 2013; (Georges Ripert, “Droit naturel et positivisme
juridique”,.Annales de la Faculté d,Aix, 1918, n. 30.))
แตเมื่อมีการยืนยันผลบังคับของกฎเกณฑตามกฎหมายที่บัญญัติขึ้น
จะตองระมัดระวังไมใหมีการคิดไปไดวากฎเกณฑเชนนี้สามารถที่จะมี
ความเพียงพอในตัวเอง หรือคิดวากฎหมายแพงเพียงแตตั้งอยูบน
พื้นฐานของอํานาจสาธารณะและมีเปาหมายอยูที่การคงอยูของความ
สงบสุขของสังคมเทานั้น การพิจารณาในมุมมองเชนนี้มีลักษณะ
คอนขางผิวเผินและเปนการใหความสําคัญแกอํานาจบังคับของ
กฎหมายที่บัญญัติขึ้นมากเกินไป สมควรที่จะไดมีการพิจารณาถึง
เหตุผลเบื้องหลังอื่นๆ ที่เปนรากฐานของการเกิดขึ้นและดํารงอยูของ
กฎหมายไปพรอมกันดวย
ลธรรม ≠ ศาสนา

หากคิดวากฎหมายเปนเพียงการรวบรวมกฎเกณฑความประพฤติ นั่น
เทากับวากฎหมายเปนเพียงผลงานตามอําเภอใจของผูปกครอง หรือไม
ก็เปนเพียงผลิตผลตามธรรมชาติของสภาพสังคมที่เปนอยูเทานั้น
ขอพิจารณาวาดวยความสัมพันธระหวางศีลธรรมกับกฎหมายจึงเปน
สิ่งที่จําเปนทั้งในการทําความเขาใจและการแยกแยะความแตกตางให
เกิดความชัดเจนไปพรอมกัน แตสิ่งสําคัญคือ ไมควรละเลยความสําคัญ
ของศีลธรรมในฐานะที่เปนรากฐานที่สําคัญยิ่งของกฎหมาย กฎหมาย
จะคงอยูไดอยางไรถาตัดขาดจากฐานรากของศีลธรรม ลําพังเทคนิค
ของการนิติบัญญัติจะเปนการเพียงพอไดอยางไรภายใตระบบกฎหมาย
ในภาพรวม หากละเลยขอพิจารณาเรื่องศีลธรรมซึ่งเปนเนื้อหาสวน
สําคัญในกฎหมายนั้นเอง
ศี
ขอสังเกตเกี่ยวกับกฎหมายและการนิติบัญญัติ

 สมัยกรีก-โรมัน กฎหมายเปนเรื่องเหตุผล
 สมัยกลาง กฎหมายเปนเรื่องหลักธรรมชาติตามแผนการ
ของพระผูเปนเจา
 สมัยใหม เกิดแนวคิดเรื่องอํานาจอธิปไตยวากฎหมาย
เปนสิ่งที่รัฐาธิปตยกําหนดขึ้น กฎหมายจึงเปนสิ่งที่หา
ความมุงหมายไมได
ผลคือ เกิดความเขาใจผิดคิดวา ถาจะทําให
บานเมืองเจริญจะตองวางแผนพัฒนาดวย
ความสามารถของมนุษย
คิดวานักกฎหมายเปนวิศวกรสังคม (Roscoe
Pound – Social Engineering)
อันตราย!!! เพราะขาดเข็มทิศ+หางเสือ
ขอสังเกตเกี่ยวกับกฎหมายและการนิติบัญญัติ

การนิติบัญญัติจะเปนไปไดดวยดีในระยะยาว
หากมีบรรยากาศของการเคารพกฎหมาย โดย
อาศัยหลักนิติธรรม ไมใชปลอยใหเปนไปตาม
อําเภอใจของผูมีอํานาจ
ความสัมพันธระหวางศีลธรรม จารีตประเพณี
และกฎหมายลายลักษณอักษร
กฎหมายลายลักษณอกั ษรบัญญัติรับรอง
ศีลธรรมและจารีตประเพณีไวเกือบทั้งหมด
และมีเพียงขอยกเวนบางกรณีเทานั้นที่
กฎหมายขัดแยงกับศีลธรรมและจารีตประเพณี
กฎหมายเปนเรื่องของกฎเกณฑความประพฤติของ
มนุษยในสังคมโดยมีกระบวนการบังคับที่เปน
กิจจะลักษณะ
สําหรับกฎเกณฑความประพฤติอื่น ๆ ที่ไมใช
กฎหมาย มิไดหมายความวา กฎเกณฑความ
ประพฤติเหลานี้จะไมมีสภาพบังคับเลย เพียงแตเปน
สภาพบังคับที่ไมเปนกิจจะลักษณะเทานัน้
กลาวอีกนัยหนึ่ง รัฐมิไดบังคับรับรองใหเหมือนอยาง
กฎเกณฑที่เปนกฎหมายเทานั้น แตกฎเกณฑความ
ประพฤติเหลานี้มีสภาพบังคับอยางอื่นในทางสังคม เชน
เมื่อละเมิดหรือไมปฏิบตั ิตามแลว เปนที่รังเกียจ ถูกติฉิน
นินทา หรือถูกสาบแชง ถูกตัดออกจากสังคม เปนตน จะ
เห็นไดวา กฎเกณฑความประพฤติอื่น ๆ ที่ไมใชกฎหมายมี
ลักษณะเปนสภาพบังคับในทางจิตวิทยา (ทางจิตใจ) โดย
แท
– คือเกิดความรูสึกวาตองปฏิบัติตาม แตหากไมปฏิบัติตาม
ไมถึงขนาดถูกบังคับโดยกระบวนการบังคับที่เปน
กิจจะลักษณะ
สวนกฎเกณฑความประพฤติที่เปนกฎหมายนั้น
หากไมปฏิบัติตามกฎหมายยอมตกอยูภายใต
กระบวนการบังคับที่เปนกิจจะลักษณะ โดย
อาศัยกลไกของอํานาจสาธารณะ ซึ่งแสดงออก
โดยผานทางศาลและเจาพนักงานของศาลใน
การบังคับคดีตอ ไปได
กฎหมายก ับจารีตประเพณี
จารีตประเพณี มี ๒ ประเภทคือ
๑)จารีตประเพณีที่ไมเปนกฎหมาย หากแตเปนเพียง
“จารีตประเพณีธรรมดา”
๒)จารีตประเพณีที่นอกจากจะเปนจารีตประเพณีแลว ยัง
เปนกฎหมายอีกดวย เรียกวา “กฎหมายประเพณี” หรือ
“กฎหมายจารีตประเพณี”
กฎหมายก ับจารีตประเพณี
การฝาฝนจารีตประเพณีที่ไมเปนกฎหมาย (ฝาฝนจารีต
ประเพณีธรรมดา) ผูฝาฝนเพียงแตไดรบั ผลรายโดยการ
ถูกตําหนิติเตียนจากชุมชน นั้นๆ เทานั้น แตถาฝาฝน
“กฎหมายประเพณี” ยอมถูกบังคับจากรัฐดวยกลไก
อํานาจสาธารณะ โดยสามารถฟองบังคับตอศาลไดเพื่อให
เจาหนาที่ของรัฐเขามาบังคับตอไปสุดแตวาจะเปนคดีแพง
คดีอาญา หรือคดีปกครอง
กฎหมายก ับศาสนา
ศาสนา คือ กฎขอบังคับที่ศาสดาตาง ๆ ไดกําหนดไวใหมนุษยประพฤติ
คุณงามความดี มนุษยที่นับถือศาสนายอมปฏิบัตติ นตามคําสั่งสอนของ
ศาสดาที่ใหกระทําหรืองดเวนกระทําการใด ๆ เชน พุทธศาสนาสั่งสอน
วา กรรมคือ การกระทําของมนุษยยอมกอใหเกิดผลดีและผลรายใน
ปจจุบันและภายหนา
ความคลายคลึงระหวางศาสนากับกฎหมาย ทั้งศาสนาและกฎหมาย
ตางก็กําหนดความประพฤติของมนุษย และตางก็กําหนดดวยวาถา
มนุษยฝาฝนกฎขอบังคับแลวจะไดรับผลราย สวนในขอแตกตาง
ระหวางศาสนาและกฎหมายคือ กฎหมายนั้นถาฝาฝนก็จะมีสภาพ
บังคับในปจจุบัน เชน รัฐจะเอาตัวผูฝาฝนมาจําคุก หรือบังคับใหใช
คาเสียหายในทางแพง หรือบังคับใหกระทํา หรืองดเวนกระทําการใด ๆ
กฎหมายก ับศาสนา
แตศาสนาจะมีสภาพบังคับอยูในที่โลกหนา จึงมีผล
บังคับเฉพาะผูที่นับถือศาสนานั้นเทานั้น แตผูที่
เชื่อถือศาสนาบางทีก็ยอมฝาฝนขอบังคับศาสนา
เพราะรูสึกวาสภาพบังคับยังอยูหางไกล
ั ันธ์ระหว่างศาสนาก ับกฎหมาย
ความสมพ
ตามหลักแลว ศาสนากับกฎหมายยอมแยกตางหากจากกัน ศาสนายอม
วางขอบังคับโดยไมเกี่ยวกับกฎหมาย และอาจเปนขอบังคับที่ไม
สามารถบัญญัติเปนกฎหมายได เชน คําสั่งสอนใหรักเพื่อนมนุษย
ดวยกัน ในสมัยโบราณ และประเทศที่ยงั ไมเจริญ กฎหมายและศาสนา
เขามาปะปนกัน บางประเทศกฎหมายเกี่ยวดวยครอบครัว และมรดก
ยอมเปนไปตามขอบังคับของศาสนา เชน ประเทศที่นับถืออิสลาม เปน
ตน ปจจุบันประเทศตาง ๆ พยายามแยกศาสนาออกจากกฎหมาย
บางครั้งบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญวา “รัฐเปนรัฐฆราวาส” กลาวคือ รัฐ
ที่ไมเกี่ยวของกับศาสนา ทั้งนี้ใหบุคคลมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา
ี ธรรม
กฎหมายก ับศล
ศีลธรรม คือ ความรูสึกนึกคิดของมนุษย
วาการกระทําอยางไรเปนการกระทําที่ชอบ
การกระทําอยางไรเปนการกระทําที่ผิด
ี ธรรม
กฎหมายก ับศล
ศีลธรรมและกฎหมาย ตางก็เปนกฎเกณฑความประพฤติดวยกัน และ
เปนสิ่งที่เกิดขึ้นและเปนไปดวยตัวของมันเอง (spontaneous order)
ซึ่งศีลธรรมเปนรากเหงาของกฎหมาย และกฎหมายในชวงแรกเปน
กฎหมายประเพณีซึ่งไมเปนกฎหมายลายลักษณอักษรมากอนที่จะเปน
กฎหมายลายลักษณอักษรในภายหลัง เพียงแตรูปแบบที่ปรากฏออกมา
ภายนอก กฎหมายที่เห็นกันอยูในปจจุบัน มักจะปรากฏอยูในรูปของ
กฎหมายลายลักษณอักษรเทานั้น
กฎหมายมีสภาพบังคับที่เปนกิจลักษณะ ผูฝาฝนตองไดรับผลรายโดย
มุงไปที่สภาพบังคับจากภายนอก ศีลธรรมเกิดจากความรูสึกภายในของ
มนุษย ผูที่ฝาฝนมีผลเพียงกระทบกระทั่งจิตใจมากนอยแลวแตบุคคล
และมุงที่สภาพบังคับจากจิตใจซึ่งเปนเรื่องภายในของตัวมนุษยเอง
แตสวนใหญ หลักศีลธรรมปรากฏอยูในกฎหมายอยูแลว
หลักการพื้นฐานของนิติรัฐ

รศ. ดร. สมเกียรติ วรปญญาอนันต


อะไรคือหลักการพื้นฐานของหลักนิติรัฐ
หลักนิติรัฐหรือหลักนิติธรรมลวนมุงหมายใหมีการใช
กฎหมายในฐานะที่เปนแหลงที่มาในการจํากัดอํานาจผูใช
อํานาจปกครอง
เพื่อมุงหมายคุมครองสิทธิเสรีภาพประชาชนตาม
หลักการที่วามนุษยมีความสามารถในการกําหนดชะตา
กรรมของตนไดดวยตนเอง (Self Determination)
ตัวอยาง 1
• การที่พระราชบัญญัติวา ดวยการสํารวจการออกโฉนดที่ดิน พ.ศ.
2496 มาตรา 3, 4, 5, 7 ใหกอตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง มี
อํานาจทําการสํารวจและสั่งยกเลิกการออกโฉนดที่ดนิ ซึ่ง
คณะกรรมการเห็นวาไดกระทําไปโดยมิชอบดวยความเปนธรรม
แลวสั่งใหมีการออกโฉนดที่ดินใหมไดตามความเปนธรรม และให
ถือวาคําสั่งคณะกรรมการเปนเด็ดขาด จะนําไปฟองคดีเพื่อแกไข
ใหเปนอยางอื่นมิไดนั้น บทบัญญัติดังกลาวมีผลบังคับใชไดหรือไม
เพียงใด
• คณะกรรมการใชอาํ นาจตามกฎหมาย ก็ตองใหศาลตรวจสอบ
ไดดว ยวาทําถูกกฎหมายจริงหรือไม จะไมใหฟอ งคดีตอศาล
ไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๒๒/๒๕๐๖
• โดยปกติศาลเปนผูนําบทบัญญัติแหงกฎหมายมาใชบังคับแกคดีโดยมีอํานาจพิจารณาวากฎหมาย
ใดจะใชบงั คับคดีไดหรือไม ฉะนั้น ศาลจึงมีอํานาจพิจารณาตีความรัฐธรรมนูญ เพื่อวินจิ ฉัยวาบท
กฎหมายนั้น ๆ ขัดตอรัฐธรรมนูญหรือไม เวนแตจะมีบทกฎหมายโดยเฉพาะบัญญัตใิ หอํานาจ
หนาที่พิจารณาตีความรัฐธรรมนูญไปตกอยูแกสถาบันอื่น
• มาตรา ๕ มาตรา ๑๙ ประกอบดวย มาตรา ๒๐ แหงธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร แสดง
วาอํานาจในการตีความรัฐธรรมนูญเพื่อใชกฎหมายปรับแกคดีเปนอํานาจศาล สภาจะวินิจฉัย
ตีความรัฐธรรมนูญเฉพาะที่มีปญหาเกิดขึ้นในวงงานสภา หรือเกิดขึ้นโดยคณะรัฐมนตรีขอให
วินจิ ฉัยเทานั้น
• มาตรา ๓ มาตรา ๔ มาตรา ๕ และมาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการสํารวจการออก
โฉนดที่ดนิ พ.ศ. ๒๔๙๖ ขัดตอมาตรา ๙๙ ของรัฐธรรมนูญฯ เพราะเปนการใหอํานาจคณะ
บุคคลใหมอี ํานาจวินิจฉัยชี้ขาดขอโตแยงเรื่องกรรมสิทธิ์ท่ดี ินอันเปนกรณีพิพาทระหวางบุคคล มี
ผลที่จะลบลางกรรมสิทธิ์ของบุคคลที่มีอยูแลว และกอตั้งกรรมสิทธิ์ขึ้นใหม
ตัวอยาง 2
• หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐสภาออกพระราชบัญญัติอาชญากร
สงครามฯ เพื่อนํามาใชจัดการกับ จอมพลแปลก พิบูลสงคราม
และคณะ โดยบัญญัติใหมีผลยอนหลังไปใชกับการกระทําของ
รัฐบาลชุดจอมพลแปลก พิบลู สงคราม ที่เกิดขึ้นในชวงสงครามโลก
ครั้งที่ 2 ไดหรือไม
• ศาลตัดสินคดีนี้วา จะลงโทษตามพระราชบัญญัตอิ าชญากรสงครามฯ
ไมได เพราะกฎหมายใดบัญญัตยิ อนหลัง ลงโทษการกระทํา การเขียน
การพูดฯลฯ ที่ขดั ตอหลักประกันสิทธิในชีวิตรางกายตามรัฐธรรมนูญ
กฎหมายนั้นยอมเปนอันใชบังคับไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑/๒๔๘๙ (และ ๒/๒๔๘๙ ซึ่งเปนคดีที่ฟองจอมพล ป.)
• รัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๒ ซึ่งบัญญัติวา สภาผูแทนราษฎรเปนผูท รงไวซึ่งสิทธิเด็ดขาดในการ
ตีความแหงรัฐธรรมนูญนั้น ไมใชเปนขอบัญญัติตัดอํานาจศาลที่จะตีความบทบัญญัติแหง
รัฐธรรมนูญ ศาลจึงมีอํานาจตีความบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญได
• ในการใชหรือบังคับตามกฎหมายนั้น ศาลยอมตองแปลหรือตีความหมายของกฎหมาย หากไมให
ศาลแปล ศาลก็ยอมใชกฎหมายไมได
• รัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๔ มีขอความรับรองถึงเสรีภาพของบุคคลในการตางๆ ดังระบุไวนั้น มี
ความหมายรับรองถึงเสรีภาพในการกระทําดวย
• คําวา มีเสรีภาพบริบรู ณในรางกายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๔ นั้นมีความหมายวา ไมใหใครมา
ทําอะไรแกเราและหมายถึงเราจะทําอะไรก็ไดดวย หากการนั้นอยูภายในบังคับของกฎหมาย
• คําวา ภายในบังคับแหงกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๔ นั้นหมายถึงวา ไมมีกฎหมายหาม
ไว โดยตรงหรือโดยออม และหมายถึงบทกฎหมายที่มีอยูในเวลานั้น ไมใชหมายถึงบทกฎหมายที่
จะมีมาภายหนา
• กฎหมายใดบัญญัติยอนหลัง ลงโทษการกระทํา การเขียน การพูด ฯลฯ ที่แลวมา ยอมขัดตอ
รัฐธรรมนูญมาตรา ๑๔ กฎหมายนั้นยอม ตกเปนโมฆะ จะใชบังคับไมได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑/๒๔๘๙ (ตอ)
• พระราชบัญญัติอาชญากรสงครามเฉพาะที่บัญญัติยอ นหลังนั้น ยอมขัดตอ
รัฐธรรมนูญมาตรา ๑๔ จึงเปนโมฆะ สวนบทบัญญัติที่วาดวยการกระทํา
หลังจากใชพระราชบัญญัตินี้แลว เปนอันใชบังคับไดโดยสมบูรณ
• สภาผูแทนราษฎรอาจออกกฎหมายยอนหลังไดตอเมื่อกฎหมายที่ให
ยอนหลังนั้น ไมขัดตอรัฐธรรมนูญ เชน พระราชบัญญัติงบประมาณ
• ศาลเปนผูมีอํานาจที่จะชี้ขาดกฎหมายที่ขดั ตอรัฐธรรมนูญวาเปนโมฆะตาม
รัฐธรรมนูญมาตรา ๖๑ ได
• โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลยตามพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามอยาง
เดียว เมื่อศาลเห็นวาจะลงโทษตามพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามไมได
แลว ก็ไมตองพิจารณาวาจําเลยจะมีความผิดตามกฎหมายอื่นหรือไม
• จากตัวอยางที่ ๒ ขางตน อาจพิจารณาในเชิงหลักการไดวา
กฎหมายมีลักษณะสําคัญในประเด็นเรื่องหลักความแนนอนของ
กฎเกณฑ เพื่อรับรองความมัน่ คงปลอดภัยในทางกฎหมาย จึงมี
หลักเกณฑบางอยางในการจัดระเบียบโครงสรางของกฎหมายทั้ง
ในแงเวลาและในเชิงขอบเขตการใชบังคับของกฎเกณฑตางๆ
สําหรับในแงของเวลานั้น กฎเกณฑแบบแผนความประพฤติ
สมควรมีลักษณะมั่นคงแนนอนและสามารถคาดหมายได (the
stability and predictability of norms) และสําหรับในแง
ของขอบเขตการใชบังคับของกฎเกณฑ เปนไปตามหลักความมี
เอกภาพของกฎหมายและหลักความเสมอภาค (the unity of
law and equality of citizens)
• มีขอสังเกตตอไปวาตามกฎบัตรวาดวยศาลทหารระหวางประเทศลงวันที่ ๘
สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ ซึ่งมีผลทําใหมีการจัดตั้งศาลทหารระหวางประเทศขึ้นที่นู
เร็มเบิรกนั้น ในการพิจารณาคดีที่ศาลทหารระหวางประเทศนูเร็มเบิรก มีการยก
ขอตอสูเชนเดียวกับในคดีอาญชากรสงครามในประเทศไทยวาเปนการออก
กฎหมายอาญายอนหลังใหบุคคลตองรับผิดทางอาญา แตศาลทหารระหวาง
ประเทศนูเร็มเบิรกตัดสินวาไมเปนการขัดตอหลักกฎหมายไมมีผลยอนหลัง
เหตุผลคือ ตั้งแตป ค.ศ. ๑๙๔๓ และโดยผลของปฏิญญากรุงมอสโคว ฝาย
สัมพันธมิตรไดแจงแกฝายเยอรมันแลววามีความประสงคจะดําเนินคดีแกอาชญา
กร นอกจากนี้ การที่ไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรบัญญัติโดยชัดแจงมิได
หมายความวาจะไมมีกฎหมายเชนนั้นอยู หลักสิทธิมนุษยชนและหลัก
ประชาธิปไตยวางรากฐานของกฎหมายที่อนุญาตใหกําหนดความผิดฐานเปน
อาชญากรสงคราม หลักกฎหมายไมมผี ลยอนหลังตองตอบสนองครรลอง
มนุษยชาติ สิทธิมนุษยชน และกฎหมายธรรมชาติ และในความหมายที่เกี่ยวของ
กับแนวคิดวาดวยเสรีภาพและประชาธิปไตยในโลกตะวันตก จึงมีกฎหมายอยู
แลวที่กําหนดหลักเกณฑวาดวยการกําหนดความผิด(ฐานเปนอาชญากรสงคราม)
ตัวอยาง 3
• รางพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. .... “มาตรา ๒๐ หามมิใหผใู ดชุมนุม
กันในเขตทางหลวง ในลักษณะที่เปนการกีดขวางการจราจร หรืออาจ
เปนอันตราย หรือเสียหายแกยานพาหนะ หรือผูใชทางหลวง เวนแต
ไดรับอนุญาตจากผูอํานวยการทางหลวง หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจาก
ผูอํานวยการทางหลวง หรือเปนการเดินแถวขบวนแห หรือการชุมนุม
ตามประเพณี หรือวัฒนธรรม หรือเปนกิจกรรมเพื่อประโยชนสาธารณะ
หรืออยูในเขตที่ไดรับการยกเวน ไมตองขออนุญาต ตามที่รฐั มนตรี
ประกาศกําหนด” ใชไดหรือไม
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางบทบัญญัติมาตรา ๒๐ ดังกลาว ตกไป เปนอัน
ใชบังคับมิได เนื่องจากเปนการจํากัดสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและ
ปราศจากอาวุธ โดยเปนบทบัญญัติที่มีการจํากัดเสรีภาพเกินความจําเปน
และกระทบกระเทือนตอสาระสําคัญตอเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและ
ปราศจากอาวุธ (คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๑๑/๒๕๔๙)
ตัวอยาง 4
• คนเดินเทาไมขามทางมาลายหรือสะพานลอย
• พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 4 (12) “ทางขาม” หมายความวา
พื้นที่ที่ทําไวสําหรับใหคนเดินเทาขามทางโดยทําเครื่องหมายเปนเสนหรือแนวหรือ
ตอกหมุดไวบนทาง และใหหมายความรวมถึงพื้นที่ที่ทําใหคนเดินเทาขามไมวาใน
ระดับใตหรือเหนือพื้นดินดวย
• ทางมาลายและสะพานลอยจึงอยูในความหมายของ “ทางขาม” ตามมาตรา
ดังกลาว และ
• มาตรา 104 ภายในระยะไมเกินหนึ่งรอยเมตรนับจากทางขาม หามมิใหคนเดินเทา
ขามทางนอกทางขาม หากฝาฝนมีโทษปรับไมเกิน 200 บาท (ตามมาตรา 147)
• ประชาชนมีสิทธิปฏิเสธการเปรียบเทียบปรับของเจาหนาที่ตํารวจแลวไปสูคดีใน
ศาลได
จากตัวอยาง 1, 2, 3, 4 จะเห็นไดวา
1) ฝายนิติบัญญัตเิ ปนผูตรากฎหมาย ฝายบริหารเปนผูใชกฎหมาย ฝาย
ตุลาการเปนผูตีความกฎหมาย
2) ฝายตุลาการตรวจสอบวากฎหมายที่ออกโดยฝายนิติบัญญัติขัดตอ
รัฐธรรมนูญหรือไม
3) ฝายตุลาการตรวจสอบฝายบริหารวาใชอํานาจโดยชอบดวยกฎหมาย
หรือไม
4) ฝายตุลาการจึงมีบทบาทเปนผูตรวจสอบใหมีการใชอํานาจตาม
กฎหมายและเปนหลักประกันคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ไมใหผูปกครองใชอาํ นาจเกินขอบเขต
รากฐานแนวคิดของหลักนิติธรรมหรือหลักนิติรัฐ
(สมคิด เลิศไพฑูรย, “การสถาปนาหลักนิติธรรมขึ้นในระบบกฎหมายไทย”, วารสารกฎหมาย,
คณะนิตศิ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, มีนาคม 2557, หนา 1-20.)
• หลักนิติธรรมเปนแนวคิดที่มีมาชานานแลว
อาจพิจารณาความเชื่อมโยงของแนวคิดที่มีมาแตยุคกรีก-โรมัน นําไปสู
วิวัฒนาการตามแนวคิดที่เกิดเปนหลักนิติธรรมตามคําเรียกขานในระบบคอม
มอนลอวและหลักนิติรฐั ตามคําเรียกขานในระบบซิวิลลอว ซึ่งลวนมุงเนนสิ่ง
เดียวกันคือ ความมุงหมายใหมีการใชกฎหมายในฐานะที่เปนแหลงที่มาใน
การจํากัดอํานาจผูใชอํานาจปกครอง เพื่อมุงหมายคุมครองสิทธิเสรีภาพ
ประชาชน
ดังนั้น แมจะมีนักวิชาการในประเทศไทยหลายทานพยายามอธิบายความ
แตกตางของหลักนิติธรรมตามคําเรียกขานในระบบคอมมอนลอวและหลัก
นิติรัฐตามคําเรียกขานในระบบซิวิลลอวก็ตาม แตประเด็นสําคัญกลับอยูที่
จุดรวมของหลักทั้งสองประการนี้ซึ่งลวนมีความมุงหมายในสิ่งเดียวกัน
เพียงแตมีพัฒนาการที่แตกตางกันไปตามระบบกฎหมายของตนเทานั้น
รากฐานแนวคิดของหลักนิติธรรมหรือหลักนิติรัฐ ...
• แนวคิดเรื่องการปกครองโดยกฎหมายในสมัยกรีก-โรมัน
• เพลโต เคยเสนอวาการปกครองที่ดีที่สุดคือการปกครองโดยราชาปราชญ แต
เมื่อแสวงหา Philosopher King ผูเปนทั้งคนเกง คนดีมีคุณธรรมประจําใจ
ปกครองบานเมืองดวยความถูกตองชอบธรรมไมพบในโลกของชีวิตจริง ใน
บั้นปลายชีวติ Plato จึงหันมาใหความสําคัญกับกฎหมาย หากใน “รัฐ” ใด
กฎหมายอยูภายใตอาํ นาจของผูมีอํานาจ “รัฐ” นั้นก็มีแนวโนมลมสลาย
ตรงกันขาม ถากฎหมายเปนนายของรัฐบาลและรัฐบาลเปนทาสของ
กฎหมาย ประชาชนก็จะมีความสุข
• Aristotle ศิษยเอกของเพลโต ขยายความวา การปกครองโดยกฎหมายเปน
สิ่งที่พึงปรารถนามากกวาการปกครองโดยมนุษยไมวา จะเปนผูใดก็ตาม
• ซิเซโร รัฐบุรุษชาวโรมันและนักคิดซึ่งไดรับอิทธิพลอยางสูงจากแนวคิดแหง
สํานักสโตอิก ขยายความตอวา เราเปนผูรับใชกฎหมายซึ่งทําใหเรามีเสรีภาพ
เปนการสะทอนหลักนิติธรรมไดชัดเจนยิ่งขึ้น
• หลักนิติธรรมเกิดขึ้นในระบบคอมมอนลอว
• ตอมา หลักนิตธิ รรมไดถือกําเนิดอยางเปนทางการในประเทศอังกฤษ
ซึ่งเปนประเทศ Common Law และขยายตัวไปยังประเทศตางๆ ใน
รูปแบบที่แตกตางกันออกไป
• หลักนิติธรรม (The Rule of Law) ไดรับการกลาวถึงอยางเปน
ทางการเปนครั้งแรกในศตวรรษที่ 19 โดยนักกฎหมายรัฐธรรมนูญ
อังกฤษ ชื่อ อัลเบิรต เวนน ไดซีย (Albert Venn Dicey) จากหนังสือ
Law of the Constitution แบบฉบับของหลักนิติธรรมตามทัศนะของ
ไดซีย แสดงออกโดยนัยสําคัญ 3 ประการ ...
1. การที่ฝายบริหารไมมีอํานาจลงโทษบุคคลใดไดตามอําเภอใจ เวน
เพียงในกรณีที่มีการละเมิดกฎหมายโดยชัดแจง และการลงโทษที่อาจ
กระทําไดนั้นจะตองกระทําตามกระบวนการปกติของกฎหมายตอหนา
ศาลปกติ (ordinary courts) ของแผนดิน
2. ไมมีบุคคลใดอยูเหนือกฎหมาย ไมวาเขาผูนั้นจะอยูในตําแหนงหรือ
เงื่อนไขประการใด ทุกๆ คน (ไมวา เปนเจาหนาที่ของรัฐหรือบุคคล
ธรรมดา) ลวนตองอยูภายใตกฎหมายและศาลเดียวกัน และ
3. หลักทั่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือสิทธิขั้นพื้นฐาน
(fundamental rights) ของประชาชน เปนผลมาจากคําพิพากษา
ของศาลหรือกฎหมายธรรมดา มิใชการรับรองค้ําประกันเปนพิเศษ
โดยรัฐธรรมนูญ ดังกรณีรัฐธรรมนูญประเทศอื่น (foreign
constitutions)
หลักนิตธิ รรมที่ไดซียกลาวไวคอื หลักที่ใชกฎหมายในการปกครอง
ประเทศ มีความสัมพันธอยางใกลชิดกับระบบคอมมอนลอวที่ใชใน
ประเทศอังกฤษคือ
1. ระบบคอมมอนลอว จะไมมีการแยกกฎหมายออกเปนกฎหมายเอกชน
หรือกฎหมายมหาชน กฎหมายที่มีอยูจะใชกบั ทั้งประชาชนและ
เจาหนาที่ของรัฐอยางเสมอหนากัน
2. ระบบคอมมอนลอว จะไมมีการแยกศาลปกครองหรือศาลรัฐธรรมนูญ
ออกจากศาลยุติธรรม แตถือวาศาลยุตธิ รรมสามารถพิพากษาไดทั้ง
คดีแพง คดีอาญา คดีปกครอง หรือแมแตคดีรัฐธรรมนูญ
3. ระบบคอมมอนลอว ถือวาคําพิพากษาของศาลเปนบอเกิดที่สําคัญ
ของกฎหมาย ไมใชตัวบทกฎหมาย ไมวาจะเปนพระราชบัญญัติ หรือ
รัฐธรรมนูญ
หลังจากมีการปรับใชหลักนิตธิ รรมในประเทศตางๆ ใน
ระบบคอมมอนลอวมาระยะหนึ่ง
แนวคิดเรื่องหลักนิติธรรมตามทัศนะของไดซียนี้ ไดรับ
การยอมรับอยางกวางขวางในยุคสมัยใหม และไดมีการ
พัฒนาตอยอดแนวคิดใหสอดคลองกับหลักการในระบบ
ซิวิลลอว จึงเกิดเปนหลักนิติรัฐ (Rechtsstaat – Legal
State) ในเวลาตอมา
• หลักการพื้นฐานวาดวยนิติรัฐในระบบซิวิลลอวกําเนิดขึ้นในเยอรมนี
ตั้งแตชวงศตวรรษที่ ๑๙ และไดรับการปรุงแตงใหสมบูรณขึ้นโดย
Hans Kelsen นักนิติศาสตรชาวออสเตรียในชวงตนศตวรรษที่ ๒๐ ใน
ลักษณะที่รัฐมีหลักเกณฑที่กฎเกณฑมีผลบังคับตามหลักการเคารพ
ลําดับชั้นของกฎหมายโดยอํานาจของรัฐถูกจํากัดไวโดยกฎหมายและ
ผูปกครองมีอํานาจอยูอยางจํากัด โดยมีหลักประกันคุมครองประชาชน
ตามหลักความเสมอภาคและไดรับความคุมครองโดยการมีศาลที่เปน
อิสระทําหนาที่คุมครองราษฎรจากการใชอํานาจตามอําเภอใจของ
ผูปกครอง ภายใตหลักความชอบดวยกฎหมาย และนําไปสูการ
ตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายของศาลตามมา
หลักนิตริ ฐั อาจประกอบดวยหลักการยอยที่สําคัญ 3 ประการคือ
1. หลักการเคารพลําดับชั้นของกฎหมาย (กฎหมายชั้นลางๆ จะขัดแยงกับ
กฎหมายชั้นที่เหนือกวาไมได หลักนี้เรียกรองใหรัฐ หนวยงานของรัฐ หรือ
แมแตปจเจกชนจะตองเคารพกฎหมายตามลําดับชั้นดังกลาวหรือที่เรียกวา
หลักความชอบดวยกฎหมาย หากไมเคารพหลักความชอบดวยกฎหมาย ยอม
นําไปสูการตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายขึ้น)
2. หลักความเสมอภาคของบุคคล (รัฐ หนวยงานของรัฐ และปจเจกชน จะตองมี
ความเสมอภาคเบื้องหนากฎหมาย ปจเจกชนที่ไดรับผลกระทบจากการออก
กฎหรือคําสั่งทางปกครองยอมมีสทิ ธิฟอ งศาลได)
3. หลักความเปนอิสระของศาล (ในระบบนิติรัฐ ศาลตองมีอิสระตามหลักการ
แบงแยกอํานาจ คืออิสระจากฝายนิตบิ ัญญัติและฝายบริหาร หากกฎหมาย
ของฝายนิติบัญญัติขัดแยงกับรัฐธรรมนูญก็จะตองมีศาลรัฐธรรมนูญที่เปน
อิสระทําหนาที่ควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย หากการ
กระทําของฝายบริหารขัดหรือแยงกับลําดับชั้นของกฎหมายก็จะตองมีศาลที่
เปนอิสระทําหนาที่ตรวจสอบการกระทําของฝายปกครอง)
หลักนิติรัฐ (Rechtsstaat – Legal State) :
แนวคิดของประเทศ Civil Law
• ในระบบซิวิลลอว ยึดถือกฎหมายลายลักษณอักษรเปนบอเกิด
ที่สําคัญที่สุดของกฎหมาย และถือวาคําพิพากษาของศาลเปน
เพียงเรื่องการใชและการตีความกฎหมายเทานั้น คําพิพากษา
ไมใชบอเกิดของกฎหมาย (อาจมีขอ ยกเวนในบางประเทศใน
บางกรณีเทานั้น เชนในประเทศฝรั่งเศส ในเรื่องกฎหมาย
ปกครองและกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล)
• หลักนิติรัฐกลาวใหกระชับที่สุดก็คือหลักการที่ผมู ีอํานาจจะตอง
เคารพกฎหมายหรือหลักการที่รัฐอยูภายใตกฎหมาย
สาระสําคัญของหลักนิติรัฐมีอยู 3 ประการ
1) บรรดาการกระทําทั้งหลายของรัฐจะตองชอบดวยกฎหมายที่ตราขึน้ โดยฝายนิติบัญญัติ
กลาวคือ องคกรของรัฐจะมีอํานาจสั่งการใหราษฎรกระทําการหรือละเวนไมกระทําการ
อยางหนึ่งอยางใดได ตอเมื่อบทบัญญัติแหงกฎหมายใหอํานาจไวอยางชัดแจงและจะตอง
ใชอํานาจนั้นภายในกรอบที่กฎหมายกําหนดไว
2) บรรดากฎหมายทั้งหลายทีต่ ราขึ้นจะตองชอบดวยรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
กฎหมายที่ใหอํานาจแกองคกรของรัฐลวงล้ําเขาไปในแดนแหงสิทธิและเสรีภาพของ
ราษฎรนั้นจะตองมีขอความระบุไวอยางชัดเจนพอสมควรวาใหองคกรของรัฐองคกรใดมี
อํานาจลวงล้ําเขาไปในแดนแหงสิทธิเสรีภาพของราษฎรไดในกรณีใดและภายในขอบเขต
อยางไร และกฎหมายดังกลาวจะตองไมใหอํานาจแกองคกรของรัฐลวงล้าํ เขาไปในแดน
แหงสิทธิเสรีภาพของราษฎรเกินขอบเขตแหงความจําเปนเพื่อธํารงรักษาผลประโยชน
สาธารณะ
3) การควบคุมไมใหกระทําขององคกรของรัฐขัดตอกฎหมายก็ดี การควบคุมไมใหกฎหมาย
ขัดตอรัฐธรรมนูญก็ดี จะตองเปนอํานาจหนาที่ขององคกรของรัฐฝายตุลาการซึ่งมีความ
เปนอิสระจากองคกรของรัฐฝายบริหารและองคกรของรัฐฝายนิติบัญญัติ
กลาวอีกนัยหนึ่ง ....
1) เปนการปกครองโดยกฎหมาย ไมใชการปกครองโดยอําเภอใจและ
ไมใช ruled by law (การใชกติกามาปกครองคนอื่น) กลาวคือ rule
of law เปนการปกครองโดยกติกา ซึ่งจะตรงขามกับ rule of men
ซึ่งเปนการปกครองโดยคนอยูเหนือกติกาและนํากติกาไปใชเพื่อ
ปกครองคนอื่น
2) ผูปกครองจะมีอํานาจก็ตอเมื่อมีกฎหมายใหอาํ นาจ หมายถึง การมี
อํานาจเปนเรื่องยกเวน คือตองมีเทาที่จําเปน
3) ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพตราบเทาที่ไมมีกฎหมายมาจํากัด หมายถึง
การจํากัดสิทธิเสรีภาพเปนเรื่องยกเวน คือตองจํากัดเพียงเทาที่จําเปน
4) ศาลเปนหลักประกันการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ความ
เปนอิสระของตุลาการจึงเปนสิ่งจําเปน
การปรากฏตัวของหลักนิติธรรมในรัฐธรรมนูญไทย
•หลักนิติธรรม (The Rule of Law) ไดปรากฏตัว
ในรัฐธรรมนูญไทยอยางเปนรูปธรรมเปนครั้งแรกใน
รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2517 โดยอยูในอารัมภบท
ของรัฐธรรมนูญ และในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.
2549 ก็เชนเดียวกัน
• รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗
• “... เจตนารมณของบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ แสดงออกให
ปรากฎซึ่งประณิธานรวมกันของปวงชนชาวไทยวา จักรักษาไวซึ่ง
เอกราชแหงชาติไทยในทุกทาง จักคุมครองศาสนาทุกศาสนาให
สถาพร จักเทอดทูนพระมหากษัตริยเปนประมุขและมิ่งขวัญของ
ประเทศชาติ จักยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย จัก
ตรากฎหมายขึ้นใชเพื่อความเปนธรรมในสังคม จักใชมาตรการทั้ง
ปวงในอันที่จะขจัดความเหลื่อมล้ํา ในฐานะของบุคคลทั้งในทาง
เศรษฐกิจ และสังคมใหลดนอยลงเปนลําดับ จักรวมกันบําบัดทุกข
บํารุงสุขและจักพิทักษสิทธิ เสรีภาพของราษฎร โดยทั่วหนาและ
อยางเสมอภาค และจักธํารงไวซึ่งหลักนิตธิ รรม เพื่อใหราษฎร
ไดรับความยุติธรรมอยางทั่วถึง ...”
• รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549
• “… จําเปนตองกําหนดกลไกการปกครอง ที่เหมาะสมแกสถานการณเพื่อใชไป
พลางกอน โดยคํานึงถึงหลักนิติธรรม ตามประเพณีการปกครองของ
ประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข การ
ฟนฟูความรักความสามัคคี ระบบเศรษฐกิจและความสงบเรียบรอย ของ
บานเมือง การเสริมสรางระบบการตรวจสอบทุจริตที่เขมแข็ง และระบบ
จริยธรรมที่ดงี าม การสงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน การ
ปฏิบัติตามกฎบัตรสหประชาชาติ พันธะกรณีตามสนธิสัญญา หรือความตกลง
ระหวางประเทศ การสงเสริมสัมพันธไมตรีกบั นานาประเทศ การดํารงชีวิตตาม
หลักเศรษฐกิจพอเพียง ขณะเดียวกัน ก็เรงดําเนินการใหมีการจัดทําราง
รัฐธรรมนูญขึ้นใหม ดวยการมีสวนรวมอยางกวางขวางจากประชาชนในทุก
ขั้นตอน เพื่อใหการเปนไปตามที่คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข …”
การปรากฏตัวของหลักนิติธรรมในรัฐธรรมนูญไทย
• ตอมา ในรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2550 มีการบัญญัติเรื่องหลักนิติธรรม
ไวอยางเปนรูปธรรมในมาตรา 3 อีกทั้งยังไดบัญญัติหลักการอันเปน
เนื้อหา ไมวาจะเปน หลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
หลักการแบงแยกอํานาจ หลักการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
หลักการมีศาลที่เปนอิสระและทําหนาที่วินิจฉัยขอพิพาทกระจายอยูใน
รัฐธรรมนูญ (หลักการแบงแยกอํานาจ มาตรา 3 หลักคุมครองสิทธิและ
เสรีภาพของประชาชน มาตรา 4, 26, 27, 32, 39 หลักความเสมอภาค
มาตรา 5, 30 ลําดับชั้นของกฎหมายฯ มาตรา 6, 211, 212 สิทธิทาง
ศาลและกระบวนการยุติธรรม มาตรา 28 วรรคสอง, 40 ความเปน
อิสระของศาล มาตรา 197และในกฎหมายอื่นๆ อีกมากมาย (พรบ.
จัดตั้งศาลปกครองฯ พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองฯ ป.อาญา
ปวพ.)
รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๓ อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย
พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุขทรงใชอาํ นาจนั้นทาง
รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแหง
รัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล
รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐ
ตองเปนไปตามหลักนิติธรรม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตรา ๓ อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรง
เปนประมุขทรงใชอํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติ
แหงรัฐธรรมนูญ
รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องคกรอิสระ และหนวยงานของรัฐ ตอง
ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชน
สวนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม
มาตรา ๕ รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของ
กฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ หรือการกระทําใด ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ
บทบัญญัติหรือการกระทํานั้น เปนอันใชบังคับมิได
เมื่อไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้บังคับแกกรณีใด ใหกระทําการนั้น
หรือวินิจฉัยกรณีนั้น ไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
• เปนที่นาเสียดายวา หลักการตามมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย ฉบับพุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย ฉบับพุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่วา “การใชอํานาจโดย
องคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและ
เสรีภาพ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี”้ ซึ่งเปนหลักการสําคัญของ
หลักนิติรัฐ ตอมาเมื่อมีการบัญญัติรัฐธรรมนูญใหมฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐
หลักการที่กําหนดใหการใชอาํ นาจขององคกรตางๆ ของรัฐ ไมเปนการใช
อํานาจตามอําเภอใจ หากแตจะตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ
และเสรีภาพ ตามบทบัญญัตแิ หงรัฐธรรมนูญ กลับมิไดรับการยืนยันอยาง
ชัดเจนเหมือนที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญ
ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ อีก
นอกจากนี้ ในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ยังบัญญัติ
แตเพียงวา “การตรากฎหมายที่มผี ลเปนการจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคล ตองเปนไป
ตามเงื่อนไขที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิไดบัญญัติเงื่อนไขไว กฎหมาย
ดังกลาวตองไมขัดตอหลักนิติธรรม ไมเพิ่มภาระหรือจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกิน
สมควรแกเหตุ และจะกระทบตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของบุคคลมิได และตองระบุเหตุผล
ความจําเปนในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพไวดว ย” ในขณะที่รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.
๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดบัญญัติมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่งวา
“การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว จะกระทํามิได เวน
แตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้
กําหนดไวและเทาที่จําเปน และจะกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหงสิทธิและ
เสรีภาพนั้นมิได” เชนนี้ การยืนยันหลักการที่สําคัญอีกสองประการ ไดแก
หลักการจํากัดสิทธิไดเทาที่จาํ เปนและหลักการไมกระทบกระเทือนสาระสําคัญ
หรือสารัตถะแหงสิทธิเสรีภาพ ที่ไดมีการกระทํามาอยางตอเนื่องในรัฐธรรมนูญ
ฉบับพ.ศ. ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ กลับไดรับการละเลยจาก
การรางรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐ อยางนาเสียดาย
• อยางไรก็ตาม การที่รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา 5
วรรคหนึ่ง ไดบัญญัติวา “รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของ
ประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ หรือ
การกระทําใด ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการ
กระทํานั้น เปนอันใชบังคับมิได” ยอมเปนขอจํากัดอํานาจรัฐ
มิใหใชอํานาจตามอําเภอใจซึ่งจะมีผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชน อันเปนการสอดคลองกับหลักการพื้นฐานวา
ดวยนิติรัฐไดเปนอยางดีเชนเดียวกัน
ตัวอยางคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ เรื่องหลักความเสมอ
ภาคซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของหลักนิติธรรมตามรัฐธรรมนูญ
• คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖ ตัดสินวา พระราชบัญญัติ
ชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๑๒ ไมชอบดวยรัฐธรรมนูญ เพราะ
ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ เปนอันใชบังคับมิไดตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๖
• คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๑๕/๒๕๕๕ ตัดสินวา พรบ. ระเบียบ
ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง (๑๐)
ขัดตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• ประเด็นมีวา พระราชบัญญัติช่อื บุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา


๑๒ ที่บัญญัติวา "หญิงมีสามี ใหใชชื่อสกุลของสามี" ขัดตอ
รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐ เนื่องจากเปนบทบัญญัติที่
เปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอสตรี และไม
สอดคลองกับรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ ที่บัญญัติใหบุคคล
ยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองใน
กฎหมายเทาเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๑๒


เปนบทบัญญัติที่บังคับใหหญิงมีสามีที่ไดสมรสกันตาม
กฎหมาย ตองเปลี่ยนชื่อสกุลของหญิงนั้น มาเปนชื่อ
สกุลของชายผูเปนสามี และเปนการบัญญัติที่บังคับ
เฉพาะหญิงที่มีสามีฝา ยเดียว อันเปน การขัดหรือแยง
ตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแลว เห็นวา รัฐธรรมนูญ


มาตรา ๓๐ เปนบทบัญญัติที่คุมครองสิทธิและเสรีภาพ
ของชนชาวไทยตามกฎหมายอยางเทาเทียมกัน โดยให
ทุกคนมีความเสมอกันในกฎหมาย ซึ่งถือเปนหลักความ
เสมอภาค โดยเฉพาะการรับรองสิทธิเทาเทียมกัน
ระหวางชายและหญิง และการเลือกปฏิบัติโดยไมเปน
ธรรมจะกระทํามิได
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

•หลักความเสมอภาคตามมาตรา ๓๐ มีพื้นฐาน
มาจากหลักความเสมอภาคเทาเทียมกันตาม
ธรรมชาติท่เี ปนการยอมรับวา สิทธิตาม
ธรรมชาติของปจเจกชนนั้น เปนสิทธิที่มีความ
เสมอภาคเทาเทียมกันทุกคน ซึ่งจะเปนสิทธิที่มี
มาตั้งแตเกิดที่ทุกคนจะมีอยูอยางเทาเทียมกัน
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖
• การใชช่อื สกุลเปนมาตรการของรัฐในการจําแนกตัวบุคคลเพื่อ
แสดงถึงแหลงกําเนิด วามาจากวงศตระกูลใดอันเปนการแสดง
เผาพันธุ เทือกเถาเหลากอของบุคคล โดยการใชชื่อสกุลถือวา
เปนเรื่องสิทธิของบุคคลที่มีอยูอยางเทาเทียมกันทุกคน ทั้งนี้รัฐ
ยังคงมีหนาที่ใหความคุมครองบุคคลตามกฎหมายเพือ่ มิใหการใช
ชื่อสกุลของบุคคลใดกอใหเกิดความเสียหายหรือเสื่อมเสียแก
บุคคลอื่นได และถือเปนหนาที่ของบุคคลทุกคนที่จะตองไมใหการ
ใชสิทธิในการใชช่อื สกุลไปกระทบกระเทือนตอสิทธิของบุคคลอื่น
เชนกัน
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• ประเทศไทยไดนําระบบการใชชื่อสกุลมาใชครั้งแรกในรัช
สมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่
๖ โดยหญิงมีสามียังคงใชชื่อสกุลเดิมของตนได ซึ่งปรากฏ
ใน พระราชบัญญัติขนานนามสกุล พระพุทธศักราช
๒๔๕๖ มาตรา ๖ ที่บัญญัติวา "หญิงไดทํางานสมรสมีสามี
แลวใหใชชื่อสกุลของสามี แลคงใชช่อื ตัวแลชื่อสกุลเดิม
ของตนได"
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• ตอมาไดมีการ แกไขเรื่องการใชชื่อสกุลของหญิงมี
สามี โดยพระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักราช
๒๔๘๔ บัญญัติไวในมาตรา ๑๓ วา "หญิงมีสามี ให
ใชชื่อสกุลของสามี" และพระราชบัญญัติชื่อบุคคล
พ.ศ. ๒๕๐๕ ยังคงถือหลักการเรื่องการใชชื่อสกุล
ของหญิงมีสามีเชนเดียวกันกับพระราชบัญญัติ ชื่อ
บุคคล พุทธศักราช ๒๔๘๔
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• การบังคับใหหญิงมีสามีใช ชื่อสกุลของสามีเพียงฝาย
เดียวโดยใชสถานะการสมรสนั้น มิไดเปนเหตุผลใน
เรื่องความแตกตางทาง กายภาพ หรือภาระหนาที่
ระหวางชายและหญิงที่มีผลมาจากความแตกตาง
ทางเพศ จนทําใหตองมี การเลือกปฏิบัติใหแตกตาง
กัน จึงไมเปนเหตุที่ทาํ ใหตองมีการเลือกปฏิบัติให
แตกตางกันในเรื่องเพศ และสถานะของบุคคลได
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• สําหรับขออางที่วา การเลือกปฏิบัติดังกลาวมีเหตุผลทาง
สังคมที่วา เพื่อความเปน เอกภาพและความสงบสุขของ
ครอบครัว อีกทั้งสอดคลองกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ
ชนชาวไทยนั้น พิจารณาแลว เห็นวา ขออางดังกลาวรับ
ฟงไมได เนื่องจากความเปนเอกภาพและความสงบสุข
ของ ครอบครัวเกิดขึ้นจากความเขาใจ การยอมรับ และ
การใหเกียรติซึ่งกันและกันระหวางสามีและภริยา
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

• ประกอบกับกฎหมายวาดวยการใชชื่อสกุลฉบับแรกของ
ประเทศไทยเพิ่งตราขึ้นเมื่อป ๒๔๕๖ โดยกอนหนานั้น
ประเทศไทยไมมีระบบการใชชื่อสกุล จึงไมนาจะเปนเรื่อง
ของวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ที่มีมาชานาน
• ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน ศาลรัฐธรรมนูญจึงวินิจฉัยวา
พระราชบัญญัตชิ ื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๑๒ ไมชอบ
ดวยรัฐธรรมนูญ เพราะขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา
๓๐ เปนอันใชบังคับมิไดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๑๕/๒๕๕๕
คดีทนายความพิการดวยโรคโปลิโอ
• ตัดสินวา พรบ. ระเบียบขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม มาตรา ๒๖
วรรคหนึ่ง (๑๐) ในสวนที่บัญญัติใหผูสมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเปน
ขาราชการฝายตุลาการตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามวา “มี
กายหรือจิตใจไมเหมาะสมที่จะเปนขาราชการฝายตุลาการ” จึงขัดตอสิทธิ
ของคนพิการในการเขาทํางานบนพื้นฐานที่เทาเทียมกับบุคคลทั่วไปตาม
อนุสัญญาวาดวยสิทธิคนพิการของสหประชาชาติและเปนการเลือกปฏิบัติ
ตอบุคคลโดยไมเปนธรรมเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องความพิการ
ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐
• เปนการกลับคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2545 ซึ่งวินิจฉัยวา
พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
มาตรา 26 (10) ไมขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 และคําวินิจฉัยที่
44/2545 ซึ่งวินิจฉัยวา พระราชบัญญัติ ระเบียบขาราชการฝายอัยการ พ.ศ.
2521 มาตรา 33 (11) ไมขดั หรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา 30
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.142/2547
• ความเห็นของคณะกรรมการแพทยฯ และคณะอนุกรรมการพิจารณาคุณสมบัติของ
ผูสมัครสอบคัดเลือกฯ เปนเพียงความเห็นเบื้องตนที่เสนอตอผูถูกฟองคดีเพื่อ
ประกอบการพิจารณาเทานั้น การที่ผถู ูกฟองคดีมีมติไมรบั สมัครผูฟอ งคดี โดยมิได
พิจารณาถึงความสามารถที่แทจริงในการปฏิบัติงานของผูฟองคดี จึงไมมีเหตุผลที่
หนักแนนควรคาแกการรับฟงวา การที่ผูฟองคดีมีกายพิการดังกลาวจะทําใหไม
สามารถปฏิบัติงานในหนาที่ของขาราชการอัยการไดอยางไร
• มติของผูถูกฟองคดีที่ไมรับสมัครผูฟองคดีในการสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเปน
ขาราชการอัยการในตําแหนงอัยการผูชวยประจําป พ.ศ. 2544 จึงเปนการใช
ดุลพินิจวินจิ ฉัยโดยไมชอบดวย มาตรา 33 (11) แหงพระราช บัญญัติระเบียบ
ขาราชการฝายอัยการ พ.ศ. 2521 และเปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรมตอผูฟอ ง
คดีตามมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พิพากษากลับคําพิพากษา
ของศาลปกครองชั้นตนเปนใหเพิกถอนมติของผูถูกฟองคดีในการประชุมครั้งที่
6/2544 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2544 ในสวนที่มีมติไมรับสมัครผูฟองคดีในการสอบ
คัดเลือกเพื่อบรรจุเปนขาราชการอัยการในตําแหนงอัยการผูชวย พ.ศ. 2544
ตัวอยางคําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่วนิ ิจฉัยวาขัดตอหลักนิติธรรมใน
ประเด็นเกี่ยวกับหลักกฎหมายอาญาและกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
• คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 12/2555
เรื่อง พระราชบัญญัตขิ ายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ
หรือไม
• 1. ขอเท็จจริง
ศาลฎีกาสงคําโตแยงของจําเลยในคดีความผิดตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบ
ตรง พ.ศ. 2545 (พรบ. ขายตรง 2545) ซึ่งโตแยงวา มาตรา 54 “ในกรณีที่ผูกระทําความผิดซึ่ง
ตองรับโทษตามพระราชบัญญัตนิ ้เี ปนนิตบิ ุคคล ใหกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่ง
รับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบคุ คลนั้น ตองรับโทษตามที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับ
ความผิดนั้น ๆ ดวย เวนแต จะพิสูจนไดวาตนมิไดมีสวนในการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้น”
มีเนื้อหาขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา 39 วรรคสอง และมาตรา 40 (5) ประกอบมาตรา
30
2. บทกฎหมาย
รัฐธรรมนูญมาตรา 39 วรรคสอง บัญญัติวา “ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวา
ผูตองหาหรือจําเลยไมมคี วามผิด”
• 3. ขอวินิจฉัย
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงขางมาก 5 ตอ 4 วินิจฉัยวา มาตรา 54
ดังกลาวขัดตอรัฐธรรมนูญมาตรา 39 วรรคสอง จึงเปนอันใชบังคับไมไดตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา 6 สวนปญหาตามมาตราอื่นๆ ไมจําเปนตองวินิจฉัย
4. เหตุผลประกอบการวินิจฉัย
“เห็นวา พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 มาตรา 54 เปน
ขอสันนิษฐานตามกฎหมายที่มีผลการสันนิษฐานความผิดของจําเลย โดยโจทกไม
จําตองพิสูจนใหเห็นถึงการกระทําหรือเจตนาอยางใดอยางหนึ่งของจําเลยกอน เปน
การนําการกระทําความผิดของบุคคลอื่นมาเปนเงื่อนไขของการสันนิษฐานใหจําเลย
มีความผิดและตองรับโทษทางอาญา เนื่องจาก การสันนิษฐานวา ถาผูกระทํา
ความผิดเปนนิติบุคคล ก็ใหกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลที่รับผิดชอบใน
การดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นตองรวมรับผิดกับนิติบุคคลผูกระทําความผิดดวย
เวนแต จะพิสูจนไดวาตนไมไดมีสวนรูเห็นเปนใจในการกระทําความผิดของนิติบุคคล
ดังกลาว ...
• ... โดยโจทกไมตองพิสูจนถึงการกระทําหรือเจตนาของกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ
หรือบุคคลใดที่รับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นวามีสวนรวมเกี่ยวของ
กับการกระทําความผิดของนิติบุคคลอยางไร คงพิสูจนแตเพียงวานิตบิ ุคคลกระทํา
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้และจําเลยเปนกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือ
บุคคลที่รบั ผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลเทานั้น กรณีจึงเปนการสันนิษฐาน
ไวตั้งแตแรกแลววา กรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลที่รับผิดชอบในการ
ดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นไดกระทําความผิดดวย อันมีผลเปนการผลักภาระการ
พิสูจนความบริสุทธิ์ไปยังกรรมการผูจดั การ ผูจัดการ และบุคคลที่รับผิดชอบในการ
ดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นทั้งหมดทุกคน บทบัญญัติมาตราดังกลาวจึงเปนการ
สันนิษฐานความผิดของผูตองหาและจําเลยในคดีอาญาโดยอาศัยสถานะของบุคคล
เปนเงื่อนไข มิใชการสันนิษฐานขอเท็จจริงที่เปนองคประกอบความผิดเพียงบางขอ
หลังจากที่โจทกไดพิสูจนใหเห็นถึงการกระทําอยางหนึ่งอยางใดที่เกี่ยวของกับ
ความผิดที่จําเลยถูกกลาวหา ...
• ... และยังขัดกับหลักนิติธรรมขอที่วาโจทกในคดีอาญาตองมีภาระการ
พิสูจนถึงการกระทําความผิดของจําเลยใหครบองคประกอบความผิด
นอกจากนี้ บทบัญญัติมาตราดังกลาวยังเปนการนําบุคคลเขาสูกระบวนการ
ดําเนินคดีอาญาใหตองตกเปนผูตอ งหาและจําเลย ซึ่งทําใหบุคคลดังกลาว
อาจถูกจํากัดสิทธิและเสรีภาพ เชน การถูกจับกุม หรือถูกคุมขัง โดยไมมี
พยานหลักฐานตามสมควรในเบื้องตนวาบุคคลนั้นไดกระทําการหรือมี
เจตนาประการใดอันเกี่ยวกับความผิดตามที่ถูกกลาวหา บทบัญญัติมาตรา
ดังกลาวในสวนที่สันนิษฐานความผิดอาญาของผูตองหาและจําเลยโดยไม
ปรากฏวาผูตองหาหรือจําเลยไดกระทําการหรือมีเจตนาประการใดเกี่ยวกับ
ความผิดนั้น จึงขัดตอหลักนิตธิ รรมและขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา
39 วรรคสอง”
• คําวินิจฉัยนีย้ ังไดอา งอิงปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of
Human Rights - UDHR) และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ
เมือง (International Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR) ซึ่งประเทศ
ไทยเปนภาคีโดยการภาคยานุวัติและมีผลผูกพันประเทศไทยนับแตวันที่ 30 มกราคม 2540
เปนเหตุผลประกอบขอวินิจฉัยวา มาตรา 54 พรบ.ขายตรง 2545 ขัดตอหลักนิติธรรมและ
รัฐธรรมนูญ มาตรา 39 วรรคสอง
แตทั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญมิไดวินิจฉัยโดยตรงวา มาตรา 54 ขัดตอ “สิทธิมนุษยชน”
ตามปฏิญญาและกติการะหวางประเทศดังกลาว ซึ่งกรณีเชนนี้จะเกิดขึ้นได ก็ตอเมื่อเปนคดีที่
ขึ้นสูศาลรัฐธรรมนูญผานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 257
(2) เทานั้น (ณรงคเดช สรุโฆษิต, หมายเหตุทายคดีรัฐธรรมนูญ คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่
12/2555 เรื่อง พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 ขัดหรือแยงตอ
รัฐธรรมนูญหรือไม, http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=1713)
• แตบางทานเห็นวา ในแงบอเกิดของกฎหมาย (source of law) ศาลรัฐธรรมนูญควรอาง
“หลักนิติธรรมตามรัฐธรรมนูญมาตรา 3 วรรคสอง” มากกวา (อานนท มาเมา, “บท
วิเคราะหคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ : คําวินิจฉัยที่ 12/2555 กับหลักสันนิษฐานความ
เปนผูบริสุทธิ์ในฐานะสิทธิขั้นพื้นฐาน และขอพิจารณาเพิ่มเติมประการอื่น (ตอนที่ 2)”,
วารสารนิตศิ าสตร 42 : 1 (มีนาคม 2556), หนา 114 - 140
ตอมาไดมีการออก“พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัตแิ หงกฎหมาย ที่เกี่ยวกับความรับ
ผิดในทางอาญาของผูแทนนิติบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อปรับปรุงหลักการในกฎหมายจํานวน ๗๖
ฉบับ ตามบัญชีทา ย พรบ.นี้ เพื่อใหสอดคลองกับหลัก presumption of innocence และคํา
วินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๑๒/๒๕๕๕ ดังกลาว
• ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๘ ก วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๐
• เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ศาลรัฐธรรมนูญไดมคี ําวินจิ ฉัยวาพระราชบัญญัติ
ขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕๔ เฉพาะในสวนที่สันนิษฐานใหกรรมการผูจัดการ
ผูจดั การ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้น ตองรับโทษทางอาญารวมกับการ
กระทําความผิดของนิติบคุ คล โดยไมปรากฏวามีการกระทําหรือเจตนาประการใดอันเกี่ยวกับการกระทํา
ความผิดของนิติบุคคลนั้น ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา
๓๙ วรรคสอง เปนอันใชบังคับไมไดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖
และตอมา ศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัยในลักษณะดังกลาวทํานองเดียวกัน คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๔ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๗๘
พระราชบัญญัตสิ ถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ มาตรา ๒๘/๔ และพระราชบัญญัติปยุ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา
๗๒/๕ ขัดหรือแยงตอ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง เปน
อันใชบงั คับไมไดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ ดังนั้น เพื่อแกไข
บทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวและกฎหมายอื่นที่มีบทบัญญัติในลักษณะเดียวกันมิใหขัดหรือแยงตอ
รัฐธรรมนูญ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติน้ี
มาตรา ๓ ใหยกเลิกความในมาตราแหงประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติและพระ
ราชกําหนด จํานวนเจ็ดสิบหกฉบับ ดังตอไปนี้ และใหใชความตามที่ปรากฏในบัญชีทาย
พระราชบัญญัตินี้แทนตามลําดับ
(๑) มาตรา ๑๒ จัตวา แหงพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและคาของ
เกา พุทธศักราช ๒๔๗๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและ
คาของเกา (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๕
(๒) มาตรา ๓๕ ทวิ แหงประมวลรัษฎากร ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชกําหนด
แกไขเพิ่มเติม ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๕ และมาตรา ๙๐/๕ แหง
ประมวลรัษฎากร ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับ
ที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๓๔
ฯลฯ
บัญชีทายพระราชบัญญัติ แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงกฎหมายที่
เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผูแทนนิติบคุ คล พ.ศ. ๒๕๖๐
• ๑. พระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและคาของเกา พุทธศักราช ๒๔๗๔ “
มาตรา ๑๒ จัตวา ในกรณีท่ผี ูกระทําความผิดเปนนิติบุคคล ถาการกระทําความผิดของ
นิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการ หรือผูจัดการ หรือบุคคลใด
ซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกลาว มีหนาที่
ตองสั่งการหรือกระทําการและละเวนไมส่งั การหรือไมกระทําการจนเปนเหตุใหนิติบุคคล
นั้นกระทําความผิด ผูนั้นตองรับโทษตามที่บัญญัติไวสําหรับความผิดนั้น ๆ ดวย”
• ๒. ประมวลรัษฎากร “ มาตรา ๓๕ ทวิ ผูใดฝาฝนมาตรา ๑๒ ทวิ ตองระวางโทษ
จําคุกไมเกินสองป และปรับไมเกินสองแสนบาท ในกรณีที่ผูกระทําความผิดตามวรรค
หนึ่งเปนนิติบุคคล ถาการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการ
กระทําของกรรมการ หรือผูจัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติ
บุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกลาวมีหนาทีต่ องสั่งการหรือกระทําการและละเวนไมสงั่
การหรือไมกระทําการจนเปนเหตุใหนิติบุคคลนั้นกระทําความผิด ผูนั้นตองรับโทษตามที่
บัญญัติไวในวรรคหนึ่งดวย”
• ฯลฯ
ตัวอยางคําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่วนิ ิจฉัยวาไมขัดตอหลักนิติธรรม
• คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 24/2555 เรื่อง พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑๕ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓ หรือไม ฯลฯ
• บทบัญญัติดงั กลาวจึงเปนเพียงการมอบหมายให กอ.รมน. มีอํานาจหน้ําที่บูรณาการ
และประสานการปฏิบัติรวมกับทุกสวนราชการ สงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวม
ในการปองกันและรักษาความมั่นคง รวมทั้งเสริมสรางความเขมแข็งในทองถิ่นของตน
เพื่อป องกันภยันตรายที่เกิดขึ้นตั้งแตในยามปกติ และในยามที่เกิดสถานการณอันเปน
ภัยตอความมั่นคงในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง และกําหนดใหมีมาตรการและกลไกควบคุมการ
ใชอํานาจเปนการเฉพาะตามระดับความรุนแรงของสถานการณ เพื่อใหสามารถแกไข
สถานการณไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนเอกภาพ ภายในพื้นที่และระยะเวลาที่
กําหนดเทานั้น ดังนั้น พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.
๒๕๕๑ มาตรา ๑๕ มิไดขัดตอหลักความเปนธรรมตามกฎหมายและหลักนิติธรรมแต
อยางใด จึงไมขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓ วรรคสอง
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 28-29/2555 เรื่อง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ ขัด
หรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓ วรรคสอง มาตรา ๒๙ และมาตรา ๔๕ วรรคหนึ่ง และ
วรรคสอง หรือไม
• หลักการตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๑๒ จึงมีความสอดคลอง
กับรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒ ที่บญ
ั ญัติรับรองวา ประเทศไทยมีการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และ
มาตรา ๘ ที่บัญญัติรับรองและคุมครองสถานะของพระมหากษัตริยใ น
ฐานะที่ทรงเปนประมุขของรัฐและเปนสถาบันหลักของประเทศ การ
กําหนดบทลงโทษแกผูกระทําความผิดจึงเปนไปเพื่อความสงบเรียบรอย
และศีลธรรมอันดีของประชาชนตามหลักนิติธรรม ประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๑๑๒ จึงเปนบทบัญญัติที่สอดคลองกับหลักนิติธรรม มิได
ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓ วรรคสอง
วิชา มหาคุณ, “การเมืองกับกฎหมาย”, ใน: นิติรัฐในสังคมไทย,
โครงการสัมมนาประจําป สถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ เพื่อ
ประชาธิปไตย, ๑๖-๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๑, หนา ๑๒
• ในชวงรางรัฐธรรมนูญมีการอภิปรายกันวาจะใชคาํ วา “นิตริ ฐั ” หรือไม
ผลสุดทายไดใชคําวา “หลักนิติธรรม” ซึ่งเปนคํากลางๆ เพื่อไมใหรสู กึ
วาถูกบังคับวาเปนเรื่องของรัฐ แตเปนเรื่องของหนวยงานทุกหนวยงาน
องคกรทุกองคกร บุคคลทุกผูทุกนามที่มีอยูในรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓
วรรคสอง (“การปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้ง
องคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐ ตองเปนไปตามหลักนิติ
ธรรม”)
• หมายเหตุของผูสอน : นอกจากนี้ ในประเทศไทยไดมีการนําคําวาหลัก
นิติธรรมมาใชจนเปนคํากลางๆ อยูแลว
หลัก supremacy of law มีขึ้นเพื่อคุมครองราษฎร
จากการใชอํานาจตามอําเภอใจของฝายปกครอง
• รัฐจะใชอํานาจกระทําการใดๆ ที่มผี ลกระทบกับประชาชน
พลเมืองของตนไดก็ตอเมื่อมีกฎหมายใหอาํ นาจเปนสําคัญ
กลาวคือ เปนไปตามหลัก “ไมมีกฎหมาย ไมมีอํานาจ” หรืออีก
นัยหนึ่ง “หลักการกระทําของฝายปกครองตองเปนไปตาม
กฎหมาย” นั่นเอง
• เปนการตอบคําถามที่วา
• “ถากฎหมายไมหา ม ฝายปกครองก็ทําได” นั้นไมถูกตอง
• ที่ถูกคือ “ถากฎหมายไมใหอํานาจ ฝายปกครองก็ทําไมได”
เอกบุญ วงศสวัสดิ์กุล, “บทนํา” ในหนังสือรวมบทความ นิติรัฐ
นิติธรรม, คณะนิตศิ าสตร มธ. 2553.
• หลักนิติรัฐหรือหลักนิติธรรมลวนมุงหมายใหมีการใชกฎหมายใน
ฐานะที่เปนแหลงที่มาในการจํากัดอํานาจผูใชอํานาจปกครอง
• “การปกครองโดยการใชอํานาจตามกฎหมาย” เปนการให
ความสําคัญแกกฎหมายในฐานะที่เปนกลไกของรัฐในการเคารพ
ตอปจเจกบุคคล กลาวคือ การใชกฎหมายในการคุมครองสิทธิ
และเสรีภาพของปจเจกบุคคล หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ การใช
กฎหมายในฐานะที่เปนการจํากัดการใชอํานาจรัฐนั่นเอง รัฐที่
ปกครองโดยการใชอํานาจตามกฎหมายในลักษณะนี้เรียกกันวา
เปน “นิติรัฐ” (Legal State)
วิชา มธ.122/น.100

โดย
รองศาสตราจารย ดร. สมเกียรติ วรปญญาอนันต
หัวขอศึกษา

๕.๑ ความสําคัญของบุคคล r
๕.๒ สภาพบุคคลกับหลักความเสมอภาคและหลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
๕.๓ ลักษณะพิเศษของสภาพบุคคล
๕.๔ ในสมัยโบราณ กฎหมายมิไดรับรองใหมนุษยมีฐานะเปนผูทรงสิทธิ
ตามกฎหมายโดยเทาเทียมกันทุกคน
๕.๕ หลักการเคารพรางกายมนุษยตามกฎหมายฝรั่งเศส
๕.๖ หลักกฎหมายวาดวยบุคคลธรรมดา
๕.๑ ความสําคัญของบุคคล (๑)
นพ 15
ใน ให rt
.

ห กการ ส ย

สิ่งที่มีสภาพบุคคล (Legal Personality) เทานั้น


ที่สามารถมีสิทธิและหนาที่ตาง ๆ ได สิ่งที่ไมมีสภาพ
บุคคล โดยเฉพาะอยา งยิ่ง ทรั พย สิ่งของทั้ งหลายนั้ น
โดยทั่วไปไมอาจมีสิทธิและหนาที่ได
ลั
มั
ม่
ความสําคัญของบุคคล (๒)
บุคคลยอมเปนตัวการแหงสิทธิ
(Principal of Rights) หรือประธานแหง
สิทธิ (Subject of Rights) เพราะปจจุบัน
เรารับรองหลักการวาดวยศักดิ์ศรีความเปน
มนุษย
๕.๒ สภาพบุคคลกับหลักความเสมอภาคและหลักศักดิ์ศรี
ความเปนมนุษย
•เปนผลมาจากหลักธรรมชาติที่มนุษยทุกคนเกิดมาแลวมี
ความเหมือนกัน จึงเสมอภาคกันและมีสภาพบุคคลเหมือน
ๆ กัน
•หลักตามรัฐธรรมนูญที่กําหนดใหทุกคนมีสิทธิเสมอกันตาม
กฎหมาย
•หลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
ความหมายของการวางหลักเสมอภาค

1. ทุกคนมีสิทธิในสภาพบุคคล ถือเปนหลักการขั้น
พื้นฐาน
2. การมีสภาพบุคคลเปนเงื่อนไขประการเดียวที่
เพียงพอในการเปนผูทรงสิทธิหรือมี
ความสามารถในการถือสิทธิ
ความหมายของหลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

8
1. การเคารพสิทธิในรางกายของมนุษย
2. การเคารพสิทธิในจิตวิญญาณของมนุษย
ความหมายของหลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
1. การเคารพสิทธิในรางกายของมนุษย
a) หามทําการทดลองกับรางกายมนุษย ?

หามทําลาย/ขุดคุยศพะ
b) หามโคลนนิงมนุษย
c)
d) อาชญากรรมตอมนุษยชาติหรือการฆาลางเผาพันธุไมมีอายุความ ×

e) การยกเลิกโทษประหารชีวิต ✗
2. การเคารพสิทธิในจิตวิญญาณของมนุษย
a) หามกระทําตอมนุษยเยี่ยงสัตว เชน การคามนุษย ถ้ํามองสาวเปลื้องผา
โชวแมหญิงยินยอม การแสดงโชวยิงคนแคระในปนใหญ ตีหัวตลกลูกทีม
เพื่อการคาแมเจาตัวยินยอม ✓
b) การเผาตําราที่ไมสอดคลองกับทฤษฎีทางการ ตเลอ นา เคย

c) การลวงละเมิดทางเพศดวยวาจาของนายจาง ✓
ฮิ
ร์
•โปรดสังเกตความสําคัญของหลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษยใน
บทบัญญัติตอไปนี้
•ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๒๐
•พระไอยการทาส บทที่ ๕ บทที่ ๘ และบทที่ ๙ ในกฎหมายตราสาม
ดวง
•รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐
•ประมวลกฎหมายอาญา
•พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑
•พระราชบัญญัติคมุ ครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวยการเจริญ
พันธุทางการแพทย พ.ศ. ๒๕๕๘
มาตรา 420 ปพพ.
•ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคล
อื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแก
ชีวิตก็ดี แกร000
างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพ
ก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี
ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหม
ทดแทนเพื่อการนั้น
ศิริวรรณ วองเกียรติไพศาล, “เอาคนลงเปนทาส : ละเมิดศักดิ์ศรีความเปน
มนุษย” และสุรพงษ กองจันทึก, ดูแลมนุษยเยี่ยง "ทาส" มีสิทธิ "ติดคุก"
• เมื่อประมาณปลายปพ.ศ.๒๕๒๖ เด็กหญิงจัน (นามสมมติ) อายุ ๑๓ ปเศษ ซึ่งมีภูมิลําเนาอยูภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มาทํางานบานที่กรุงเทพฯ โดยการชักชวนของนายหนาในหมูบานเด็กหญิงจัน
ไปทํางานที่บานของนางทิพย(นามสมมติ) นายจางบอกวาจะใหคาจางเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท
ภายในบานนายจางมีอยู 5 คน เด็กหญิงจันตองทํางานตั้งแต ๐๔.๐๐ - ๒๔.๐๐ น.โดยตอง
ทํากับขาววันละ ๓ มื้อ ลางรถ ลางชาม ทําความสะอาดบาน ซักผา รีดผา และทํางานอื่นตามที่
นายจางสั่ง ซึ่งตองทํางานทุกวันไมมีวันหยุด นายจางใหเด็กหญิงจันนอนในหองเก็บของ
• การกินนายจางจะควบคุมการใหหงุ ขาวอาทิตยละครั้งนําใสถุงเก็บใสตูเย็น และนายจางจะกําหนด
ปริมาณขาวที่จะกิน ใหกนิ ขาวมื้อละจานโดยไมใหอุนกอนกิน แตละวันนายจางจะใหกินขาวอยาง
มากวันละมื้อหรือ ๒ มื้อ ตามแตนายจางจะพอใจ หากวันใดทํางานชา นายจางจะไมใหกินขาว
กับขาวที่กินคืออาหารที่ครอบครัวของนายจางกินเหลือ หากไมเหลือตองกินกับน้ําพริก
• นายจางหามไมใหเด็กหญิงจันออกไปนอกบาน ไมใหติดตอทางบาน ระหวางที่ทํางาน หากเด็กหญิง
จันทํางานบานชาหรือไมถูกใจ ไมเปนตามที่นายจางสั่งก็จะถูกนายจางใชไม ทอนเหล็ก เกาอี้ไม เข็ม
ขัด ตีตามเนื้อตัวรางกาย ศีรษะอยางรุนแรง จนเกิดบาดแผลตามรางกายหลายแหง เขาทั้งสองขาง
ช้ําบวม หนาอกเขียวช้ํา บริเวณหลังบวมเปนหนอง ศีรษะเปนแผลกวางหลายแผล แตนายจางไม
พาไปหาหมอ ทั้งยังตีซ้ําบริเวณบาดแผลเดิม จนแผลที่หลังนูนบวมและอักเสบมีหนองอยางรุนแรง
ทําใหปว ยจนไมสามารถทํางานได นายจางจึงไดสงตัวเด็กหญิงจันกลับตางจังหวัด
คําพิพากษาของศาล
ศาลอาญากรุงเทพใตไดมีคําพิพากษาเปนคดีหมายเลขแดงที่ ๒๖๑๑/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๐ วา
"นาเชื่อวา บาดแผลของโจทกรวม เกิดขึ้นในขณะอยูที่บานพักของจําเลย และเกิดขึ้นจากการกระทําของจําเลยทั้งสิ้น"
"ยอมเห็นไดวา การกระทําเชนนั้นจะทําใหโจทกรวมไดรับความเจ็บปวดทุกขทรมานอยางแสนสาหัส การกระทําของจําเลยจึงเปน
การทํารายรางกายโจทกรวม เปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกายสาหัสโดยกระทําทารุณโหดราย"
"เห็นวา การที่โจทกรวมเปนเด็ก ซึ่งเดินทางมาจากตางจังหวัดเพื่อมาทํางานในกรุงเทพมหานคร และตองถูกจําเลยลงโทษดวย
วิธีการทํารายทุบตีอยางรุนแรง ยอมจะทําใหโจทกรว มเกิดความเกรงกลัว แมตามพฤติการณยังไมถึงขนาดรับฟงไดวา มีลักษณะ
เปนการกักขัง แตก็เชื่อวา จําเลยไดขู บังคับ และหามมิใหโจทกรวมออกจากบานพัก
การกระทําของจําเลยที่ทําใหโจทกรวมตองอยูในอํานาจบังคับ ถูกจํากัดสิทธิ เสรีภาพในชีวิตและความเปนอยู ตองทํางาน
หนัก และถูกลงโทษอยางรุนแรงโดยไมมีเหตุผล และจายคาจางแรงงาน ในลักษณะเปนการเอาเปรียบแรงงาน จึงมีลักษณะเปน
การเอาคนลงเปนทาส"
"รับฟงไดวา จําเลยไดกระทําความผิดฐานเอาเด็กอายุไมเกิน ๑๕ ป ลงเปนทาสหรือใหมีลักษณะคลายทาสใหไดรับอันตรายสาหัส"
"พิพากษาวา จําเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕, ๒๙๘ ประกอบ
มาตรา ๒๙๗(๘) และมาตรา ๓๑๒ ทวิ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๓๑๒ การกระทําของ
จําเลยเปนความผิดหลายกรรมตางกัน ใหเรียงกระทงลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๙๑ ลงโทษฐานเอาเด็กอายุต่ํากวา ๑๕ ป ลงเปนทาสใหไดรับอันตรายสาหัส จําคุก
0
๗ ป ฐานทํารายรางกาย เปนเหตุใหไดรบั อันตรายสาหัสโดยกระทําทารุณโหดราย จํ0 าคุก ๒
ป และฐานทํารายรางกายเปนเหตุใหไดรับอันตรายแกกาย _ จําคุกกระทงละ ๖ เดือน รวม
๗ กระทง เปนจําคุก ๔๒ เดือน รวมจําคุกcg ๙ ป ๔๒ เดือน กับใหจําเลยชดใชคาเสียหาย
ใหแกโจทกเปนเงินจํานวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปนับแต
วันฟอง"
พระไอยการทาส บทที่ ๕, ๘ และ ๙
ในกฎหมายตราสามดวง
•ใหเจาเงินหรือนายทาสคอยใชคอยสอน มิใชใหใชงานตาม
อําเภอใจ ผิดพลั้งสิ่งใดก็ให☐
ทําโทษแตพอควร ตีแตพอให
หลาบ ปราบแตพอใหกลัว มิใหทําโทษถึงลมตาย ถาตีตาย
เจาเงินก็มีโทษ ทําโทษทางเกินไปก็มีโทษ
•ดังนั้น ฐานะของทาสตามกฎหมายไทย จึงไดแกการนําคนเพื่อ
นําไปใชแรงงาน หาไดหมายถึง เจาเงินหรือนายทาสจะมีอํานาจ
เหนือชีวิตและรางกายของทาสโดยเด็ดขาดไม เพียงแตทําโทษได
ตามสมควรเทานั้น หากทําโทษเกินสมควรเจาเงินหรือนายทาสก็
มีความผิด
รัฐธรรมนูญ
•มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพของบุคคลยอม
ไดรับการคุมครอง
•มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง การตรากฎหมายที่มีผลเปนการจํากัดสิทธิหรือ
เสรีภาพของบุคคล ตองเปนไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ ใน
กรณีที่รัฐธรรมนูญมิไดบัญญัติเงื่อนไขไว กฎหมายดังกลาวตองไมขัดตอ
Oหลักนิติธรรม ไมเพิ่มภาระหรือจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกิน
สมควรแกเหตุ และจะกระทบตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของบุคคลมิได
และตองระบุเหตุผลความจําเปนในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพไวดวย
•มาตรา ๒๗ หลักความเสมอภาค
•มาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย
ประมวลกฎหมายอาญา
•มาตรา ๓๑๒ ผูใดเพื่อจะเอาคนลงเปนทาส หรือใหมี
ลักษณะคลายทาส นําเขาในหรือสงออกไปนอก
ราชอาณาจักร พามาจากที่ใด ซื้อ ขาย จําหนาย รับ
หรือหนวงเหนี่ยวซึ่งบุคคลหนึ่งบุคคลใด ตองระวาง
โทษจําคุกไมเกินเจ็ดป และปรับไมเกินหนึ่งแสนสี่หมื่น
บาท
ขายไต (แมยินยอมก็ไมมีเหตุใหพนผิดอาญา)
ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๒๙๗ ผูใดกระทําความผิดฐานทํารายรางกาย
จนเปนเหตุใหผูถูกกระทํารายรับอันตรายสาหัส ตองระวาง
โทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป และปรับตั้งแตหนึ่งหมื่น
บาทถึงสองแสนบาท
อันตรายสาหัสนั้น คือ
...
(๓) เสียแขน ขา มือ เทา นิ้วหรืออวัยวะอื่นใด
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551
จากเอกสารบรรยายของพลตํารวจโท ชัชวาลย สุขสมจิตร
ผูบัญชาการสํานักงานตรวจคนเขาเมือง
การคามนุษย :การบังคับใชกม.
(1) อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งใน
ลักษณะองคกร ค.ศ.2000 (พ.ศ.2543)
(2) พิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปรามและลงโทษการคามนุษย ค.ศ.2000
(พ.ศ.2543)
(3) อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก
(4) อนุสัญญา ILO ฉบับที่ 182 วาดวยรูปแบบที่เลวรายที่สุดของการใช
แรงงานเด็ก ค.ศ.1992 (พ.ศ.2535)
•เพื่อใหการแกไขปญหาการคามนุษยเกิดผลและมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตอบสนองตอสถานการณปจจุบัน
และปญหาอุปสรรค รวมทั้งใหมีการดําเนินการและ
บังคับใชกฎหมายที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม
ยิ่งขึ้น รัฐบาลจึงไดประกาศใชพระราชบัญญัติปองกัน
และปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผล
บังคับใชตั้งแตวันที่ 5 มิถุนายน 2551
เหตุผลในการประกาศใช พ.ร.บ.ปองกันและปราบปราม
การคามนุษย พ.ศ.2551
• เนื่องจากพระราชบัญญัติมาตรการปองกันและปราบปรามการคาหญิงและเด็ก พ.ศ. 2540
ยังมิไดกําหนดลักษณะความผิดใหครอบคลุมการกระทําเพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจาก
บุคคล ที่มิไดจาํ กัดแตเฉพาะหญิงและเด็ก และกระทําดวยวิธีการที่หลากหลายขึ้น เชน การ
นําบุคคลเขามาคาประเวณีในหรือสงไปคานอกราชอาณาจักร บังคับใชแรงงาน บริการหรือ
ขอทาน บังคับตัดอวัยวะเพื่อการคา หรือการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบประการอื่น ซึ่งใน
ปจจุบัน ไดกระทําในลักษณะองคกรอาชญากรรมขามชาติมากขึ้น ประกอบกับประเทศไทยได
ลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จดั ตั้งในลักษณะองคกร
และพิธีสารเพื่อปองกัน ปราบปราม และลงโทษการคามนุษย โดยเฉพาะผูหญิงและเด็ก
เพิ่มเติมอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองคกร
จึงสมควรกําหนดลักษณะความผิดใหครอบคลุมการกระทําดังกลาว เพื่อใหการปองกันและ
ปราบปรามการคามนุษยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สอดคลองกับพันธกรณีของอนุสญ ั ญาและพิธี
สารจัดตั้งกองทุนเพื่อปองกันและปราบปรามการคามนุษย รวมทั้งปรับปรุงการชวยเหลือและ
คุมครองสวัสดิภาพผูเสียหายใหเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อประโยชนสูงสุดของผูเสียหาย
สาระสําคัญของ พ.ร.บ.ฯ
•บังคับใชกับความผิดฐานคามนุษยเปนการเฉพาะ
•ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปนผูหญิง ผูชาย
เด็กหญิงและเด็กชาย
•ยกเลิกพระราชบัญญัติมาตรการปองกันและปราบปราม
การคาหญิงและเด็ก พ.ศ. 2540
•ใหความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนความผิดมูลฐานตาม
พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๖ (วรรคหนึ่ง) ผูใดกระทําการอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
(๑) เปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจากหรือสงไปยังที่ใด หนวง
เหนี่ยวกักขัง จัดใหอยูอาศัยหรือรับไวซึ่งบุคคลใด โดยขมขู ใชกําลังบังคับ ลักพา
ตัว ฉอฉล หลอกลวง ใชอํานาจโดยมิชอบ ใชอํานาจครอบงําบุคคลดวยเหตุที่อยูใน
ภาวะออนดอยทางรางกาย จิตใจ การศึกษา หรือทางอื่นใดโดยมิชอบ ขูเข็ญ วาจะ
ใชกระบวนการทางกฎหมายโดยมิชอบ หรือโดยใหเงินหรือผลประโยชนอยางอื่นแก
ผูปกครอง หรือผูดูแลบุคคลนั้นเพื่อใหผูปกครองหรือผูดูแลใหความยินยอมแก
ผูกระทําความผิดในการแสวงหาประโยชนจากบุคคลที่ตนดูแล หรือ
(๒) เปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจากหรือสงไปยังที่ใด หนวง
เหนี่ยวกักขังจัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซึ่งเด็ก
ถาการกระทํานั้นไดกระทําโดยมีความมุงหมายเพื่อเปนการแสวงหา
ประโยชนโดยมิชอบผูนั้นกระทําความผิดฐานคามนุษย
มาตรา ๖ (วรรคสอง) การแสวงหาประโยชนโดยมิชอบตามวรรค
หนึ่ง หมายความวา การแสวงหาประโยชนจากการคาประเวณี การผลิต
หรือเผยแพรวัตถุหรือสื่อลามก การแสวงหาประโยชนทางเพศในรูปแบบ
อื่น การเอาคนลงเปนทาสหรือใหมฐี านะคลายทาส การนําคนมาขอทาน
การตัดอวัยวะเพื่อการคา การบังคับใชแรงงานหรือบริการ หรือการอื่นใด
ที่คลายคลึงกันอันเปนการขูดรีดบุคคล ไมวาบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไมก็
ตาม
การบังคับใชแรงงานหรือบริการตามวรรคสอง หมายความวา การ
ขมขืนใจใหทํางานหรือใหบริการโดยวิธีการอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
(๑) ทําใหกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง
หรือทรัพยสินของบุคคลนั้นเองหรือของผูอื่น
(๒) ขูเข็ญดวยประการใด ๆ
(๓) ใชกําลังประทุษราย
(๔) ยึดเอกสารสําคัญประจําตัวของบุคคลนั้นไว หรือนํา
ภาระหนี้ของบุคคลนั้นหรือของผูอื่นมาเปนสิ่งผูกมัดโดยมิ
ชอบ
(๕) ทําใหบุคคลนั้นอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได
•มีประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการวางหลักความเปนไปไดในการ
กําหนดการเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของเด็กในกรณีตางๆ
ในอนาคต
•พรบ. แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่ ๑๙)
พ.ศ. ๒๕๕๑ มีการวางบทบัญญัติใหมที่แกไขเพิ่มเติมหลักการเดิม
ของมาตรา ๑๕๔๖ ที่กาํ หนดวา “เด็กเกิดจากหญิงที่มิไดมีการสมรส
กับชาย ใหถือวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิงนั้น” แตเดิมไมมี
ขอยกเวนในเรื่องการเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิง
•มาตรา ๑๕๔๖ ใหมบัญญัติวา “เด็กเกิดจากหญิงที่มิไดมีการสมรสกับ
ชาย ใหถือวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิงนั้น เวนแตจะมี
กฎหมายบัญญัติไวเปนอยางอื่น” แ ใ 2 551
ร่
• เปนการที่อาจคาดเห็นไดในอนาคตวา เมื่อมีเหตุผลและความจําเปนในอนาคต
อาจมีการกําหนดใหเด็กที่เกิดเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของผูอื่นก็ได โดยเฉพาะ
กรณีการอุมบุญกรณีตางๆ ที่กฎหมายอาจรับรองเพิ่มเติมหลายรูปแบบในอนาคต
• อยางไรก็ตาม ในป พ.ศ. ๒๕๕๘ รูปแบบแรกๆ ที่กฎหมายรับรอง ยังไมปรากฏวา
เกิดกรณีขอยกเวนของหลักในมาตรา ๑๕๔๖ ดังกลาวแตอยางใด เนื่องจาก
พระราชบัญญัติคมุ ครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทาง
การแพทย พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๒๙ ยังคงกําหนดใหเด็กที่เกิดจากการใช
เทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทางการแพทยตามพระราชบัญญัตินี้ เปนบุตรชอบ
ดวยกฎหมายของสามีและภริยาที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งประสงคจะมีบุตร ทั้งนี้
ชายหรือหญิงที่บริจาคอสุจิหรือไขซึ่งนํามาใชปฏิสนธิเปนตัวออนเพื่อการตั้งครรภ
หรือผูบริจาคตัวออนและเด็กที่เกิดจากอสุจิ ไข หรือตัวออนที่บริจาคดังกลาว ไมมี
สิทธิและหนาที่ระหวางกันตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวย
ครอบครัวและมรดก
พระราชบัญญัติคุมครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวยการ
เจริญพันธุทางการแพทย พ.ศ. 2558
มาตรา 29 เด็กที่เกิดจากอสุจิ ไข หรือตัวออนของผูบริจาค แลวแตกรณี โดย
ใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทางการแพทยตามพระราชบัญญัตินี้ ไมวาจะ
กระทําโดยการใหภริยาที่ชอบดวยกฎหมายของสามีซึ่งประสงคจะมีบุตรเปนผู
ตั้งครรภ หรือใหมีการตั้งครรภแทนโดยหญิงอื่น ใหเด็กนั้นเปนบุตรชอบดวย
กฎหมายของสามีและภริยาที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งประสงคจะมีบุตร แมวาสามีหรือ
ภริยาที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งประสงคจะมีบุตรถึงแกความตายกอนเด็กเกิด
ชายหรือหญิงที่บริจาคอสุจิหรือไขซึ่งนํามาใชปฏิสนธิเปนตัวออนเพื่อการ
ตั้งครรภหรือผูบริจาคตัวออนและเด็กที่เกิดจากอสุจิ ไข หรือตัวออนที่บริจาค
ดังกลาว ไมมสี ิทธิและหนาที่ระหวางกันตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวา
ดวยครอบครัวและมรดก
อง เค งค ดไ อน ไ
เพราะ ห ก ประ นใดๆ ทาง การ แพท

ในการคุมครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชว ยการเจริญ
พันธุทางการแพทย กฎหมายดังกลาวยังไดกําหนดจํากัดรูปแบบ
ของการใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทางการแพทยในระยะ
เริ่มแรกนี้ไวอยางเครงครัด ซึ่งนาจะเกิดจากขอพิจารณาเกี่ยวกับ
การออกกฎหมายใหสอดคลองกับหลักความสงบเรียบรอยและ
ศีลธรรมอันดีของประชาชนตามเทศกาลบานเมืองหรือบริบท
ในทางสังคมวิทยาที่เปนอยูในขณะนั้นนั่นเอง
ต้
ก่
มี
ลั
ม่
ว้
ร่
กั
ย์
รั
พระราชบัญญัติคุมครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวยการ
เจริญพันธุทางการแพทย พ.ศ. ๒๕๕๘
•มาตรา ๒๔ 0 หามมิใหผูใดดําเนินการใหมีการตั้งครรภแทนเพื่อประโยชน
ทางการคา
•มาตรา ๓๕0 หามมิใหผูใดซึ่งมิใชผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมใหบริการ
เกี่ยวกับเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทางการแพทย รวมทั้งรับฝาก รับ
บริจาค ใชประโยชนจากอสุจิ ไข หรือตัวออน หรือทําใหสิ้นสภาพของ
ตัวออน
•มาตรา ๓๖ o หามมิใหผูใดสรางตัวออนเพื่อใชในกิจการใด ๆ เวนแตเพื่อ
ใชในการบําบัดรักษาภาวะการมีบุตรยากของสามีและภริยาที่ชอบดวย
กฎหมาย
พระราชบัญญัติคุมครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวย
การเจริญพันธุทางการแพทย พ.ศ. ๒๕๕๘
•มาตรา ๓๘ 0 หามมิใหผูใดดําเนินการใด ๆ เพื่อมุงหมายใหเกิด
มนุษยโดยวิธีการอื่นนอกจากการปฏิสนธิระหวางอสุจิกับไข
•มาตรา ๓๙0 หามมิใหผูใดนําอสุจิ ไข ตัวออน หรือสวนหนึ่งสวน
ใดของเซลลดังกลาวใสเขาไปในรางกายของสัตว หรือนําเซลล
สืบพันธุของสัตว เซลลที่เกิดจากการปฏิสนธิระหวางเซลล
สืบพันธุของสัตว ใสเขาไปในรางกายของมนุษย
พระราชบัญญัติคุมครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวยการ
เจริญพันธุทางการแพทย พ.ศ. ๒๕๕๘


• มาตรา ๔๐ หามมิใหผูใดสราง เก็บรักษา ขาย นําเขา สงออก หรือใชประโยชนซึ่ง
ตัวออนที่มีสารพันธุกรรมของมนุษยมากกวาสองคนขึ้นไป หรือตัวออนที่มีเซลล
หรือสวนประกอบของเซลลมนุษยกับสิ่งมีชวี ิตสายพันธุอื่นรวมกันอยู
• มาตรา ๔๑ หามมิใหผูใดซื้อ เสนอซื้อ ขาย นําเขา หรือสงออก ซึ่งอสุจิ ไข หรือ
ตัวออน
• มาตรา ๔๓ วรรคหนึ่ง การใหบริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทาง
การแพทยกับสามีหรือภริยาที่ชอบดวยกฎหมาย หากเจาของอสุจิ ไข หรือตัวออน
ที่ฝากไวกับผูรบั ฝากตามมาตรา ๔๒ ตายลง หามนําอสุจิ ไข หรือตัวออนดังกลาว
มาใช เวนแตมกี ารใหความยินยอมเปนหนังสือไวกอนตาย และการใชอสุจิ ไข
หรือตัวออนตองใชเพื่อบําบัดรักษาภาวะการมีบุตรยากของสามีหรือภริยาดังกลาว
ที่ยังมีชีวิตอยูเทานั้น
การยอมรับหลักสภาพบุคคล
 การไดมาซึ่งสภาพบุคคล
ปจจุบนั : ถือหลัก☐
ธรรมชาติคือไดมาพรอมกับการถือกําเนิดของชีวิต และไมมี
ขอยกเวนไมวา จะมีฐานะอยางใด รางกาย/สภาพทางจิตสมบูรณหรือไม
ตามแนวคิดที่พัฒนาขึ้นนักคิดคนสําคัญหลายคนในยุคสมัยใหม
โดยเฉพาะอยางยิ่ง
Hugo Grotius (๑๕๘๓ – ๑๖๔๐) ที่ยืนยันสิทธิของชนชาติตางๆ
John Locke (๑๖๓๒ – ๑๗๐๔) ที่ไดวางหลักการวาดวยสิทธิ
ตามธรรมชาติ อันพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีวาดวยสัญญา -

ประชาคม (Social Contract)


อดีต : ในยุคที่มที าส มนุษยบางกลุมมีสถานะเปนเพียงทรัพยสินของนายทาส
การยอมรับหลักสภาพบุคคล
การสิ้นสุดสภาพบุคคล
•การตาย
oในอดีตมีการตายทางแพงเพื่อมิใหทั้ง ๆ ที่ยังมีชีวิตอยู
การตายทางแพงเพื่อใหสิ้นสุดการเปนผูทรงสิทธิ จึงไมมี
สิทธิทางแพงอีกตอไปแมยงั มีชีวติ อยู เปนผลมาจากการ
เขาบวชในสมัยกลางหรือการลงโทษตามกฎหมายอาญาใน
สมัยกลางจนถึงตอนตนของยุคสมัยใหม
โดยผลของหลักการสําคัญที่ยอมรับหลักสภาพบุคคลอยาง
เสมอภาคกันนี้ นําไปสูการปฏิเสธหลักการมีทาสและการตาย
ทางแพงในที่สุด
ในอดีตมีการตายทางแพงเพื่อใหสนิ้ สุดฐานะการเปนผูทรงสิทธิ ทั้งๆ ที่ยังมีชีวิตอยู ผลทาง
กฎหมายคือ ผูตายทางแพงไมอาจทํานิติกรรมหรือเปนประธานแหงสิทธิทางแพงตางๆ เชน
สิทธิตามกฎหมายทรัพยสิน ครอบครัว หรือมรดก ไดอีก เนื่องจากสภาพบุคคลของตนไดสิ้นสุด
ลงแลว
• การตายทางแพง มีที่มาไดสองทาง กลาวคือ เปนผลจากการสละทุกสิ่งในโลกของฆราวาสเพื่อเขา
บวชเปนพระในศาสนจักร ทางหนึ่ง หรือเปนผลมาจากการรับโทษอาญา อีกทางหนึ่ง
• ในชวงสมัยกลาง เมื่อมีการเขาบวชในศาสนาคริสต และไดกลาวแสดงความประสงคสุดทายเพื่อใหมี
ผลเปนการตายจากโลกฆราวาสและใหมีการตกทอดทางมรดกของตนแกทายาทซึ่งเปนบุคคลใน
ครอบครัวแลว ยอมมีผลเปนการตายทางแพง ภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสจึงไดมีการออกรัฐบัญญัติ
ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ ๑๗๙๐ ยกเลิกหลักเกณฑดังกลาวไปเสีย
• สวนการลงโทษอาญาแกผูหลบหนีคดีไปยังดินแดนอื่นมีมาตั้งแตสมัยกลางเชนกัน แตในชวงเปลี่ยน
ผานของการปฏิวัติฝรั่งเศสกอนเขาสูยุคสมัยใหมยังไมละทิ้งเรื่องการตายทางแพงเนื่องจากตองคํา
พิพากษาประหารชีวิตหรือจําคุกตลอดชีวิต โดยมีการออกรัฐบัญญัติลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๑๗๙๓
ตามขอเสนอของผูปกครองชวงการปฏิวัติฝรั่งเศส เพื่อกําหนดใหผทู ี่หลบหนีไปตางประเทศ ตอมามี
การพิจารณาคดีลับหลังจําเลยเนื่องจากจําเลยหลบหนี (in absentia) และศาลไดมคี ําพิพากษาให
ประหารชีวิตหรือจําคุกตลอดชีวิตบังคับใหบุคคลเหลานี้ตายทางแพง ตอมาในป ๑๘๑๐ มีการนํา
หลักการตายทางแพงนี้ไปบัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญาฝรั่งเศส แลวไดยกเลิกไปเสียโดยรัฐ
บัญญัตลิ งวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๑๘๕๔ โดยผลของหลักการสําคัญที่ยอมรับหลักสภาพบุคคลอยาง
เสมอภาคกันนี้ นําไปสูการปฏิเสธหลักการมีทาสและการตายทางแพงในที่สุด
๕.๓ ลักษณะพิเศษของสภาพบุคคล
O อสิทธิหรือมีสิทธิ (มาตรา 15 ป.พ.พ. อยูใน
1. เปนเพียงความสามารถในการถื
สวนที่ 1 สภาพบุคคล) ไมเกี่ยวกับความสามารถในการใชสิทธิ (มาตรา 19-
36 อยูในสวนที่ 2 “ความสามารถ” หมายถึง ความสามารถในการใชสิทธิ
คือในเรื่องความสามารถในการทํานิตกิ รรมสัญญาตางๆ นั่นเอง)
2. มีลกั ษณะทั่วไป (ระบบเปดคือไมจํากัดเฉพาะบุคคลบางประเภทเหมือนใน
สมัยโบราณและสมัยกลาง , ถาวร คือไมอาจลดคนลงเปนทาสเหมือนใน
สมัยโบราณและสมัยกลาง หรือใหมีการตายทางแพง)
3. ผูกพันกับความเปนมนุษย
A. คาขายไมได
B. เขาหลักความสงบเรียบรอยของประชาชน
C. ความจําเปนในการคุมครองปจเจกชน
ความสําคัญของบุคคล (๓)
ในสมัยโบราณ กฎหมายมิไดรับรองใหมนุษย
มีฐานะเปนผูทรงสิทธิตามกฎหมายโดยเทาเทียม
กันทุกคน
- สมัยโรมัน
- กฎหมายเกาของไทย
สมัยโรมัน
•แตละคนมีฐานะหรือสิทธิแตกตางกันไป
ตามกําเนิดหรือวัยวุฒิ
•บุตรตองอยูในอํานาจสิทธิของบิดามารดา
•หญิงตองอยูในความปกครองของชาย
•ผูทรงสิทธิไดแกหัวหนาครอบครัว
pater familias (พอบาน/หัวหนาครอบครัว)
•หัวหนาครอบครัว (pater familias) ตามหลักกฎหมาย
โรมัน ไดแก ชายผูมีอาวุโสสูงสุดหรือมีตําแหนงสูงสุดใน
บานสมัยโรมัน หญิงไมไดรับการยอมรับใหเปนผูทรงสิทธิ
หรือตัวการแหงสิทธิตามหลักกฎหมายโรมัน อํานาจของ
หัวหนาครอบครัวหรือพอบานเรียกวา patria potestas
ซึ่งตามกฎหมายสิ
- บสองโตะกําหนดใหหวั หนาครอบครัวมี
อํานาจ “ชี้เปนชี้ตาย” (vitae necisque potestas)
เหนือบุตร ภริยา และทาสของหัวหนาครอบครัวไดในเงื้อม
มือ (sub manu) ของเขาเอง ในการปลดปลอยทาสเปน
อิสระ จะตองเปนการปลดปลอยดวยมือของพอบานเอง
•หัวหนาครอบครัวมีอํานาจขายเด็กเปนทาส อยางไรก็ดี ตามกฎหมาย
โรมัน หากเด็กคนหนึ่งถูกขายเปนทาสสามครั้งใหถือวาพอบานผูนั้นสิ้น
อํานาจเหนือบุตรดังกลาว พอบานยังมีอาํ นาจยอมรับหรือปฏิเสธการ
สมรสของบุตรชายหรือบุตรสาวของตน อยางไรก็ตาม ในสมัยซีซารออ
กุสตุส ไดมีการเพิ่มเติมหลักเกณฑเพื่อจํากัดอํานาจของพอบานโดย
พอบานจะปฏิเสธการสมรสโดยไมมีเหตุผลอันสมควรมิได
•ผูที่มีสถานะเปนพลเมืองโรมันเทานั้นจึงจะมีสถานะของหัวหนา
ครอบครัวได โดยทั่วไป ในบานหนึ่งอาจมีหัวหนาครอบครัวไดเพียงคน
เดียว ดวยเหตุนี้ หากภายในบานมีทั้งบิดาและปู บุตรยอมตกอยูใน
อํานาจของปูซึ่งเปนบุคคลเดียวที่มีสถานะเปนหัวหนาครอบครัว มิใช
บิดา
•ประโยชนของหัวหนาครอบครัวที่กฎหมายโรมันใหความคุมครอง
อํานาจสิทธิขาดของหัวหนาครอบครัวเหนือบุตร ภริยา และทาส
นี้เปนแตเพียงวิธีการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคท่เี หนือกวาเรื่อง
กฎหมายบุคคลและกฎหมายครอบครัวทั่วๆ ไป กลาวคือ เปน
เรื่องที่มีวตั ถุประสงคทางการเมืองตามแนวคิดปรัชญาการเมือง
สมัยโรมันที่กําหนดวา “กฎหมายมุงวางหลักประกันเพื่อธํารงไว
ซึ่งความเชื่อทางศาสนาในการรักษาเอกภาพของครอบครัว
รักษาทรัพยสินไวภายใตกองทรัพยสนิ ที่เปนหนึ่งเดียว รักษาไวซึ่ง
ศีลธรรมอันดีของประชาชนและจารีตประเพณีประจําชาติโดยถือ
หลักอํานาจแหงเจตนาอันเปนหนึ่งเดียว ในแตละครอบครัวถือ
เปนชุมชนเล็กๆ ซึ่งปกครองโดยบิดา”
•ในดานผูทรงสิทธิตาม ius civile หรือกฎหมายแพงที่ใชบังคับ
กับชาวโรมัน กฎหมายโรมันกําหนดใหเฉพาะผูที่เปนหัวหนา
ครอบครัวเทานั้นที่อาจเปนประธานแหงสิทธิหรือตัวการแหง
สิทธิได บุตรของหัวหนาครอบครัวแมจะมีความสามารถในทาง
กายภาพหรือทางสติปญญาเพียงใด ตองอาศัยสิทธิของหัวหนา
ครอบครัว เชน แมบุตรอาจไดมาซึ่งทรัพยสินในนามของตนเอง
ก็ยังไมอาจมีกองทรัพยสินเปนของตนเองได ตามกฎหมายยังคง
ถือวาอยูในกองทรัพยสินของหัวหนาครอบครัว แมสมรสแลวก็
ยังไมเขาเกณฑบรรลุนิติภาวะเหมือนในกฎหมายปจจุบัน เพราะ
ในสมัยโรมันยังไมมีการกําหนดหลักเกณฑการบรรลุนติ ิภาวะ
ขึ้นมานั่นเอง
กฎหมายเกาของไทย
•ในกฎหมายตราสามดวง คนไทยมิไดมีสิทธิเทา
เทียมกันตามกฎหมาย
•มีศักดิ์ฐานะแตกตางกันตามเชื้อชาติ ตระกูล
กําเนิด และสถานะในสังคม แบงเปนเจา ขุน
นาง ไพร และทาส
•โครงสรางของสังคมไทยในสมัยอยุธยา และรัตนโกสินทร
ตอนตน ตามที่ปรากฏในกฎหมายตราสามดวง เปนสังคมที่
ยึดถือระบบศักดินาเปนหลัก พระอัยการตําแหนงนาพล
เรือน และพระอัยการตําแหนงนาทหารหัวเมือง ไดกําหนด
หนาที่ และสิทธิของพลเมืองใหแตกตางกันไป ตามศักดินา
ที่กําหนดขึ้น โดยที่พระบรมวงศานุวงศ พระราชโอรส
ขาราชการฝายใน ขาราชการฝายทหาร และพลเรือน ใน
ราชธานีและหัวเมืองทุกกรมกอง พระภิกษุ ไพร ทาส ตางมี
ศักดินาตามฐานะในสังคมและตําแหนงของตน
•ศักดินาซึ่งทุกคนมีอยูประจําตัวเปนเครื่องกําหนดสิทธิ
หนาที่ความรับผิดชอบและฐานะของคนทุกกลุมใน
สังคม ระบบศักดินาจึงเปนพื้นฐานสําคัญของการ
จัดระบบสังคมในสมัยอยุธยา และรัตนโกสินทร
ตอนตน พระมหากษัตริยทรงอยูในฐานะสูงสุดของ
สังคม รองลงมาคือ เจานาย ขุนนาง ไพร และทาส
๕.๕ หล ักการเคารพร่างกายมนุษย์ตามกฎหมาย
ฝรงเศส

•ตั้งแตป ค.ศ. ๑๙๙๔ เปนตนมา มีการออกกฎหมาย


ใหมในประเทศฝรั่งเศสจํานวนหลายฉบับเพื่อเพิ่มการ
คุมครองสิทธิในรางกายของมนุษยเรือ่ ยมาเปนลําดับ
โดยเฉพาะอยางยิ่งหลักการคุมครองตามประมวล
กฎหมายแพง จนถึงปจจุบัน ประเทศฝรั่งเศสแกไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงวางหลักการเคารพ
รางกายมนุษยแลวอยางนอย ๘ ครั้ง
•ในปจจุบันไดเกิดคําถามขึ้นในประเทศฝรั่งเศส
วา รางกายมนุษยต้งั แต00
ปฏิสนธิ มีสภาพบุคคล
และเปนo ศพไปแลว เมื่อมีกฎหมายใหมบัญญัติ
คุมครองเปนพิเศษแลว จะถือวารางกายมนุษย
เปนประธานแหงสิทธิหรือวัตถุแหงสิทธิกันแน
ประมวลกฎหมายแพงฝรั่งเศส วางหลักการใหมวาดวยการคุมครองรางกายมนุษย
ไวในบทบัญญัติลักษณะ ๑ สิทธิทางแพง หมวด ๒ การเคารพรางกายมนุษย
มาตรา ๑๖ (๑๙๙๔) กฎหมายรับรองคุณคาของบุคคลเปนลําดับแรก หามมิใหกระทํา
การใดๆ ที่เปนการลวงละเมิดศักดิ์ศรีของบุคคล และใหหลักประกันความเคารพความเปน
มนุษยตั้งแตบุคคลเริ่มชีวติ ของเขา

E-
มาตรา ๑๖-๑ (๑๙๙๔) แตละคนมีสทิ ธิไดรับความเคารพในรางกายของเขา
รางกายมนุษยเปนสิ่งที่ลวงละเมิดมิได
รางกายมนุษย รวมทั้งสวนประกอบของรางกายและสิ่งที่ผลิตจากรางกายดวย ไมอาจ

i
เปนวัตถุแหงสิทธิทางทรัพยสินได
มาตรา ๑๖-๑-๑ (๒๐๐๘) การเคารพที่ตองมีตอรางกายมนุษยไมสิ้นสุดลงดวยความ
ตาย
สวนที่เหลือของบุคคลที่ถึงแกความตาย รวมทั้งเถากระดูกที่นํารางกายไปเผา ใหกระทํา
ดวยความเคารพ ใหเกียรติ และเหมาะสม
•จากบทบัญญัติมาตรา ๑๖ ขางตน มีการใชคําวา “บุคคล” ในลักษณะ
ที่เปนตัวบุคคลในทางกายภาพ
O ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสใชคําวา
“personne” มิไดหมายความถึงบุคคลซึ่งมีสภาพบุคคลที่ตรงกับคํา
วา “personne juridique” แตอยางใด จึงเปนปญหาวา คําวา
บุคคลนี้หมายถึงประธานแหงสิทธิ (sujet de droit) หรือวาจะ
หมายถึงวัตถุแหงสิทธิ (objet d’un droit) ซึ่งไดแกทรัพยสินอันเปน
วัตถุมีรูปรางและไมมีรูปรางกันแน นักวิชาการบางทานมีความเห็นวา
เรื่องนี้เปนพัฒนาการที่มีลักษณะเฉพาะโดยเปนเรื่องที่รางกายมนุษย
เปนสิ่งที่มีลักษณะเปนองครวมนับเปนหนึ่งเดียวและไมมีรูปรางที่
บุคคลอื่นไมอาจเปนเจาของไดเนื่องจากรางกายมนุษยมีลักษณะ
ศักดิ์สิทธิ์และลวงละเมิดมิได
๕.๖ หลักกฎหมายวาดวยบุคคลธรรมดา
 ป.พ.พ. มาตรา 15 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา
 “สภาพบุคคลยอมเริ่มแตเมื่อคลอดแลวอยู
รอดเปนทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย”
-

ผลคือ เมื่อมีสภาพบุคคลแลว บุคคลทุกคน


ยอมมีสิทธิและหนาที่ตางๆ ตั้งแตเกิดจนกวา
จะสิ้นสภาพบุคคล
การเริ่มตนและการสิ้นสุดของสภาพบุคคล

•เริ่มตน เมื่อคลอดแลวอยูรอดเปนทารก
•สิ้นสุด เมื่อตาย
- ตายตามธรรมชาติ
- ตายโดยการสมมุติ (สาบสูญ) 61,62
•อยางไรถือวาถึงแกความตายนั้น ขึ้นอยูกับเทคโนโลยี
ซึ่งพัฒนากาวหนาไปอยางไมหยุดยั้ง ตองใชตาม
หลักเกณฑเรื่องการตายทางการแพทย
•ในปจจุบนั เปนไปตามประกาศของแพทยสภาเรือ่ ง
เกณฑการวินิจฉัยสมองตาย ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน
๒๕๓๒ และแกไขเพิ่มเติมเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม
๒๕๓๙
ตัวอยางการใชเกณฑการวินิจฉัยสมองตาย
•คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๒๐๐/๒๕๕๙ (คดีผาเอาตับและ
ไตของคนไข ๒ รายที่โรงพยาบาลวชิรปราการ) ไดตัดสิน
คดีนี้ ในปญหาวาการตายของ ล. และ น. จะนําหลักเกณฑ
ตามประกาศแพทยสภา เรื่อง เกณฑการวินิจฉัยสมองตาย
ซึ่งออกในป ๒๕๓๒ และตามประกาศแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่
๒ ป ๒๕๓๙ มาใชไดหรือไม สําหรับการวินจิ ฉัยการตาย
ตามความหมายในทางกฎหมาย หรือจะตองวินิจฉัยตาม
เกณฑการไมหายใจและหัวใจหยุดทํางาน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๒๐๐/๒๕๕๙
• ศาลไดวินิจฉัยโดยใชเกณฑการวินจิ ฉัยสมองตาย ตามประกาศของแพทยสภา
ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ดังกลาววา ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘
บัญญัติวา ผูใดฆาผูอื่น ตองระวางโทษ...ตามบทบัญญัตดิ ังกลาว ความผิดฐานฆา
ผูอ่นื มีองคประกอบความผิดประการหนึ่ง คือ ฆา คําวา "ฆา" เปนขอเท็จจริงซึ่งรู
กันอยูทั่วไปวาหมายถึงการกระทําดวยประการใดๆ ใหคนตาย แตประมวล
กฎหมายอาญาไมไดกําหนดบทนิยามคําวา "ตาย" ไววามีความหมายอยางไร
และไมมีบทบัญญัตขิ องกฎหมายใดนิยามความตายใหชดั แจง การวินิจฉัยการ
ตายจึงเปนปญหาขอเท็จจริงที่ตองใหแพทยซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญเปนผูวินิจฉัยตาม
กรอบมาตรฐานวิชาชีพและจริยธรรมแหงวิชาชีพ พระราชบัญญัติวิชาชีพเวช
กรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ กําหนดใหแพทยสภาควบคุมการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ในการนี้ไดมีประกาศแพทยสภาเรื่อง เกณฑการวินิจฉัยสมองตาย พ.ศ. ๒๕๓๒
และประกาศแพทยสภา เรื่อง เกณฑการวินิจฉัยสมองตาย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๓๙ กําหนดหลักเกณฑและวิธีการวินิจฉัยสมองตาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๒๐๐/๒๕๕๙ (ตอ)
• หลักเกณฑและวิธีการวินิจฉัยสมองตายมีสาระสําคัญวา การวินจิ ฉัยคนตายโดยอาศัย
เกณฑสมองตายนั้นมีความจําเปนที่จะตองนําไปใชโดยเฉพาะกับการผาตัดเปลี่ยน
อวัยวะสําคัญของมนุษย และอาจนําไปใชในกรณีอื่นๆ ในอนาคตเพื่อความ
เจริญกาวหนาทางวิชาชีพและเพื่อประโยชนของประชาชน บุคคลซึ่งไดรับการวินิจฉัย
วาสมองตายถือวาบุคคลนั้นถึงแกความตาย สมองตายหมายถึง การที่แกนสมองถูก
ทําลายจนสิ้นสุดการทํางานโดยสิ้นเชิงตลอดไป แพทยเปนผูมีหนาที่พิจารณาวินิจฉัย
-

และตัดสินการตายของสมองตามเกณฑของวิชาชีพ ดังนั้น เมื่อแพทยไดใชวิธีการที่


ze e e

ไดรับการยอมรับในการสรุปวาคนไขนั้นถึงแกความตายแลว บุคคลผูอยูในสภาวะสมอง
ตาย คือ การที่แกนสมองถูกทําลายจนสิ้นสุดการทํางานโดยสิ้นเชิงตลอดไปตาม
หลักเกณฑและวิธีการวินิจฉัยสมองตายที่คณะกรรมการแพทยสภากําหนดและออกเปน
ประกาศแพทยสภาตามประกาศแพทยสภาดังกลาว ยอมถือไดวาเปนการตายของ
บุคคล การที่จําเลยที่ ๑ และที่ ๔ แพทยผูรวมกันผาตัดเอาไตทั้ง ๒ ขาง และตับออก
จากรางกายของ ล. และจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ แพทยผูรวมกันผาตัดเอาไตทั้ง 2 ขาง
ออกจากรางกายของ น. ซึ่งอยูในสภาวะสมองตายตามประกาศแพทยสภา เรื่อง เกณฑ
การวินจิ ฉัยสมองตาย เพื่อนําเอาอวัยวะนั้นไปทําการปลูกถายอวัยวะใหแกบุคคลอื่น
จึงเปนการกระทําตอบุคคลที่ตายแลวไมมีสภาพเปนบุคคลที่จะถูกฆาไดอีก ไมเปน
ความผิดฐานรวมกันฆาผูอื่น
สรุปการใชเกณฑการวินิจฉัยสมองตาย

•สมองตาย หมายถึง การที่แกนสมองถูก


ทําลายจนสิ้นสุดการทํางานโดยสิ้นเชิง
ตลอดไป
•แพทยเปนผูมีหนาที่พจิ ารณาวินิจฉัยและตัดสิน
การตายของสมองตามเกณฑทางวิชาชีพ
วิฑูรย อึ้งประพันธ, “แนวความคิดและวิวัฒนาการเรื่องสมอง
ตาย”, บทบัณฑิตย 45, 2 (มิ.ย. 32) : 21-43.

_
วิฑูรย อึ้งประพันธ, “แนวความคิดและวิวัฒนาการเรื่องสมองตาย”, บทบัณฑิตย
45, 2 (มิ.ย. 32) : 21-43.
วิฑูรย อึ้งประพันธ, “การเกิดและการตาย”, วารสาร
นิติศาสตร 4, 1 (มิ.ย. 15) : 54-68.
•ระบบในการดํารงชีวิตประกอบดวยระบบสมอง ระบบการ
หายใจ และระบบไหลเวียน แตสวนที่สําคัญที่สดุ คือระบบสมอง
ซึ่งทําหนาที่ควบคุมจังหวะโดยระบบประสาทไปยังระบบการ
หายใจซึ่งทํางานประสานกันโดยทรวงอก กะบังลมและปอด
และควบคุมจังหวะโดยระบบประสาทเชนเดียวกันไปยังระบบ
ไหลเวียนออกซิเจนที่หัวใจเปนอวัยวะซึง่ ทําหนาที่น้เี พื่อสงตอ
ออกซิเจนผานทางระบบไหลเวียนโลหิตไปยังอวัยวะสวนตางๆ
ในรางกาย ดังนั้น หากแกนสมองถูกทําลายจนสิ้นสุดการ
ทํางานโดยสิ้นเชิงตลอดไป กลาวคือ สมองตาย จึงเขากรณีการ
ตายตามธรรมชาตินั่นเอง
การวินิจฉัยสมองตายจะทําไดในสภาวะและเงื่อนไข
ดังตอไปนี้
1. ผูปวยตองไมรูสึกตัว โดยจะตองแนใจวา
เหตุของการไมรูสึกตัวไมไดเกิดจาก
พิษยา
สภาวะอุณหภูมิในรางกายต่ํา
สภาวะผิดปกติของตอมไรทอและเมตาโบลิก
สภาวะช็อก
2. ผูปวยที่ไมรูสึกตัวนั้นอยูในเครื่องชวยหายใจ
เนื่องจากไมหายใจ โดยจะตองแนใจวาเหตุ
ของการไมหายใจ ไมไดเกิดจากยาคลาย
กลามเนื้อ หรือยาอื่นๆ
3. จะตองมีขอวินิจฉัยถึงสาเหตุของการไมรสู กึ ตัวและ
ไมหายใจในผูปวยนั้น โดยที่ใหรูแนชัดโดย
ปราศจากขอสงสัยเลยวาสภาวะของผูปวยนี้เกิด
จากการที่สมองเสียหายโดยไมมีหนทางเยียวยาได
อีกแลว
4. ถาผูปวยอยูในสภาวะครบตามเงื่อนไขที่กําหนดแลว
จะตองทําการตรวจสอบเพื่อยืนยันสมองตาย คือ ...
4.1 ตองไมมีการเคลื่อนไหวใด ๆ ไดเอง ไมมีอาการชัก ไมมี
การเกร็งเอาขอมือเขาหาตัว หรือการเกร็งเอาขอมือออก
นอกตัว
4.2 ตองไมมีรเี ฟล็กซของแกนสมองทั้ง 6
ประการตอไปนี้คือ
1) มานตาขยายใหญและไมตอบสนองตอแสง
2) ไมมีปฏิกิริยาที่กระจกตา
3) ไมมีการตอบสนองเมื่อกระตุนเสนประสาทเกี่ยวกับ
สมอง
4) ไมมีปฏิกิริยา ไมกรอกตาเมื่อจับหนาหัน
5) ลูกตาไมมีปฏิกิริยาเมื่อมีการกระตุนที่หู
6) เมื่อกดโคนลิ้นไมมีปฏิกิริยาตอบสนอง และเมื่อ
มีการกระตุนที่หลอดลมไมมีการไอ
4.3 ไมสามารถหายใจไดเอง (มีการ test 10
นาที)
4.4 สภาวะการตรวจพบในขอ 4.1, 4.2 และ 4.3
นี้ จะตองไมมีการเปลี่ยนแปลงอยางนอย 6
ชั่งโมง จึงจะถือไดวาสมองตาย
กรณีที่กฎหมายใหถือวาถึงแกความตาย ไดแกกรณีสาบสูญ

•แมความจริงบุคคลดังกลาวอาจยังไมตายจริง ๆ แตเพื่อตัด
ปญหาบางประการ กฎหมายก็ใหถือวาถึงแกความตาย
เพื่อความสะดวกในการดําเนินการบางอยางได เพราะจะ
ทําใหมีการใชสอยทรัพยสินใหเกิดประโยชนงอกเงยตาม
หลักทางเศรษฐศาสตรได อาจนับไดวา เปนการตายโดย
การสมมุตขิ องกฎหมาย
หลักเกณฑเรื่องสาบสูญอยูในมาตรา ๖๑ สวนผลอยูในมาตรา ๖๒
มาตรา ๖๑ ถาบุคคลใดไดไปจากภูมิลาํ เนาหรือถิ่นที่อยู และไมมีใครรูแนวาบุคคลนั้นยัง
มีชีวิตอยูหรือไมตลอดระยะเวลาหาป เมื่อผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการรองขอ ศาลจะสั่ง
ใหบุคคลนั้นเปนคนสาบสูญก็ได
ระยะเวลาตามวรรคหนึ่งใหลดเหลือO สองป
(๑) นับแตวันที่การรบหรือสงครามสิน้ สุดลง ถาบุคคลนั้นอยูในการรบหรือสงคราม และ
หายไปในการรบหรือสงครามดังกลาว
(๒) นับแตวันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทาง อับปาง ถูกทําลาย หรือสูญหายไป
(๓) นับแตวันที่เหตุอันตรายแกชีวิตนอกจากที่ระบุไวใน (๑) หรือ (๒) ไดผานพนไป ถา
บุคคลนั้นตกอยูในอันตรายเชนวานั้น
มาตรา ๖๒ บุคคลซึ่งศาลไดมีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญ ใหถือวาถึงแกความตายเมื่อครบ
กําหนดระยะเวลาดังที่ระบุไวในมาตรา ๖๑
หลักเกณฑเรื่องสาบสูญ มีองคประกอบ 4 ขอ
1. บุคคลใดไดไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู
2. ไมมีใครรูแนวาบุคคลนั้นยังมีชีวติ อยูหรือไม
3. ตลอดระยะเวลา 5 ปติดตอกันสําหรับกรณีทั่วไป แตใหลด
ระยะเวลาเหลือ 2 ปถาเปนกรณีพิเศษดังนี้
1) อยูในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงคราม
ดังกลาว
2) ยานพาหนะที่เดินทาง อับปาง ถูกทําลาย หรือสูญหายไป
3) ตกอยูในเหตุภยันตรายแกชีวิตอื่น ๆ นอกจาก 1) หรือ 2) แลว
หายไป
4. ศาลตองสั่งใหบคุ คลนัน้ เปนคนสาบสูญดวย
• มีหลักกฎหมายพิเศษตามพระราชบัญญัติยกเวนการนําระยะเวลาและเงื่อนไข
ตาม มาตรา ๖๑ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาใชบังคับแกผูสญ ู
หายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ.๒๕๔๘ เนื่องจากมีเหตุการณธรณีพิบัตจิ าก
เหตุการณแผนดินไหวและคลืน่ ยักษ เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ บริเวณ
พื้นที่ชายฝงทะเลอันดามันของจังหวัดภาคใตฝงตะวันตก รวม ๖ จังหวัด อัน
ไดแก จังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง ตรัง และสตูล เปนเหตุการณรุนแรง
และกอใหเกิดความสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสนิ ของประชาชนเปนอยางมาก
บุคคลผูมีรายชื่อในบัญชีผสู ูญหายไมพบศพจากกรณีธรณีพิบตั ิเหตุการณ
แผนดินไหวและคลื่นยักษ ของกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงมหาดไทย ทายาท หรือผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการ สามารถ
รองขอตอศาลเพื่อใหศาลสัง่ ใหบุคคลดังกลาวเปนคนสาบสูญ โดยไมตองรอ
ระยะเวลาตามหลักทั่วไปในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๑
ตามกฎหมายพิเศษดังกลาว
ผลของคําสั่งศาลใหเปนคนสาบสูญ
•หลัก (อีกประการหนึ่ง มาตรา 61/62 ถือเปน “บทกฎหมาย
ทั่วไป”)
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 62 บุคคลซึ่งศาลได
สั่งใหเปนคนสาบสูญ ใหถือวาถึงแกความตายเมื่อครบกําหนด
ระยะเวลาดังที่ระบุไวในมาตรา 61
•ขอยกเวน (อีกประการหนึ่ง พรบ.ยกเวนมาตรา 61ฯ ถือเปน
“บทกฎหมายพิเศษ” และถือตามหลัก “กฎหมายพิเศษมากอน
กฎหมายทั่วไป”)
•กรณีธรณีพิบัติเหตุการณแผนดินไหวและคลื่นยักษตาม
พระราชบัญญัติยกเวนการนําระยะเวลาและเงื่อนไขตาม
มาตรา 61 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาใช
บังคับแกผูสูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ.2548 มาตรา 4
วรรคสาม “เมื่อเวลาที่เริ่มเกิดกรณีธรณีพิบตั ิ เวนแตพิสูจน
ไดวาบุคคลนั้นสูญหายไปในเวลาอื่นหลังจากเวลาที่เริ่มเกิด
กรณีธรณีพิบัติ ก็ใหถือวาถึงแกความตายในเวลานั้น”
•คําสั่งศาลใหเปนคนสาบสูญ ใหประกาศในราช
กิจจานุเบกษาตอไป ทั้งนี้ บุคคลซึ่งศาลไดมี
คําสั่งใหเปนคนสาบสูญ ใหถือวาถึงแกความตาย
เมื่อครบกําหนด 5 ป หรือ 2 ป ตามมาตรา 61
ผลที่สําคัญ ไดแกการจัดการทรัพยสนิ ของบุคคล
ผูนั้นตอไปโดยตกทอดทางมรดกตอไปแกทายาท
ไดเพราะถือวาตายไปแลว
หากความจริงปรากฏวา บุคคลนั้นยังมีชีวิตอยูหรือตายเวลาอื่น
กฎหมายบัญญัติทางแกไวในมาตรา ๖๓
มาตรา ๖๓ เมื่อบุคคลผูถกู ศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญนั้นเองหรือผูมีสวนได
เสียหรือพนักงานอัยการรองขอตอศาล และพิสูจนไดวาบุคคลผูถูกศาลสั่งใหเปนคน
สาบสูญนั้นยังคงมีชีวติ อยูก็ดี หรือวาตายในเวลาอื่นผิดไปจากเวลาดังระบุไวใน
มาตรา ๖๒ ก็ดี ใหศาลสั่งถอนคําสั่งใหเปนคนสาบสูญนั้น แตการถอนคําสั่งนี้ยอม
ไมกระทบกระเทือนถึงความสมบูรณแหงการทั้งหลายอันไดทําไปโดยสุจริตใน
ระหวางเวลาตั้งแตศาลมีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญจนถึงเวลาถอนคําสั่งนั้น
บุคคลผูไดทรัพยสินมาเนื่องแตการที่ศาลสั่งใหบุคคลใดเปนคนสาบสูญ แต
ตองเสียสิทธิของตนไปเพราะศาลสั่งถอนคําสั่งใหบคุ คลนั้นเปนคนสาบสูญ ใหนํา
บทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดแหงประมวลกฎหมายนี้มาใชบังคับโดยอนุโลม
หากความจริงปรากฏวา บุคคลนั้นยังมีชีวิตอยูหรือตายเวลาอื่น
• ทางแกตาม ป.พ.พ. มาตรา 63 มีวา ใหรองขอตอศาลเพื่อถอนคําสั่งสาบสูญตอไปได ผู
รองอาจเปนบุคคลนั้นเอง ผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการก็ได
• แตมีบทคุมครองบุคคลภายนอกอยูในมาตรา 63 วรรคหนึ่งตอนทายวา “แตการถอน
คําสั่งนี้ยอมไมกระทบกระเทือนถึงความสมบูรณแหงการทั้งหลายอันไดทําไปโดยสุจริต
ในระหวางเวลาตั้งแตศาลมีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญจนถึงเวลาถอนคําสั่งนั้น”
• หากมีการโอนทรัพยไปใหบุคคลภายนอกแลว บุคคลภายนอกผูรับโอนทรัพยโดย
สุจริต (ไมทราบวายังมีชีวิตอยูหรือตายเวลาอื่น)ตามมาตรา 63 วรรคหนึ่ง ไม
จําตองคืนทรัพยแตอยางใด
• ตรงกันขาม หากบุคคลภายนอกไมสุจริต ยอมตองคืนเต็มจํานวนตามมาตรา 63 วรรคสอง
• ในสวนของทายาท
• กรณีโอนทรัพยไปยังบุคคลภายนอก หากไดทรัพยสินมาเปนคาตอบแทน เชน เงิน เทากับมี
กรณีตองคืนเงินดวย ยอมบังคับตามมาตรา 63 วรรคสอง จะคืนเต็มจํานวนหรือไม สุดแตวา
ทายาทสุจริตหรือไมสุจริต
• กรณีมิไดโอนทรัพยไปยังบุคคลภายนอก ไมวาจะเปนเงินหรือทรัพยสินอื่นที่มิใชเงิน หลักใน
การคืนทรัพยยอมเปนไปตามมาตรา 63 วรรคสอง จะคืนเต็มจํานวนหรือไม สุดแตวาทายาท
สุจริตหรือไมสุจริตเชนเดียวกัน
•ถาตองมีการคืนทรัพยแกกนั ใหนําหลักเรื่อง
ลาภมิควรไดมาใชบังคับโดยอนุโลม กลาวคือ
โดยหลัก เมื่อไดทรัพยไปโดยไมสุจริต (ทั้งที่รูอยู
วาความจริงเปนเชนใด ตนไมมีสิทธิจะเอาทรัพย
ไป ก็ยังทํา) ก็จะตองคืนทรัพยหรือชดใชคา
สินไหมทดแทนเต็มจํานวนเพราะรูวาไดไปโดย
ไมมสี ทิ ธิอยูแลว
•แตถาไดทรัพยไปโดยสุจริต (ไมทราบความจริงวาเปน
อยางไร และทําไปโดยเขาใจโดยสุจริตวาตนมีสิทธิในทรัพย
ที่ไดไป) ถาเปนเงิน กฎหมายใหคืนเงินเพียงสวนที่ยังมีอยู
ในขณะเมื่อเรียกคืน ถาเปนทรัพยสินอยางอื่นนอกจาก
จํานวนเงิน และบุคคลไดรับไวโดยสุจริต ใหคืนทรัพยสิน
เพียงตามสภาพที่เปนอยู และไมตองรับผิดชอบในการที่
ทรัพยสินนั้นสูญหายหรือบุบสลาย แตถาไดอะไรมาเปนคา
สินไหมทดแทนเพื่อการสูญหายหรือบุบสลายเชนนั้นก็ตอง
ใหไปดวย
•ถาบุคคลไดรบั ทรัพยสินไวโดยไมสุจริต
ยอมจะตองรับผิดชอบในการสูญหายหรือ
บุบสลายจนเต็มจํานวน แมกระทั่งการสูญ
หายหรือบุบสลายจะเกิดเพราะเหตุสุดวิสัย
ก็ตาม เวนแตจะพิสูจนไดวา ถึงอยางไร
ทรัพยสินนั้นก็ตองสูญสลายหรือบุบสลาย
อยูนั่นเอง
•ในเรื่องของดอกผลที่เกิดจากทรัพย บุคคล
ผูไดรับทรัพยสินไวโดยสุจริตยอมจะไดดอก
ผลอันเกิดแตทรัพยสินนั้นตลอดเวลาที่
ยังคงสุจริตอยู แตหากไดทรัพยไวโดยไม
สุจริตยอมไมมีสิทธิไดดอกผลเลย
ขอยกเวนตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง

“ทารกในครรภมารดาก็สามารถมีสิทธิ
ตาง ๆ ได หากวาภายหลังคลอดแลว
อยูรอดเปนทารก”
หลักในมาตรา ๑๕ วรรคแรก : ตองมีสภาพบุคคล
•ขอยกเวนตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง ทารกในครรภมารดาก็
สามารถมีสิทธิตาง ๆ ได เปนการใหสิทธิยอนหลังไปกอนที่จะมี
สภาพบุคคล
•สิทธิรับมรดก/สิทธิฟองคดีละเมิด
•โดยหลักไมรวมถึงหนาที่ แตในกรณีมรดก ตองเปนไปตามมาตรา
๑๖๐๐ คือ โดยหลัก กองมรดกของผูตายไดแกทรัพยสินทุกชนิด
ของผูตาย ตลอดทั้งสิทธิหนาที่และความรับผิดตางๆ ดังนั้น ถาไม
บอกปดไมรับมรดกไปเลย หากจะรับมรดก ก็ตองรับไปทั้งหมดไมวา
ทรัพยสิน สิทธิ หนาที่ และความรับผิดที่เจามรดกมีอยูในขณะถึงแก
ความตายดวย
การเริ่มนับอายุบุคคล
มาตรา 16 บัญญัติวา “การนับอายุของบุคคล
ใหเริ่มนับแตวันเกิด ในกรณีที่รวู า เกิดในเดือนแต
ไมรูวันเกิด ใหนับวันที่หนึ่งแหงเดือนนั้นเปนวัน
เกิด แตถาพนวิสัยที่จะหยั่งรูเดือนและวันเกิด
ของบุคคลใด ใหนับอายุบุคคลนั้นตั้งแตวันตนป
ปฏิทิน ซึ่งเปนปที่บุคคลนั้นเกิด”
มาตรา ๑๖ เปนกฎหมายพิเศษวาดวยเรื่อง
การเริ่มนับอายุบุคคล
สวนกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับการ
กําหนดนับระยะเวลา อยูในบรรพ ๑
ลักษณะ ๕ ระยะเวลา (มาตรา ๑๙๓/๑
ถึงมาตรา ๑๙๓/๘)
•การนับระยะเวลาทั้งปวง ใหบังคับตาม
บทบัญญัติแหงลักษณะนี้ เวนแต จะมี
กฎหมาย คําสั่งศาล หรือนิตกิ รรมกําหนด
เปนอยางอื่น
กฎหมายทั่วไปวาดวยการเริ่มนับ
ระยะเวลา
•มาตรา ๑๙๓/๓ วรรคสอง ถ า กํ า หนด
ระยะเวลาเป น วั น สั ป ดาห เดื อ นหรื อ ป มิ ใ ห
นั บ วั น แรกแห ง ระยะเวลานั้ น รวมเข า ด ว ยกั น
เวนแตจะเริ่มการในวันนั้นเองตั้งแตเวลาที่ถือได
วาเปนเวลาเริ่มตนทําการงานกันตามประเพณี
มาตรา ๑๖ มิ ไ ด บั ญ ญั ติ เ รื่ อ งการสิ้ น สุ ด ในการนั บ
ระยะเวลา จึงตองเปนไปตามกฎหมายทั่วไปในมาตรา
๑๙๓/๕ วรรคสอง
“ถาระยะเวลามิไดกําหนดนับแตวันตนแหงสัปดาห วัน
ตนแหงเดือนหรือป ระยะเวลายอมสิ้นสุดลงในวันกอนหนา
จะถึงวันแหงสัปดาห เดือนหรือปสุดทายอันเปนวันตรงกับ
วันเริ่มระยะเวลานั้น ถาในระยะเวลานับเปนเดือนหรือปนั้น
ไมมีวันตรงกันในเดือนสุดทาย ใหถือเอาวันสุดทายแหง
เดือนนั้นเปนวันสิ้นสุดระยะเวลา”
ตัวอยาง
•เด็กหญิง ก. เกิดวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘ เวลา
๑๘.๐๐ น.
•ตามมาตรา ๑๖ ใหเริ่มนับอายุแตวันเกิด คือมีอายุ ๑
วันในวันเกิดนั้นเอง และตามมาตรา ๑๙๓/๕ วรรค
สอง เด็กหญิง ก. จะมีอายุครบ ๒๐ ปบริบูรณในวันที่
๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๘ เวลา ๒๔.๐๐ น. และบรรลุนิติ
ภาวะในวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๘ เวลา ๐.๐๐ น.
• มาตรา 19 แหง พรบ. บําเหน็จบํานาญขาราชการ บัญญัติวา “ขาราชการซึ่งมี
อายุครบหกสิบปบริบูรณแลว เปนอันพนจากราชการ เมื่อสิ้นปงบประมาณที่
ขาราชการผูนั้นมีอายุครบหกสิบปบริบรู ณ”
• กอนแกไข ปพพ. มาตรา 16 ซึ่งเปนบทกฎหมายพิเศษใชบังคับมาตรา 193/3
วรรคสอง ในฐานะที่เปนบทกฎหมายทั่วไปวา “ถากําหนดระยะเวลาเปนวัน
สัปดาห เดือนหรือป มิใหนับวันแรกแหงระยะเวลานั้นรวมเขาดวยกัน ฯลฯ” ผลคือ
ขรก. ที่เกิดวันที่ 1 ตุลาคม ของเมื่อ 60 ปที่แลว ไดทาํ งานตออีก 1 ป เพราะในวันที่
30 กันยายนยังไมถือวามีอายุครบหกสิบปบริบูรณ
• ตอมา เมื่อมีการแกไข ปพพ. มาตรา 16 ซึ่งเปนบทกฎหมายพิเศษวาดวยการเริ่ม
นับอายุบุคคล มาตรา 193/3 วรรคสอง จึงปรับใชไมไดอีก ผลคือ ขรก. ที่เกิดวันที่
1 ตุลาคมของเมื่อ 60 ปที่ผานมาแลว ไมไดทํางานตออีก 1 ป เพราะในวันที่ 30
กันยายน มีอายุครบหกสิบปบริบูรณแลว ในวันที่ 30 กันยายน เวลา 24.00 น. ตอง
พนจากราชการเมื่อสิ้นปงบประมาณนั้นทันที คือตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม เวลา 0.00
น. เปนตนไปนั่นเอง
•เมื่อพระราชบัญญัติใหใชบทบัญญัติบรรพ 1 แหงประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยที่ไดตรวจชําระใหม พ.ศ. 2535 มีผล
ใชบังคับตั้งแตวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 การนับอายุของ
บุคคลจึงตองปฏิบัติตามบทบัญญัตใิ นมาตรา 16 แหงประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชยดังกลาว ทั้งนี้ โดยไมตองคํานึงวา
บุคคลนั้นจะเกิดเมื่อใด
ดังนั้น บุคคลที่เกิดในวันที่ 1 ตุลาคมของ พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2476
และ พ.ศ. 2477 จะมีอายุครบ 60 ปบริบูรณในวันที่ 30 กันยายน
ของ พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2536 และ พ.ศ. 2537 ตามลําดับ (เวลา
24.00 น.)
กําหนดเวลาที่บุคคลถึงแกความตาย

•มาตรา 17 ในกรณีบุคคลหลายคนตายในเหตุ
ภยั น ตรายร ว มกั น ถ า เป น การพ น วิ สั ย ที่ จ ะ
กําหนดไดวาคนไหนตายกอนหลัง ใหถือวาตาย
พรอมกัน
คุณสมบัติทางกฎหมายของบุคคล
นามบุคคล (มาตรา ๑๘)
สิทธิของบุคคลในการที่จะใชนามอันชอบที่จะใชได
นั้น ถามีบุคคลอื่นโตแยงก็ดีหรือบุคคลผูเปนเจาของ
นามนั้นตองเสื่อมเสียประโยชนเพราะการที่มีผูอื่นมา
ใชนามเดียวกันโดยมิไดรับอํานาจใหใชไดก็ดี บุคคลผู
เปนเจาของนามจะเรียกใหบุคคลนั้นระงับ ความ
เสียหายก็ได ถาและเปนที่พึงวิตกวาจะเสียหายอยู
สืบไป จะรองขอตอศาลใหสั่งหามก็ได
ความสําคัญของนามบุคคล
•คือคําที่ใชเรียกหมายตัวบุคคลเพื่อระบุตัวบุคคลใด
บุคคลหนึ่งออกจากบุคคลอื่น ๆ ที่อยูรวมกันหลายคน
•ใชแยกแยะบุคคลแตละคนออกจากกัน กฎหมายจะมี
ระบบประกันและคุมครองสิทธิของแตละบุคคลซึ่ง
จําแนกแยกแยะไดวาสิทธิอยางใดเปนของบุคคลใด
นามซึ่งไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
ก) นามของบุคคลธรรมดา ประกอบดวยชื่อตัวและชื่อ
สกุลซึ่งไดรับความคุมครองตาม พรบ. ชื่อบุคคลฯ
ข) นามของนิติบุคคล โดยนัยของมาตรา ๖๗ ชื่อ
สมาคม มูลนิธิ หางหุนสวนบริษัท ฯลฯ ก็ไดรับ
ความคุมครองตามมาตรา ๑๘ เชนกัน
ภายใตบังคับ มาตรา 66 นิติบุคคลยอมมี
สิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา
เวนแตสิทธิและหนาที่ซ่ึงโดยสภาพจะพึงมี
พึงไดเฉพาะแกบุคคลธรรมดาเทานั้น
ตัวอยาง
หางฯแวนตาท็อปเจริญ มีสิทธิหาม
กรณีผูใดฝาฝนมาตรา ๑๘ เชน มีการ
ใชชื่อราน ส. ท็อปเจริญการแวน ที่
อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
การแกไข พรบ. ชื่อบุคคลฯใหสอดคลองกับคําวินิจฉัย
ของศาลรัฐธรรมนูญ

ได มี คํ า วิ นิ จ ฉั ย ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ ที่ ๒๑/๒๕๔๖


ตั ด สิ น ว า พระราชบั ญ ญั ติ ชื่ อ บุ ค คล พ.ศ. ๒๕๐๕
มาตรา ๑๒ ไมชอบดวยรัฐธรรมนูญ เพราะขัดหรือแยง
ตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ เปนอันใชบังคับมิไดตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๖
การแกไข พรบ. ชื่อบุคคลฯใหสอดคลองกับคําวินิจฉัยของ
ศาลรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๒๗ สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพที่ รั ฐ ธรรมนู ญ นี้
รับรองไวโดยชัดแจง โดยปริยาย หรือโดยคําวินิจฉัย
ของศาลรัฐธรรมนู ญ ย อมได รั บความคุม ครอง และ
ผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื่นของ
รัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การใชบังคับกฎหมาย
และการตีความกฎหมายทั้งปวง
เปรียบเทียบมาตรา ๑๒ พรบ.ชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ vs ๒๕๔๘

•พรบ. ชื่อ •พรบ. ชื่อบุคคล (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.


บุคคล พ.ศ. ๒๕๔๘
๒๕๐๕ •มาตรา ๑๒ (วรรคหนึ่ง)
•มาตรา ๑๒ คูสมรสมีสิทธิใชชื่อสกุลของ
หญิงมีสามี ฝายใดฝายหนึ่งตามที่ตกลง
ใหใชชื่อสกุล กัน หรือตางฝายตางใชชื่อ
ของสามี สกุลเดิมของตน
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

•วันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ เรื่อง


ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาขอใหศาล
รัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๑๙๘ กรณีพระราชบัญญัติช่อื บุคคล
พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๑๒ มีปญหาเกี่ยวกับ
ความชอบดวยรัฐธรรมนูญ
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖
•ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (ผูรอง) ยื่นคํารอง
พรอมความเห็นลงวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ขอให
ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๑๙๘ วา พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ.
๒๕๐๕ มาตรา ๑๒ มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวย
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ หรือไม
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

•นางผณินทรา ภัคเกษม และคณะมีหนังสือรองเรียนกรณี


พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๑๒ ที่
บัญญัติวา "หญิงมีสามี ใหใชชื่อสกุลของสามี" ขัดตอ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ เนื่องจาก
เปนบทบัญญัติที่เปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอ
สตรี และไมสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ ที่บัญญัติ
ใหบุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรบั ความคุมครอง
ในกฎหมายเทาเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน
...
•ผูรองพิจารณาแลว เห็นวา พระราชบัญญัติช่อื บุคคล
พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๑๒ เปนบทบัญญัติที่บังคับให
หญิงมีสามีที่ไดสมรสกันตามกฎหมาย ตองเปลี่ยนชื่อ
สกุลของหญิงนั้น มาเปนชือ่ สกุลของชายผูเปนสามี
และเปนการบัญญัติที่บังคับเฉพาะหญิงที่มีสามีฝา ย
เดียว อันเปน การขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา
๓๐
•กระทรวงมหาดไทยในฐานะผูรักษาการ
ตามพระราชบัญญัติชี้แจง
มีขอดีและขอเสียกรณีที่หญิงเมื่อทําการ
สมรสจะเลือกใชชื่อสกุลเดิมหรือชื่อสกุลของ
คูสมรสก็ได
•ขอดี คือ (๑) ทําใหครอบครัวที่มแี ตบุตรสาวสามารถ
ดํารงไวซึ่งชื่อสกุลของตนเองได (๒) เปดโอกาสให
หญิงที่ไมประสงคจะใชชอื่ สกุลของสามีเนื่องมาจาก
สามีเปนคนตางดาว หรือชื่อสกุลของตนเปนที่รูจักของ
คนทั่วไป สามารถใชชื่อสกุลของตนเองได (๓) เปน
สวนหนึ่งที่ทําใหเห็นวา หญิงมีสทิ ธิเทาเทียมกับชาย
ตามที่รฐั ธรรมนูญไดบัญญัติไว
•ขอเสีย คือ (๑) ทําใหบุตรที่เกิดมาไมทราบวาจะใชชื่อสกุล
ของบิดาหรือมารดา และอาจทําใหพี่นองครอบครัว
เดียวกันใชชื่อสกุลแตกตางกัน (๒) ทําใหยากแกการพิสูจน
ตัวบุคคล เพราะมีการแกไข ชื่อสกุลสลับกันไปมา (๓) เปน
ประโยชนเฉพาะบุคคลบางกลุมเทานั้น ไมเปนบรรทัดฐาน
ระเบียบประเพณีที่ดีงามแกสังคมสวนรวม อันอาจ
กอใหเกิดผลกระทบดานตาง ๆ หลายประการ ไมวาจะเปน
ปญหาที่เกิดกับบุตรซึ่งไมทราบวาจะใชช่อื สกุลของฝายใด
สถานภาพในครอบครัวอาจขาดความกลมเกลียวกรณีท่ไี ม
สามารถตกลงชื่อสกุลของบุตรได
•กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแลว เห็นวา พระราชบัญญัติ
ชื่อบุคคล ฯ เปนการปฏิบัติที่พิจารณาในแงของวัฒนธรรม
และวิถีชีวิตของประชาชนชาวไทย ตลอดจนเปนมาตรการ
ทางดานกฎหมายเพื่อตองการใหสถาบันครอบครัวมีความ
เขมแข็ง สําหรับสิทธิเทาเทียมกันระหวางชายและหญิง
นาจะเปนสิทธิทางสังคมและการเมือง อาทิ สิทธิในการ
ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการไดรับการศึกษาขั้น
พื้นฐาน สิทธิในการไดรับความคุมครองจากรัฐ และสิทธิใน
การรับทราบขอมูลขาวสาร เปนตน
•ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแลว เห็นวา
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ เปนบทบัญญัติที่
คุมครองสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยตาม
กฎหมายอยางเทาเทียมกัน โดยใหทกุ คนมีความ
เสมอกันในกฎหมาย ซึ่งถือเปนหลักความเสมอ
ภาค โดยเฉพาะการรับรองสิทธิเทาเทียมกัน
ระหวางชายและหญิง และการเลือกปฏิบัติโดย
ไมเปนธรรมจะกระทํามิได
•หลักความเสมอภาคตามมาตรา ๓๐ มีพื้นฐาน
มาจากหลัก ความเสมอภาคเท า เที ย มกั น ตาม
ธรรมชาติ ที่ เ ป น การยอมรั บ ว า สิ ท ธิ ต าม
ธรรมชาติของปจเจกชนนั้น เปนสิทธิท่ีมีความ
เสมอภาคเทาเทียมกันทุกคน ซึ่งจะเปนสิทธิที่มี
มาตั้งแตเกิดที่ทุกคนจะมีอยูอยางเทาเทียมกัน
•การใชชื่อสกุลเปนมาตรการของรัฐในการจําแนกตัวบุคคล
เพื่อแสดงถึงแหลงกําเนิด วามาจากวงศตระกูลใดอันเปน
การแสดงเผาพันธุ เทือกเถาเหลากอของบุคคล โดยการใช
ชื่อสกุลถือวา เปนเรื่องสิทธิของบุคคลที่มีอยูอยางเทาเทียม
กันทุกคน ทั้งนี้รัฐยังคงมีหนาที่ใหความคุมครองบุคคลตาม
กฎหมายเพื่ อ มิ ใ ห ก ารใช ชื่ อ สกุ ล ของบุ ค คลใดก อ ให เ กิ ด
ความเสีย หายหรื อ เสื่อ มเสี ย แก บุ ค คลอื่ นได และถื อ เป น
หนาที่ของบุคคลทุกคนที่จะตองไมใหการใชสิทธิในการใช
ชื่อสกุลไปกระทบกระเทือนตอสิทธิของบุคคลอื่นเชนกัน
•ประเทศไทยไดนําระบบการใชชื่อสกุลมาใชครั้ง
แรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลา
เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ โดยหญิงมีสามียังคงใช
ชื่อสกุลเดิมของตนได ซึ่งปรากฏใน
พระราชบัญญัติขนานนามสกุล พระพุทธศักราช
๒๔๕๖ มาตรา ๖ ที่บัญญัติวา "หญิงไดทํางาน
สมรสมีสามีแลวใหใชชื่อสกุลของสามี แลคงใช
ชื่อตัวแลชื่อสกุลเดิมของตนได"
•ตอมาไดมีการ แกไขเรื่องการใชชื่อสกุลของ
หญิงมีสามี โดยพระราชบัญญัตชิ ื่อบุคคล
พุทธศักราช ๒๔๘๔ บัญญัติไวในมาตรา ๑๓ วา
"หญิงมีสามี ใหใชชื่อสกุลของสามี" และ
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ ยังคงถือ
หลักการเรื่องการใชชื่อสกุลของหญิงมีสามี
เชนเดียวกันกับพระราชบัญญัติ ชื่อบุคคล
พุทธศักราช ๒๔๘๔
•การบังคับใหหญิงมีสามีใช ชื่อสกุลของสามี
เพียงฝายเดียวโดยใชสถานะการสมรสนั้น มิได
เปนเหตุผลในเรื่องความแตกตางทาง กายภาพ
หรือภาระหนาที่ระหวางชายและหญิงที่มีผลมา
จากความแตกตางทางเพศ จนทําใหตองมี การ
เลือกปฏิบัติใหแตกตางกัน จึงไมเปนเหตุที่ทาํ ให
ตองมีการเลือกปฏิบตั ิใหแตกตางกันในเรื่องเพศ
และสถานะของบุคคลได
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

•สําหรับขออางที่วา การเลือกปฏิบตั ิดงั กลาวมีเหตุผล


ทางสังคมที่วา เพื่อความเปน เอกภาพและความสงบ
สุขของครอบครัว อีกทั้งสอดคลองกับวัฒนธรรมและ
วิถีชีวิตของชนชาวไทยนั้น พิจารณาแลว เห็นวา
ขออางดังกลาวรับฟงไมได เนื่องจากความเปน
เอกภาพและความสงบสุขของ ครอบครัวเกิดขึ้นจาก
ความเขาใจ การยอมรับ และการใหเกียรติซึ่งกันและ
กันระหวางสามีและภริยา
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

•ประกอบกับกฎหมายวาดวยการใชชื่อสกุล
ฉบับแรกของประเทศไทยเพิ่งตราขึ้นเมื่อป
๒๔๕๖ โดยกอนหนานั้นประเทศไทยไมมี
ระบบการใชช่อื สกุล จึงไมนาจะเปนเรื่อง
ของวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ที่มีมาชานาน
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

(พระราชบัญญัตขิ นานนามสกุล พระพุทธศักราช 2456


มาตรา ๖ ใชคําวา "...แลคงใชชื่อตัวแลชื่อสกุลเดิมของตน
ได" ยอมแสดงเจตนารมณชัดเจนวา หญิงเมื่อทําการสมรส
แลวยังคงมีสทิ ธิที่จะใชชื่อสกุลเดิมของตนได สวนกรณีตาม
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักราช ๒๔๘๔ และ
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ มีการแกไขหลักการ
ดังกลาว)
คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๒๑/๒๕๔๖

•ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน ศาลรัฐธรรมนูญจึง
วินิจฉัยวา พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕
มาตรา ๑๒ ไมชอบดวยรัฐธรรมนูญ เพราะขัดหรือแยง
ตอรัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๐ เปนอันใชบังคับมิไดตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา ๖
•จากคําวินิจฉัยของ นายมงคล สระฏัน ตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ ที่ 21/2546 วันที่ 5มิถุนายน 2546 เรื่อง
ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาขอใหพิจารณาวินิจฉัย
กรณีพระราชบัญญัติชอื่ บุคคล พ.ศ. 2505 มีปญหา
เกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ
(รจ. เลม 121 ตอนที่ 17 ก วันที่ 5 กุมภาพันธ 2547)
คําวินิจฉัยของ นายมงคล สระฏัน
•พระราชบัญญัติขนานนามสกุล พระพุทธศักราช 2456 เปน
กฎหมายฉบับแรกที่วางรากฐานของกฎหมายปจจุบัน เพื่อใหคน
ไทยทุกคนตองมีทั้งชื่อและนามสกุล กฎหมายดังกลาวใหมีการตั้ง
ชื่อสกุลขึ้นเพื่อแสดง “เทือกเถาเหลากอ” ของบุคคล
•ตามพระราชบัญญัติขนานนามสกุล พระพุทธศักราช 2456 ชาย
และหญิงมีสิทธิที่จะแสดงเทือกเถาเหลากอของตนไดอยางเสมอ
ภาคกันวาตนมีเทือกเถาเหลากอ แหลงกําเนิดวามาจากวงศ
ตระกูลของบรรพบุรุษคนไหนและสืบเชื้อสายมาจากบิดามารดา
ใด
คําวินิจฉัยของ นายมงคล สระฏัน
•ตอมาในป พ.ศ. 2484 มีการแกไขกฎหมายใหม ใชชื่อวา
“พระราชบัญญัติช่อื บุคคล พุทธศักราช 2484” บัญญัติ
หลักการใหมเปนวา “หญิงมีสามีใหใชช่อื สกุลของสามี”
เพราะ ส.ส. ในสภาผูแทนราษฎรประกอบดวยผูชายเปน
สวนใหญที่มีความคิดตองการใหเปลี่ยนแปลงเรื่องที่ไม
สอดคลองกับความเชื่อหรือวัฒนธรรมที่ตนเห็นวาถูกตอง
แตมิไดตระหนักถึงเรื่องสิทธิในความเสมอภาค ดังเชน
พระราชบัญญัติขนานนามสกุลฯ ฉบับเดิมไดวางหลักการ
ไว นอกจากนี้ อาจเปนความตองการแสดงออกซึ่งความ
เปนเอกลักษณของสถาบันครอบครัวไทยที่มีรากเหงาจาก
ความเชื่อที่วา “ผูชายเปนใหญ” สิทธิของหญิงที่มีสามีจะมี
ก็ตอเมื่อสามีอนุญาตเทานั้น
คําวินิจฉัยของ นายมงคล สระฏัน

•ตัวอยางของประเทศฝรั่งเศส
•ไม มี ก ารบั ญ ญั ติ เ รื่ อ งการใช ชื่ อ สกุ ล ของหญิ ง เมื่ อ ทํ า การ
สมรสไวในกฎหมาย (เพราะถือหลักความเสมอภาคระหวาง
ชายและหญิงนั่นเอง ไมมีการบังคับ) คงมีแตบทบัญญัติวา
เมื่อมี การหยา ใหคูสมรสแตละฝายกลับไปใชชื่อสกุลเดิม
ของตน อย า งไรก็ ตาม ตามจารี ต ประเพณีย อมรับ กั นว า
เมื่อทําการสมรสหญิงจะเปลี่ยนไปใชชื่อสกุลของสามี สวน
บุตรนั้นกฎหมายกําหนดใหใชชื่อสกุลของบิดา
•คําวินิจฉัยของ ศาสตราจารย ดร. เสาวนีย อัศวโรจน
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ที่ 21/2546 วันที่ 5
มิถุนายน 2546 เรื่อง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา
ขอใหพิจารณาวินิจฉัยกรณีพระราชบัญญัติชื่อบุคคล
พ.ศ. 2505 มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวย
รัฐธรรมนูญ
•รจ. เลม 121 ตอนที่ 17 ก วันที่ 5 กุมภาพันธ 2547
คําวินิจฉัยของ ศาสตราจารย ดร. เสาวนีย อัศวโรจน
•ในทวีปยุโรปนั้น ประเทศสวนใหญนั้น หญิงมีสิทธิเลือกใช
ชื่อ สกุ ล เดิม ของตนเมื่ อ ทํ า การสมรสโดยเฉพาะประเทศ
สเปน ยกเว น บางประเทศที่ ไ ม มี ก ฎหมายชั ด เจน เช น
ฝรั่งเศสไมไดบัญญัติเรื่องการใชชื่อสกุลของหญิงที่ทําการ
สมรสไว ในกฎหมายและในทางปฏิบัติห ญิงมั กนิย มใชชื่ อ
สกุลของสามีก็ตาม แตก็ไมไดหามหญิงที่ทําการสมรสที่จะ
ใชชื่อสกุลเดิมของตนหลังการสมรส
คําวินิจฉัยของ ศาสตราจารย ดร. เสาวนีย อัศวโรจน

•ในประเทศกลุ ม คอมมอนลอว ไม มี ก ฎหมาย


บัญญัติในเรื่องดังกลาวและไมบังคับใหหญิงตอง
เปลี่ย นชื่ อ สกุล ไปเป น ของสามี โดยเฉพาะใน
สหรัฐอเมริกานั้นหญิงมีสามีมีสิทธิใชชื่อสกุลของ
ตนเองในทุกรัฐ เพียงแตในทางปฏิบัตินั้น รอย
ละ 90 ของผู ห ญิ ง เมื่ อ ทํ า การสมรสจะใช ชื่ อ
สกุลของสามี
เอกสารประกอบการสอนวิชา
มธ. 122

ขอความคิดพื้นฐานวาดวยสิทธิ

รศ. ดร. สมเกียรติ วรปญญาอนันต


ความสําคัญของคําวา “สิทธิ”
•เปนถอยคําที่ใชมากในบทบัญญัติของ
กฎหมาย เปนขอความคิดพื้นฐาน (basic
concept) ของกฎหมาย เพราะกฎหมายใน
ฐานะที่เปนกฎเกณฑทั่วไปทาง objective
(ภาววิสัย, le droit) ไดกําหนดสิทธิและ
หนาที่ของบุคคลไวดวยในลักษณะที่เปน
หลักเกณฑทาง subjective (อัตวิสัย, les
droits)
สิทธิ คือความชอบธรรมที่บุคคลสามารถ
ใช ยั น กั บ ผู อ่ื น เพื่ อ คุ ม ครองหรื อ รั ก ษา
ผลประโยชนอันเปนสว นที่ พึงมีพึงไดของ
บุคคลนั้น
ขอพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิ
1) สิทธิจะตองเปนความชอบธรรม (ยกเวนกรณีบาง
เรื่องเทานั้น เชน หนี้ขาดอายุความ การครอบครอง
ปรปกษ)
2) สิทธิจะตองมีบุคคลเปนผูถือสิทธิ (ผูทรงสิทธิ )
3) สิทธินั้นจะตองเปนสิ่งที่ยันกับบุคคลอื่นได (ใชยันกับ
ผูมีหนาที่ - สิทธิกับหนาที่เปนของคูกัน)
4) สิทธิจะตองมีเนื้อหา (ประโยชนที่จะตองยืนยัน
คุมครองรักษา)
คําอื่น ๆ ที่คลายคลึงกับสิทธิ
หนาที่ เปนความชอบธรรมใน
ลักษณะเปนความผูกพันใหบุคคลตก
อยูในสถานะจะตองกระทําหรืองดเวน
กระทําการหรือยอมใหเขากระทําการ
เพื่อใหเปนไปตามผลประโยชนอัน
ชอบธรรมของบุคคลอื่น
คําอื่น ๆ ที่คลายคลึงกับสิทธิ
ความรับผิด(ทางแพง) เปนความผูกพัน
ทางทรัพยสนิ ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ที่
ตองตกอยูในสถานะถูกบังคับใชชําระหนี้
อยางใดอยางหนึ่ง (เปนความผูกพันใน
ทรัพยสินไมใชความผูกพันตอตัวบุคคล)
ตัวอยางของกรณีความรับผิด
• ความรับผิดเพื่อละเมิด มีหลักทั่วไปวาดวยความรับผิดในการ
กระทําของตนเองตามมาตรา ๔๒๐ และกรณีอื่น ๆ เชน ความ
รับผิดในการกระทําละเมิดของบุคคลอื่นตามมาตรา ๔๒๕ หรือ
ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดเพราะสัตวตามมาตรา ๔๓๓
เปนตน (ป.พ.พ. บรรพ 2 ลักษณะ 5 ละเมิด หมวด 1 ความรับ
ผิดเพื่อละเมิด)
• ตามตัวอยางกรณีละเมิด ซึ่งเปนมูลเหตุแหงหนี้ประเภทหนึ่ง มี
หลักตามมาตรา ๒๑๔ กําหนดใหทรัพยสินของลูกหนี้จะตองรับ
ผิดการที่จะถูกบังคับใหชําระหนี้ ซึ่งไมอาจบังคับเอากับตัวบุคคล
ที่เปนลูกหนี้ได ตองไปบังคับเอากับกองทรัพยสินของลูกหนี้
มาตรา 420
ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอ
บุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแก
ชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี
ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทาน
วาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคา สินไหมทดแทน
เพื่อการนั้น
มาตรา 425
นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจาง
ในผลแหงละเมิด ซึ่งลูกจางไดกระทําไป
ในทางการที่จางนั้น
มาตรา 433
ถาความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว ทานวาเจาของ
สัตวหรือบุคคลผูรับเลี้ยงรับรักษาไวแทนเจาของ จําตองใช
คาสินไหมทดแทนใหแกฝา ยที่ตองเสียหายเพื่อความ
เสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตสัตวน้นั เวนแตจะพิสูจนได
วาตนไดใชความระมัดระวังอันสมควรแกการเลี้ยงการ
รักษาตามชนิดและวิสัยของสัตว หรือตามพฤติการณอยาง
อื่น หรือพิสูจนไดวาความเสียหายนั้นยอมจะตองเกิดมีขึ้น
ทั้งที่ไดใชความระมัดระวังถึงเพียงนั้น ...
ลักษณะของความรับผิด
เปนไปตามมาตรา 214
ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงมาตรา
733 เจาหนี้มีสิทธิที่จะใหชําระหนี้ของตน
จากทรัพยสินของลูกหนี้จนสิ้นเชิง รวมทั้ง
เงินและทรัพยสินอื่น ๆ ซึ่งบุคคลภายนอก
คางชําระแกลูกหนี้ดวย
คําอื่น ๆ ที่คลายคลึงกับสิทธิ
๓. อํานาจ มักใชกบั กรณีผูมสี ถานะที่สูงกวาใชยัน
กับผูที่มสี ถานะต่ํากวา เชน อํานาจปกครอง
บุตร (ในทางกฎหมายมหาชนมักใชคําวา
อํานาจหนาที่ควบคูกันไป เพราะถือวา
เจาหนาที่ของรัฐนอกจากจะมีอํานาจแลว ยัง
มีหนาที่ตองปฏิบัติอีกดวย)
คําอื่น ๆ ที่คลายคลึงกับสิทธิ
เอกสิทธิ์ ใชเฉพาะกับบุคคลบางคน หรือ
บุคคลบางประเภทที่มีคุณลักษณะพิเศษ
บางประการที่ทําใหผูนั้นมีความชอบธรรม
ที่จะอางเสวยประโยชนหรืออางเพื่อยืนยัน
ผลประโยชนบางประการเปนพิเศษยิ่งกวา
คนอื่นๆ เชน เอกสิทธิ์ในทางการทูต เอก
สิทธิ์ของสมาชิกรัฐสภา (= สิทธิพิเศษ)
คําอื่น ๆ ที่คลายคลึงกับสิทธิ
๕. ความคุมกัน คลายกับเอกสิทธิ์ แตความคุมกันมิใชสิทธิ
พิเศษเพราะเปนสถานะพิเศษที่จะไมตองตกอยูภายใต
อํานาจ หรือรับเคราะหกรรมบางอยางตามกฎหมายที่
โดยปกติจะกอใหเกิดขึ้นแกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เชน ทูต
อางความคุมกันทางการทูตเพื่อไมตองขึ้นศาลไทย จึงไม
ตองตกอยูใตอํานาจศาลไทย สมาชิกรัฐสภาก็อาจไดรบั
ความคุมกันในระหวางสมัยประชุมไดเชนกันตาม
บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ
ประเภทของสิทธิ
• สิทธิมีที่มา ๒ ทางคือ
1) สิทธิตามกฎหมายมหาชน (สิทธิมหาชน)
2) สิทธิตามกฎหมายเอกชน (สิทธิเอกชน)
 กลาวอีกนัยหนึ่งคือ สิทธิอาจแบงออกไดเปน 2 ประเภท
ใหญๆ คือ สิทธิเอกชนกับสิทธิมหาชน
 Savigny
สิทธิมหาชน
 ในรัฐธรรมนูญหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชน
ชาวไทย ซึ่งเปนบอเกิดที่สําคัญของสิทธิในทางกฎหมาย
มหาชน
 สิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองอาจ
จําแนกออกไดเปน 2 ประเภท คือ
1) สิทธิมนุษยชน
2) สิทธิของพลเมือง
ความหมายของสิทธิมนุษยชน
•สิทธิมนุษยชน ไดแกบรรดาสิทธิและเสรีภาพที่ถือกัน
วาติดตัวมนุษยทกุ คนมาแตกําเนิด และไมอาจถูก
พรากไปจากราษฎรไดโดยไมเปนการทําลายความ
มนุษยของราษฎร (วรพจน วิศรุตพิชญ, สิทธิและ
เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ, ไดรับการสนับสนุนจาก
สกว., วิญูชน, 2538)
•ตามคําสอนของ John Locke สิทธิและเสรีภาพที่ถือ
กันวาติดตัวมนุษยทุกคนมาแตกําเนิด และไมอาจถูก
พรากไปจากราษฎรไดโดยไมเปนการทําลายความเปน
มนุษยของราษฎรนั้น มีอยู ๓ ประการ ไดแก
• สิทธิในชีวิตและรางกาย
• สิทธิในเสรีภาพ และ
• สิทธิในทรัพยสิน
ตัวอยางของสิทธิมนุษยชน ไดแก
I. สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล เชน สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและ
รางกาย เสรีภาพในเคหสถาน เสรีภาพในการเดินทางและการเลือก
ถิ่นที่อยู เสรีภาพในการสื่อสารถึงกัน สิทธิในครอบครัว เกียรติยศ
ชื่อเสียง และความเปนอยูสวนตัว เปนตน
II. เสรีภาพในทางความคิดและการแสดงออกซึ่งความคิด เชน เสรีภาพ
ในการถือศาสนา นิกายของศาสนา หรือลัทธินิยมในทางศาสนา
เสรีภาพในการปฏิบัติตามศาสนบัญญัตหิ รือปฏิบัติพิธีกรรมตาม
ความเชื่อถือของตน เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การ
เขียน การพิมพ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น
เสรีภาพในทางวิชาการ สิทธิในการรับการศึกษาอบรม เปนตน
III. สิทธิและเสรีภาพทางเศรษฐกิจบางประการ เชน สิทธิในทรัพยสิน
เสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพ และการแขงขัน
โดยเสรีอยางเปนธรรม สิทธิของผูบริโภค เปนตน
ความสําคัญของสิทธิมนุษยชน
• สิทธิมนุษยชนเปนคุณลักษณะประจําตัวของมนุษยทุกคน เปนสิทธิและ
เสรีภาพตามธรรมชาติที่เปนของมนุษย ในฐานะที่เกิดมาเปนมนุษยและ
ดวยเหตุผลแตเพียงอยางเดียววาเขาเกิดมาเปนมนุษย ทุกคนมีสิทธิและ
เสรี ภ าพเหล า นี้ อ ยู แ ล ว ตั้ ง แต ก อ นที่ จ ะมี รั ฐ เกิ ด ขึ้ น ไม มี ม นุ ษ ย ผู ใ ด
สามารถสละสิทธิและเสรีภาพเหลานี้ไดโดยชอบ และไมมี “ผูปกครอง
วาการแผนดิน” (Sovereign) คนใดหรือคณะใดมีอํานาจทําลายสิทธิ
และเสรีภาพเหลานี้ไดเชนกัน รัฐมิไดมีคุณคาในตัวเอง แตจะมีคุณคา
ขึ้นมาก็ ตอ เมื่ อได ป กป กรัก ษาและสง เสริม สิ ทธิ และเสรี ภาพเช นว า นี้
เทานั้น
สิทธิของพลเมือง
(Citizen’s Rights หรือ Civil Rights)
• คื อสิ ท ธิใ นอั นที่ จ ะเข าไปมี ส ว นร ว มในกระบวนการสร าง
เจตนารมณของรัฐ หรืออีกนัยหนึ่งบรรดาสิทธิและเสรีภาพ
ทางการเมือง อันไดแก เสรีภาพในการรวมตัวกันเปนพรรค
การเมืองเพื่อดําเนินกิจกรรมทางการเมืองตามวิถีทางการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย สิทธิเลือกตั้งและสมัครรับ
เลือกตั้ง เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ
สิทธิในการสมัครเขารับราชการ ฯลฯ
• แตมีขอพิจารณาวา คําวา Civil Rights นี้ อาจมิได
หมายความถึงสิทธิของพลเมืองเสมอไป ตองพิจารณาตาม
บริบทของกฎหมายแตละเรื่องประกอบดวยวามีเหตุผลของ
เรื่อง (Nature of Things) หรือเหตุผลของกฎหมาย
(ratio legis) เปนเชนนั้นจริงหรือไม เชน ตาม ICCPR
(International Covenant on Civil and Political
Rights) คําวา Civil Rights นอกจากอาจหมายถึง “สิทธิ
ของพลเมือง” ตามบทมาตราหลายบทในกติการะหวาง
ประเทศฉบับดังกลาวแลว ยังอาจหมายถึง “สิทธิทาง
แพง” ซึ่งเปนเรื่องสิทธิเอกชน นอกเหนือไปจากสิทธิของ
พลเมือง ซึ่งเปนสิทธิมหาชนไดอีกดวย
ตัวอยางตัวบท ICCPR (International Covenant on
Civil and Political Rights) ซึ่งคําวา Civil Rights เปน
เรื่องสิทธิทางแพง ไมใชสิทธิของพลเมือง
• Article 8
• 1. No one shall be held in slavery; slavery and the slave-trade in
all their forms shall be prohibited.
• 2. No one shall be held in servitude.
• 3.
• (a) No one shall be required to perform forced or compulsory
labour;
• Etc.
ลักษณะของสิทธิของพลเมือง
โดยเหตุผลของเรื่องแลว สิทธิของพลเมืองจะมีไดก็เฉพาะ
แตภายหลังเวลาที่รัฐเกิดขึ้นแลวเทานั้น กอนหนานั้น
ความคิดเรื่องสิทธิของพลเมืองยอมไมอาจกอตัวขึ้นมาได
กรณีจะเปนประการใดก็ตาม ถือกันวาสิทธิของพลเมืองนี้ก็
เปนสิทธิและเสรีภาพที่สืบเนื่องมาจากสิทธิมนุษยชนนั่นเอง
ทั้งนี้ ดวยเหตุผลที่วาการที่ราษฎรเขาไปมีสวนรวมใน
กระบวนการสรางเจตนารมณของรัฐ ไมวา โดยทางตรง
หรือทางออมก็ตาม เปนวิธกี ารคุมครองสิทธิมนุษยชนของ
ตนที่มั่นใจไดวิธีหนึ่ง ในหลาย ๆ วิธีนั่นเอง
สิทธิเอกชน
• เปนเรื่องที่มีฐานทางกฎหมายรับรองคุมครองเอกชนเพื่อประโยชนสวนบุคคล นอกจากนี้
ในทางสังคมวิทยากฎหมายมีฐานที่มาจากความรูสกึ รวมกันในสังคมวาเปนสิ่งที่จาํ ตอง
ยอมรับรวมกันในสังคมตามระบบควบคุมสังคม (Social Control) ตัวอยางเชน สิ่งนี้เปน
ของฉัน เปนสิทธิของฉัน ทรัพยนี้เปนของฉัน เปนตน
• โดยธรรมชาติของมนุษย สัญชาตญาณการยึดถือครอบครองสิ่งตางๆ เปนรากฐานที่มาของ
สิทธิเอกชน โดยเปนขอเท็จจริงพื้นฐานที่ปรากฏในระบบกฎหมายของประเทศตางๆ ตั้งแต
ยุคโบราณจนถึงยุคกลาง
• กฎหมายเอกชนซึ่งเปนบอเกิดแหงสิทธิเอกชนยังคงมีความสําคัญยิ่งกวากฎหมายมหาชน
เนื่องจากผูปกครองในสมัยกลางยังคงนําหลักเกณฑทางกฎหมายเอกชนมาปรับใชในการ
ปกครองบานเมือง ตองรอยุคใหมเสียกอน กฎหมายมหาชนจึงไดพัฒนาจนกระทั่งสามารถ
แยกตัวเปนอิสระออกจากกฎหมายเอกชนได แตก็มิไดเปนการแยกขาด หากเรื่องใดกฎหมาย
มหาชนยังไมมกี ารกําหนดหลักเกณฑที่สามารถนําไปใชแกไขปญหาไดอยางเพียงพอ ก็ยังคง
สามารถกลับไปใชหลักเกณฑทางกฎหมายเอกชนในฐานะที่เปนกฎหมายทั่วไปไดอยูอ กี
เชนเดิมนั่นเอง
สิทธิเอกชน
เพื่อประโยชนในการศึกษาและทําความเขาใจตัว
บทกฎหมายที่ปรากฏในกฎหมายตางๆ อาจแบง
สิทธิตามกฎหมายเอกชนออกเปน
1. แบงตามวัตถุแหงสิทธิ
2. แบงตามคูกรณี
3. แบงตามอาการใชสิทธิ
แบงตามวัตถุแหงสิทธิ
1) สิทธิมิใชทางทรัพยสิน (ทางบุคคล)
ก) สิทธิบุคคลภาพ
ข) สิทธิสถานะ
2) สิทธิทางทรัพยสิน
ก) ทรัพยสิทธิ
ข) สิทธิเสมือนทรัพยสิทธิ
ค) สิทธิในสิ่งไมมีรูปราง (ทรัพยสินทางปญญา)
ง) สิทธิทางหนี้
สิทธิมิใชทางทรัพยสนิ (ทางบุคคล)
• สิทธิบุคคลภาพ : สิทธิในสภาพที่เปนตัวบุคคล หรือความเปนคนที่
กฎหมายรับรอง เมื่อเกิดมาเปนบุคคลก็จะมีสิทธิเหลานี้ตามมาดวย
(มาตรา 420 สิทธิในชีวิต รางกาย อนามัย เสรีภาพ มาตรา 18 ชื่อ
ชื่อเสียง รูปภาพ สิทธิในความเปนอยูส วนตัวตามรัฐธรรมนูญ)
• สิทธิสถานะ : ไมไดเกิดจากตัวบุคคลหรือสภาพของบุคคล แตเกิด
จากสถานะของบุคคล
1) สิทธิสถานะในครอบครัว (มาตรา 1564 สิทธิระหวางบิดามารดากับบุตร
มาตรา 1561 บุตรมีสิทธิใชชื่อสกุลได มาตรา 1563 บุตรจําตองอุปการะ
เลี้ยงดูบิดามารดา มาตรา 1461 สามีภริยาตองอยูกินดวยกันฉันสามีภริยา
สามีภริยาตองชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะ
ของตน
2) สิทธิสถานะอื่นๆ (ผูปกครอง ผูอนุบาล ผูจัดการมรดก ฯลฯ)
สิทธิทางทรัพยสนิ
• ทรัพยสิทธิ เปนสิทธิทมี่ ีวตั ถุแหงสิทธิเปนทรัพย
• สิทธิทางหนี้ ไมมวี ัตถุเปนเครื่องรองรับ เกิดจากนิติสัมพันธตามกฎหมายลักษณะ
หนี้ มีแตเนื้อหาของสิทธิ (หรืออาจจะเรียกวามีตัวหนี้เปนวัตถุแหงสิทธิก็ได)
กลาวคือ หนี้กระทําการ-หนี้งดเวนกระทําการ-หนี้สงมอบทรัพย หรือสิทธิตาม
บรรพ 2 อื่นๆ เชน สิทธิกําหนดวันชําระหนี้ (สิทธิเรียกรองไมจําเปนตองเปนสิทธิ
ทางหนี้เสมอไป อาจเกิดจากความสัมพันธทางทรัพย 1336 สิทธิติดตามเอาคืน
หรือความสัมพันธทางครอบครัว สิทธิเรียกรองคาอุปการะเลี้ยงดูตามมาตรา
1461 หรือมาตรา 1563 สิทธิในการเรียกบุตรจากคนอื่น)
• สิทธิเสมือนทรัพยสิทธิ : สิทธิเกี่ยวกับผลประโยชนทางทรัพยบางอยาง ซึ่งมี
ลักษณะที่จะกีดกันไมใหผูอื่นผูไมใชผูทรงสิทธินั้นไดรับประโยชนเหลานั้น เชน
ประทานบัตรทําเหมืองแร สิทธิในการทําประมง สัมปทานตามกฎหมายพิเศษ
• สิทธิในสิ่งไมมีรูปราง หรือทรัพยสินทางปญญา เกิดจากความคิดของบุคคล จึง
เปนสิ่งที่ไมมรี ูปราง กฎหมายคุมครองคลายๆ เปนทรัพย เชน ลิขสิทธิ์
เครื่องหมายการคา สิทธิบัตร
ไมใชสิทธิบุคคลภาพ
• ก. ถูกเจาคณะบังคับใหสึกจากพระภิกษุ และเมื่อ
สึกแลวสังฆนายก ไดสั่งหามมิให ก.อุปสมบท
• เปนสิทธิสถานะ ตาม พรบ. คณะสงฆ พ.ศ. 2505
แบงตามคูกรณี
1) สิทธิเด็ดขาด (absolute) : ใชยันกับบุคคลทั่วไปไดทุก
คน เชน กรรมสิทธิ์ จํานอง จํานํา บุริมสิทธิ ทรัพยสิทธิ
ตามบรรพ 4 สิทธิตางๆ ในมาตรา 420 (สิทธิในชีวิต
รางกาย อนามัย ทรัพยสิน สิทธิอยางหนึ่งอยางใด ดูตาม
บริบทหมายถึงสิทธิเด็ดขาดนั่นเอง ตัวอยางสิทธิอยาง
หนึ่งอยางใด เชน สิทธิตามมาตรา 18 สิทธิในความ
เปนอยูสว นตัวตามรัฐธรรมนูญ)
2) สิทธิสมั พันธหรือสิทธิสัมผัส (relative) : ใชยันไดเฉพาะ
กับคนบางคนเทานั้น คือใชยันไดเฉพาะระหวางคูกรณี
เทานั้น เชน สิทธิทางหนี้ สิทธิเรียกรอง
แบงตามอาการใชสิทธิ
1) สิทธิมีอํานาจเหนือ (กอใหเกิดอํานาจแกผูถือสิทธิที่จะบังคับการใหเปนไปตามสิทธิ
ไดดวยตนเอง โดยไมตองพึ่งพาอาศัยอํานาจอื่นหรือบุคคลอื่น เชน สิทธิขดั ขวาง
ตามมาตรา 1336 สิทธิในภาระจํายอม สิทธิในทางจําเปน อํานาจปกครองบุตร)
2) สิทธิเรียกรอง (ตรงขามกับสิทธิมีอํานาจเหนือ เพราะไดแตเรียกรองใหกระทําตาม
หนาที่หรืองดเวนกระทําเทานั้น จะบังคับการโดยพลการไมได ตองไปใชสิทธิทาง
ศาล อาจมีมูลเหตุทางหนี้เชน ละเมิด สัญญา จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได
หรือทางครอบครัว เชน คาอุปการะเลี้ยงดู)
3) สิทธิปฏิเสธ (ปฏิเสธไมทําตามที่เรียกรอง เชน หนี้ขาดอายุความ สิทธิยึดหนวง)
4) สิทธิกอ ตั้ง (มีความชอบธรรมที่จะกระทําการฝายเดียว ไมตองรับความเห็นชอบ
ของอีกฝายหนึ่ง ทําใหเกิดผลโดยอัตโนมัติฝายเดียวโดยไมตองใหอีกฝายหนึ่ง
กระทําการอยางใด เชน สิทธิของผูแทนโดยชอบธรรมในการบอกลางนิติกรรมที่
เปนโมฆียะใหกลับคืนสูสถานะเดิม สิทธิบอกเลิกสัญญาเมื่อมีเหตุบอกเลิกสัญญา
ตามกฎหมาย สิทธิกําหนดวันเวลาชําระหนี้ตามมาตรา 204 )
วิชา มธ.122/น.100

บทที่ 4 คุณคาของกฎหมายในฐานะที่
เชื่อมโยงกับหลักคุณธรรมของประชาชน :
ความสําคัญของหลักสุจริต

รศ. ดร. สมเกียรติ วรปญญาอนันต


เหตุใดจึงกลาววาหลักสุจริตถือเปนคุณคาของกฎหมายในฐานะที่
เชื่อมโยงกับหลักคุณธรรมของประชาชน
• ขั้นแรกตองแยกแยะความแตกตางระหวางการใชสทิ ธิตามกฎหมาย
(กรณีปกติของการใชสิทธิ) กับการใชสทิ ธิในทางที่ผิด (abuse of
right) (กรณีผิดปกติ) ดังนั้น สําหรับคําถามที่วา “เมื่อมีสทิ ธิแลว
บุคคลจะใชสิทธิอยางไรก็ไดใชหรือไม” คําตอบคือ “ไมใช” ตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕ ในการใชสิทธิแหงตน
หรือในการชําระหนี้ บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต มิฉะนั้น ยอมไม
อาจใชสิทธิหรืออางสิทธิดงั กลาวได และตามมาตรา ๔๒๑ การใชสิทธิที่
มีแตจะใหเกิดเสียหายแกบุคคลอื่นนั้น เปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย
ซึ่งหลักเกณฑตามมาตรา ๔๒๑ นี้ แทจริงแลว ก็เปนสวนหนึ่งของหลัก
สุจริตอันเปนเปนหลักใหญในมาตรา ๕ นั่นเอง
บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต มิฉะนั้น ยอมไมอาจใชสิทธิหรือ
อางสิทธิดังกลาวได
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 13707/2558
• โจทกฟองขอใหบังคับจําเลยชําระเงิน 175,000 บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 15
ตอป ของตนเงิน 100,000 บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จแก
โจทก
• ศาลอุทธรณพิพากษาใหรับผิด 10,000 บาท
• ขอเท็จจริงฟงไดวา จําเลยกูยมื เงินโจทกเพียง 10,000 บาท แตโจทกบังคับใหจําเลย
ทําสัญญาวากูยืมเงินโจทกไป 100,000 บาท หากไมยอมทําสัญญา จะแจงเจา
พนักงานตํารวจจับกุมจําเลยในขอหาฉอโกง การที่โจทกบังคับใหจําเลยทําสัญญา
กูยืมเงิน 100,000 บาท ทั้งที่ความจริงกูยืมเงินกันเพียง 10,000 บาท เปนการใช
สิทธิโดยไมสุจริต โจทกจึงไมอาจแสวงหาผลประโยชนจากสัญญากูที่ทําขึ้นโดยไม
สุจริต ศาลฎีกาจึงพิพากษากลับ ใหยกฟองโจทก
• สรุป: กรณีผูใหกูบังคับใหผูกูทําสัญญากูยืมเงินมากกวาที่กูยมื กันจริงโดยขูวาจะฟอง
คดีอาญา เปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต ผูใหกูไมอาจฟองใหผูกูรับผิดตามสัญญากูได
ความสําคัญของหลักสุจริต
• หลักสุจริตใชปองกันมิใหบุคคลกลาวอางกฎหมายเปนประโยชนแกตนเองในทาง
ที่ผิด ในทางกฎหมายแพง เมื่อมีสิทธิแลว มิไดหมายความวา เมื่อมีสทิ ธิแลว
บุคคลจะใชสิทธิอยางไรก็ได ตรงกันขาม กลับมีเกณฑทั่วไปในทางภาววิสยั ที่
เปนบทครอบจักรวาลมากํากับความประพฤติของมนุษยเพื่อใหการใชสิทธิหรือ
หนาที่ของบุคคลเปนไปตามหลักสุจริตซึ่งเปนเกณฑในทางภาววิสัยของสังคม
• มาตรา 5 ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตอง
กระทําโดยสุจริต
• หลักสุจริตคือ “หลักแหงความซื่อสัตยและความไววางใจ” (Treu
und Glauben) หมายความวาบุคคลแตละคนตองมีความประพฤติ
ในทางที่สามารถแสดงออกถึงความซื่อสัตยตอกันและสามารถไววางใจ
ซึ่งกันและกันได
-

บทครอบจักรวาล
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2602/2543
• โจทกฟองวา °จําเลยออกเช็คธนาคารกรุงไทย จํากัด เพื่อชําระหนี้ที่มีอยูจริงและบังคับไดตาม
- ~

กฎหมายแทนบริษัทบางกอกพร็อพเพอรตี้เพอรเฟค จํากัด ให• แกโจทก เมื่อเช็คถึงกําหนด โจทกได


นําเช็คเขาบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงิน แตธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจายเงิน การกระทําของจําเลยเปน
_

การออกเช็คโดยมีเจตนาที่จะไมใหมีการใชเงินตามเช็ค ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติวาดวย
ความผิดอันเกิดจากการใชเช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4
• ศาลฎีกาวินิจฉัยวา "โจทกบรรยายฟองวา จําเลยสั่งจายเช็คแทนบริษัทบางกอกพร็อพเพอรตี้เพอร
เฟค จํากัด เพื่อชําระหนี้ที่มีอยูจริงและบังคับไดตามที่มีอยูตามกฎหมาย เปนชองทางใหโจทกไดรับ
ประโยชนแตเพียงฝายเดียวโดยไมคาํ นึงถึงความเสียหายที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะไดรับ เชนนี้ ยอม
เปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 5 ที่ศาลอุทธรณภาค
1 พิพากษายกฟองโจทกน้นั ชอบแลว ฎีกาโจทกฟงไมขึ้น“
• (ขอสังเกต : การที่เจาหนี้มสี ิทธิบังคับชําระหนี้เอากับทรัพยสินของลูกหนี้เมื่อลูกหนี้ผิดนัด แตไม
บังคับชําระหนี้ปลอยใหหนี้เพิ่มขึ้นมากมายแลวจึงมาบังคับชําระหนี้ โดยฟองเปนคดีอาญาเพื่อบีบ
บังคับใหชําระหนี้ เปนการใชสิทธิโดยไมสจุ ริต)
นิติวิธีและหลักสุจริตเกี่ยวของกับ “คุณคาของกฎหมายใน
ฐานะที่เชื่อมโยงกับหลักคุณธรรมของประชาชน” ไดอยางไร

• นิติวิธที ําใหการอางกฎหมายลายลักษณอักษรไมอาจอางเอา
เปรียบกันเพื่อประโยชนสวนตัวจนขัดหลักคุณธรรมที่
ประชาชนเขาใจ เพราะในระบบกฎหมายมีระบบวิธคี ิด
หลักการใชและการตีความกฎหมายใหเกิดความเปนธรรม
อยางเสมอภาคกัน
• หลักสุจริตใชปองกันมิใหบุคคลกลาวอางกฎหมายเปน
ประโยชนแกตนเองในทางที่ผิด
• ในการจัดทํารางกรอบหลักเกณฑรวมเพื่อใชอางอิงในการ
จัดทํากฎหมายวาดวยสัญญาของสหภาพยุโรป (DCFR: Draft
Common Frame of Reference) มีขอเสนอใหมกี ารให
ความหมายของหลักสุจริตในเรื่องเกี่ยวกับสัญญาวามีลักษณะ
เปนความประพฤติที่มีลักษณะสอดคลองกับความซื่อสัตย
ตรงไปตรงมา คํานึงถึงประโยชนของคูกรณีอกี ฝายหนึ่งในการ
ทําธุรกรรมหรือผูกนิติสัมพันธตอกันอีกดวย โปรดดู Jean Van
Zuylen, “Fautes, bonne foi et abus de droit:
convergences et divergences”, Annales de Droit de
Louvain, vol. 71, 2011, n.3
• ที่จริงกรณีตามมาตรา ๔๒๑ ก็อยูภายใตหลักสุจริตดวย เพียงแต
กฎหมายนําไปบัญญัติไวโดยเฉพาะเพื่อเนนความสําคัญไว
ตางหากเปนอีกบทหนึ่ง วาตองไมใชสทิ ธิในทางที่ผิด มิฉะนั้น
กฎหมายใหถือวาการกระทํานั้นไมชอบดวยกฎหมายและอาจ
ตองรับผิดหากครบองคประกอบเรื่องละเมิดตามมาตรา ๔๒๐
• มาตรา 421 การใชสิทธิซึ่งมีแตจะใหเกิดเสียหายแกบุคคลอื่นนั้น ทาน
วาเปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย
• มาตรา ๔๒๐ ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิด
กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี
เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทํา
ละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
• ในการทําความเขาใจปญหาการปรับใชหลักสุจริตเปนเครื่องมือใน
การใชและการตีความกฎหมาย สามารถพิจารณาไดจากการอาน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๐๐๔/๒๕๑๗, ๕๖๖/๒๕๒๔, ๗๗๓๒/
๒๕๔๘ และ๑๑๘๘/๒๕๔๙ และวิเคราะหวาในแตละคดี ศาลไดนํา
หลักสุจริตมาใชในลักษณะใด ตามที่จะไดกลาวถึงหลักเกณฑการ
ปรับใชหลักสุจริตในลําดับตอไป
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๐๐๔/๒๕๑๗
• ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๙, ๗๕, ๒๑๕, ๖๕๗, ๖๕๙, ๖๗๑, ๑๓๓๖
• โจทกฟอ งวา โจทกฝากรถยนตบรรทุกหมายเลขทะเบียน ก.ท.ผ. ๑๗๔๒ ราคา ๕๗,๕๐๐
บาทไวในความดูแลของจําเลย รถหายไป ขอใหศาลบังคับใหจําเลยใชคาเสียหาย
๕๗,๕๐๐ บาทพรอมดวยดอกเบี้ยนับแตวนั ฟอง
• จําเลยใหการวา โจทกเชารถมาจากผูอื่น โจทกไมมีอํานาจฟอง จําเลยไมเคยรับฝากรถ
จากโจทก จําเลยไมมีวัตถุประสงคในการรับฝากรถ คดีโจทกขาดอายุความ
• ศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยใชเงิน ๔๕,๐๐๐ บาท พรอมดวยดอกเบี้ยรอยละ ๗ ครึ่งนับ
แตวนั ฟอง
• จําเลยอุทธรณ
• ศาลอุทธรณพิพากษายืน
• จําเลยฎีกา
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๐๐๔/๒๕๑๗
• ปญหาที่วา จําเลยไดรับฝากรถจากโจทกหรือไม ศาลฎีกาฟงวานาย
กฤษณะผูจัดการจําเลยอนุญาตใหโจทกจอดรถที่ปมจําเลยและใหมอบ
กุญแจไวกับคนงานของจําเลย จึงเปนที่เห็นไดวาโจทกมอบรถใหอยูใน
ความดูแลของจําเลย แมจําเลยจะไมไดรับบําเหน็จตอบแทน ก็หาพน
ความรับผิดในฐานผูรับฝากไม
• ปญหาที่วา จําเลยประมาทเลินเลอทําใหรถยนตโจทกสูญหายหรือไม ศาล
ฎีกาเห็นวาคนงานของจําเลยใหรถแกคนอื่นไปโดยมิไดตรวจดูหนังสือที่มีผู
นํามาขอรับรถใหดีเสียกอนวาเปนลายมือชื่อโจทกหรือไม ทั้ง ๆ ที่คนขาย
น้ํามันของจําเลยจําลายมือชื่อโจทกได เชนนี้ เปนการประมาทเลินเลอ
อยางรายแรง จําเลยจึงตองรับผิดใชคืนแกโจทก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๐๐๔/๒๕๑๗
• ปญหาที่วา จําเลยไมมีวัตถุประสงคในการรับฝากรถ จะตองรับผิดตอ
โจทกหรือไม ศาลฎีกาเห็นวากรณีน้เี ปนเรื่องโจทกเรียกเอาทรัพยที่ฝาก
ไวกับจําเลยคืน ดังนั้น ไมวาจําเลยจะมีวัตถุประสงคในการดําเนินการ
ประการใด จําเลยมีหนาที่จะตองคืนใหโจทก จะอางวาผิดวัตถุประสงค
ไมได
• ปญหาเรื่องอายุความ ศาลฎีกาเห็นวาแมตามฟองโจทกจะเรียกเอา
คาเสียหาย แตโจทกเรียกรองเอาเทากับราคารถยนต จึงเปนการเรียกเอา
ทรัพยที่ฝากคืนนั่นเอง เมื่อรถสูญหายไป โจทกจงึ เรียกราคาแทนคดีโจทก
จึงไมขาดอายุความ
• พิพากษายืน
หมายเหตุ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (อัพเดต ณ วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๔๙๖)
http://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=326942&ext=htm
• มาตรา ๖๙ นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่ตาง ๆ ตองตามบทบัญญัติทั้ง
ปวงแหงกฎหมายภายในขอบวัตถุที่ประสงคของตน ดังมีกาํ หนดไวใน
ขอบังคับหรือตราสารจัดตั้ง
• มาตรา ๗๕ อันความประสงคของนิตบิ ุคคลนั้น ยอมแสดงปรากฏจาก
ผูแทนทั้งหลายของนิติบุคคลนั้น
• มาตรา ๒๑๕ เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ใหตองตามความประสงคอันแทจริง
แหงมูลหนี้ไซร เจาหนี้จะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอัน
เกิดแตการนั้นก็ได
• มาตรา ๖๕๗ อันวาฝากทรัพยนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกวาผูฝาก สงมอบ
ทรัพยสนิ ใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกวาผูรับฝาก และผูรับฝากตกลงวาจะเก็บ
รักษาทรัพยสินนั้นไวในอารักขาแหงตน แลวจะคืนให
• มาตรา ๖๕๙ ถาการรับฝากทรัพยเปนการทําใหเปลาไมมีบําเหน็จไซร ทานวาผูรบั
ฝากจําตองใชความระมัดระวังสงวนทรัพยสินซึ่งฝากนั้นเหมือนเชนเคยประพฤติใน
กิจการของตนเอง
• ถาการรับฝากทรัพยนั้นมีบําเหน็จคาฝาก ทานวาผูรับฝากจําตองใชความระมัดระวัง
และใชฝมือเพื่อสงวนทรัพยสินนั้นเหมือนเชนวิญูชนจะพึงประพฤติโดยพฤติการณ
ดั่งนั้น ทั้งนี้ยอมรวมทั้งการใชฝมืออันพิเศษเฉพาะการในที่จะพึงใชฝม ือเชนนั้นดวย
• ถาและผูรบั ฝากเปนผูมีวิชาชีพเฉพาะกิจการคาขาย หรืออาชีวะอยางหนึ่งอยางใด
ก็จําตองใชความระมัดระวังและใชฝม อื เทาที่เปนธรรมดาจะตองใชและสมควร
จะตองใชในกิจการคาขายหรืออาชีวะอยางนั้น
• มาตรา ๖๗๑ ในขอความรับผิดเพื่อใชเงินบําเหน็จคาฝากทรัพยก็ดี ชดใช
เงินคาใชจา ยก็ดี ใชคา สินไหมทดแทนเกี่ยวแกการฝากทรัพยก็ดี ทานหาม
มิใหฟองเมื่อพนเวลาหกเดือนนับแตวันสิ้นสัญญา
• มาตรา ๑๓๓๖ ภายในบังคับแหงกฎหมาย เจาของทรัพยสินมีสิทธิใชสอย
และจําหนายทรัพยสินของตนและไดซึ่งดอกผลแหงทรัพยสินนั้น กับทั้งมี
สิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไมมีสทิ ธิจะยึดถือ
ไว และมีสิทธิขัดขวางมิใหผูอื่นสอดเขาเกี่ยวของกับทรัพยสินนั้นโดยมิชอบ
ดวยกฎหมาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๖๖/๒๕๒๔
• ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๖๙, ๘๒๑
• โจทกฟองวา จําเลยเปนนิติบคุ คลและเปนเจาสังกัดของกองสวัสดิการ
โจทกทําสัญญาเชาซื้อที่ดินมีโฉนดหนึ่งแปลงกับกองสวัสดิการและชําระ
คาเชาซื้อครบถวนแลว แตจําเลยไมโอนกรรมสิทธิ์ใหตามสัญญาจึงขอให
ศาลพิพากษาและบังคับใหจําเลยโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกลาวหรือชดใช
คาเสียหาย
• จําเลยใหการวา จําเลยไมไดรว มกับกองสวัสดิการทําสัญญาเชาซื้อกับ
โจทก ไมมีนิติสมั พันธใด ๆ กับโจทก และจําเลยไมมีวัตถุประสงค และ
อํานาจหนาที่ในการใหเชาซื้อที่ดนิ หรือรูแลวยอมใหกองสวัสดิการเชิด
ตัวเองออกเปนตัวแทนของจําเลยในการเชาซื้อที่ดิน จําเลยจึงไมตองรับผิด
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๖๖/๒๕๒๔
• ศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยโอนกรรมสิทธิ์ที่ดนิ พิพาทใหแกโจทกถา โอนไมไดใหชดใช
คาเสียหาย
• จําเลยอุทธรณ
• ศาลอุทธรณพิพากษายืน
• จําเลยฎีกา
• ศาลฎีกาวินิจฉัยวา กอนจัดสรรที่ดินพิพาท กองสวัสดิการดวยการรูเห็นยินยอมของจําเลย เคย
จัดสรรที่ดินแหงอืน่ ใหประชาชนโดยทั่ว ๆ ไปทําสัญญาเชาซื้อ เมื่อผูเชาซื้อชําระราคาครบถวน
กองสวัสดิการก็ไดทําการโอนกรรมสิทธิ์ใหทุกราย สําหรับที่ดินพิพาทรายนี้ กอนที่จะนําออก
จัดสรรไดประกาศโฆษณาใหประชาชนไดทราบโดยเปดเผย โจทกเชื่อโดยสุจริตวากอง
สวัสดิการมีอํานาจหนาที่ในการจัดสรรที่ดินใหเชาซื้อได จึงไดทําสัญญาเชาซื้อกับกอง
สวัสดิการและไดชาํ ระเงินจนครบถวน แตกองสวัสดิการไมสามารถโอนที่พิพาทใหแกโจทกได
เพราะเจาหนาที่ทุจริต กรมตํารวจจําเลยจึงมีคําสั่งใหกองสวัสดิการรีบดําเนินการโอน
กรรมสิทธิ์ใหแกโจทกและผูเ ชาซื้อที่ชําระราคาที่ดินครบถวน ดังนี้ กรมตํารวจจําเลยจะปฏิเสธ
วา ไมรูและยินยอมใหกองสวัสดิการเชิดตัวเองออกแทนกรมตํารวจในการทําสัญญาเชาซื้อหา
ไดไม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๖๖/๒๕๒๔
• เมื่อกรมตํารวจจําเลยรูและยินยอมใหกองสวัสดิการซึ่งเปน
หนวยงานในสังกัดทําสัญญาเชาซื้อกับโจทกแทน และไดรับ
ผลประโยชนตอบแทนดวย ดังนี้จะปฏิเสธความรับผิดชดใช
คาเสียหายแกโจทกเพราะเหตุกองสวัสดิการผิดสัญญาโดยอาง
วาเปนเรื่องนอกวัตถุประสงคและนอกเหนืออํานาจหนาที่หาได
ไม
• พิพากษายืน
หมายเหตุ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
• มาตรา ๖๙ นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่ตาง ๆ ตองตาม
บทบัญญัติทั้งปวงแหงกฎหมายภายในขอบวัตถุที่ประสงคของตน
ดังมีกําหนดไวในขอบังคับหรือตราสารจัดตั้ง
• มาตรา ๘๒๑ บุคคลผูใดเชิดบุคคลอีกคนหนึ่งออกแสดงเปน
ตัวแทนของตนก็ดี รูแลวยอมใหบุคคลอีกคนหนึ่งเชิดตัวเขาเอง
ออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี ทานวาบุคคลผูน้นั จะตองรับผิด
ตอบุคคลภายนอกผูสุจริตเสมือนวาบุคคลอีกคนหนึ่งนั้นเปน
ตัวแทนของตน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๗๗๓๒/๒๕๔๘
• ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๘๗
• โจทกฟองวา จําเลยที่ ๑ โดยจําเลยที่ ๒ ทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินหนังสือรับรอง
การทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ที่พิพาท พรอมสิ่งปลูกสรางกับโจทกในราคา
๑,๐๕๐,๐๐๐ บาท โจทกไดชําระเงินใหแกจําเลยที่ ๑ ติดตอกันรวม ๑๑ งวด แต
จําเลยที่ ๑ กอสรางอาคารเพียงบางสวนและหยุดกอสรางจนถึงปจจุบันเปนเวลา ๓
ป โจทกติดตามทวงถามใหจําเลยที่ ๑ กอสรางอาคาร แตจําเลยที่ ๑ ไมดําเนินการ
โจทกไมประสงคจะซื้อที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางตอไปจึงบอกเลิกสัญญา และให
จําเลยทั้งสองรวมกันชําระเงิน ๒๒๒,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕
ตอป แตจําเลยทั้งสองไมชําระทําใหโจทกไดรับความเสียหาย ขอใหบังคับจําเลยทั้ง
สองรวมกันชําระเงิน ๒๒๒,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับ
ถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จแกโจทก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๗๗๓๒/๒๕๔๘
• จําเลยที่ ๑ ใหการวา จําเลยที่ ๑ ทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินและสิ่งปลูกสราง
กับโจทก แตโจทกไมชําระเงินใหแกจําเลยที่ ๑ ตามที่กําหนดไวในสัญญา เปน
เหตุใหการกอสรางอาคารตองหยุดลง โจทกไมมีอาํ นาจบอกเลิกสัญญาโดยไม
บอกกลาวใหจําเลยที่ ๑ กอสรางอาคารภายในเวลาพอสมควรกอนการบอกเลิก
จึงเปนการไมชอบ ขอใหยกฟอง
• จําเลยที่ ๒ ใหการ ขอใหยกฟอง
• ศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยที่ ๑ ชําระเงิน ๒๒๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย
อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟอง (ฟองวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๓)
จนกวาจะชําระเสร็จแกโจทก ใหจําเลยที่ ๑ ยกฟองโจทกสาํ หรับจําเลยที่ ๒
• จําเลยที่ ๑ อุทธรณ
• ศาลอุทธรณภาค ๙ พิพากษายืน
• จําเลยที่ ๑ ฎีกา
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๗๗๓๒/๒๕๔๘
• ศาลฎีกาวินิจฉัยวา "ขอเท็จจริงเบื้องตนรับฟงเปนยุติไดวา โจทกไดทาํ สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพรอม
สิ่งปลูกสรางจากจําเลยที่ ๑ ในราคา ๑,๐๕๐,๐๐๐ บาท โจทกชําระคางวดใหจําเลยที่ ๑ รวม ๑๑
งวด ตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๓๙ ถึงเดือน พฤศจิกายน ๒๕๓๙ รวมเงินที่โจทกชําระใหจําเลยที่ ๑ เปน
เงิน ๒๒๒,๐๐๐ บาท ตอมาโจทกไดบอกเลิกสัญญาและใหจําเลยที่ ๑ คืนเงินใหแกโจทก คดีมีปญหา
ตองวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยที่ ๑ วา โจทกบอกเลิกสัญญาจะซื้อจะขายโดยชอบดวยกฎหมาย
หรือไม และจําเลยที่ ๑ เปนฝายผิดสัญญาหรือไม เห็นวา ฝายโจทกมีโจทกอางตนเองเปนพยานเบิก
ความยืนยันวา หลังจากโจทกชาํ ระเงินคาจอง คามัดจําและคางวดจํานวน ๑๑ งวด รวมเปนเงินทั้งสิ้น
๒๒๒,๐๐๐ บาท แลว จําเลยที่ ๑ ไมไดกอสรางอาคารใหแลวเสร็จจนปจจุบันนี้ พยานไดติดตอจําเลย
ที่ ๑ ตลอดมา แตจําเลยที่ ๑ ผัดผอนและไมไดกอสรางอีก พยานจึงหยุดชําระเงินตั้งแตงวดที่ ๑๒ เปน
ตนมา พยานตกลงกับจําเลยที่ ๑ ดวยวาจาวา อาคารที่จะซื้อจะขายจะเสร็จประมาณเดือนมกราคม
๒๕๔๐ แตจําเลยที่ ๑ ไมปฏิบตั ิตามสัญญา พยานจึงใหทนายความมีหนังสือบอกเลิกสัญญาและเรียก
เงินคืนจากจําเลยที่ ๑ จําเลยที่ ๑ ไดรับหนังสือดังกลาวแลวยังคงเพิกเฉยไมไดติดตอกับโจทกอีกเลย
ทั้งยังไดความจากจําเลยที่ ๒ นายวิทยา งานทวี และคําเบิกความของนายอุดมประทีป ณ ถลาง ในคดี
หมายเลขดําที่ ๔๒๘/๒๕๔๓ ของศาลชั้นตน สอดคลองตองกันและรับกับคําเบิกความของโจทกอีก
ดวยวา หลังจากโจทกชําระเงินคางวดที่ ๑๑ ใหแกจําเลยที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ แลว
นายอุดม ประทีป ซึ่งเปนผูรับเหมากอสรางอาคารพิพาทกับจําเลยที่ ๑ ไดหยุดกอสรางอาคารพิพาท
ซึ่งอยูในงานชวงที่ ๒ ประมาณเดือนกุมภาพันธ ๒๕๔๑ จนกระทั่งปจจุบันนี้ เนื่องจากจําเลยที่ ๑ แจง
ใหรอการกอสรางไวกอนเพราะมีปญหาเรื่องการเงิน ..
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๗๗๓๒/๒๕๔๘
• .. ขอเท็จจริงจึงฟงไดวาหลังจากโจทกชําระเงินงวดที่ ๑๑ ใหแกจําเลยที่ ๑ แลวโจทก
ไมไดชําระเงินสวนที่เหลือใหแกจําเลยที่ ๑ เนื่องจากจําเลยที่ ๑ กอสรางอาคารพิพาท
ไมแลวเสร็จจนปจจุบันนี้เพราะมีปญหาเรื่องการเงิน กรณีจึงเปนที่เห็นไดอยางชัดแจง
วา โดยพฤติการณแหงคดีหรือโดยสภาพหรือโดยเจตนาของจําเลยที่ ๑ นั้น จําเลยที่
๑ ไมประสงคจะปฏิบัติตามสัญญาแลว จึงไมมีเหตุผลอยางใดที่โจทกจะตองบอก
กลาวกําหนดเวลาใหจําเลยที่ ๑ กอสรางอาคารพิพาทตอไปอีก เพราะถึงอยางไร
จําเลยที่ ๑ ก็ไมทําการกอสรางอาคารพิพาทตอไปอันเปนการไมชําระหนี้อยูดีและหาก
ยังคงใหโจทกตองชําระเงินสวนที่เหลือใหแกจําเลยที่ ๑ อีกยอมเปนการยังความ
เสียหายแกโจทกเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น โจทกจึงชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเสียไดโดยไม
จําตองบอกกลาวกําหนดระยะเวลาพอสมควรใหจําเลยที่ ๑ กอสรางอาคารพิพาทให
แลวเสร็จอีก การบอกเลิกสัญญาของโจทกจึงชอบแลว และถือไดวาจําเลยที่ ๑ ผิด
สัญญาจะซื้อจะขายตอโจทก ที่ศาลชั้นตนและศาลอุทธรณภาค ๙ พิพากษาใหจําเลย
ที่ ๑ ชําระหนี้ใหแกโจทกชอบแลว ศาลฎีกาเห็นพองดวย ฎีกาของจําเลยที่ ๑ ฟงไม
ขึ้น"
• พิพากษายืน
หมายเหตุ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
• มาตรา ๓๘๗ ถาคูสัญญาฝายหนึ่งไมชําระหนี้ อีกฝายหนึ่ง
จะกําหนดระยะเวลาพอสมควร แลวบอกกลาวใหฝายนั้น
ชําระหนี้ภายในระยะเวลานั้นก็ได ถาและฝายนั้นไมชําระหนี้
ภายในระยะเวลาที่กําหนดใหไซร อีกฝายหนึ่งจะเลิกสัญญา
เสียก็ได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๘๘/๒๕๔๙
• ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๙๑
• โจทกฟองวา โจทกทําสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินพรอมอาคารและไดชําระเงินในวัน
จองและวันทําสัญญา กับไดผอนชําระคาที่ดินรายเดือนอีก ๔๔ งวด รวมเปนเงิน
ทั้งสิ้น ๑,๔๙๓,๘๐๐ บาท ใหแกจําเลยตามสัญญาแลว แตจําเลยไมดําเนินการ
กอสรางอาคารใหแลวเสร็จภายในกําหนดตามสัญญา โจทกจึงมีหนังสือบอกเลิก
สัญญาแกจําเลย จําเลยตองคืนเงินที่รับไวทั้งหมด พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕
ตอป นับแตวันที่จําเลยไดรับเงินจากโจทกครั้งสุดทาย ขอใหบังคับจําเลยชําระเงิน
๑,๘๒๙,๙๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับถัดจากวันฟอง
จนกวาจะชําระเสร็จแกโจทก
• จําเลยใหการวา จําเลยไมไดเปนฝายผิดสัญญา โจทกไมไดบอกกลาวกําหนดเวลาให
จําเลยปฏิบตั ิตามสัญญากอนบอกเลิกสัญญาเปนการบอกเลิกสัญญาโดยไมชอบ
ขอใหยกฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๘๘/๒๕๔๙
• ศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยชําระเงินจํานวน ๑,๔๙๓,๘๐๐ บาท พรอม
ดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๔๐ เปนตน
ไปจนกวาจะชําระเสร็จแกโจทก แตดอกเบี้ยคํานวณถึงวันฟอง (ฟองวันที่
๑๕ กันยายน ๒๕๔๓) ตองไมเกิน ๓๓๖,๑๐๕ บาท
• จําเลยอุทธรณ
• ศาลอุทธรณพิพากษายืน
• จําเลยฎีกา
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๑๘๘/๒๕๔๙
• ศาลฎีกาวินิจฉัยวา "ขอเท็จจริงฟงไดเปนยุติโดยคูความมิไดโตเถียงกันวา จําเลย
กอสรางอาคารไมเสร็จตามเวลาที่กําหนดไวในสัญญา และจนถึงเวลาที่โจทกมี
หนังสือบอกเลิกสัญญาไปยังจําเลย จําเลยก็ยังกอสรางอาคารไมแลวเสร็จ
พฤติการณเชนนี้โจทกหาจําตองบอกกลาวกําหนดเวลาใหจําเลยชําระหนี้กอ น
บอกเลิกสัญญาไมเพราะถึงอยางไรจําเลยก็ไมอาจหรือไมมีเจตนาที่จะชําระหนี้
ใหถูกตองตามสัญญาไดอยูดี โจทกชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเสียไดโดยไมจําตอง
บอกกลาวกอน การบอกเลิกสัญญาของโจทกชอบแลว เมื่อสัญญาเลิกกันคูสัญญา
แตละฝายจําตองใหอีกฝายหนึ่งไดกลับคืนสูฐานะดังที่เปนอยูเดิม จําเลยจึงตองคืน
เงินที่ไดรับไวและเสียดอกเบี้ยแกโจทกดวยนับแตเวลาที่ไดรับไวตามกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๓๙๑ ที่ศาลอุทธรณวินิจฉัยในประเด็นขอนี้มานั้น ศาลฎีกา
เห็นพองดวยในผล ฎีกาของจําเลยฟงไมขึ้น"
• พิพากษายืน
หมายเหตุ
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
• มาตรา ๓๙๑ เมื่อคูสัญญาฝายหนึ่งไดใชสิทธิเลิกสัญญาแลว คูสัญญาแต
ละฝายจําตองใหอีกฝายหนึ่งไดกลับคืนสูฐานะดังที่เปนอยูเดิม แตทั้งนี้จะ
ใหเปนที่เสื่อมเสียแกสิทธิของบุคคลภายนอกหาไดไม
• สวนเงินอันจะตองใชคืนในกรณีดังกลาวมาในวรรคตนนั้น ทานใหบวก
ดอกเบี้ยเขาดวย คิดตั้งแตเวลาที่ไดรับไว
• สวนที่เปนการงานอันไดกระทําใหและเปนการยอมใหใชทรัพยนั้น การที่
จะชดใชคืน ทานใหทําไดดวยใชเงินตามควรคาแหงการนั้น ๆ หรือถาใน
สัญญามีกําหนดวาใหใชเงินตอบแทน ก็ใหใชตามนั้น
• การใชสิทธิเลิกสัญญานั้นหากระทบกระทั่งถึงสิทธิเรียกรองคาเสียหายไม
หลักสุจริตในที่นี้หมายถึงหลักสุจริตทั่วไปตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๕
• หลักสุจริตมีอยู ๒ แงมุม
– ในแงภาววิสัย(objective) =หลักสุจริตทั่วไป
• เปนหลักใหญในระบบกฎหมาย ถือเปนบทครอบจักรวาลใชกํากับความ
ประพฤติของมนุษยในสังคมเมื่อมีการใชสิทธิหรือมีการชําระหนี้ (มาตรา
๕)
– ในแงอัตวิสัย(subjective) = หลักสุจริตเฉพาะเรื่อง
• เปนเรื่องสภาพจิตใจของผูกระทําวารูหรือไมรูขอเท็จจริง ซึ่งอาจมีผล
ทางกฎหมายแตกตางกันขึ้นอยูกับวากระทําโดยสุจริตหรือกระทําโดยไม
สุจริต ใชกันในกฎหมายลักษณะทรัพยและในกฎหมายอื่น
หลักสุจริตทั่วไป
• หลักสุจริตคือ “หลักแหงความซื่อสัตยและความไววางใจ”
(Treu und Glauben) หมายความวาบุคคลแตละคนตองมี
ความประพฤติในทางที่สามารถแสดงออกถึงความซื่อสัตยตอกัน
และสามารถไววางใจซึ่งกันและกันได
• หลักนี้ ศาลเริ่มนํามาใชมากขึ้นเรื่อยๆ ในแตละประเทศ และ
สามารถใชอุดชองวางหรือในกรณีที่เปนที่สงสัยเมื่อพิจารณาถึง
“ตัวบทกฎหมาย” ในมาตราตางๆ ที่บัญญัติไวไดเปนอยางดี
(ระบบบูรณาการในกฎหมายมีมานานแลว และสามารถนํามา
ปรับใชไดเสมอ)
หลักสุจริตทั่วไป
• มาตรา 5 ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคล
ทุกคนตองกระทําโดยสุจริต
• มาตรา 6 ใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลทุกคนกระทําการโดย
สุจริต
• มาตรา 11 ในกรณีที่มีขอสงสัย ใหตีความไปในทางที่เปนคุณ
แกคูกรณีฝายซึ่งจะเปนผูตองเสียในมูลหนี้นั้น
• มาตรา 368 สัญญานั้นทานใหตีความไปตามความประสงค
ในทางสุจริต โดยพิเคราะหถงึ ปกติประเพณีดวย
หลักสุจริตทั่วไป : ภารกิจ ๔ ดาน
1) เปนเกณฑกํากับในการชําระหนี้ตามสัญญา
2) เปนหนาที่ขางเคียงของคูสัญญานอกเหนือไปจากกรณีที่ไดตกลงกัน
โดยชัดแจงไวแลวในสัญญา เชน หนาที่ในการใหคําแนะนําวาถาตอ
เรือตามแบบแลวจะไมเปนไปตามประโยชนใชสอยที่ผวู าจางตองการ
3) เปนขอจํากัดการใชสิทธิตามสัญญามิใหใชสิทธิในทางไมสุจริต เพื่อ
ปรับความสมดุลระหวางคูสัญญาใหเกิดขึ้นอยางแทจริง
4) เปนที่มาของสิทธิในการเปลี่ยนแปลงไมตองปฏิบัติตามสัญญาที่ตก
ลงไวแตเดิมหากมีสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปโดยไมสามารถ
คาดหมายได (clausula rebus sic stantibus) เชน ประมวล
กฎหมายแพงโปรตุเกส มาตรา ๔๓๗ สําหรับศาลเยอรมันใชหลัก
สุจริตมานานแลวสําหรับกรณีคาเงินมารคชวงหลังสงครามและกรณี
การรวมเยอรมันตะวันออก
เปนเกณฑกาํ กับในการชําระหนี้ตามสัญญา
ตามที่จะไดศึกษาจากตัวอยางในคํา
พิพากษาตางๆ ที่จะกลาวตอไป
เปนหนาที่ขางเคียงของคูสัญญานอกเหนือไปจากกรณีที่ไดตกลงกันโดย
ชัดแจงไวแลวในสัญญา
• ในประเทศฝรั่งเศส แตเดิม มีการบัญญัติกฎหมายกําหนดเปนหนาที่ขางเคียงในการให
ขอมูลตามบทกฎหมายเฉพาะของผูมีวิชาชีพตามหลักกฎหมายพิเศษเฉพาะเรื่องเฉพาะราว
เปนเรื่องๆ ไป เชน หนาที่ในการใหขอมูลของผูประกอบการตอผูบริโภคตามประมวล
กฎหมายผูบริโภค มาตรา L111-1 ถึงมาตรา L111-3 หนาที่ของผูผลิตในสัญญาซื้อขาย
สินคาที่ใหสทิ ธิเสนอขายเปนกรณีพิเศษตามประมวลกฎหมายพาณิชย มาตรา L330-3
มาตรา R330-1 และมาตรา R330-2 หนาที่ของอนุญาโตตุลาการตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง มาตรา ๑๔๕๖ วรรคสอง และมาตรา ๑๕๐๖ วรรคสอง เปนตน ตอมา
ในยุคปจจุบนั ไดมีการออกรัฐกําหนดเลขที่ ๒๐๑๖-๑๓๑ ลงวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ ค.ศ.
๒๐๑๖ วางหลักเกณฑเพิ่มเติมในประมวลกฎหมายแพง มาตรา ๑๑๑๒-๑ กําหนดเปน
หนาที่กอ นสัญญาในการใหขอมูลแกคูกรณีอีกฝายหนึ่งในลักษณะที่เปนหลักเกณฑทั่วไป
เพื่อปรับใชในกรณีตา งๆ เปนการทั่วไปแลว ตั้งแตขั้นตอนการเจรจาตอรองหรือขัน้ ตอน
กอนสัญญาที่จะนําไปสูข้นั ตอนการทําสัญญาตอกันตอไปในอนาคต ดังนั้น ในปจจุบัน จึงได
มีพัฒนาการในระบบกฎหมายฝรั่งเศสที่มกี ารใชหลักสุจริตเปนฐานของความรับผิดกอน
สัญญา (pre-contract) และนําไปสูการบัญญัติกฎหมายลายลักษณอกั ษรตามมานั่นเอง
เปนขอจํากัดการใชสิทธิตามสัญญามิใหใชสิทธิในทางไมสุจริต
เพื่อปรับความสมดุลระหวางคูสัญญาใหเกิดขึ้นอยางแทจริง
• กรณีตัวอยางของประเทศฝรั่งเศสจํานวน ๓ กรณีศึกษาดังนี้
1. ในการชําระหนี้ตามสัญญาคูสัญญาทุกฝายลวนมีหนี้ท่ตี องชําระ
หนี้ตอกันโดยมีหนาที่เตือนหรือแจงใหอกี ฝายหนึ่งไดทราบถึง
ขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการชําระ
หนี้ของตน
2. คูกรณีมีหนาที่ใหความรวมมือกันในกรณีที่เปนสัญญาที่ไมสมดุล
3. คูสัญญามีหนาที่เจรจากันใหมในกรณีที่มีเหตุการณใหมเกิดขึ้นใน
ภายหลังที่ไมอาจคาดหมายไดในขณะทําสัญญา
ตัวอยางที่หนึ่ง
• ศาลยุติธรรมสูงสุดของประเทศฝรั่งเศสตัดสินตามหลักสุจริตวาในการชําระหนี้ตามสัญญา
คูสญ
ั ญาทุกฝายลวนมีหนี้ที่ตองชําระหนี้ตอกันโดยมีหนาที่เตือนหรือแจงใหอีกฝายหนึ่งได
ทราบถึงขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการชําระหนี้ของตนใน
ลักษณะเดียวกับที่มหี ลักเกณฑตามกฎหมายเฉพาะเชนในเรื่องการลงทุนทางการเงิน โดย
กําหนดเปนหลักเกณฑที่มีลักษณะทั่วไปดวย ไมจํากัดเพียงในลักษณะเฉพาะเทานั้น
เนื่องจากเปน°
หนาที่ขั้นต่ําที่จะตองแจงคูสญ
ั ญาใหทราบถึงขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่
เปลี่ยนแปลงไปซึ่งอาจมีผลกระทบถึงการปฏิบัติการชําระหนี้ตามสัญญาหรืออาจเปนเหตุให
การชําระหนี้มีขอบกพรองเกิดขึ้นได เชนในกรณีทo ี่ผูใหเชาที่พักอาศัยซึ่งอาจเรียกเก็บคาใช

O_O
น้ําประปาจากผูเชาตามหลักเกณฑปกตินั้น เมื่อผูใหเชาไมแจงรายละเอียดของผูเชาจํานวน
สองอาคารจากจํานวนทั้งหมดนับสิบอาคารอันเปนเหตุใหมคี าใชจายทบทวีคณ
◦ ู เปน
เวลานานจนกระทั่งคดีใกลจะขาดอายุความการประปาฯ จึงเรียกเก็บคาใชน้ําประปา
ทั้งหมดรวมทั้งคาปรับชําระหนี้ลา ชา Onrvld
ผูใหเชาไมอาจเรียกเก็บคาใชน้ําและคาปรับจากผูเชา
ทั้งสองอาคารนั้นไดอีก
ตัวอยางที่สอง
• เพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางคูสัญญาและเกิดผลความพอใจ
ในการไดรับชําระหนี้ของคูสัญญาทุกฝาย ศาลฝรั่งเศสไดใชหลัก
สุจริตเปนแนวทางวินิจฉัยวาคูกรณีมีหนาที่ใหความรวมมือกัน
ในกรณีที่เปนสัญญาที่ไมสมดุล และในเวลาตอมา จึงไดมีการ
แกไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๑๓๔ วรรคสามแหงประมวลกฎหมาย
แพงฝรั่งเศสเพื่อใหสอดคลองกับแนวทางดังกลาว
ตัวอยางที่สาม
• ในกรณีที่มีเหตุการณใหมเกิดขึ้นในภายหลังที่ไมอาจคาดหมาย
ไดในขณะทําสัญญา ศาลยุติธรรมสูงสุดของประเทศฝรั่งเศส
ตัดสินโดยขยายความหลักสุจริตใหคูสัญญามีหนาที่เจรจากัน
ใหมในกรณี clausula rebus sic stantibus ในคดี Huard
และคดี Chevassus-Marche หลังจากที่ศาลฝรั่งเศสจํากัดที่
ใชของหลักการนี้เฉพาะในเรื่องกฎหมายปกครองเทานั้น แตไม
ยอมปรับใชหลักการ clausula rebus sic stantibus ในเรื่อง
ทางกฎหมายแพงมานานถึงเกือบ ๑๕๐ ป
คดี Huard
• ในคดีน้ี ศาลตัดสินวาบริษัทน้ํามันมิไดกระทําการโดยสุจริตกับ
คูสัญญาซึ่งเปนผูประกอบกิจการปมน้ํามัน ขอเท็จจริงปรากฏวา
สัญญาระหวางบริษัทน้ํามันและประกอบกิจการปมน้ํามันมี
กําหนด ๑๕ ป ตั้งแตป ๑๙๗๓ ถึงป ๑๙๘๘ ตอมาในป ๑๙๘๓
มีการประกาศลอยตัวราคาน้ํามันขายปลีก แตบริษทั น้ํามันไม
ยอมเจรจาใหม ยังคงยืนยันใชหลักเกณฑเดิมตามที่กาํ หนดใน
สัญญา เปนเหตุใหผูประกอบกิจการปมน้ํามันไดรับความ
เสียหาย เนื่องจากไมอาจขายน้ํามันในราคาที่สามารถแขงขัน
กับผูประกอบการรายอื่นได
คดี Chevassus-Marche
• ในคดีนี้ ศาลตัดสินวา สัญญาระหวางผูผลิตสินคาโยเกิรต
เบียร และน้ําแรเครื่องหมายการคาหนึ่งกับตัวแทน
จําหนายไดกําหนดสิทธิและหนาที่ของคูสัญญาไว แต
ตอมา เมื่อมีการประกาศใชบังคับกฎหมายการแขงขันทาง
การคาโดยเสรี คูสัญญาฝายผูผลิตไดดําเนินการขายสินคา
โดยตรงแกรานคาปลีก โดยไมเปดชองใหมีมาตรการเชิง
รูปธรรมใหตัวแทนจําหนายซึ่งเปนคูสัญญามาแตเดิมมี
ชองทางทําการคาโดยมีราคาที่สามารถแขงขันได
หลักสุจริตทั่วไป ยังมีที่ใชครอบคลุมไปถึงกรณีตางๆ
โดยทั่วไปทั้งระบบกฎหมาย
• ในตางประเทศ ใชหลักสุจริตเปนฐานของความรับผิดกอนสัญญา (pre-
contract) เชน ประมวลกฎหมายแพงอิตาเลียน มาตรา ๑๓๓๗ ประมวล
กฎหมายแพงโปรตุเกส มาตรา ๒๒๗ สวนในประเทศฝรั่งเศสไมมีบทบัญญัติ
เฉพาะแตศาลปรับใชหลักสุจริตใหจาย ๔ ลานแฟรงคแกบริษทั ที่ลงทุนศึกษา
เบื้องตนไปแลวแตกลับยุติการเจรจากลางคันโดยถือวาเปนความผิดของผูไม
สุจริต
• การใชสิทธิดําเนินกระบวนพิจารณาโดยไมสุจริต
• การใชสิทธิที่ขัดแยงกับการกระทํากอนๆ ของตน มีผลทําใหอาง
สิทธิตามกฎหมายแพงบรรพตางๆ ไมได เชน บรรพ ๔ อางวาตนเปนเจาของ
ทรัพยไมได
• ประมวลกฎหมายแพงเนเธอรแลนด ใชคาํ วา “ความซื่อสัตยและความเปน
ธรรม” ฯลฯ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1687/2551
• ครบกําหนดชําระหนี้ที่เกิดจากการใชบัตรเครดิตวันที่ 6 พฤศจิกายน 2538 หลังจากนั้นไม
ปรากฏวาธนาคารยอมใหจําเลยใชบัตรเครดิตอีก แสดงวาธนาคารกับจําเลยถือวาสัญญาที่
มีตอกันเปนอันสิ้นสุดลงในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2538 ธนาคารยอมบังคับสิทธิเรียกรองของ
ตนไดตั้งแตวันที่ 7 พฤศจิกายน 2538 แตจําเลยนําเงินมาชําระใหธนาคารวันที่ 10
กรกฎาคม 2539 จํานวน 5,000 บาท อันเปนการรับสภาพหนี้ทําใหอายุความสะดุดหยุดลง
และเริ่มนับอายุความใหมตั้งแตวันดังกลาว ซึ่งจะครบกําหนดอายุความ 2 ป ในวันที่ 10
กรกฎาคม 2541 การที่ธนาคารนําเงินจํานวน 6.68 บาท จากบัญชีออมทรัพยของจําเลยมา
หักชําระหนี้บัตรเครดิตเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2541 หลังจากจําเลยผิดนัดชําระหนี้ในวันที่ 6
พฤศจิกายน 2538 โดยปลอยเวลาใหผา นไปถึง 2 ปเศษ และคิดดอกเบี้ยกับคาเบี้ยปรับ
ชําระหนี้ลาชาตลอดมา นอกจากจะเปนการไมใชสิทธิของธนาคารตามขอตกลงในสัญญา
แลว ยังเปนการกระทําที่แสดงใหเห็นวา ธนาคารอาศัยสิทธิที่มีอยูตามกฎหมาย
เปนชองทางใหธนาคารไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียวโดยไดดอกเบี้ยและคา
เบี้ยปรับชําระหนี้ลาชาระหวางนั้นและเพื่อใหอายุความสะดุดหยุดลง โดยไม
คํานึงถึงความเสียหายที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะไดรับ ยอมเปนการใชสทิ ธิโดยไม
สุจริตตาม ป.พ.พ. มาตรา 5 จึงไมทําใหอายุความสะดุดหยุดลง เมื่อโจทกซึ่งเปนผูรบั
โอนสิทธิจากธนาคารนําคดีมาฟองเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2543 จึงเกิน 2 ป นับแตวันที่เริ่ม
นับอายุความใหมวันที่ 10 กรกฎาคม 2539 คดีโจทกจึงขาดอายุความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1687/2551 (คําอธิบาย)
• จําเลยนําบัตรเครดิตไปใชครั้งสุดทายเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2538 กําหนดชําระเงินวันที่ 6 พฤศจิกายน 2538
• จําเลยนําเงินมาชําระหนี้ใหธนาคารเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2539 จํานวน 5,000 บาท แลวคางชําระหนี้
• ธนาคารหักเงินจากบัญชีดังกลาวเพื่อชําระหนี้บัตรเครดิตของจําเลยเมื่อวันที่ 5 มกราคม
2541 จํานวน 6.68 บาท และหักชําระหนี้ครั้งสุดทายเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 จํานวน 1,000
บาท แตไดเงินไมพอชําระหนี้
• การที่ธนาคารนําเงินจํานวน 6.68 บาท จากบัญชีออมทรัพยของจําเลยมาหักชําระหนี้บัตรเครดิตเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2541
หลังจากจําเลยผิดนัดชําระหนี้ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2538 โดยปลอยเวลาใหผานไปถึง 2 ปเศษ และคิดดอกเบี้ยกับคาเบี้ยปรับ
ชําระหนี้ลาชาตลอดมา พฤติการณดังกลาวนอกจากจะเปนการไมใชสิทธิของธนาคารตามขอตกลงในสัญญา
แลว ยังเปนการกระทําที่แสดงใหเห็นวา ธนาคารอาศัยสิทธิที่มีอยูตามกฎหมายเปนชองทางใหธนาคาร
ไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียวโดยไดดอกเบี้ยและคาเบี้ยปรับชําระหนี้ลาชาระหวางนั้นและเพื่อใหอายุ
ความสะดุดหยุดลง โดยไมคํานึงถึงความเสียหายที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะไดรับ เชนนีย้ อมเปนการใชสิทธิ
โดยไมสุจริตตาม ปพพ. มาตรา 5 จึงไมทําใหอายุความสะดุดหยุดลง
• สวนที่จําเลยนําเงินมาชําระหนี้บางสวนโดยใหธนาคารหักเงินจากบัญชีครั้งสุดทายเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 จํานวน 1,000
บาท นั้น เปนการชําระหนี้ภายหลังจากสิทธิเรียกรองขาดอายุความแลว จึงเพียงแตทําใหลูกหนี้เรียกเงินคืนไมไดตาม ปพพ.
มาตรา 193/28 วรรคหนึ่งเทานั้น ไมเปนการรับสภาพหนี้อันจะทําใหอายุความสะดุดหยุดลงตาม ปพพ. มาตรา 193/14 (1)
• เมื่อโจทกซึ่งเปนผูรับโอนสิทธิจากธนาคารนําคดีมาฟองเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2543 จึงเกิน 2 ป นับแต
วันที่เริ่มนับอายุความใหมวันที่ 10 กรกฎาคม 2539 คดีโจทกจึงขาดอายุความ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5523/2550
• แมตามหนังสือยินยอมมอบเงินฝากเปนประกันหนี้ของผูอื่นจะใหสิทธิแกโจทกท่ี
จะหักเงินจากบัญชีเงินฝากของจําเลยที่ 2 และที่ 3 เพื่อชําระหนี้ไดตั้งแตวันที่
22 พฤษภาคม 2540 ซึ่งเปนวันถัดจากวันที่ครบกําหนดตามสัญญากูยมื เงินก็
ตาม แตเหตุที่ไมมีการหักเงินจากเงินฝากของจําเลยที่ 2 และที่ 3 ตั้งแตเดือน
พฤษภาคม 2540 เนื่องจากนาย ว. ซึ่งเปนบุตรของจําเลยที่ 2 และที่ 3 และ
ขณะนั้นเปนผูจัดการธนาคารโจทก สาขาที่จําเลยทั้งสามทําสัญญากูและค้ํา
ประกัน ไมยอมดําเนินการ เพราะนาย ว. ไมตองการใหจําเลยที่ 2 ซึ่งกําลังปวย
อยูกระทบกระเทือนทางจิตใจ อันแสดงวาเหตุที่โจทกไมใชสิทธิหักเงินจากบัญชี
เงินฝากของจําเลยที่ 2 และที่ 3 ตั้งแตวันถัดจากวันที่ครบกําหนดตามสัญญา
กูยืมเงินนั้น มิใชเปนเรื่องที่โจทกเพิกเฉยปลอยเวลาใหลวงเลยไปโดยมิไดใชสิทธิ
ตามกฎหมายที่มีอยูเพื่อใหโจทกไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียวโดยไมคํานึงถึง
ความเสียหายที่ฝายจําเลยจะพึงไดรับ กรณีไมอาจถือไดวา การกระทําของโจทก
เปนการใชสทิ ธิไมสุจริต
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4310/2550
• สัญญากูเงินที่โจทกและจําเลยทําไวตอกันมีขอตกลงเรื่องดอกเบี้ยระบุไวใน
สัญญาขอ 1 และขอ 2 วรรคแรกระบุวา ผูกูยอมเสียดอกเบี้ยใหแกผูใหกูใน
อัตรา เอ็ม.แอล.อาร. ตอป (ปจจุบนั รอยละ 13.75 ตอป) วรรคสอง ระบุวา
หากภายหลังจากวันทําสัญญาผูใหกูไดเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย ผูกูยอมให
ผูใหกูคิดดอกเบี้ยในจํานวนหนี้ที่ผูกูยังคางชําระหนี้อยูตามสัญญาตามที่ผูใหกู
กําหนด แตไมเกินอัตราดอกเบี้ยสูงสุดตามประกาศธนาคารแหงประเทศไทยที่
กําหนดใหธนาคารพาณิชยเรียกเก็บจากลูกคา โดยเพียงแตผูใหกูแจงใหผูกู
ทราบเทานั้น สวนสัญญาขอ 2 ระบุไวในยอหนาสุดทายวา ผูกูตกลงวาหากผูกู
ผิดนัดชําระหนี้งวดใดงวดหนึ่งผูกูยินยอมใหผูใหกูคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ย
สูงสุดตามประกาศธนาคารแหงประเทศไทยที่กําหนดใหธนาคารพาณิชยเรียก
เก็บจากลูกคาได โดยใหคิดดอกเบี้ยจากยอดหนี้ที่คงคางทั้งจํานวน ดังนี้ จึงเห็น
ไดวา สัญญาขอ 1 เปนขอตกลงกําหนดอัตราดอกเบี้ยกอนผิดนัดโดยใชอตั รา
เอ็ม.แอล.อาร. และใหสิทธิแกโจทกที่จะเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยที่กําหนดกัน
ไวแตแรกได สวนสัญญาขอ 2 เปนเรื่องที่ใหโจทกมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตราที่
สูงขึ้นในกรณีที่จําเลยผิดนัดซึ่งโจทกไดกลาวมาในคําฟองแลววาโจทกใชสิทธิคิด
ดอกเบี้ยจากจําเลยกรณีผิดนัดในอัตรารอยละ 14.5 ตอป โดยถือวาจําเลยผิดนัด
ตั้งแตวันที่ 2 ธันวาคม 2540 เปนตนมา
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4310/2550 (ตอ)
• ตามสัญญากูเงินเพื่อที่อยูอาศัยขอ 2.1 กําหนดใหจําเลยมีหนาที่ตองผอนชําระ
ตนเงินพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกเปนรายเดือนไมนอยกวาเดือนละ 5,300 บาท
โดยตองชําระหนี้ใหเสร็จสิ้นภายในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2553 แมจะมีขอตกลง
กําหนดไวในขอ 4 วาหากจําเลยผิดนัดในขอใดขอหนึ่งหรือสวนใดสวนหนึ่งของ
สัญญาใหถือวาผิดนัดทั้งหมด และจําเลยยอมใหโจทกเรียกหนี้ทั้งหมดคืนได
ทันทีก็ตามก็หาใชเปนการบังคับวาเมื่อจําเลยผิดนัดแลวโจทกจะตองฟองเรียก
หนี้คืนจากจําเลยทันทีไม จึงเปนเรื่องที่โจทกผอนผันใหโอกาสแกจําเลยผอน
ชําระหนี้ ไมอาจถือไดวาเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต ทั้งมิใชเปนกรณีที่ศาล
ชั้นตนใชดุลพินจิ ลดอัตราดอกเบี้ยกรณีผิดนัด เพราะเห็นวาเปนเบี้ยปรับที่สูงเกิน
สวน ดังนั้น เมื่อปรากฏตามสําเนาประกาศธนาคารแหงประเทศไทยและสําเนา
ประกาศของโจทกวา ดอกเบี้ยอัตรารอยละ 14.5 ตอป ที่โจทกคิดจากจําเลย
กรณีผิดนัดนับแตวันที่ 2 ธันวาคม 2540 เปนตนมานั้นไมสูงเกินกวาอัตรา
ดอกเบี้ยสูงสุดที่โจทกประกาศกําหนดโดยอาศัยอํานาจตามประกาศธนาคารแหง
ประเทศไทย โจทกจึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในอัตรา ดังกลาว นับแตวันที่ 2
ธันวาคม 2540 ไดตามสัญญา
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 505/2551
• ผูรอ งบรรยายคํารองวาที่ดินตามหนังสือรับรองการทําประโยชน
(น.ส.3ก.) ที่โจทกนํายึดมิใชสินสมรสของจําเลย แตเปนสินสวนตัวของ
ผูรอ งไดรบั มาจากบุพการี โจทกมิไดฟองผูรองดวยจึงไมมีอํานาจยึด
ที่ดนิ พิพาท ขอใหปลอยทรัพยที่ยดึ
• ผูรอ งรูเห็นและยินยอมในการที่จําเลยนําที่ดินพิพาทไปเปนหลักประกัน
ตัวผูตองหา เมื่อจําเลยผิดสัญญาประกันและศาลพิพากษาใหจําเลย
ชําระหนี้ตามสัญญาประกันแตจําเลยไมชําระ โจทกมีอํานาจยึดที่ดิน
พิพาทบังคับชําระหนี้ไดไมวาทรัพยพิพาทเปนสินสมรสหรือสินสวนตัว
ผูรอ งจะอางวาที่ดินพิพาทเปนสินสวนตัวและจะใชสิทธิรองขอใหปลอย
ที่ดนิ พิพาทหาไดไม ผูรองจึงไมมีอํานาจฟอง เพราะเปนการใชสิทธิโดย
ไมสุจริตเปนการไมชอบดวย ปพพ. มาตรา 5
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 137/2551
• ผูรอ งฟองจําเลยเปนคดีแพงและทําสัญญาประนีประนอม
ยอมความกันเพื่อจะใหผูรองเขามาขอเฉลี่ยทรัพย เปน
การสมคบกับจําเลยเพื่อจะมิใหมีการนําเงินที่ไดจากการ
ขายทอดตลาดทรัพยของจําเลยไปชําระหนี้ใหโจทก เปน
การใชสิทธิโดยไมสุจริต ศาลยกคํารอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4809/2548
• สัญญาระหวางโจทกจําเลยไมมีขอกําหนดตอนใดที่แสดงวาคูสัญญาไดตกลงซื้อ
หรือเชาซื้อทรัพยสินที่เชา และใหถือเอาคาเชาที่ชําระเปนสวนหนึ่งของราคา
ทรัพยที่เชา รวมทั้งไมมีเจตนาที่จะโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชาใหแกกันมา
ตั้งแตเริ่มแรกดังสัญญาเชาซื้อ จึงเปนสัญญาเชาทรัพยแบบหนึ่ง มิใชเปนสัญญา
เชาซื้อ
• สัญญาเชาทรัพยเปนสัญญาตางตอบแทนที่โจทกกับจําเลยที่ 1 ตกลงกันดวย
ความสมัครใจใหขอกําหนดของสัญญาบางขอแตกตางไปจากบทบัญญัติของ
กฎหมาย อันเปนการรักษาสิทธิและประโยชนของตนที่ชอบในเชิงธุรกิจ แมอาจ
มีขอที่ไดเปรียบหรือเสียเปรียบกันบางและแตกตางไปจากบทบัญญัติของ
กฎหมาย แตก็มใิ ชกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน สัญญาดังกลาวใชบังคับได คูสัญญาจึงตองผูกพันตามขอสัญญา
นั้น การที่โจทกฟองบังคับจําเลยทั้งสามตามสัญญาจึงถือไมไดวาเปนการใชสิทธิ
โดยไมสุจริต
มีพฤติการณหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามกฎหมาย
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6924/2549
• บริษัท ส. ปดโครงการดังกลาวโดยที่ยังขายที่ดินไมหมด ผูถือหุนในบริษัทฯ จึง
ตกลงแบงปนทรัพยสินของบริษัท ส. ในสวนที่เหลืออยู โจทกไดรับแบงปนที่ดิน
ประมาณ 20 แปลง แตเนื่องจากโจทกเปนกรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อ
แทนบริษัท ส. จะใสชื่อโจทกเปนผูถือกรรมสิทธิ์ไมได เพราะเปนปรปกษแกกัน
ตามหนังสือของกรมที่ดิน และเวลาขายตอจะตองขออนุญาตจัดสรรที่ดินอีกครั้ง
หนึ่ง โจทกจึงจะไดกระจายใสชื่อบุคคล ซึ่งโจทกไววางใจใหถือแทนหลายราย
ข. เปนลูกจางโจทกคนหนึ่ง ซึ่งโจทกใหถือกรรมสิทธิ์ในที่ดนิ แปดแปลงแทน
โจทก และยังดําเนินการใหผูอื่นถือกรรมสิทธิ์ท่ดี ินแทนอีกหลายแปลง การ
กระทําของโจทกเปนกรณีที่โจทกสมคบกับ ข. และผูอ่นื กระทําการหลีกเลี่ยง
กฎหมายเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดิน และหลีกเลี่ยงเงื่อนไขของ ปพพ. มาตรา 80
ซึ่งใชบังคับในขณะนั้นเพื่อใหไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดนิ การที่โจทกฟอ งเพื่อขอ
คืนที่ดินทั้งแปดแปลงจึงเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต โจทกจึงไมมีอํานาจฟอง
ขอใหบังคับจําเลยทั้งสองเพิกถอนคําสั่งยึดทรัพยที่ดินทั้งแปดแปลง
มีพฤติการณหลีกเลี่ยงการปฏิบัตติ ามกฎหมาย
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 656/2539
• ทีด่ นิ ที่โจทกจะปลูกสรางอาคารแตเดิมอยูติดซอยซึ่งการปลูกสราง
อาคารบนที่ดินนั้นตองอยูในบังคับเทศบัญญัติของเทศบาลนคร
กรุงเทพ ประกาศกรุงเทพมหานคร และกฎกระทรวงซึ่งเปนผลให
เจาพนักงานทองถิ่นไมอาจออกใบอนุญาตใหโจทกปลูกสรางอาคาร
ตามที่ขอได การที่โจทกแบงแยกที่ดินนั้นออกเปน 2 โฉนดแลวขอ
อนุญาตปลูกสรางอาคารบนที่ดินตามโฉนดที่แบงแยกมาสวนโฉนด
ที่ดนิ เดิมโอนใหบคุ คลอื่นเพื่อใหมีรอยตะเข็บกั้นไมใหทดี่ ินตามโฉนด
ที่แบงแยกมีอาณาเขตติดซอย เห็นไดวามีเจตนาจะหลีกเลี่ยงไม
ปฏิบตั ิตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายดังกลาว เปนการใชสิทธิโดยไม
สุจริต จึงไมอาจอางความเสียหายที่ไดรบั จากการดังกลาวมา
เรียกรองทางละเมิดแกจําเลยทั้งสาม
ใชสิทธิทางศาลโดยไมสุจริต
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8839/2549
• โจทกแกไขเดือนในใบสงของเพื่อไมใหคดีโจทกขาดอายุ
ความตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/34 (1) แลวนํามาฟอง
จําเลยใหรบั ผิดตามสัญญาซื้อขายและใชอางเปนพยานใน
คดี เปนการใชสิทธิทางศาลโดยไมสุจริต โจทกจึงไมมีอํานาจ
ฟองจําเลยใหชาํ ระราคาคาสินคาตามใบสงของดังกลาวได
ปญหานี้เปนขอกฎหมายอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอย
ของประชาชน แมจําเลยจะไมไดใหการตอสูในศาลชั้นตน
จําเลยก็ยกขึ้นฎีกาไดตาม ป.วิ.พ.มาตรา 249 วรรคหนึ่ง
ตั้งใจเรียกดอกเบี้ยสูงๆ จากลูกคาบัตรเครดิต
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6504/2547
• เงินจํานวน 100 บาท ในบัญชีออมทรัพยของจําเลยมีมานานแลว
ตั้งแตจาํ เลยผิดนัดชําระหนี้ครั้งแรก ซึ่งตามสัญญาการใชบัตรเครดิตให
โจทกหักเงินนี้ชําระหนี้ไดทันที การที่โจทกปลอยเวลาเนิ่นนานใหผาน
ไปถึง 1 ป แลวจึงนํามาหักชําระหนี้ พฤติการณเชนนี้ นอกจากจะเปน
การไมใชสิทธิของโจทกตามขอตกลงในสัญญาแลว ยังเปนการกระทําที่
แสดงใหเห็นวา โจทกอาศัยสิทธิที่มีอยูตามกฎหมายเปนชองทางให
โจทกไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียวโดยไดรบั ดอกเบี้ยระหวางนั้น
และเพื่อจะใหอายุความสะดุดหยุดลง โดยไมคํานึงถึงความเสียหายที่
คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะไดรับ เชนนี้ยอ มเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต
ตาม ป.พ.พ. มาตรา 5 จึงไมทาํ ใหอายุความสะดุดหยุดลง โจทกใชสิทธิ
เรียกรองของโจทกตามสัญญาบัตรเครดิตเกิน 2 ป คดีจึงขาดอายุความ
ฎีกาที่ 6302/2547 กรณีซื้อขายหุน
• โจทกแตงตั้งจําเลยเปนตัวแทนในการซื้อขายหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหง
ประเทศไทย ตอมาพนักงานของจําเลยไดโอนหุนเพิ่มทุนจํานวน 24,000 หุน
ของบริษัท ซ. ที่ผูอื่นจองซื้อเขาบัญชีของโจทกโดยสําคัญผิด จําเลยไดแจงยอด
ทรัพยคงเหลือใหโจทกทราบทุกเดือน ซึ่งโจทกยอมทราบและสามารถตรวจสอบ
ไดวามีหลักทรัพยของโจทกขาดหายไปหรือไม หรือมีหลักทรัพยที่โจทกไมได
สั่งซื้อหรือจองซื้อไวเพิ่มเขามาในบัญชีของโจทกหรือไม เมื่อโจทกเห็นวามี
หลักทรัพยที่โจทกไมไดซ้อื หรือสั่งจองซื้อไว โจทกชอบที่จะแจงใหจําเลยทราบ
เพื่อแกไขขอผิดพลาด แตโจทกกลับขายหลักทรัพยดังกลาวไป เปนการสอให
เห็นวาโจทกมิไดกระทําการโดยสุจริต การที่จําเลยขอใหโจทกซื้อหลักทรัพยคืน
แกจําเลย และโจทกตองซื้อมาในราคาที่สูงกวาราคาที่ขายไป จึงเปนผลจาก
ความผิดของโจทกเอง ที่โจทกเรียกเอาคาเสียหายจากจําเลยจึงถือไดวาเปนการ
ใชสทิ ธิโดยไมสุจริตตาม ป.พ.พ. มาตรา 5 โจทกจึงไมมีอาํ นาจฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6428/2546 โกงที่ดิน
• โจทก(กลาวอางวาตน)ครอบครองที่ดินประมาณ 700 ไร เมื่อทางราชการออก
หนังสือรับรองการทําประโยชนโดยกําหนดใหผูครอบครองขอออกหนังสือรับรอง
การทําประโยชนไดไมเกินคนละ 50 ไร โจทกไดขอออกหนังสือรับรองการทํา
ประโยชนในชื่อโจทก ภริยาโจทกและบุตรโจทกอีก 6 คน แลว ยังเหลืออีก
ประมาณ 100 ไร โจทกจึงใหจําเลยที่ 1 และที่ 2 ขอออกหนังสือรับรองการทํา
ประโยชนที่ดินดังกลาวในชื่อจําเลยที่ 1 และที่ 2 คนละแปลง โดยตกลงวา จะ
โอนคืนแกโจทกในภายหลัง ดังนี้ ที่ดินทั้งสองแปลงจึงเปนที่ดินสวนที่โจทกไม
อาจขอใหทางราชการออกหนังสือรับรองการทําประโยชนไดตามกฎหมายการที่
โจทกสมคบกับจําเลยที่ 1 และที่ 2 ขอใหทางราชการออกหนังสือรับรองการทํา
ประโยชน จึงเปนการหลีกเลี่ยงเงื่อนไขของกฎหมาย อันเปนการใชสิทธิโดยไม
สุจริต โจทกจึงไมมีอํานาจฟองขอใหบังคับจําเลยที่ 1 และที่ 2 โอนที่ดินทั้งสอง
แปลงแกโจทก
ฎีกาที่ 1658/2546 เปลี่ยนคําเบิกความ
• คดีนี้กับคดีกอน โจทกและจําเลยเปนคูความรายเดียวกัน ทรัพยสินที่ใหเชาทั้ง
สองคดีเปนทรัพยสินเดียวกันมีกําหนด 7 ป คดีกอนจําเลยเคยฟองขับไลโจทก
วาสัญญาเชาที่ทํากันใชบังคับไดเพียง 3 ป และโจทกผิดสัญญาเชาเพราะไม
ชําระคาเชาสัญญาเชาจึงเปนอันเลิกกัน โจทกใหการวามิไดผิดสัญญาเชาศาล
ชั้นตนวินิจฉัยวาโจทกผิดสัญญาเชา คดีอยูระหวางอุทธรณ การที่โจทกฟอง
จําเลยเปนคดีนี้วาสัญญาเชาทั้งหมดตกเปนโมฆะ ขอใหจาํ เลยคืนเงินมัดจําตาม
สัญญาเชาโจทกนั้น ยอมเปนการขัดกับคําใหการของโจทกในคดีกอนเปนการใช
สิทธิโดยไมสุจริต ทั้งคดีน้กี ็เปนเรื่องที่ศาลวินิจฉัยเกี่ยวกับสัญญาเชาที่สืบ
เนื่องมาจากประเด็นเดียวกับที่ศาลชั้นตนในคดีกอนไดวินิจฉัยมาแลว ฟองโจทก
คดีนี้จึงเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซ้ํา ตองหามตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง มาตรา 144 แมวาโจทกคดีนี้จะไดฟองไวกอนที่ศาลในคดี
กอนจะไดวินิจฉัยชี้ขาดก็ตาม แตเมื่อศาลในคดีกอนไดพิจารณาชี้ขาดแลว กรณี
ยอมตกอยูภายใตบังคับมาตรา 144 เชนกัน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7141/2545
• พ. มิไดเปนผูรับมอบอํานาจชวงใหดําเนินคดีแทนโจทก แต พ.
ไดแตงทนายความใหดําเนินคดีในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ
เปนเรื่องโจทกดําเนินคดีผิดพลาดในเรื่องผูมีอํานาจดําเนินคดี
แทนโจทก โดยความบกพรองของโจทกเอง โจทกจะมาฎีกา
โตแยงวาการกระทําผิดกระบวนพิจารณาของตนเปนปญหาอัน
เกี่ยวดวยความสงบเรียบรอยของประชาชน และขอใหศาลฎีกา
พิพากษายกคําพิพากษาศาลชั้นตนใหโจทกดําเนินกระบวน
พิจารณาใหมแกไขขอผิดพลาดของตนเอง ยอมเปนการใชสิทธิ
โดยไมสุจริต ศาลฎีกาไมรับวินิจฉัยใหได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 146/2480
• การที่จําเลยไดฟองโจทกเปนทางอาญาตอศาลและศาลได
พิพากษาคดีถึงที่สุดใหยกฟอง เชนนี้ จะถือวาเปนการทําเลมิด
ตอโจทกก็ตอ เมื่อความปรากฏวาจําเลยทําไปโดยไมสจุ ริตและจง
ใจใหโจทกไดรับความเสียหายโดยใชศาลเปนเครื่องกําบัง
ฎ.7086/2547 อยากไดของกลาง
• คดีสืบเนื่องมาจากศาลชั้นตนพิพากษาใหจําเลยคืนของกลางแก
เจาของ แตศาลอุทธรณพิพากษาแกเปนใหริบของกลาง
ขอเท็จจริงไดความวา ผูเชาซื้อยังคางคาเชาซื้ออีก 2 งวดตาม
สัญญา แตเมื่อผูเชาซื้อนําเงินไปชําระใหผูรอง(ผูใหเชาซื้อ) ผู
รองกลับปฏิเสธคาเชาซื้อ 2 งวดนั้น และเรียกคืนของกลางซึ่งมี
ราคาสูงกวาเงินคาเชาซื้อ 2 งวดนั้น แสดงใหเห็นวาผูรอ งมี
เจตนาตองการของกลางที่มีราคามากกวาที่ตนควรไดรับ การที่
ผูรอ งใชสิทธิยื่นคํารองขอคืนของกลางจึงเปนการใชสิทธิโดยไม
สุจริต ไมตองดวยบทบัญญัติมาตรา 5 แหง ป.พ.พ. ผูรองไมมี
สิทธิรองขอคืนของกลาง
ฎ.1933/2545 รวมกันสําแดงราคาสินคาเท็จ
• โจทกรวมมือกับจําเลยสําแดงราคาสินคาเท็จ คือต่ํากวา
ราคาที่ซื้อขายกันจริง เพื่อหลีกเลี่ยงภาษีอากร ในการ
นําเขาสินคาตอกรมศุลกากร ถือไดวาไมสุจริตดวยกัน
โจทกจึงไมอาจยกเอาความไมสุจริตดังกลาวขึ้นมา
เรียกรองราคาสินคาเต็มจํานวนตามที่ซื้อขายกันจริง ซึ่งมี
จํานวนที่โจทกรวมมือกับจําเลยเพื่อหลีกเลี่ยงคาภาษี
อากรรวมอยูดวยได จําเลยคงตองรับผิดตอโจทกเทากับ
ราคาที่สําแดงตอกรมศุลกากรเพื่อเสียภาษีนําเขาเทานั้น
ฎ.5754/2543 พฤติการณแสวงกําไรเพียงสถานเดียว
• จําเลยที่ 1 นําที่ดินพิพาทไปจํานองแกจําเลยที่ 2 (ธนาคาร) โดยที่ที่ดินพิพาทนั้น
หมูบานจัดสรรไดโอนขายใหแกโจทกแลว ขอเท็จจริงปรากฏวาโฉนดที่ดินพิพาทเปน
ที่ดินที่อยูภายใตการจัดสรรแลวประมาณ 2 ป จําเลยที่ 2 เปนผูมีหนาที่เกี่ยวของใน
ฐานะผูสนับสนุนโครงการ หากไดกระทําการโดยสุจริตก็ควรจะไดเฉลียวใจหรือควรได
รูถึงวาการมีบา นพิพาทเกิดขึ้นในภายหลังนั้นก็เนื่องจากจําเลยที่ 1 จัดสรรขายใหแก
ลูกคาไปแลว แตจําเลยที่ 2 ก็มิไดกระทําการตรวจสอบหลักฐานการเปนเจาของใหได
ความแนชัดเสียกอนจึงจะรับจดทะเบียนจํานองไว ประกอบกับจําเลยที่ 2 ในฐานะ
ธนาคารผูสนับสนุนโครงการยอมตองทราบหรือถือวาไดทราบวามีประกาศของคณะ
ปฏิวัติฉบับที่ 286 หามทํานิติกรรมใด ๆอันกอใหเกิดภาระแกที่ดินจัดสรร เวนแตจะ
ไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากคณะกรรมการ ทั้งไมปรากฏวาในการทํานิติกรรมจด
ทะเบียนจํานองครั้งนี้ไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากคณะกรรมการแลวดวย
พฤติการณเชื่อไดวาจําเลยที่ 2 ไดจงใจหรือแกลงละเลยตอบทบัญญัติแหงกฎหมาย
อันมีไวดวยเจตนารมณเพื่อปองกันประชาชนผูสุจริตโดยมุงประสงคแตในทางที่จะได
กําไรเพียงสถานเดียวถือไดวาเปนการกระทําโดยไมสุจริต
ฎ.4730/2544 ถือโอกาสคิดดอกเบี้ยทบตน
• แมสัญญาบัญชีเดินสะพัดระหวางโจทกจําเลยจะไมมีกําหนดเวลาแต
สัญญาบัญชีเดินสะพัดมีลักษณะเฉพาะโดยสัญญาจะคงสภาพอยูตอไป
ไดก็จะตองมีการสะพัดทางบัญชีอยางตอเนื่องและภายในระยะเวลาอัน
สมควรเมื่อจําเลยเดินสะพัดทางบัญชีครั้งสุดทายวันที่ 7 มิถุนายน
2531 แลวไมมีการ เดินสะพัดทางบัญชีอีกเลยเปนระยะเวลานานถึง 9
ปเศษ ดังนี้ โจทกยอมจะตองทวงถามหรือบอกเลิกสัญญาภายในเวลา
อันสมควร มิใชถือโอกาสใชสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนเอาแกจําเลยในระยะ
เวลานานเกินสมควร การใชสิทธิของโจทกเชนนี้จึงมิไดกระทําโดย
สุจริตและเมื่อมีขอ สงสัยเชนนี้ตองตีความไปในทางที่เปนคุณแกจําเลย
ซึ่งเปนฝายที่ตองเสียหายในมูลหนี้ โดยถือวาสัญญาเลิกกันตั้งแตวันที่
7 มิถุนายน 2531
ฎ.2591/2543 หาโอกาสคิดดอกเบี้ยไปเรื่อยๆ
• ในคดีน้โี จทกและจําเลยไดทาํ สัญญากูยืมเงินกัน โดยมีขอ กําหนดวาหากจําเลย
ผิดนัดชําระหนี้หรือผิดสัญญาขอหนึ่งขอใดใหถือวาผิดนัดทั้งหมดยอมใหโจทก
เรียกหนี้สินทั้งหมดคืนไดทันทีพรอมดอกเบี้ยและคาใชจาย ในวันเดียวกัน
จําเลยไดทําสัญญาจํานําสิทธิที่จะถอนเงินจากบัญชีเงินฝากประจําและดอกเบี้ย
ไวแกโจทก โดยมีขอตกลงวาหากจําเลยผิดนัดชําระหนี้ จะยอมใหโจทกบังคับ
จํานําสิทธิที่จะถอนเงินจากบัญชีไดทันที เมื่อจําเลยผิดนัดไมชําระหนี้และ โจทก
ทําการหักเงินในบัญชีเพื่อชําระหนี้แลว แตยังคงคางอยู โจทกไดทวงถามแต
จําเลยเพิกเฉย
• แตเมื่อจําเลยผิดนัดไมชําระหนี้ โจทกกลับไมบงั คับจํานําในทันที กลับปลอยให
เวลาลวงเลยไป และคิดดอกเบี้ยเรื่อยมา พฤติการณดังกลาวแสดงวาโจทกอาศัย
สิทธิที่มีอยูตามกฎหมาย เปนชองทางใหโจทกไดรบั ประโยชนแตเพียงฝายเดียว
โดยไมคํานึงถึงความเสียหายที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะไดรับเชนนี้ ยอมเปนการ
ใชสทิ ธิโดยไมสุจริต ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 5
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1041/2485
• จําเลยถือสิทธิเขาครอบครองในที่รายพิพาทภายหลังที่ฝาย
โจทกไดรอ งขอใหทางอําเภอออกใบเหยียบย่ําแลวเชนนี้ ยอมถือ
#
ไดวา จําเลยไดใชสทิ ธิโดยไมสจุ ริต ร
.. .
.

• 2480-2497 พรบ. ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 ใช


บังคับ
– โดยทั่วไป ตองไปขอใบอนุญาตจากนายอําเภอ เรียกวา “ใบเหยียบ
ย่ํา”
– แตถาทองที่ใดมีสํานักงานที่ดินตั้งอยู ใหไปขอตราจองที่เปน
ใบอนุญาตจาก จพง.ที่ดิน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 814/2487
• ผูจัดการรานไปจางชางเขียนแบบเครื่องหมายการคาแลว
นําไปจางพิมพพรอมทั้งเขาทั้งของรานแตแลวงดพิมพพาย
หลังผูจัดการคนนั้นออกจากรานไปคาสวนตัวและเอา
เครื่องหมายนั้นไปไชตอมาเจาของรานไดไชเครื่องหมายนั้น
บาง และไดจดทเบียนเครื่องหมายแลวโดยไมรูวามีผูไช
เครื่องหมายนี้ดังนี้ ไดชื่อวาผูจัดการนั้นไชสิทธิไมสุจริต ไม
มีสิทธิไนเครื่องหมายนั้นดีกวาเจาของรานเดิม
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2123/2499
• สองฝายตกลงกันเองวาฝายใดจะเชาที่ดินแปลงไหนจากการ
รถไฟ เจาหนาที่การรถไฟไดอนุมัติและบันทึกการตกลงนั้นไว
แลว และตอมาก็มิไดมีการเพิกถอนขอตกลงนั้น ดังนี้ฝายหนึ่งจะ
ฟองขับไลอีกฝายหนึ่งที่ไดเขาไปทําประโยชนในที่แปลงที่เขามี
สิทธิตามขอตกลงนั้นไมได เปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4819/2549 (1)
• ตามสัญญาเชาซื้อตกลงกันไววา กรณีรถยนตที่เชาซื้อถูกลักไป
จําเลยผูใหเชาซื้อจะไดรบั ชดใชคาสินไหมทดแทน 2 ทาง โดย
ไดจากโจทกผูเชาและจากบริษัทประกันภัย อันเปนการเกินกวา
ความเสียหายที่จําเลยไดรับ เมื่อโจทกเปนผูเสียเบี้ยประกันภัย
และจําเลยเปนผูรับประโยชนก็เพื่อโจทกจะไมตองเปนภาระใช
คารถใหแกจาํ เลยจึงยอมเสียเบี้ยประกันภัย และจําเลยไดแสดง
เจตนาขอคาสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยแลว จนบริษทั
ประกันภัยอนุมัติใหจายเงินใหจําเลย การที่จาํ เลยรับเงินคาเชา
ซื้อที่เหลือจากโจทกหลังจากรถยนตที่เชาซื้อถูกลักไปเปนการใช
สิทธิไมสุจริต ตองคืนเงินคาเชาซื้อดังกลาวใหโจทก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4819/2549 (2)
• สัญญาเชาซื้อ ขอ 3 กําหนดวา "ผูเชาสัญญาวา (ก)...กรณีที่
รถยนตสญ ู หาย ผูเชายอมชดใชคารถยนตเปนเงินเทากับคาเชา
ซื้อสวนที่เหลือที่ผูเชาจะตองชําระทั้งหมดตามสัญญาเชาซื้อ
ทันที โดยผูเชาจะไมยกเหตุที่เจาของมีสิทธิไดรับคาสินไหม
ทดแทนจากบริษัทประกันภัยตามกรมธรรมประกันภัยรายที่ผู
เชาเปนผูชําระเบี้ยประกันภัยตามเงื่อนไขของสัญญาเชาซื้อ ขอ
3 (ซ) มาปฏิเสธความรับผิดที่จะตองชําระราคาดังกลาวขางตน
...(ซ) จะประกันภัยรถยนตโดยทันที...และใหสลักหลังระบุให
เจาของเปนผูรับประโยชนตามกรมธรรมเต็มจํานวน...และเงิน
ทั้งหมดที่บริษัทผูรับประกันภัยจะตองจายและที่ไดจายในกรณีท่ี
รถยนตถูกลักหรือเสียหายอยางสิ้นเชิงตามสัญญาประกันภัย
ใดๆ ดังกลาวแลว ใหบริษทั รับประกันภัยจายใหแกเจาของ
โดยตรงโดยสัญญานี.้ .."
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4819/2549 (3)
• ซึ่งหากเปนไปตามสัญญาเชาซื้อดังกลาวแลว กรณีรถยนตที่เชา
ซื้อถูกลักไป จําเลยผูใหเชาซื้อไดรับชดใชคาสินไหมทดแทน 2
ทาง โดยไดจากผูเชาและจากบริษัทประกันภัย อันเปนการเกิน
กวาความเสียหายที่จําเลยไดรบั เมื่อโจทกเปนผูเสียเบีย้
ประกันภัยและจําเลยเปนผูรับประโยชนจากกรมธรรม
ประกันภัยก็เพื่อโจทกจะไมตองเปนภาระใชคารถใหแกจําเลยจึง
ยอมเสียเบี้ยประกันภัยและจําเลยไดแสดงเจตนาขอคาสินไหม
ทดแทนจากบริษัทประกันภัยแลว จนบริษัทประกันภัยอนุมตั ิ
จายเงินใหจําเลย การที่จําเลยรับเงินคาเชาซื้อที่เหลือจากโจทก
หลังจากรถยนตที่เชาซื้อถูกลักไปเปนการใชสทิ ธิไมสุจริต ตอง
คืนเงินคาเชาซื้อดังกลาวใหโจทก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4091/2549 (1)
• ตามหนังสือสัญญารับสภาพหนี้ โจทกใหจาํ เลยผอนชําระเงินเปนงวด งวดละ
7,000 บาท โดยโจทกหักเงินเดือนจําเลยทุก ๆ สิ้นเดือน และจะหักเงินโบนัส
ประจําปของทุก ๆ ป เปนเงื่อนไขสําคัญในการชําระหนี้ เมื่อโจทกเลิกจางจําเลย
วิธีการชําระหนี้ตามที่ตกลงกันยอมไมสามารถกระทําตอไปไดอีก แตกอนหนี้จะ
ถึงกําหนดชําระในงวดเดือนกันยายน 2541 จําเลยไดมีหนังสือถึงโจทกเพื่อขอ
ชําระหนี้โดยการโอนเงินคางวดเขาบัญชีเงินฝากของโจทก โดยใหโจทกแจง
หมายเลขบัญชีและธนาคารที่โจทกใหโอนเงินใหจําเลยทราบเพื่อจะไดโอนเงินให
ทุกวันสิ้นเดือน โจทกไดรับหนังสือแลว แตหาแจงใหจําเลยทราบไม จําเลยจึง
ตองแจงโจทกอีก 2 ครั้ง แตโจทกกลับเพิกเฉยเชนเดิม จําเลยจึงไดชําระหนี้
โจทกโดยสงเงินทางไปรษณียธนาณัติ แตโจทกกลับปฏิเสธไมยอมรับ ซ้ํากลับ
ทวงถามใหจําเลยชําระหนี้ทั้งหมดโดยอางวาจําเลยผิดนัดจนจําเลยตองนําเงิน
ไปวางชําระหนี้ที่สํานักงานวางทรัพย แสดงใหเห็นถึงความขวนขวายที่จะชําระ
หนี้ใหแกโจทก การใชสิทธิฟองคดีของโจทกเพื่อขอบังคับจําเลยชําระหนี้ทั้งหมด
เปนการอาศัยสิทธิที่มีอยูตามกฎหมายเปนชองทางใหโจทกไดรับประโยชนแต
เพียงฝายเดียว โดยไมคํานึงถึงความเสียหายที่อีกฝายหนึ่งจะไดรับเปนการใช
สิทธิโดยไมสุจริตตาม ป.พ.พ. มาตรา 5 โจทกจึงไมมีอํานาจฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4091/2549 (2)

• จําเลยติดตอขอชําระหนี้ และสงเงินชําระหนี้ใหโจทกแลว แตโจทกไม


รับชําระหนี้กลับยื่นฟองจําเลย การใชสิทธิฟองคดีของโจทกเพื่อบังคับ
จําเลยชําระหนี้ทั้งหมดเปนการอาศัยสิทธิที่มีอยูตามกฎหมายเปน
ชองทางใหโจทกไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียว โดยไมคํานึงถึงความ
เสียหายที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะไดรับเปนการใชสิทธิโดยไมสจุ ริตตาม
ป.พ.พ. มาตรา 5
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 667/2549 ประชุมใหญ
• แมสัญญากูเบิกเงินเกินบัญชีรวมทั้งสัญญาเพิ่มวงเงินกูเบิกเงินเกินบัญชีซึ่งตองดวย
ลักษณะของสัญญาบัญชีเดินสะพัดจะไมมีกําหนดเวลา แตสัญญาบัญชีเดินสะพัดเปน
เอกเทศสัญญาที่มีลักษณะเฉพาะ โดยสัญญาจะคงสภาพอยูตอไปไดก็จะตองมีการ
สะพัดทางบัญชีอยางตอเนื่องและภายในระยะเวลาอันสมควร ขอเท็จจริงปรากฏวา
ภ. ไดนําเงินเขาบัญชีเพื่อหักทอนอันเปนการเดินสะพัดทางบัญชีครั้งสุดทาย เมื่อวันที่
14 มีนาคม 2526 แลวไมมีการเดินสะพัดทางบัญชีกันอีกเลย นับถึงวันที่ ภ.
สิ้นพระชนมเปนเวลานานเกือบ 12 ป แสดงวา ภ. มีเจตนาเลิกสัญญากับโจทกโดย
ปริยายแลว โจทกเปนสถาบันการเงินมีหนาที่ตองตรวจตราบัญชีของลูกคาอยู
ตลอดเวลาวามีการเคลื่อนไหวอยางไร เมื่อปรากฏวา ภ. ซึ่งเปนลูกคาของโจทกไมมี
การเคลื่อนไหวทางบัญชี โจทกยอมจะตองทวงถามหรือบอกเลิกสัญญาในเวลาอัน
สมควร มิใชถือโอกาสใชสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนในระยะเวลายาวนานเกินสมควร
เชนนี้ ถือไดวาการใชสิทธิของโจทกมิไดกระทําโดยสุจริต โดยถือวาสัญญาเลิกกัน
ตั้งแตวันที่ ภ. มีเจตนาเลิกสัญญากับโจทกโดยปริยายคือวันที่ 14 มีนาคม 2526 อัน
เปนวันที่ ภ. เดินสะพัดทางบัญชีเปนครั้งสุดทาย
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4351/2548
• จําเลยนําที่ดินไปจดทะเบียนภาระจํายอมใหแกบคุ คลภายนอก
หลังจากทําบันทึกขอตกลงประนีประนอมยอมความกันแลวโดย
จําเลยไมมีอํานาจกระทําไดตามขอตกลง จําเลยยอมรูวาทําให
โจทกทั้งสามเสียเปรียบ จึงเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต และศาล
พิพากษาใหจําเลยโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกลาวใหโจทกทั้งสาม
โดยปลอดภาระจํายอมไดไมเปนการกระทบสิทธิของ
บุคคลภายนอก เพราะมิไดเพิกถอนการจดทะเบียนภาระจํายอม
ในที่ดินดังกลาว แตเปนเรื่องที่ฝายโจทกจะบังคับเอาแกจาํ เลย
ตามคําพิพากษาโดยลําพังเทานั้น
การกระทํากอนๆ ที่เปนการปกปดซอนเรน
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3148/2540 ปาชาจีนบาบาเปนผูถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดินพิพาทที่
ชาวจีนฮกเกี้ยนไดชวยกันออกเงินซื้อที่ดนิ โดยให ล.เปนผูจัดการ ใชเปนที่ฝงศพของชาวจีน
ฮกเกี้ยนที่มาจากประเทศสิงคโปรซึ่งเปนกลุมคนจํานวนมาก แมผูรองจะยื่นคํารองขอแสดง
กรรมสิทธิ์ท่ดี ินพิพาทโดยอางวาที่พิพาทเปนของ ล. คนในบังคับอังกฤษ ผูรองไดกรรมสิทธิ์
ที่พิพาทมาโดยการครอบครองปรปกษและศาลชั้นตนไตสวนคํารองแลวมีคําสั่งวาผูรองได
กรรมสิทธิ์ท่พี ิพาทโดยการครอบครองปรปกษก็ตาม
• ตามพฤติการณของผูรองตั้งแตยื่นคํารองขอแสดงกรรมสิทธิ์ที่พิพาทและนํา สืบพยานผูรอ ง
ในชั้นไตสวนคํารองเห็นไดอยางชัดเจนวาผูรองมีเจตนาปกปดไมใหศาลทราบความจริงวาที่
พิพาทเปนปาชาฝงศพ เนื่องจากผูรองเกรงวาจะเปนสาเหตุใหศาลทราบวาผูรองไมไดเขาไป
ครอบ ครองที่พิพาทอยางเปดเผยและดวยเจตนาเปนเจาของตามที่ผูรอ งอาง การดําเนินคดี
ของผูรองดังกลาวมาทั้งหมดเปนการกระทําที่ไมสุจริต ขัดตอประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยมาตรา 5 ไมสมควรทีผ่ ูรองจะไดรับประโยชนจากการกระทําอันไมสจุ ริตของตน
คําสั่งของศาลชั้นตนที่วาผูรองไดกรรมสิทธิ์ทพี่ ิพาทโดยการครอบครองปรปกษจึงไมอาจ
บังคับใหเปนไปตามคําสั่งนั้นได
บทที่ 8 หลักการใชสิทธิ

รศ. ดร. สมเกียรติ วรปญญาอนันต


บทที่ 8 หลักการใชสิทธิ
ในเรื่องหลักการใชสิทธิตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มี
ขอพิจารณาในแงของการใชและการบังคับตามสิทธิอยูทั้งสิ้น ๕ ประการ
ไดแก
๑. หลักสุจริต (Treu und Glauben) ตามมาตรา ๕
๒. การใชสิทธิในทางที่ผดิ (abuse of right) ตามมาตรา ๔๒๑
๓. การกระทําเพื่อปองกัน ตามมาตรา ๔๔๙
๔. การกระทําโดยจําเปน ตามมาตรา ๔๕๐
๕. การใชสิทธิชวยเหลือตนเอง (self-help) ตามมาตรา ๔๕๑
แตโดยที่ผูสอนไดกลาวถึงหลักสุจริตไวแลวในบทที่ ๔ จึงมิไดกลาว
ความซ้ําอีกในบทนี้
• ปญหาวา เมื่อมีสทิ ธิแลวจะใชสทิ ธิอยางไรก็ไดใชหรือไม
– คําตอบคือไมใช เนื่องจากกฎหมายไดกําหนดหลักเกณฑในการใช
สิทธิไวในมาตรา ๕ และมาตรา ๔๒๑
• นอกจากนี้ ยังมีหลักในการบังคับตามสิทธิบางประการที่ควรรูซึ่งตอง
ดวยบทนิรโทษกรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ ๒
หนี้ ลักษณะ ๕ ละเมิด หมวด ๓ นิรโทษกรรม ซึ่งเปนผลใหไมตองรับ
ผิดทางแพงในการใชคาสินไหมทดแทนตามหลักเกณฑเรื่องละเมิด อีก
๓ เรื่องไดแก
– การกระทําเพื่อปองกัน ตามมาตรา ๔๔๙
– การกระทําโดยจําเปน ตามมาตรา ๔๕๐ และ
– การใชสิทธิชวยเหลือตนเอง (self-help) ตามมาตรา ๔๕๑ อีกดวย
หลักเกณฑในการใชสิทธิมกี ําหนดไวในมาตรา ๕ และ
มาตรา ๔๒๑ ดังจะเห็นไดจากบทบัญญัติตอ ไปนี้

• “มาตรา ๕ ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้


ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต
• มาตรา ๔๒๑ การใชสิทธิซึ่งมีแตจะใหเกิดเสียหาย
แกบุคคลอื่นนั้น ทานวาเปนการอันมิชอบดวย
กฎหมาย”
ในการพิจารณาวาเขาขายกรณีละเมิดซึ่ง
เปนมูลเหตุแหงความรับผิดทางแพงหรือไม
นั้น การใชสิทธิ อาจมีได ๒ กรณีคือ
1) การใชสิทธิตามกฎหมาย
(กรณีปกติของการใชสิทธิ)
2) การใชสิทธิในทางที่ผิด (abuse of right)
(กรณีผิดปกติ)
การใชสิทธิตามกฎหมาย
• เปนกรณีที่มีการใชสิทธิตามที่กฎหมายใหไวและ
เปนกรณีปกติของการใชสิทธิ แมอาจทําให
คูกรณีเดือดรอนไปบางจากการใชสิทธินั้น แต
เมื่อเปนการใชสทิ ธิตามกฎหมาย โดยผูใชสิทธิมี
ความชอบธรรมตามสวนที่พึงมีพึงไดของบุคคล
นั้น ก็อาจใชสิทธินั้นไดโดยชอบ
การใชสิทธิตามกฎหมาย
• เจาหนี้-ลูกหนี้
• เจาหนี้-ผูค้ําประกัน
• เจาหนี้-ผูจํานอง (จํานองไมใชแคเอาโฉนดไปวาง ตอง
จดทะเบียนจํานอง สวนกรณีเอาโฉนดไปวางไมถือวาได
สิทธิยึดหนวงโฉนดไวจนกวาจะไดรับชําระหนี้)
การใชสิทธิตามกฎหมายระหวาง เจาหนี-้ ลูกหนี้
• เจาหนี้ใชสิทธิบังคับชําระหนี้โดยใชสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ปฏิบัติการ
ชําระหนี้ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙๔ และ
มาตรา ๒๑๓ ถึงมาตรา ๒๑๕
– มาตรา ๑๙๔ ดวยอํานาจแหงมูลหนี้ เจาหนี้ยอมมีสิทธิจะเรียกใหลูกหนี้
ชําระหนี้ได ...
– มาตรา ๒๑๓ ถาลูกหนี้ละเลยเสียไมชําระหนี้ของตน เจาหนี้จะรองขอตอ
ศาลใหสั่งบังคับชําระหนี้ก็ได ...
– มาตรา ๒๑๔ ภายใตบงั คับบทบัญญัติแหงมาตรา ๗๓๓ เจาหนี้มีสิทธิทจี่ ะใหชําระหนี้
ของตนจากทรัพยสินของลูกหนี้จนสิ้นเชิง รวมทั้งเงินและทรัพยสินอื่น ๆ ซึ่ง
บุคคลภายนอกคางชําระแกลูกหนี้ดวย
– มาตรา ๒๑๕ เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ใหตอ งตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ไซร
เจาหนี้จะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแตการนั้นก็ได
การใชสิทธิตามกฎหมายระหวางเจาหนี้-ผูค้ําประกัน
• เจาหนี้ผูใชสิทธิบังคับชําระหนี้โดยใชสิทธิเรียกรองใหผูค้ํา
ประกันรับผิดตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย
• แตกฎหมายที่แกไขใหม ก็ไดวางหลักคุมครองผูค้ําประกัน
ไวหลายประการ เปนกรณีเฉพาะตามกฎหมายวาดวย
ประกันดวยบุคคลและทรัพย ที่แตเดิมเปนไปตามหลัก
อิสระทางแพง แตตอมากฎหมายไมอนุญาตใหมกี ารตกลง
แตกตางไปจากที่กฎหมายบัญญัติไว เพื่อความเปนธรรม
ในสังคม
พรบ. แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับที่
๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗ และพรบ. แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๘
• ตัวอยาง
– สัญญาค้ําประกันตองระบุหนี้หรือสัญญาที่ค้ําประกันไวโดยชัดแจง และผูค้ําประกันยอม
รับผิดเฉพาะหนี้หรือสัญญาที่ระบุไวเทานั้น (มาตรา ๖๘๑ วรรคสาม)
– ขอตกลงใดที่กาํ หนดใหผูค้ําประกันตองรับผิดอยางเดียวกับลูกหนี้รวมหรือในฐานะเปน
ลูกหนี้รวม ขอตกลงนั้นเปนโมฆะ (มาตรา ๖๘๑/๑ วรรคหนึ่ง ) (แตมิใหใชบังคับแก
กรณีผูค้ําประกันซึ่งเปนนิติบคุ คลและยินยอมเขาผูกพันตน เพื่อรับผิดอยางลูกหนี้รว ม
หรือในฐานะเปนลูกหนี้รวม ในกรณีเชนนั้นผูค้ําประกันซึ่งเปนนิติบคุ คลนั้นยอมไมมี
สิทธิดังที่บัญญัติไวในมาตรา ๖๘๘ มาตรา ๖๘๙ และมาตรา ๖๙๐ เพื่อไมใหกระทบ
กิจการธนาคารเพราะจะมีผลทําใหธนาคารไมกลาปลอยกูใหกับลูกหนี้รายยอยซึ่ง
จําเปนตองใชผูคํา้ ประกัน และสงผลใหมีปญหาในการปรับโครงสรางหนี้ รวมทั้งการ
ออกหนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย)
การใชสิทธิตามกฎหมายระหวางเจาหนี-้ ผูจํานอง
• เจาหนีฟ้ องบังคับจํานองจากทรัพยสินที่ผูจํานองจดทะเบียนจํานองไว
เปนประกันตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
– การฟองบังคับจํานองเปนไปตามหลักเกณฑในประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย มาตรา ๗๒๗/๑ มาตรา ๗๒๘ มาตรา ๗๒๙ และ
มาตรา ๗๓๕
– แตมีกรณีตามมาตรา ๗๒๙/๑ เปนขอยกเวนสําหรับกรณีที่เจาหนี้จํานอง
สามารถดําเนินการบังคับจํานองไดโดยไมตองมีการฟองคดีเพื่อบังคับจํานอง
แตตองเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในมาตรา ๗๒๙/๑ อีกดวย
โดยเฉพาะอยางยิ่งตองเปนการใชสิทธิของผูจํานองแจงเปนหนังสือไปยัง
ผูรับจํานองเพื่อใหผูรับจํานองดําเนินการใหมีการขายทอดตลาดทรัพยสินที่
จํานองโดยไมตองฟองเปนคดีตอศาล และไมใชสิทธิของผูรับจํานอง เพราะ
โดยหลักจะตองไปใชสิทธิฟองบังคับจํานองนั่นเอง
ตัวอยางกรณีการใชสทิ ธิตามกฎหมาย
• คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 376/2481
• การที่ศาลมีคําสั่งใหยกคํารองขัดทรัพยของผูรองเสียนั้น เมื่อไม
ปรากฏวาการรองขัดทรัพยนั้นทําลงโดยไมสุจริต จงใจจะให
โจทกเสียหายแตถายเดียวแลว ยอมไมถอื วาเปนการทําละเมิด
โจทกจะฟองเรียกคาเสียหายจากผูรองมิได
• โดยหลัก การใชสิทธิทางศาลเปนการใชสิทธิทางกฎหมาย ไม
เปนละเมิด เวนแตจะปรากฏพฤติการณชัดแจงวาเปนการใช
สิทธิในทางที่ผิด
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1050/2495
• เจาหนี้นาํ ยึดบานเรือน โดยมีเหตุผลใหเชื่อโดยสุจริตวา
บานเรือนที่ยึดเปนของลูกหนี้ตามคําพิพากษาจนขาย
ทอดตลาดบานเรือนนั้นไป ดังนี้ ยอมถือไดวาเปนการ
กระทําโดยใชสิทธิทางศาล เมื่อเจาหนี้หรือผูแทนกระทําไป
โดยมิไดประมาทเลินเลอแตอยางใดแลว ถึงแมจะปรากฏวา
บานเรือนที่นํายึดเปนของผูอ่นื ก็ดี การกระทําของเจาหนีก้ ็
ไมเปนการละเมิด
แตการใชสิทธิทางศาลจักตองกระทําโดยสุจริต ไมจงใจจะใหผูใด
ไดรับความเสียหายโดยใชศาลเปนเครื่องกําบัง มิฉะนั้น ยอมเปน
กรณีที่ไมอยูในกรอบของการใชสิทธิตามกฎหมายตามปกติอกี
ตอไป เมื่อเปนสิ่งที่ผูอางสิทธิกระทําโดยไมสุจริตหรือใชสิทธิในทาง
ที่ผิดแลว ยอมไมอาจอางไดอีกตอไปวาเปนการใชสิทธิตาม
กฎหมาย เชน กรณีตามคําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๙๕๔/๒๔๘๒
 ชนะคดีรองตอศาลใหยดึ ทรัพยผแู พคดีกอนครบกําหนดในหมายบังคับโดย
เจตนาแกลงใหผูแพคดีไดรับความเสียหายนั้น ผูแพคดีฟองเรียกคาเสียหายได
 ศาลฎีกาอางถึงฎีกาที่ ๓๗๖/๒๔๘๑ ดวยวา การใชสิทธิทางศาลจักตองกระทํา
โดยสุจริต ไมจงใจจะใหผูใดไดรับความเสียหายโดยใชศาลเปนเครื่องกําบัง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3212/2550
• โจทกมสี ัญญาจะซื้อจะขายที่ดินที่จาํ เลยทําไวกับโจทก
เปนหลักฐาน โจทกยอมมีสิทธิที่จะนําคดีไปฟองขอให
บังคับตามสัญญาจะซื้อจะขายได แตเมื่อศาลพิพากษาวา
สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินเปนโมฆะโจทกไมสามารถบังคับ
ได หนี้เงินกูตามสัญญากูจึงยังคงมีอยูไมระงับไป การที่
โจทกนําสัญญากูมาฟองจึงเปนการฟองเพื่อบังคับตาม
สิทธิของโจทกที่มีอยูตามกฎหมายถือไมไดวาโจทกใช
สิทธิโดยไมสุจริต
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3714/2548
• โจทกยอมใหจําเลยมีชื่อรวมในบัญชีเงินฝากของธนาคารซึ่งยื่นคําขอเปด
ระหวางที่โจทกและจําเลยเปนคูสมรส โดยโจทกตกลงยกเงินฝากที่เปนสิน
สวนตัวของโจทกในบัญชีดังกลาวจํานวน 7,500,000 บาท ใหแกจําเลย จึงเปน
สัญญาเกี่ยวกับทรัพยสินระหวางที่เปนสามีภริยากัน ซึ่งประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชยมาตรา 1469 ใหสิทธิสามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งบอกลางสัญญา
ได ดังนั้น เมื่อโจทกไดบอกลางนิติกรรมการใหเงินตอจําเลย ซึ่งเปนการกระทํา
ในระหวางที่ยังเปนสามีภริยากันอยู จึงเปนการใชสิทธิบอกลางตามบทบัญญัติ
ดังกลาว อันเปนบทบัญญัติที่มงุ คุมครองสิทธิของคูสมรสโดยทั่วไปที่ไดทํา
สัญญาเกี่ยวกับทรัพยสินกันไวในระหวางสมรส โดยตกอยูภายใตอิทธิพลของ
ความเสนหาหรือเหตุอ่นื ใดอันทําใหตนตองเสียประโยชน มิใหถูกเอารัดเอา
เปรียบหรือถูกขมเหงโดยไมชอบธรรม เหตุแหงการบอกลางนั้นจึงขึ้นอยูกับ
ความพอใจของผูให เมื่อโจทกซึ่งเปนผูใหไมพอใจจําเลย โจทกยอมใชสิทธิบอก
ลางนิติกรรมได ไมใชการใชสิทธิโดยไมสุจริต
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๕๗๓/๒๕๕๔
• อาคารพาณิชยของโจทกทั้งสองคูหาตั้งอยูในโครงการจัดสรรในกรุงเทพมหานคร ซึ่ง
เปนยานชุมชนและยานการคาที่มีความเจริญมาก มีอาคารพาณิชยของผูอื่นใน
โครงการปลูกเรียงติดตอกันหลายคูหา โจทกจึงควรคิดหรือคาดหมายไดถึงความไม
สะดวกในการพักอาศัยและการสัญจรไปมา โจทกไดตอเติมดานหลังอาคารพาณิชย
ทั้งสี่ชั้นใหสงู ชิดติดกับแนวเขตที่ดินของโจทก เทากับโจทกยอมรับสภาพวาหากมีผูมา
กอสรางชิดติดกับแนวเขตที่ดินโจทก อาจทําใหบังทิศทางลม แสงสวาง กับหนาตาง
และประตูดานหลังอาคารพาณิชยของโจทกได ซึ่งเปนไปตามปกติและมีเหตุอนั ควรที่
จะคาดหมายไดอยูแลว ดังนั้น การที่จําเลยที่ ๑ ซึ่งที่ดินดานหลังอาคารพาณิชยของ
โจทกจากผูจัดสรรที่ดินและสรางรั้วคอนกรีตผนังทึบชิดติดกับดานหลังอาคารพาณิชย
ของโจทกสูงประมาณ ๓ เมตร จึงเปนการใชสิทธิตามปกติโดยมีเหตุอันควร ถือไมได
วาเปนการใชสิทธิเกินสวนซึ่งมีแตจะกอใหเกิดความเสียหายแกโจทก หรือเปนเหตุให
โจทกเดือดรอนเกินที่ควรคิดหรือคาดหมาย อันเปนการละเมิดตอโจทกตาม ปพพ.
มาตรา ๔๒๑ และมาตรา ๑๓๓๗
คําพิพากษาศาลฎีกาที ๒๓๔๑/๒๕๕๑
• จําเลยตอเติมแนวกันสาดและนําสินคามาวางขายบนถนนทางรวมเปน
การรบกวนสิทธิของโจทก และการกระทําของจําเลยรายแรงกวา
เจาของรานคารายอื่น ดังนี้โจทกซึ่งเปนเจาของอาคารศูนยการคาพระ
ยาอุดรยอมมีสิทธิจะปฏิบัติการเพื่อยังความเสียหายหรือเดือดรอนนั้น
ใหสิ้นไปไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๓๗ แม
เจาของรานคารายอื่นจะกระทําการรบกวนสิทธิของโจทกดวย แตเมื่อ
โจทกประสงคจะยังความเสียหายหรือเดือดรอนซึ่งเกิดจากการกระทํา
ของจําเลยใหสิ้นไป การที่โจทกฟองรองบังคับเอาแกจําเลยจึงหาเปน
การใชสิทธิโดยไมสุจริตไม
้ ท
การใชส ิ ธิในทางทีผิด
(abuse of right)
เปนการใชสิทธิเกินสวน กฎหมายเปนเรื่องแบงสวนในสวนที่
เขาพึงจะได หากเปนการใชสิทธิที่มีแตจะใหเกิดเสียหายแก
บุคคลอื่น โดยตนเองจะไดประโยชนหรือไมก็ไมสําคัญ หากแต
มุงหมายกลั่นแกลงบุคคลอื่นนั้น กฎหมายจึงถือวาเปนการ
กระทําโดยมิชอบดวยกฎหมายตามมาตรา ๔๒๑ เทากับเปนการ
กระทําโดยผิดกฎหมายตามมาตรา ๔๒๐ หากครบองคประกอบ
ประการอื่นตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๔๒๐ ดวยแลว ก็เปน
ละเมิด ตองรับผิดใชคา สินไหมทดแทนไปตามมาตรา ๔๒๐
้ ท
การใชส ิ ธิในทางทีผิด
(abuse of right)
• มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคล
อื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แก
รางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิ
อยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคา
สินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
• มาตรา 421 การใชสิทธิซึ่งมีแตจะใหเกิดเสียหายแกบุคคล
อื่นนั้น ทานวาเปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย
• หลักการตามมาตรา ๔๒๑ นี้ บางครั้งศาลไดนําไปปรับใชโดย
ยึดถือหลักเกณฑพิจารณาเชนเดียวกับกรณีตามมาตรา ๑๓๓๗
ในเรื่องการคุมครองเจาของอสังหาริมทรัพยจากความเสียหาย
หรือเหตุเดือดรอนรําคาญเกินที่ควรคิดหรือคาดหมายไดวาจะ
เปนไปตามปกติและเหตุอันควร และมาตรา ๑๓๗๔ ในเรื่อง
การคุมครองผูครอบครองในกรณีถูกรบกวนในการครอบครอง
ไดอีกดวย บางครั้งมีการตีความเพื่อปรับใชกฎหมายเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งในสามเรื่องขางตน หรือปรับใชหลักเกณฑเกินหนึ่งเรื่อง
พรอมกันไปในคราวเดียว บางครั้งมีการตัดสินวาเปนการใชสิทธิ
โดยไมสุจริต เนื่องจากมีลักษณะเปนเรื่องเดียวกันหรือเกี่ยวเนื่อง
ใกลชิดกันนั่นเอง
• หลักทฤษฎีวาดวยการใชสิทธิเกินสวนหรือการใชสทิ ธิ
ในทางที่ผดิ ไดพัฒนาขึ้นในประเทศฝรั่งเศสตามคําวินิจฉัย
ของศาลยุตธิ รรมฝรั่งเศสในคดี Clément-Bayard ที่
ตัดสินในป ค.ศ. ๑๙๑๕ (Cour de Cassation,
Chambre des requêtes, du 3 août 1915, 00-
02.378) และนักวิชาการในยุคนั้นนําไปพัฒนาองค
ความรูเปนหลักทฤษฎีดังกลาวขึ้น
• ในคดี Clément-Bayard มีขอเท็จจริงวา Clément-Bayard กับ Coquerel เปน
เพื่อนบานกัน Clément-Bayard ใชเรือเหาะสําหรับการเที่ยวเลนพักผอนหยอนใจ
โดยไดสรางโรงเก็บเรือเหาะในที่ดินของตน Coquerel เพื่อนบานที่อยูในที่ดินแปลง
ติดกัน เกิดความรําคาญที่เห็น Clément-Bayard ใชเรือเหาะในชวงวันหยุดอยู
หลายครั้งหลายหน Coquerel จึงสรางโครงไมสูง 16 เมตรในเขตที่ดนิ ของตนและ
ติดตั้งเหล็กแหลมบนยอดโครงไมเปนแนวยาวตลอดที่ดินของตน ฐานโครงไมดังกลาว
อยูหางจากแนวเขตที่ดินของ Clément-Bayard 30 เซนติเมตรตลอดแนว
• ในเวลาตอมา เมื่อ Clément-Bayard นําเรือเหาะออกเที่ยวเลนชมธรรมชาติ
โดยรอบและเดินทางกลับบาน เรือเหาะถูกกระแสลมพัดไปโดนเหล็กแหลมที่
Coquerel ติดตั้งไวจนฉีกขาดและเสียหายจนใชการไมได เมื่อ Clément-Bayard
เรียกให Coquerel ชดใชราคาเรือเหาะพรอมทั้งขอใหรื้อถอนโครงไมและเหล็ก
แหลมออกไปจากที่ดินของ Coquerel ดวย Coquerel ปฏิเสธโดยอางวาตนมีสิทธิ
ทําสิ่งปลูกสรางใดๆ บนที่ดินของตน จึงเปนการกระทําโดยชอบดวยกฎหมาย ตนไม
ตองดําเนินการใดๆ ตามที่ Clément-Bayard เรียกรอง
• ศาลฝรั่งเศสตัดสินในคดีดังกลาววา การใชที่ดินของ Coquerel โดยการสรางโครงไม
สูง 16 เมตรในเขตที่ดินของตนและติดตั้งเหล็กแหลมบนยอดโครงไมเปนแนวยาว
ตลอดที่ดินของตนดังกลาวมิไดเปนไปเพื่อประโยชนในการใชทรัพยสินของตนแต
ประการใด หากแตเปนไปเพื่อกลั่นแกลง Clément-Bayard เปนสําคัญ จึงเปนการ
ใชสิทธิเกินสวนอันเปนสิทธิอันชอบธรรมตามสวนที่พึงมีพึงไดสาํ หรับการใชกรรมสิทธิ์
ในทรัพยสินตามหลักการคุมครองสวนไดเสียอันชอบธรรมที่มีอยูตามกฎหมาย
(protection de ses intérêts légitimes) หากแตเปนการใชสิทธิของตนในทางที่
ผิด (abus de son droit) Coquerel ยอมตองรับผิดตอ Clément-Bayard ตาม
คําพิพากษาใหชดใชราคาเรือเหาะพรอมทั้งขอใหรื้อถอนโครงไมและเหล็กแหลม
ออกไปจากที่ดินของ Coquerel ดวย
• ในลักษณะเชนนี้ คําพิพากษาคดี Clément-Bayard จึงเปนการวางหลักการใหมที่
สําคัญในชวงตนศตวรรษที่ 20 และเปนตัวอยางกรณีแรกๆ ของการกลาวอาง
กรรมสิทธิ์ในทางที่ผิด การใชสิทธิในทางที่ผิดเปนเรื่องที่บุคคลกระทําการโดยมีความ
รับผิดจากการกระทําที่เกินสวนหรือเลยพนขอจํากัดการใชสิทธิท่กี ฎหมายใหไว โดย
บางกรณีเปนการบิดเบือนวัตถุประสงคของการใชสทิ ธิหรือในบางกรณีเปนการกระทํา
เพื่อมุงกอใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่นนั่นเอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที 543/2492
• โจทกฟองขอใหหามจําเลยมิใหใชเครื่องจักรโรงน้ําแข็งให
เกิดเสียงดังอันกอความรําคาญใหแกโจทก ศาลชั้นตนไดไป
ตรวจดูสถานที่เกิดเหตุ แลวพิพากษาหามมิใหจําเลยใช
เครื่องจักรใหเกิดเสียงดังอันเปนการกอความรําคาญใหแก
โจทกตอไป ดังนี้ ศาลอุทธรณจะพิพากษาแกใหยกขอที่
บังคับหามมิใหใชเครื่องจักรนั้นเสีย จึงไมชอบ เพราะศาล
ชั้นตนมิไดหามการใชเครื่องจักรนั้นเสียเลย
คําพิพากษาศาลฎีกาที 241/2495
• รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไดสั่งเจาหนาที่ - ฝายทหารเขายึดทรัพยสิน
และกิจการของบริษัทฯหนึ่ง โดยอาศัยอํานาจกฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 มาตรา
12 แลวใหกองทัพบกจัดการเกณฑทรัพยสินของบริษทั นี้ใหมาเปนกรรมสิทธิ์
ของทางราชการทหารตามพ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 มาตรา 10 ขอ 2
ประกอบดวยพ.ร.บ.เกณฑพลเมืองอุดหนุนราชการทหาร พ.ศ. 2469
กระทรวงกลาโหมหาไดดําเนินการตามพ.ร.บ.เกณฑพลเมืองอุดหนุนราชการ
ทหาร พ.ศ. 2464 ไม คงยึดแตทรัพยสินของบริษัทไวเปนเวลาถึงเกือบ 3 ป
แลวจึงคืนใหบริษทั ดังนี้ ยอมเปนการยึดโดยมิไดมีอํานาจอันชอบดวยกฎหมาย
เพราะพ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ. 2457 มาตรา 12 ใหอํานาจที่จะทําการยึดไว
ชั่วคราวเทานั้น ฉะนั้นเมื่อทางกระทรวงกลาโหมไมดําเนินการใหถูกตอง
ดังกลาวแลว ก็ยอมเปนการละเมิดสิทธิของบริษัทที่ถกู ยึด ตาม ปพพ. มาตรา
420 , 421 กระทรวงกลาโหมจึงตองรับผิดใชคา สินไหมทดแทนใหแกบริษัท
คําพิพากษาศาลฎีกาที 600/2498
• เมื่อโจทกอางในฟองวาจําเลยขุดเหมืองและยกคัน
กั้นน้ําลําหวยสาธารณะไมใหน้ําไหลไปตามปกติเปน
เหตุใหนาโจทกไมไดน้ําอยางที่เคยมาแตกอน ตน
ขาวจึงเสียหาย เชนนั้นยอมแสดงวาโจทกไดรบั
ความเสียหายเปนพิเศษเนื่องจากการกระทําโดยตรง
ของจําเลยตามฟองโจทก ๆ จึงเปนผูเสียหายมีสิทธิ
ที่จะนําคดีมาฟองได
คําพิพากษาศาลฎีกาที 702/2499
• โจทกนําเจาพนักงานรังวัดแบงแยกโฉนดจําเลยซึ่งมีที่ดินติดตอได ฟองคัดคาน
และวาจะขอรอสอบเขตเสียกอน แตแลวก็ไมจัดการอยางไร โจทกรองขอรังวัด
ครั้งที่สองก็ไปคัดคานอีก จึงเปนการกระทําซึ่งมีแตจะใหเกิดความเสียหาย ตอง
รับผิดฐานละเมิด
– มีขอสังเกตวา การที่มาตรา ๔๒๐ บัญญัติใหผูกระทําละเมิดจําตองรับผิดใช
คาสินไหมทดแทนนั้น ความหมายของหลักการใชคาสินไหมทดแทนเปนเรื่อง
ที่กําหนดใหคูกรณีไดกลับคืนสูสถานะเดิมไดเสียกอนเปนอันดับแรก ตอเมื่อ
ไมอาจกระทําใหกลับคืนสูสถานะเดิมไดแลว จึงอาจรับผิดใชคาเสียหายโดย
คิดคํานวณเปนจํานวนเงินตอมาในลําดับตอๆ ไป ดังนั้น ในคดีนี้ การรับผิด
ฐานละเมิดและผูกระทําละเมิดจําตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทน จึงมี
ความหมายวา การคัดคานนี้ไมมีคาบังคับในทางกฎหมาย เจาพนักงานรังวัด
สามารถดําเนินการรังวัดแบงแยกโฉนดที่ดินใหแกโจทกตอไปได โดยถือวาไม
มีการคัดคานนั่นเอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที 989/2500
• จําเลยที่ 1 เปนเจาของและปกครองที่พิพาทอยู ไดอนุญาต
ใหโจทกใชที่ดินเพาะพันธุขา วไดแลว โจทกก็มีสิทธิโดยชอบ
ดวยกฎหมายที่จะใชที่ดินนั้นได เมื่อโจทกสับถางที่ดินไว
เรียบรอยแลว จําเลยที่ 2 แมมีกรรมสิทธิ์รวมอยูดว ยในที่
พิพาท กลับเขาไปแยงปลูกขาวในที่ดินนั้นโดยรูอยูแลววา
โจทกเขาทําอยูกอน การกระทําของจําเลยที่ 2 ยอมเปน
การละเมิดตอโจทก
คําพิพากษาศาลฎีกาที 38/2503 ประชุมใหญ่
• โจทกไดใชคําวา แฟบ (FAB) เปนเครื่องหมายการคา สําหรับผงซักฟอกมา
ชานานและแพรหลาย จําเลยจงใจใชเครื่องหมายการคา FAB ใหเหมือนกัน
เครื่องหมายการคาของโจทก สําหรับสินคาแปรงสีฟนของจําเลย โดยจําเลย
เห็นวา สินคาของโจทกที่มีเครื่องหมายนี้ เปนที่นิยมแพรหลาย เพื่อใหผูซื้อ
หลงวาสินคาที่มีเครื่องหมายนี้เปนสินคาของเจาของสินคารายเดียวกัน
สินคาของจําเลยจะไดขายไดดีตามที่ผูคนนิยมเชื่อถือสินคาที่มีเครื่องหมายนี้
มาแลว เมื่อโจทกไปขอจดทะเบียนเครื่องหมายแฟบ (FAB) สําหรับสินคา
จําพวกแปรงสีฟน ปรากฏวาจําเลย ไดขอจดทะเบียนคําวาแฟบ (FAG)
สําหรับสินคาจําพวกแปรงสีฟนไวกอนแลว การกระทําของจําเลยเปนการ
แสวงหาประโยชนโดยอาศัยแอบอิง เอารูปเครื่องหมายการคาของโจทกมา
เพื่อใชกับสินคาของจําเลยโดยเจตนาไมสุจริต เปนการใชสิทธิโดยไมสุจริต
เชนนี้ โจทกยอมมีสิทธิที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการคารายนี้ดีกวา
จําเลย
คําพิพากษาศาลฎีกาที 449/2503
• โจทกฟองวา จําเลยใชสิทธิโดยไมสุจริต โดยแกลงเอาหินมา
กองไว และเอาไมปกเปนหลักกันไมใหโจทกเอาเรือเขาจอด
ในลําแมน้ําระนองอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินซึ่ง
โจทกไดใชสอยมานาน ทําใหโจทกเสียหาย หากเปนจริง
ตามฟอง โจทกก็เปนผูไดรับความเสียหายเปนพิเศษ ยอมมี
อํานาจฟองจําเลยได
คําพิพากษาศาลฎีกาที 1447/2503 ประชุมใหญ่

• จําเลยยืนยันใหกํานันยึดรถยนตบรรทุก ของโจทกซึ่งรับจาง
บรรทุกขาวเปลือกนั้นกักขาวเปลือกของจําเลยไวโดยไมมีความ
จําเปนและเปนการแกลงโจทกโดยไมสุจริต กํานันจึงยึดของ
โจทกไว 39 วัน ดังนี้ การกระทําของจําเลยไดชื่อวาเปนการ
ละเมิดตอโจทก กํานันจะยึดรถไวโดยอาศัยอํานาจของตนเองใน
ฐานเปนเจาพนักงานมีอํานาจเชนวา นั้น หรือไม ไมสําคัญ เมื่อ
โจทกฟองในทางแพง และจําเลยไดละเมิดสิทธิของโจทกแลว
จําเลยก็ตองรับผิดตอโจทกในทางแพง ตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย มาตรา 420
คําพิพากษาศาลฎีกาที 387 - 388/2550
• จําเลยปลูกสรางบานบังหนาบริเวณที่ดินของโจทก ทําใหโจทกออกสูทะเลหลวง
ไมไดหรือไมสะดวก โจทกยอมไดรับความเสียหายเปนกรณีพิเศษโดยตรง แม
ที่ดินที่ปลูกบานพิพาทจะเปนที่ชายตลิ่งจําเลยก็ไมอาจใชสิทธิอันจะกอใหเกิด
ความเสียหายแกโจทก ตาม ป.พ.พ. มาตรา 421 ประกอบมาตรา 1337 และ
โจทกยอมมีสิทธิปฏิบัติการเพื่อยังความเสียหายใหสิ้นไปโดยฟองจําเลยใหรื้อ
ถอนบานพิพาทที่กีดขวางทางที่โจทกเขาออกสูทะเลหลวงไปได
• โจทกเปนเจาของที่ดินมีสิทธิที่จะใชที่ดินของตนออกสูทะเลหลวงไดตลอดแนว
เขต การที่โจทกจะกอสรางกําแพงสวนใดและเวนที่ดินสวนใดใหเปนทางออกสู
ทะเลหลวง ยอมเปนสิทธิของโจทก บุคคลอื่นไมมีสิทธิที่จะรบกวนการใชสทิ ธิ
ของโจทก แมโจทกจะมีอาชีพประมงหรือไม ไมสําคัญ เพราะโจทกมีสทิ ธิที่จะใช
ที่ดินบริเวณที่จําเลยปลูกสรางบานออกสูทะเลหลวงไดอยูแลว และโจทกจะ
เลือกใชสิทธิของตนออกสูทะเลหลวงทางใดก็ไดที่โจทกเห็นวาเปนประโยชนและ
เปนความสะดวกแกตนมากที่สุด
คําพิพากษาศาลฎีกาที 877/2546
• สัญญาเชาที่ดินระหวางโจทกกับเทศบาลระบุใหโจทกใชที่ดินที่เชาเปนสถานที่
จอดรถสําหรับกิจการโรงแรมของโจทก ดังนั้นการที่จําเลยติดตั้งหลังคากันสาด
รุกล้ําเขามาในที่ดินที่โจทกเชาทําใหโจทกไมสามารถจะใชหรือไดรับประโยชน
จากที่ดินไดโดยสะดวกเปนเหตุใหโจทกไดรับความเสียหายหรือเดือดรอนเกินที่
ควรคิดหรือคาดหมายในการใชที่ดิน แมโจทกเปนเพียงผูเชาที่ดินจากเทศบาล
แตการเชาที่ดินก็เพื่อใชประโยชนในกิจการโรงแรมของโจทก เมื่อโจทกซึ่งเปน
เจาของโรงแรมอันเปนอสังหาริมทรัพยไดรับความเดือดรอนรําคาญเปนพิเศษ
ยอมมีอํานาจฟองใหขจัดความเดือดรอนนั้นไดตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย มาตรา 421 และมาตรา 1337 แมวาจําเลยติดตั้งหลังคาตึกแถวกอนที่
โจทกจะทําสัญญาเชาที่ดินจากเทศบาลก็หาเปนเหตุใหโจทกตองเสียสิทธิ
ดังกลาวไปไม โจทกจึงมีสิทธิปฏิบัติการเพื่อยังความเสียหายหรือความเดือดรอน
ใหส้นิ ไปโดยฟองจําเลยใหรื้อถอนหลังคาที่ตอเติมออกมาจากตึกแถวของจําเลย
ซึ่งกีดขวางการใชประโยชนจากที่ดินดังกลาว
คําพิพากษาศาลฎีกาที 7168 - 7172/2545
• จําเลยเปนผูสรางตึกแถวแลวแบงขายแกโจทกโดยผนังตึกแถวดานหลัง
มีประตูและหนาตางติดกับเขตที่ดินของจําเลย แมจะเปนการผิดเทศ
บัญญัติก็เปนเรื่องที่เจาพนักงานทองถิ่นจะตองดําเนินการแกโจทก
จําเลยไมมีสิทธิอางเหตุดงั กลาวกอสรางรั้วอิฐบล็อกติดกับผนังตึกแถว
ดานหลังของโจทก จนเปนเหตุใหปดกั้นทางลมและแสงสวางที่จะผาน
เขาออกทางดานหลังของตึกแถวของโจทกโดยที่โจทกมิไดยินยอมดวย
และแมจําเลยจะกอสรางในเขตที่ดนิ ของจําเลยก็เปนการใชสิทธิซ่งึ มีแต
จะใหเกิดความเสียหายแกโจทก จึงเปนการทําละเมิดตอโจทกตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 421
คําพิพากษาศาลฎีกาที 3815/2540
• โจทกกอสรางบานอยูในกรุงเทพมหานครอันเปนเมืองหลวงของประเทศมี
ประชาชนอยูหนาแนน มีอาคารบานเรือนอาคารพาณิชยและสิ่งกอสรางตาง ๆ
ปลูกอยูอยางแออัดที่ดินที่ตั้งบานโจทกอยูใกลกับถนนรัชดาภิเษกตัดกับถนน
ลาดพราว เปนยานที่มีความเจริญมาก ที่ดินมีเนื้อที่วางนอยและราคาแพง จึง
ตองมีการกอสรางอาคารสูงมากขึ้นเพื่อใชประโยชนใหไดมากที่สุด การที่โจทก
กอสรางบานในทําเลดังกลาวจึงควรคิดหรือคาดหมายไดวา อาจมีผมู ากอสราง
อาคารสูงใกลกับบานโจทกเปนเหตุใหบังทิศทางลม แสงสวาง และทัศนียภาพที่
มองจากบานโจทก อันเปนไปตามปกติและมีเหตุอันควรอยูแลว ดังนั้น แม
จําเลยกอสรางอาคารเปนผนังทึบไมมีชองระบายลมก็ตาม แตกระแสลมและแสง
สวางยังคงพัดผานและสองมายังบานโจทกไดพอสมควร ประกอบกับโจทกก็
ตั้งใจจะติดตั้งเครื่องปรับอากาศในบานของโจทกอยูแลว เพราะสภาพอากาศที่
รอนอบอาวในกรุงเทพมหานคร เพื่อความสะดวกสบายของโจทกเองหาใช
เพราะการกอสรางอาคารของจําเลยทําใหอากาศรอนอบอาวไม ทั้งการที่จําเลย
กอสรางอาคารสูงบังบานโจทกก็หาเปนการใชสิทธิซึ่งมีแตจะทําใหเกิดเสียหาย
แกโจทกตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 421 ไม
ในทางตรงกันขาม คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๗๗๒/๒๕๕๗
ตัดสินใหรับผิดตามมาตรา ๑๓๓๗
• ขอเท็จจริง
• ในคดีที่ประชาชนผูมีบานอยูอาศัยใกลกบั โครงการอาคารชุด ที่
ระบุวาไดรับผลกระทบจากโครงการอาคารชุดขนาดใหญแหง
หนึ่ง ยานสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนอาคารที่ติดตั้ง
กระจกรอบตัวอาคาร แสงสะทอนจากกระจก กอใหเกิดความ
รอนจนไมสามารถใชชีวิตในบานไดอยางปกติสุข ฟองคดีขอให
แกไขความเดือดรอน และเรียกคาสินไหมทดแทนจนกวาจะ
แกไขความเดือดรอนใหลุลวงไป
• คดีนี้ ผูไดรับความเดือดรอนเปนโจทกยื่นฟองเจาของอาคารเปน
จําเลย โดยบรรยายฟองวา ระหวางเวลา ๑๕.๓๐-๑๘.๐๐ น.
ของทุกวัน แสงแดดซึ่งกระทบกับกระจกอาคารของจําเลย จะ
สะทอนสาดสองเขาไปในบานของโจทก ทําใหเกิดแสงสวางและ
อุณหภูมิในบานสูงขึ้นมาก จนไมสามารถพักอาศัยไดอยางปกติ
สุข
• จําเลยตอสูวา แสงแดดชวงตะวันออมขาวเปนเหตุทาง
ธรรมชาติ และแปรเปลี่ยนตามฤดูกาลในแตละป มิไดเกิดจาก
การที่จําเลยทําละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ จึงไมตอง
รับผิด
• ศาลฎีกาตัดสินวา กรณีบุคคลใดใชสิทธิของตนเปนเหตุใหเจาของ
อสังหาริมทรัพยไดรับความเสียหายหรือเดือดรอนเกินที่ควรคาดคิดหรือ
คาดหมายได แมสิทธิที่จะปฏิบัติการเพื่อยังใหความเสียหายหรือ
เดือดรอนนั้นใหสิ้นไป บัญญัติใหเปนสิทธิเฉพาะตัวของเจาของ
อสังหาริมทรัพยก็ตาม แตการที่โจทกอาศัยอยูในบานและไดรับ
ผลกระทบจากแสงสวางที่สะทอนจากอาคารของจําเลย สาดสองเขาใน
บานดวย การกระทําของจําเลยยอมถือไดวาเปนการทําละเมิดตอโจทก
• ศาลฎีกาพิพากษาใหเจาของโครงการอาคารชุด ใชคาเสียหายแก
รางกายและจิตใจ ตลอดจนคาตรวจสุขภาพแกโจทกทั้งสี่ คนละ
๑๐,๐๐๐ บาทตอป คาเสียโอกาสใชสอยพื้นที่หนาเรือนแถวทั้งสาม
หลังรวม ๗,๐๐๐ บาทตอป นับแตวันฟอง จนกวาเจาของโครงการนี้จะ
แกไขความเสียหายไดสําเร็จหรือหมดสิ้นไปดวยเหตุอื่น
คําพิพากษาศาลฎีกาที 722/2541
• จําเลยที่ 1 และที่ 2 สมรูกันเปนลูกหนี้และเจาหนีเ้ พื่อฟอง
คดีใหมีการยึดที่ดินตามสัญญาจะซื้อจะขายออกขาย
ทอดตลาดปองกันมิใหโจทกบังคับคดีใหจาํ เลยที่ 1 โอนขาย
ให นับวาเปนการกระทําโดยจงใจใหโจทกไดรับความ
เสียหาย นอกจากจําเลยที่ 1 จะผิดสัญญาตอโจทกแลว ยัง
ถือวาไดวาจําเลยที่ 1 และที่ 2 รวมกันทําละเมิดตอโจทก
ดวย
คําพิพากษาศาลฎีกาที ๑๔๗๐๑/๒๕๕๗
• การที่ศาลอุทธรณภาค ๔ พิพากษาใหจําเลยออกระเบียบแกบุคคลที่มา
ใชบริการสนามกอลฟของจําเลย หามมิใหใชไมกอลฟที่มีประสิทธิภาพ
ตีไกล เชน หัวไม ๑ หามมิใหตั้งทีสูงเกิน ๔๕ มิลลิเมตร ที่บริเวณชั้น ๑
และกําหนดเวลาเปดปดตั้งแต ๘ ถึง ๒๐.๓๐ นาฬิกา เปนการคุมครอง
สิทธิของโจทกตาม ปพพ. มาตรา ๔๒๑, ๑๓๓๗ และ ๑๓๗๔ เพื่อระงับ
ยับยั้งมิใหการใชสิทธิของจําเลยกอใหเกิดความเสียหายแกโจทก ไม
เปนการจํากัดเสรีภาพในการประกอบอาชีพตามรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๕ และมาตรา ๔๓
วรรคหนึ่ง และเปนการพิพากษาบังคับใหจําเลยในฐานะผูประกอบ
กิจการสนามฝกซอมกอลฟโดยตรงใหกระทําการและเปนผูออกระเบียบ
มิใชเปนการบังคับบุคคลภายนอกซึ่งสภาพแหงหนี้เปดชองใหกระทําได
คําพิพากษาศาลฎีกาที ๙๑๘๓/๒๕๕๑
• ที่ดินของโจทกอยูติดกับทางพิพาทซึ่งเปนทาง
สาธารณประโยชน โจทกจึงชอบที่จะใชสอยทางพิพาทได การที่
จําเลยเขายึดถือครอบครองโดยทําการไถทางสาธารณประโยชน
แลวปลูกตนสักในเสนทางดังกลาว ยอมเปนการรบกวนสิทธิ
ของโจทกในการใชเสนทางสาธารณประโยชน อันถือไดวา
โจทกไดรบั ความเสียหายเปนพิเศษตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๔๒๑ และ ๑๓๓๗ โดยไมจําตองคํานึงวา
โจทกมเี สนทางอื่นออกสูทางสาธารณะหรือไม ทั้งไมตองคํานึง
วาประชาชนเลิกใชเสนทางดังกลาวแลวตามที่จําเลยกลาวอาง
3)การกระทําเพือป้องก ัน
มาตรา 449 บุคคลใดเมื่อกระทําการปองกันโดย
ชอบดวยกฎหมายก็ดี กระทําตามคําสั่งอันชอบดวย
กฎหมายก็ดี หากกอใหเกิดเสียหายแกผูอื่นไซร ทานวา
บุคคลนั้นหาตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนไม
ผูตองเสียหายอาจเรียกคาสินไหมทดแทนจากผูเปน
ตนเหตุใหตองปองกันโดยชอบดวยกฎหมาย หรือจาก
บุคคลผูใหคําสั่งโดยละเมิดนั้นก็ได
การปองกันที่ชอบดวยกฎหมายตองครบองคประกอบ ๔ ประการ
ตามประมวลกฎหมายอาญา
1. มีภยันตรายที่เกิดจากการประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมาย (หากผูกอภัย
นั้นมีอํานาจทําได ไมสามารถอางปองกันได และผูที่จะอางปองกันได
จะตองไมมีสวนในการกอภยันตรายนั้นขึ้นมาดวย)
2. ภยันตรายนั้นใกลจะถึง หมายถึง ภยันตรายนั้นมิไดยังอยูหางไกล หรือ
ผานพนไปแลว จะตองเปนกรณีภยันตรายนั้นใกลจะถึง โดยใกลชิดกับเหตุ
แหงการกระทําเพื่อปองกันหรือภัยนั้นกําลังเกิดขึ้นและมีอยูในขณะนั้น
มิใชผานพนไปแลว
3. ผูกระทําจําตองกระทํา โดยมีเจตนาเพื่อปองกันสิทธิของตนเองหรือผูอื่น
4. การกระทําไมเกินขอบเขต กลาวคือ การกระทําเพื่อปองกันไมเกินสมควร
แกเหตุ หรือไมเกินสัดสวนนั่นเอง
ตัวอย่างที 1
• คนรายเคยเจาะกําแพงอิฐบล็อกโรงงานของจําเลยแลวลักเอาสิ่งของ
จากโรงงานไปคนงานของจําเลยจึงคิดวิธีปอ งกันไวลวงหนากอนที่
ภยันตรายจะถึงโดยขึงเสนลวดไวที่ไมสี่เหลี่ยมตั้งอยูท่พี ื้นปลอย
กระแสไฟฟาเขากับเสนลวดวันเกิดเหตุกําแพงอิฐบลอกโรงงานจําเลย
ถูกเจาะที่เดิมอีกผูตายเปนผูเจาะกําแพงอิฐบลอกแลวมุดเขาไปใน
โรงงานเพื่อลักทรัพยของจําเลยแตผูตายเหยียบแผนไมสี่เหลี่ยมที่มี
กระแสไฟฟาผานเสนลวดจนถูกช็อตจนถึงแกความตายถือวาจําเลยได
กระทําการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายจําเลยยอมไดรับนิรโทษกรรม
ไมตอ งรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกโจทกตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชยมาตรา449วรรคหนึ่ง
ต ัวอย่างที 2
• โจทกและจําเลยที่ 1 ตางเปนผูประกอบกิจการคาภาพยนตรดวยกัน
กอนโจทกไดลิขสิทธิ์การฉายภาพยนตรพิพาท จําเลยที่ 1ไดโฆษณา
แนะนําภาพยนตรพพิ าทมากอน ตอมาเมื่อโจทกไดลิขสิทธิ์ภาพยนตร
พิพาท โจทกโฆษณาในหนังสือพิมพรายวันทํานองวาโจทกทุมเงินซื้อ
ภาพยนตรพิพาททําใหจําเลยที่ 1 ช้ําใจ เสียหนา เสียน้ําตาเมื่อโจทก
เริ่มทําการฉายภาพยนตรพิพาทแลวก็ยังมีการโฆษณาเปนทํานอง
ทําลายชื่อเสียงของจําเลยที่ 1 อยูเรื่อย ๆ ดังนี้ เปนกรณีที่โจทกมี
เจตนาทําลายชื่อเสียงจําเลยที่ 1 ทําใหไดรับความเสื่อมเสียการที่
จําเลยที่ 1 ออกโฆษณาโตตอบเพื่อปองกันความเสียหายอันจะพึง
เกิดขึ้นโดยตรง และเปนการกระทําโดยสุจริตเพื่อปองกันความเสียหาย
อันจะเกิดแกจําเลยที่ 1 จึงเปนการกระทําโดยสุจริตเพื่อปองกันตนตาม
คลองธรรม ไมเปนการละเมิดตอโจทก
ต ัวอย่างที 3
• ที่นาจําเลยตั้งอยูเหนือที่นาโจทก ปกติน้ําจะไหลจากที่นา
โจทกระบายผานที่นาจําเลย การที่จําเลยปดรองน้ําในที่
นาจําเลยเพื่อมิใหดินไหลเขามาทําความเสียหายแกตน
ขาวในที่นาของจําเลยเปนการปองกันความเสียหายโดย
ชอบดวยกฎหมาย แมจะกอความเสียหายแกโจทก
จําเลยก็ไมตองรับผิดใชคา เสียหายแกโจทก
ต ัวอย่างที 4
• ส. เปนคนรายลักตาขายดักปลาของจําเลย จําเลยทั้งสอง
แอบซุมดูอยู แลวจําเลยที่ 1 ใชอาวุธปนยิงถูก ส. ถึงแก
ความตายโดย ส. มิไดใชอาวุธปนยิงจําเลยทั้งสองแต
อยางใดดังนี้ การกระทําของจําเลยทั้งสองเปนการจงใจ
ฆา ส. ไมเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายอันจะทํา
ใหพนจากความรับผิดตาม ประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยมาตรา 449
4)การกระทําโดยจําเป็น
มาตรา 450 ถาบุคคลทําบุบสลาย หรือทําลายทรัพย
สิ่งหนึ่งสิ่งใด เพื่อจะบําบัดปดปองภยันตรายซึ่งมีมาเปน
สาธารณะโดยฉุกเฉิน ทานวาไมจําตองใชคาสินไหม
ทดแทน หากความเสียหายนั้นไมเกินสมควรแกเหตุ
ภยันตราย
ถาบุคคลทําบุบสลาย หรือทําลายทรัพยสิ่งหนึ่งสิ่งใด
เพื่อจะบําบัดปดปองภยันตรายอันมีแกเอกชนโดยฉุกเฉิน
ผูนั้นจะตองใชคืนทรัพยนั้น
มาตรา 450 วรรคสาม
ถาบุคคลทําบุบสลาย หรือทําลายทรัพยสิ่งหนึ่งสิ่ง
ใด เพื่อจะปองกันสิทธิของตนหรือของบุคคลภายนอก
จากภยันตรายอันมีมาโดยฉุกเฉิน เพราะตัวทรัพย
นั้นเองเปนเหตุ บุคคลเชนวานี้หาตองรับผิดใชคา
สินไหมทดแทนไม หากวาความเสียหายนั้นไมเกิน
สมควรแกเหตุ แตถาภยันตรายนั้นเกิดขึ้นเพราะ
ความผิดของบุคคลนั้นเองแลว ทานวาจําตองรับผิดใช
คาสินไหมทดแทนให
ต ัวอย่างที 1
• มาผูของโจทกตามเขาไปสัดมาตัวเมียของจําเลยที่ 1 ที่ใตถุนบานของ
จําเลยที่ 1 มาจําเลยที่ 1 ขัดขืนและเตะมาโจทกซ่งึ เปนเหตุใหทรัพยสิน
ของจําเลยที่ 1 เสียหาย โดยจําเลยที่ 1 ไมไดยินยอมดวยถือไดวาเปน
ภยันตรายอันมีมาโดยฉุกเฉิน การที่จําเลยทั้งสามไดรวมกันใชไมตมี า
ของโจทกโดยจําเลยที่ 1 ขอรอง นับวาเปนการกระทําโดยจําเปนเพื่อ
ปองกันสิทธิของจําเลยที่ 1 ซึ่งจําเลยควรจะใชไมตีเพียงเทาที่จะไลมา
ของโจทกออกไปจากเขตบานของจําเลยที่ 1 เทานั้นแตจําเลยรวมกัน
ใชไมตีมาของโจทกบาดเจ็บจนถึงตาย จึงเปนการเกินสมควรแกเหตุ
จําเลยทั้งสามตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกโจทก
ต ัวอย่างที 2
• จําเลยพาราษฎรไปขุดรองชักน้ําในเขตนาของโจทก ทําใหเนื้อที่นาของโจทกพัง
เสียหายแตจําเลยกระทําเพื่อปองกันมิใหน้ําในลําหวยน้ําแกนทําลายฝายหลวง
อันเปนเหมืองสาธารณะซึ่งจะทําใหเกิดเสียหายแกนาราษฎรมากมายหลาย
ตําบล ดังนี้จําเลยหาไดมีเจตนาที่จะมิใหโจทกครอบครองที่พิพาทโดยความปกติ
สุขแตประการใดไม หากแตจําเลยไดกระทําไปเพื่อบําบัดปองกันภยันตรายแก
สาธารณะ อันแลเห็นอยูวาจะเกิดขึ้นเทานั้น การกระทําของจําเลยจึงไมเปน
ความผิดฐานบุกรุกตามหลักเกณฑในมาตรา 327 และจําเลยยอมไมมีผิดตาม
มาตรา 328 และ การเสียหายที่จะเกิดขึ้น ยอมนับไดวา เปนภยันตรายซึ่งมีมา
เปนสาธารณะโดยฉุกเฉินซึ่งบุคคลอาจทําบุบสลาย หรือ ทําลายทรัพยสิ่งใดสิ่ง
หนึ่ง เพื่อจะบําบัดปดปองภยันตรายนี้ไดตาม ประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย มาตรา 450 และการที่จําเลยกระทํานี้ ก็ไมเกินสมควรแกเหตุ จะวา
จําเลยไมมีอํานาจที่จะทําไดโดยชอบดวยกฎหมายไมได การกระทําของจําเลยไม
เปนผิดฐานทําใหเสียทรัพยตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 324 อีกดวย
ต ัวอย่างที 3
• โจทกไดรับอนุญาตจับปลา ไดกั้นทํานบลงในลําคลองและเปดชองนิด
หนอยใหน้ําไหล ในปนั้นเกิดน้ําทวมมาไหลมาโดยเหตุที่โจทกกั้นทํานบ
ไว ห.จําเลยเปนกํานันไดรายงานไปอําเภอ และไปรื้อทํานบโจทกแตไม
หมด เพื่อระบายน้ําไมใหทวมมากขึ้น
• ศาลเดิมตัดสินยกฟองโจทก โดยเห็นวาการที่จําเลยทําไปโดยความจํา
เปนเพื่อปองกันความเสียหายอันเปนสาธารณ ตามประมวลแพงฯ ม.
๔๕๐
• ศาลอุทธรณตัดสินกลับใหจําเลยใชคาเสียหาย โดยฟงวาจําเลยแกลง
รื้อของโจทก แลไมปรากฏวาน้ําทวมเพราะเหตุโจทกก้นั ทํานบ
• ศาลฎีกาตัดสินกลับศาลอุทธรณยืนตามศาลเดิม เห็นวาจําเลยทําไปโดย
ความจําเปนไมเกินแกเหตุ เพื่อปองกันประโยชนของประชาชน ถึง
โจทกจะเสียหายก็นอยกวาความเสียหายของราษฎรที่จะพึงไดรับ ถาไม
รื้อทํานบเสียบาง (ประมวลแพง ม.๔๕๐ )
ต ัวอย่างที 4
• โจทกกอสรางตึกเต็มเนื้อที่ดินของโจทก แลวทําทางเทาและคันหินบน
ทางเทาล้ําเขาไปในที่ดินของจําเลยซึ่งอยูติดกัน โดยจําเลยตกลง
ยินยอมถือวาเปนการไดมาซึ่งสิทธิเหนือพื้นดิน อันเปนทรัพยสิทธิ เมื่อ
มิไดทาํ เปนหนังสือและจดทะเบียน ยอมไมบริบรู ณ ครั้นตอมาจําเลย
บอกกลาวไมยินยอมใหมีทางเทาและคันหินล้ําบนที่ดินของจําเลยอีก
ตอไป โจทกก็ไมมีสิทธิใชประโยชนในที่ดินของจําเลยไดแตทางเทาและ
คันหินนั้นไมตกเปนสวนควบของที่ดินจําเลย
• เมื่อจําเลยบอกกลาวใหโจทกรื้อถอนทางเทาและคันหินออกไปจากที่ดิน
ของจําเลย โจทกไมยอมรื้อถอน ก็ชอบที่จําเลยจะใชสิทธิทางศาลไมมี
อํานาจเขารื้อถอนโดยพลการ เพราะไมเขาเกณฑแหงบทบัญญัติวา
ดวยนิรโทษกรรม หากจัดการรื้อถอนเสียเอง ยอมเปนการกระทําละเมิด
ตอโจทกซึ่งจะตองรับผิดชดใชคา สินไหมทดแทน
5)การใชส ้ ท
ิ ธิชว ่ ยเหลือตนเอง
(self-help)
หลัก : การใชสิทธิเรียกรองตองใชสิทธิทางศาล (มาตรา ๒๑๓
ถาลูกหนี้ละเลยเสียไมชําระหนี้ของตน เจาหนี้จะรองขอตอ
ศาลใหส่งั บังคับชําระหนี้ก็ได เวนแตสภาพแหงหนี้จะไมเปด
ชองใหทําเชนนั้นได/มาตรา ๑๓๓๖ สิทธิติดตามเอาคืน)
ขอยกเวน : มาตรา 451 บุคคลใชกําลังเพื่อปองกันสิทธิของตน
ถาตามพฤติการณจะขอใหศาลหรือเจาหนาที่ชว ยเหลือให
ทันทวงทีไมได และถามิไดทําในทันใด ภัยมีอยูดวยการที่ตนจะ
ไดสมดังสิทธินั้นจะตองประวิงไปมากหรือถึงแกสาบสูญไดไซร
ทานวาบุคคลนั้นหาตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนไม
มาตรา 451 วรรคสองและวรรคสาม
การใชกําลังดังกลาวมาในวรรคกอนนั้น ทานวาตองจํากัด
ครัดเครงแตเฉพาะที่จําเปนเพื่อจะบําบัดปดปองภยันตราย
เทานั้น
ถาบุคคลผูใดกระทําการดังกลาวมาในวรรคตน เพราะหลง
สันนิษฐานพลาดไปวามีเหตุอันจําเปนที่จะทําไดโดยชอบดวย
กฎหมายไซร ทานวาผูน้นั จะตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทน
ใหแกบุคคลอื่น แมทั้งการที่หลงพลาดไปนั้นจะมิใชเปนเพราะ
ความประมาทเลินเลอของตน
ต ัวอย่างที 1
• รถยนตพิพาทเปนของโจทก นองชายโจทกเชาไปขับรับจางชักลากไมใหบริษทั
จําเลยที่ 3 โดยนองชายโจทกไดเบิกเงินคาจางลวงหนาไปจากจําเลยที่ 3 แลว
ยังชักลากไมใหไมครบตามจํานวนเงินที่ขอเบิกลวงหนาไปตอมาโจทกตองการใช
รถยนตพิพาท จึงใหนองชายโจทกพาคนไปขับรถยนตพิพาทไปเสียจากบริษัท
จําเลยที่ 3 จําเลยที่ 1 เปนพนักงานของบริษัทจําเลยที่ 3 มีหนาที่ควบคุม
รถยนตบรรทุกไมรูอยูแลววารถยนตพิพาทเปนของโจทก ไดไปขอกําลังตํารวจ
ติดตามไปยึดรถยนตพิพาทไวโดยคํานึงอยูแตอยางเดียววานองชายโจทกยังติด
คางหนี้สินบริษัทจําเลยที่ 3 อยู ดังนี้ การกระทําของจําเลยที่ 1 เปนการกระทํา
ที่มิชอบดวยกฎหมายและเปนเหตุใหโจทกเสียหาย ถือวาเปนการละเมิดตอโจทก
ตองรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากการกระทํานั้น เมื่อจําเลยที่ 1 เปนลูกจาง
จําเลยที่ 3 ไดกระทําละเมิดตอโจทกในระหวางที่ทําหนาที่เพื่อประโยชนของ
บริษัทจําเลยที่ 3 จําเลยที่ 3 จึงตองรับผิดในความเสียหายซึ่งเกิดจากผลของ
การละเมิดที่จําเลยที่ 1 กอขึ้นในฐานะเปนผูแทนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย มาตรา 76 กรณีไมตองดวยขอยกเวนตามมาตรา 451
ต ัวอย่างที 2
• จําเลยเปนไวยาวัจกรของวัด ไดบอกกลาวใหโจทกรื้อถอนสิ่งปลูก
สรางรวมทั้งตนไมที่ปลูกล้ําที่เชาวัดออกมา เพื่อทางวัดจะไดขุดคูไป
ใหทะลุคลอง ตามที่ไดตกลงจางเขาไว โจทกรับทราบและวาจะ
จัดการแลวตอมาไมจัดการ ประวิงเวลาไวจนสัญญาที่ทางวัดจางผูขุด
จะหมดจําเลยจึงไดเขาจัดการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางและตัดตนไมที่ล้ํา
นอกเขตเชา โดยระมัดระวังพยายามใหเกิดการเสียหายนอยที่สุด เพื่อ
ขุดคลองแลวนําไปกองไวใหโจทกเชนนี้ จําเลยยังไมมผี ิดฐานทําให
เสียทรัพยเพราะมิไดมีเจตนาทําใหเสียทรัพยแตจําเลยตองรับผิดใน
การละเมิดที่ทําแกทรัพยของโจทก ไมไดรับการยกเวนตามประมวล
แพงมาตรา 451
วิชา น.100 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ กม. และระบบ กม.
มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน
คุณคาของกฎหมายในฐานะที่เชื่อมโยงกับหลักคุณธรรมของประชาชน :
ความสําคัญของนิติวธิ ี (บอเกิด/การใช/การตีความกฎหมาย)
หลักการสําคัญของนิติวิธีอยูในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4
มาตรา 4 กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใด ๆ
แหงกฎหมายตามตั 00 sscno
วอักษร หรือตามความมุ ง
 หมายของบทบั ญ ญั ต น
ิ น
้ ั ๆ
เมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีน้นั ตามจารีต
ประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น ใหวินิจฉัยคดีอาศัยเทียบ
บทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้นก็ไมมีดวย ใหวินจิ ฉัย
ตามหลักกฎหมายทั่วไป
ปญหาระบบกฎหมายเปนปญหาในเชิงนิติวิธี

นิติวธิ ีเปนระบบวิธีคิดของนักกฎหมายที่เชื่อมโยงหลัก
กฎหมายที่เปนลายลักษณอักษรกับหลักคุณธรรมของ
ประชาชนเขาดวยกันและประสานเขาเปนเนื้อเดียวกัน
ตามระบบกฎหมายไทยซึ่งอยูในตระกูลกฎหมายแบบซิ
วิลลอว (ตางกับระบบคอมมอนลอวซึ่งกฎหมายลาย
ลักษณอักษรมิไดรวมไปถึงเรื่องคุณธรรมจริยธรรม
โดยตรง)
นิติวิธีเกี่ยวของกับ “คุณคาของกฎหมายในฐานะที่เชื่อมโยง
กับหลักคุณธรรมของประชาชน” ไดอยางไร

นิติวิธีทําใหการอางกฎหมายลายลักษณอักษรไมอาจ
อางเอาเปรียบกันเพื่อประโยชนของตนเองจนขัดหลัก
คุณธรรมที่ประชาชนเขาใจ เพราะในระบบกฎหมายมี
ระบบวิธคี ิด หลักการใชและการตีความกฎหมายใหเกิด
ความเปนธรรมอยางเสมอภาคกัน
หลักนิติวธิ ีในระบบซิวิลลอวเปนไปตามหลักวิชานิติศาสตรโรมันที่วา
กฎหมายลายลักษณอักษรเปนกฎหมายที่ถูกตองและมีเหตุผล เปนคัมภีรแหง
สติปญญา (Ratio Scripta) เชนนี้ จึงทําใหนักกฎหมายในรุนตอๆ มา สืบ
ทอดทัศนคติวา ตัวอักษรกับเหตุผลเปนสิ่งที่แยกกันไมออก อันเปนที่มาของ
การใชนติ ิวิธีท่สี าํ คัญของนักกฎหมายในระบบซีวิลลอว โดยทั้งนี้ ทําใหวิชา
นิติศาสตรไดพัฒนาตอมาเปนหลักการตีความอยางกวาง (extensive
interpretation) หลักการตีความอยางแคบ (restrictive interpretation)
หลักการตีความใหความเห็นแตกตาง (distinctive interpretation) และ
หลักการปรับใชกฎหมายดวยการเทียบเคียงบทกฎหมายที่ใกลเคียงกัน
(analogy) ซึ่งลวนแลวแตเปนหลักนิตวิ ิธีหรือวิธีการทางกฎหมายในระบบ
ซิวิลลอวที่ต้งั อยูบนพื้นฐานของความเชื่อที่วา ตัวบทกฎหมายเปนที่มาแหง
เหตุผลและความยุติธรรม
(กิตติศักดิ์ ปรกติ, ความเปนมาและหลักการใชนติ ิวิธีในระบบซิวิลลอวและ
คอมมอนลอว, กรุงเทพมหานคร: วิญูชน, 2546, หนา 25-26)
หลักการใชและการตีความกฎหมายในระบบซิวิลลอว
เปนไปตามหลักทฤษฎีทั่วไป 2 ประการคือ
1. หลักการตีความตามหลักภาษา (Grammatical Interpretation) มุงใชคนหา
ความหมายจากถอยคําทีบ่ ัญญัติไว
2. หลักการตีความตามเหตุผลทางตรรกะ (Logical Interpretation) มุงใชแสดงความ
มุงหมายอันแทจริงของกฎหมาย
แตการตีความตามหลักภาษายอมหนีไมพนที่จะตองคํานึงถึงหลักเหตุผลอันเปนลักษณะ
สําคัญของการตีความในทางตรรกะดวย เพราะหลักการใชถอยคําทางกฎหมายนั้นยอมแยก
ไมออกจากการใชเหตุผลตามหลักตรรกะของภาษา อันเปนการแสดงความมุงหมายของ
กฎหมายดวย
ดังนั้น ในชั้นแรกตองพิเคราะหตัวอักษรเพื่อคนหาความหมาย โดยถือวาตัวอักษรเปน
หลักฐานเบื้องแรกที่แสดงความมุงหมายและเหตุผลของบทบัญญัตินั้น และตัวเหตุผลแหง
บทบัญญัติยอ มจะเปนเครื่องชักนําไปสูก ารตีความอยางกวาง (extensive) หรืออยางแคบ
(restrictive) ตอไปอีกชั้นหนึ่ง (กิตติศักดิ์, หนา 51)
ในระบบกฎหมายไทยตามที่วางหลักเกณฑไวในมาตรา ๔ แหง
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไมมีการใชหลักทฤษฎีการ
ตีความกฎหมายตามตัวอักษร (Literal Interpretation)
เหมือนเชนตามที่ปรากฏในระบบคอมมอนลอว
หากมีการกลาวอางวา "กฎหมายไทยตองตีความตามตัวอักษร"
คํากลาวอางเชนนี้ยอมไมเปนการถูกตอง เนื่องจากไมเปนไป
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔ วรรคหนึ่งที่
บัญญัติวา “กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวย
บทบัญญัติใด ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุง
หมายของบทบัญญัตินั้นๆ”
ตามหลักนิติวิธีในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 ตอง
ปรับใชกฎหมายตามบอเกิดของกฎหมายที่บัญญัติขึ้นเปนลายลักษณ
อักษรกอนเสมอ โดยใชกฎหมายในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติ
ใด ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของ
บทบัญญัตินั้น ๆ กลาวคือ ตามเหตุผลของเรื่อง (Nature of Things)
แลวมีการใชและการตีความกฎหมายตามมา โดยเริ่มตนจากการ
พิเคราะหตวั อักษรหรือถอยคําของบทบัญญัติ แตตองไมลมื วากฎหมาย
ลายลักษณอักษรในระบบซิวิลลอวอยูภายใตระบบของเหตุผลและหลัก
ความเปนธรรม การใชกฎหมายมิไดดูแตตัวอักษรที่เขียนไว หากแต
จะตองพิจารณาความมุงหมายหรือเจตนารมณของกฎหมายควบคูไป
ดวย และกฎหมายลายลักษณอักษรถือเปนหลักทั่วไป ไมใชกฎหมาย
เฉพาะเรื่องเฉพาะราว และกฎหมายนั้นมีทั้งที่เปนกฎหมายตาม
ตัวอักษรและที่ไมใชตามตัวอักษร
หลักนิติวธิ ีในระบบคอมมอนลอว
กิตติศักดิ์ ปรกติ, ความเปนมาและหลักการใชนิติวิธีในระบบซิวิลลอวและคอม
มอนลอว, กรุงเทพมหานคร: วิญูชน, 2546
หลักนิติวิธีในระบบคอมมอนลอวเริ่มจากการแกไขปญหาขอเท็จจริงเฉพาะเรื่อง โดย
อาศัยเหตุที่แฝงอยูในขอเท็จจริงนั้นเปนเกณฑพิจารณา และดวยการสะสม
ประสบการณที่หลากหลายมาเปนเครื่องชวยในการแสวงหาสัจจะจากขอเท็จจริง
เหลานั้น หลัก ratio decidendi ของอังกฤษตั้งอยูบนหลักปรัชญาประสบการณ
นิยม (Empericism) (เนนที่ประสบการณ)
ในขณะที่หลักนิติวิธีของซิวิลลอวกอตัวขึ้นมาจากการแกปญหาขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น
เชนเดียวกัน แตมีการสรางและพัฒนากฎเกณฑที่ใชในการแกไขปญหาแตกตางกัน
โดยพยายามหาหลักทั่วไปจากขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นมา แลวสรุปเปนหลักทฤษฎี
-

จัดระบบเคาโครงและวางระเบียบแบบแผนโดยตั้งอยูบนระบบเหตุผลทางตรรกวิทยา
แลวประสานทฤษฎีอันเปนสิ่งทั่วไปเขากับการปฏิบัติ (คือการแกปญหารูปธรรม)
ดวยหลักการตีความกฎหมายที่ตั้งอยูบนหลักปรัชญาเหตุผลนิยม (Rationalism)
ทั้งสองระบบลวนมีขอดีในระบบตัวเองและสามารถเปนแบบแผนอํานวยความ
ยุติธรรมซึ่งไดรับการยอมรับจากประชาชนในระบบนั้นๆ อยางสูง เพียงแตไมควรนํา
แบบแผนมาใชขามระบบเทานั้น
ในระบบคอมมอนลอว คําพิพากษาของศาลซึ่งเปนบอเกิดหลักของ
กฎหมายยอมมีลักษณะที่มีรายละเอียดมากและศาลใชแนวทางในการ
พิจารณาอยางเปนรูปธรรม (in concreto) เชน เนื้อหาของคํา
พิพากษาในคดี Berezovsky v Abramovich ([2012] EWHC 2463
(Comm) (Action 2007 Folio 942, UK Commercial Court,
Chancery Div.)) มีความยาวถึง 539 หนา! หากเทียบกับคําพิพากษา
ศาลยุติธรมโดยเฉลี่ยของฝรั่งเศสที่มีความยาวเพียง 300 คําเทานั้น
ในระบบซิวิลลอว เมื่อมีกฎหมายที่บัญญัติข้นึ เปนลายลักษณอักษรเปน
บอเกิดหลักของกฎหมาย เปนเรื่องแนวทางแบบเปนระบบ
(systematic) และเปนนามธรรม (abstract) ยิ่งกวา
ในระบบคอมมอนลอว ความเห็นทางกฎหมายของนักนิติศาสตร (doctrine) ไมคอยมี
ความสําคัญในการพัฒนาหลักกฎหมายของศาลในการตัดสินคดีความตางๆ ตรงกันขาม ใน
ระบบซิวิลลอว เชน ในประเทศฝรั่งเศส ความเห็นทางกฎหมายของนักนิติศาสตร (doctrine)
เกี่ยวกับคดีความตางๆ มีอิทธิพลอยางตอศาลในการตัดสินคดีตอๆ มา นอกจากนี้ เมื่อมีการ
ตัดสินคดีตอมามากๆ เขา ไดนําไปสูการปรับปรุงบทบัญญัติที่สําคัญหลายลักษณะในประมวล
กฎหมายแพงฝรั่งเศสที่ใชบังคับตั้งแตป ค.ศ. 1804 มาแตเดิม สวนในเยอรมนี ก็มีการปรับปรุง
บทบัญญัตหิ ลายสวนทีส่ ําคัญในประมวลกฎหมายแพงของตนเชนกัน
คําพิพากษาของศาลมีอิทธิพลโดยตรงตอระบบกฎหมายคอมมอนลอวในฐานะที่เปนบอเกิด
หลักของกฎหมาย ในขณะที่ในระบบซิวิลลอว คําพิพากษาของศาลโดยหลักไมใชบอเกิดของ
กฎหมาย แตก็มีความสําคัญในเรื่องการใชและการตีความกฎหมายซึ่งใหความสําคัญกับ
กฎหมายที่บัญญัติขึ้นเปนลายลักษณอักษรกอนเสมอดวยเหตุผลวาเปนบอเกิดหลักของ
กฎหมาย ยกเวนในประเทศฝรั่งเศสชวงแรกที่ยงั ไมมีบทบัญญัตกิ ฎหมายลายลักษณอักษร
กําหนดหลักเกณฑทางกฎหมายที่ครบถวนสมบูรณ โดยเฉพาะกฎหมายปกครองและกฎหมาย
ระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล ศาลฝรั่งเศสจึงมีบทบาทในการสรางหลักกฎหมายขึ้นเพื่อปรับ
แกคดีได แตในเวลาตอมา ไดมกี ารบัญญัติกฎหมายเพิ่มเติมขึ้นเปนจํานวนมากเชนกัน
ระบบคอมมอนลอวแบบอังกฤษไดรับอิทธิพลจากกฎหมายโรมันเพียงเล็กนอย
กฎหมายในภาคพื้นยุโรปยอมรับวากฎหมายลายลักษณอักษรเปนบอเกิดสูงสุด
และชื่นชมอยูกับระบบประมวลกฎหมายที่พัฒนาอยูบนพื้นฐานของวิชา
นิติศาสตรโรมัน
แตในประเทศอังกฤษกลับไมยอมรับเชนนั้น บอเกิดของกฎหมายที่สําคัญที่สุดใน
ระบบคอมมอนลอวคือ คําพิพากษาในคดีกอนๆ ตามแบบฉบับที่สบื ทอดมาจาก
ระบบศาลหลวงที่ถอื วาเหตุผลที่ไดจากการพิเคราะหขอเท็จจริงเปนกฎหมายที่ดี
ที่สุดสําหรับการตัดสินขอพิพาท เพราะเหตุผล (reason) มีคาเปนกฎหมายที่
เปนอยู (positive law) ศาลเปนเพียงผูคนพบและประกาศใช (Cereni, “The
Code and the Case Law” in The Code Napoleon and the
Common Law World, 1956, p. 66. อางโดย กิตติศักดิ์ ปรกติ, ความเปนมา
และหลักการใชนิตวิ ิธีในระบบซิวิลลอวและคอมมอนลอว, กรุงเทพมหานคร:
วิญูชน, 2546, หนา 69.)
หลักกฎหมายจากคําพิพากษา (Precedent) ทําใหศาลอังกฤษยอมผูกพันตาม
แนวคําพิพากษาบรรทัดฐาน เพราะเปนไปตามหลักเหตุผลที่วา ขอเท็จจริง
อยางเดียวกัน ยอมตองไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกัน เหตุผลที่เปนการวินิจฉัยชี้
ขาดคดี (ratio decidendi) เปนระบบกฎหมายที่ศาลกําหนดขึ้น แตตองเปน
เหตุผลที่ศาลใชวินจิ ฉัยชี้ขาดประเด็นแหงคดีโดยตรง มิใชเปนเพียงขอสังเกต
หรือขออางที่กลาวไว (obliter dicta) ซึ่งศาลมิไดมุงจะใหผูกพันคําพิพากษา
ในอนาคต ขอสังเกตเชนนั้นไมมีอํานาจบังคับที่ตองถือตาม เพราะเปนไปตาม
หลักพิเคราะหแยกแยะความแตกตาง (The Technique of Distinctions)
หลัก Distinguishing นี้ ถือวา ถาขอเท็จจริงในคดีเหมือนกันทุกประการก็ตอง
ถือตามแนวบรรทัดฐานเดิม แตถาวิเคราะหออกมาแลวปรากฏวามีขอเท็จจริงที่
เปนประเด็นแหงคดีแตกตางออกไป ศาลก็ไมตองถือตามแนวบรรทัดฐาน
จารีตประเพณี (Custom) เปนบอเกิดของกฎหมายที่มีความสําคัญนอยมากใน
ระบบคอมมอนลอว เพราะระบบคอมมอนลอวกอกําเนิดขึ้นโดยการพยายามกีด
กันการใชกฎหมายจารีตประเพณีของทองถิ่น อิทธิพลของศาสนจักรและพวก
ขุนนางเจาที่ดิน นับตั้งแตกฎบัตรเวสมินสเตอร ฉบับที่ 1 ค.ศ. 1265 กําหนดวา
จารีตประเพณีที่จะนํามาใชบังคับเชนกฎหมายไดตองเปนประเพณีที่มีอยูกอนป
ค.ศ. 1189 ทําใหบทบาทของจารีตประเพณีถกู จํากัดใหนอยลงแตนั้นมา (กิตติ
ศักดิ์, อางแลว, หนา 75-76)
นอกจากนี้ กฎหมายอังกฤษยังมีหลักความยุติธรรม (Equity) เปนบอเกิดของ
กฎหมายคูเคียงกับหลักกฎหมายคอมมอนลอว ซึ่งรัฐสภาไดออกกฎหมายรับรอง
ลักษณะทั้งสองประการนี้
หลักการใชและการตีความกฎหมายของอังกฤษ
เปนระบบกฎหมายที่ศาลกําหนดขึ้น (judge-made law)
หลักกฎหมายเฉพาะกรณี (case law) เปนหลักที่ไดมาจากการเทียบเคียงหลัก
ในคําพิพากษาของศาล หลักการใชกฎหมายของกฎหมายอังกฤษจึงมักเปนหลัก
เฉพาะเรื่องเฉพาะราวที่ใชกบั ขอเท็จจริงเฉพาะกรณี มากกวาจะเปนหลักทั่วไปที่
เปนระบบและเปนเอกภาพแบบในระบบซิวิลลอว
การใชกฎหมายที่บัญญัติขึ้น ทัศนคติของนักกฎหมายคอมมอนลอวมักจะเปนไป
ในลักษณะที่วากฎหมายลายลักษณอักษรเปนสิ่งแปลกปลอม เปนบทยกเวน
หลักทั่วไป (คือคอมมอนลอว) โดยจะมุงใชหลักกฎหมายตามคําพิพากษา
มากกวา ทั้งนี้ ก็ดวยความเชื่อมั่นในหลักเหตุผลจากการพิเคราะหขอเท็จจริงวา
เปนตนกําเนิดของขอวินิจฉัยที่เหมาะสมที่สุด
หลักการใชและการตีความกฎหมายของอังกฤษ
การตีความกฎหมายลายลักษณอักษร เปนผลมาจากการคลี่คลายทาง
ประวัติศาสตรของความขัดแยงระหวางศาลกับสภานิติบัญญัติ หลักทั่วไปในการ
ตีความกฎหมายอังกฤษตั้งอยูบนความเชื่อวาระบบกฎหมายคอมมอนลอวเปน
ระบบของเหตุผลจากการพิเคราะหขอเท็จจริงมีความเหมาะสมแกการอํานวย
ความยุติธรรมและมีความแนนอนและชัดเจนมากกวาระบบการใชกฎหมายที่
ฝายนิติบัญญัติบัญญัติข้นึ ตามอําเภอใจ
– แตเดิมอํานาจการใชกฎหมายตกอยูในมือศาลหลวงแตผูเดียว
– ศตวรรษที่ 15-16 กษัตริยไดอํานาจมากขึ้นตามลัทธิเทวสิทธิ์ (Devine Right of the
King) และไดมีการออกพระราชบัญญัติมาบังคับใชมากขึ้น
– ปลายศตวรรษที่ 17 อํานาจของกษัตริยตกต่ําลง ศาลไดกลับไปใชหลักการตีความตาม
แนวคําพิพากษาบรรทัดฐานที่ขึ้นอยูกับขอเท็จจริงมากกวาจะยอมรับบทบัญญัติ
โดยตรง ศาลไดลดอิทธิพลของการตีความตามความมุงหมายของผูบัญญัติกฎหมาย
โดยอางวาการตีความเชนนั้นอาจทําใหกฎหมายขาดความแนนอนและเสี่ยงตอการตก
อยูใตอาํ เภอใจ
ดวยวิธีการตีความตามตัวอักษรนี้ มีผลเปนการคานอํานาจของฝายนิติบัญญัติ
ไดในระดับหนึ่ง และสอดคลองกับหลัก Precedent และหลัก Distinction ที่มี
อยูแลวในระบบคอมมอนลอวไดเปนอยางดี จึงถือกันวาถาถอยคําในบทบัญญัติ
นั้นมีความหมายชัดแจงไมคลุมเครือแลวก็ไมจําเปนตองตีความ นอกจากใช
ถอยคํานั้นไปตามความหมายตามปกติธรรมดา ถอยคําในบทบัญญัติเชนนั้นยอมแสดง
ความมุงหมายของผูบัญญัติออกมาโดยชัดแจงในตัวอยูแลว ความประสงคในการตีความ
กฎหมายทั้งปวงก็เพื่อจะรูความมุงหมายของกฎหมายที่แสดงออกทั้งที่ชดั แจงและที่เปนนัย
จากภาษาที่ใชนั้นใหกวางเทาที่จําเปนในการตัดสินวา ขอเท็จจริงหรือกรณีที่เปนปญหาอยู
นั้นอยูในขายของบทบัญญัติหรือไม
หลักการตีความกฎหมายลายลักษณอักษรของอังกฤษ มีกฎทั่วไปอยู 3 ประการ
1. หลักการตีความตามตัวอักษร (Literal Rule)
2. หลักการตีความโดยเล็งผลเลิศ (Golden Rule)
3. หลักการตีความตามหลักแกไขขอเสีย (Mischief Rule)
หลักการตีความตามตัวอักษร (Literal Rule)
หลักการตีความตามตัวอักษรหรือหลักภาษานั้น เปนกฎขอแรกและขอที่สําคัญ
ที่สุดในการตีความ
ศาลจะตองถือวาความหมายที่ถกู ตองแทจริงของบทกฎหมายตองเปน
ความหมายตามธรรมดาที่ถอยคํานั้นแสดงออกมา และศาลจะตองบังคับใชตาม
ความตามตัวอักษรของถอยคํานั้น ไมควรพิจารณาตามความมุงหมายในใจของ
รัฐสภา และรับกันวาความมุงหมายของกฎหมายจะตองสกัดเอามาจาก
บทบัญญัตินั้นเอง ไมวาผลของการตีความจะเปนประการใด ในกรณีที่กฎหมาย
บัญญัติไวโดยชัดแจงและมีความหมายเพียงอยางเดียวศาลจะบังคับไปตามที่
กฎหมายบัญญัติไว แมวาจะเปนผลไปในทางเหลวไหลไรสาระ หรือไปในทาง
รายก็ตาม การจะอาศัยประวัติความเปนมาของการบัญญัติกฎหมายมาเปน
เครื่องชวยในการหาความหมายเปนสิ่งตองหาม
หลักการตีความโดยเล็งผลเลิศ (Golden Rule)
เปนกฎที่ใชคูเคียงกับการตีความตามตัวอักษร ตามปกติศาลจะตอง
ตีความตามความหมายตามธรรมดาของถอยคําที่ใชหรือตามหลักภาษา
เวนแตผลของการนั้นจะขัดกับความมุงหมายของกฎหมายอยางรุนแรง
หรือไมไดความ หรือขัดแยงกันอยางมาก ก็อาจตีความโดยการขยาย
ความหรือตีความตามความมุง หมายของผูราง เพื่อหลีกเลี่ยงผลเชนนั้น
ได แตการตีความตามเจตนารมณของผูรางนี้มิไดมีไดในทุกกรณี แตจะ
มีขึ้นตอเมื่อมีการพิจารณาถึงผลของการใชความหมายนั้นเสียกอน
และการตีความตามเจตนารมณนี้ก็ตองไมตีความจนเลยเถิด และจะใช
ก็ตอเมื่อตองการหลีกเลี่ยงผลในทางรายเทานั้น
หลักการตีความตามหลักแกไขขอเสีย (Mischief Rule)
เปนขอยกเวนของหลักการตีความตามตัวอักษร คือเปนการตีความ
โดยคํานึงถึงเหตุผลและเจตนารมณของผูบัญญัติกฎหมาย ถาเปนกรณี
ที่บทบัญญัตินั้นไดบัญญัติขึ้นเพื่อแกไขขอบกพรองของหลักคอม
มอนลอวใหดขี ึ้น หลักเรื่องนี้มขี ึ้นเพื่อรับแนวนโยบายทั่วไปของ
บทบัญญัติที่มุงปรับปรุงคอมมอนลอวโดยตรง
ตัวอยางหลักการตีความกฎหมายของไทยตามระบบซิวิลลอว
นายดํากับนางแดงอยูกินกันโดยไมจดทะเบียนสมรส ซื้อตึกแถวทํารานอาหารมาดวยกัน ใส
ชื่อนายดําเปนเจาของไวคนเดียว ตอมานายดําตาย หากนายเขียวนองชายของนายดําเปน
ทายาทแตผูเดียวของผูตาย แมนายเขียวอาจกลาวอางไดวา ตึกแถวดังกลาวไมเปนสินสมรส
นางแดงไมอาจอางหลักกฎหมายครอบครัว และแมนายเขียวจะกลาวอางไดวานางแดงไมใช
ทายาท ไมมีสิทธิไดรับทรัพยมรดกตามหลักกฎหมายมรดกก็ตาม แตนางแดงก็มีสิทธิใน
ตึกแถวครึ่งหนึ่งตามหลักกรรมสิทธิ์รวมตามมาตรา ๑๓๕๖ ในบรรพ ๔ แหงประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย นายเขียวผูเปนทายาทจะโตแยงไมได
แตหากนางแดงมิไดชวยทํามาหาไดกบั นายดํา นางแดงยอมไมมีสิทธิใดๆ เนื่องจากสิทธิตาม
กฎหมายทรัพยสนิ ก็จะไมมดี วยเชนกัน
ตามปญหาขางตน ตองปรับใชกฎหมายตามบอเกิดของกฎหมายที่บัญญัติขึ้นเปนลาย
ลักษณอักษรกอนเสมอ โดยใชกฎหมายในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใด ๆ แหง
กฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัตินั้น ๆ (กลาวคือ ตามเหตุผล
ของเรื่อง – Nature of Things) ดังนั้น แมไมเขาหลักเกณฑตามหลักกฎหมายครอบครัว
และกฎหมายมรดก แตเมื่อตองดวยกรณีตามกฎหมายทรัพยสินก็ตองนํามาปรับใชแกกรณี
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 291/2542
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 234 บัญญัติให
เจาหนี้ผูใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้จะตองขอหมายเรียกลูกหนี้
เขามาในคดีนั้นดวย ก็เพื่อประสงคใหลูกหนี้ไดมีโอกาสรักษา
สิทธิของตน ดังนั้นการที่โจทกฟองจําเลยที่ 1 เขามาในคดีนี้
แทนการขอใหศาลหมายเรียกจําเลยที่ 1 เขามาตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 57(3) จึงถือไดวามีการ
เรียกลูกหนี้เขามาในคดีตามความมุงหมายของบทบัญญัติ
ดังกลาวตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 แลว
โจทกจึงฟองจําเลยที่ 1 แทนการขอหมายเรียกจําเลยที่ 1 ให
เขามาในคดีได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2643/2515
คําวา 'ผลิตภัณฑอาหาร' ตามบัญชีที่ 1 หมวด 1(4)ทายพระราช
กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรา
รัษฎากร (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2509 ไมมีบทนิยามใหมคี วามหมาย
โดยเฉพาะ ยอมคนหาความหมายไดโดยเปรียบเทียบจากบทบัญญัติ
ที่ใกลเคียงอยางยิ่งคือ(พิจารณา ?)จากบทมาตราอื่นๆ ของประมวล
รัษฎากร
คําวา 'อาหาร' ในบทบัญญัติแหงO ประมวลรัษฎากร ถาใชเปนคํา
กลางๆ หมายถึงอาหารสําหรับคนเทานั้น หามีความหมายถึงอาหาร
สัตวดวยไม คําวา 'ผลิตภัณฑอาหาร' จึงหมายถึง อาหารคนแตอยาง
เดียว ถากฎหมายประสงคจะใหหมายถึงอาหารอยางอื่น ก็จาํ เปน
จะตองบัญญัติไวใหชัดเปนแหง ๆ ไป ฉะนั้น อาหารสัตวจึงไมอยูใน
ความหมายของคําวา 'ผลิตภัณฑอาหาร'
บริษัทสหสามัคคีคาสัตว จํากัด โจทก
กรมสรรพากร กับพวกรวม 4 คน จําเลย
โจทกฟองวา โจทกผลิตอาหารสัตวสําเร็จรูปจําหนาย ซึ่งตองเสียภาษีการคารอยละ
1.5 แตเจาพนักงานประเมินของจําเลยที่ 1 กลับแจงประเมินใหโจทกเสียภาษีการคา
รอยละ 5 พรอมดวยเงินเพิ่มและภาษีเทศบาล โจทกอุทธรณ จําเลยที่ 2, 3, 4 ซึ่งเปน
กรรมการพิจารณาอุทธรณไดวินิจฉัยชี้ขาดใหโจทกเสียภาษีรอยละ 5 แตลดเบี้ยปรับ
โจทกเห็นวาไมชอบ ขอใหเพิกถอนคําสั่งประเมินเรียกเก็บภาษีและเงินเพิ่มของจําเลย
ที่ 1 และคําวินิจฉัยอุทธรณของจําเลยที่ 2, 3, 4
จําเลยตอสูวา อาหารสัตวที่โจทกผลิตจําหนาย เปนผลิตผลภายในประเทศทําจากรํา
ขาวโพดปน ปลาปน น้ําตาล และวัตถุอื่นผสมกันบรรจุลงในภาชนะหรือหีบหอผนึก
ตีตราชื่อบริษัทผูทําการคารวมทั้งเครื่องหมายการคาที่หีบหอดวย จึงเขาลักษณะ
ผลิตภัณฑอาหารตองเสียภาษีการคารอยละ 5 ของรายรับ
ชั้นชี้สองสถาน คูความแถลงรับกันวา ภาษีการคาที่
เรียกเก็บรายนี้ประเมินจากรายรับในการขาย
ผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป และผลิตภัณฑอาหาร
ดังกลาว (ในคดีน)ี้ คนใชบริโภคไมได ทั้งเปน
ผลิตภัณฑทบี่ รรจุหีบหอผนึกสําหรับเพื่อจําหนาย
แลวตางไมติดใจสืบพยาน
ปญหามีวา คําวา "ผลิตภัณฑอาหาร" มีความหมายเพียงใดโดยเฉพาะ
อาหารสัตวจะอยูในความหมายของคําวา "ผลิตภัณฑอาหาร"ดวยหรือไม
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา คําวา "ผลิตภัณฑอาหาร" ไมมีบทนิยามใหมีความหมาย
โดยเฉพาะจึงตองคนหาความหมายโดยเปรียบเทียบจากบทบัญญัติที่ใกลเคียงอยาง
ยิ่ง คือจากบทมาตราอื่น ๆ ของประมวลรัษฎากรนั่นเอง ตามมาตรา 77 มีวิเคราะห
ศัพทคําวา "ภัตตาคาร" หมายความวา "กิจการขายอาหารหรือเครื่องดื่มไมวาชนิด
ใดๆ ในหรือจากสถานที่ซึ่งจัดไวใหประชาชนเขาไปบริโภคได" และคําวา "ไนทคลับ
หรือคาบาเรต" หมายความวา "กิจการขายอาหารหรือเครื่องดื่มไมวา ชนิดใด ๆ ใน
หรือจากสถานที่ซึ่งจัดใหมกี ารแสดงดนตรี การลีลาศ หรือการแสดงเพื่อความบันเทิง
ใด ๆ" บทวิเคราะหศัพทเชนนี้เห็นไดชัดวา อาหารนั้นถาใชเปนคํากลาง ๆ แลว
จะตองหมายถึงอาหารสําหรับคนเทานั้น จะใหมีความหมายไปถึงอาหารสําหรับสัตว
ดวย ยอมเปนไปไมได เพราะภัตตาคารก็ดี ไนทคลับก็ดี ยอมเปนที่รูกันอยูทั่วไปวา
ไมใชตั้งขึ้นเพื่อขายอาหารสัตว
ประมวลรัษฎากร (ฉบับอัพเดตเมื่อ 25 สิงหาคม 2513)
หมวด 4 ภาษีการคา
– สวน 1 ขอความทั่วไป
มาตรา 77 ในหมวดนี้
“ภัตตาคาร” หมายความวา กิจการขายอาหารหรือเครื่องดื่ม ไมวา
ชนิดใด ๆ ในหรือจากสถานที่ซึ่งจัดไวใหประชาชนเขาไปบริโภคได
“ไนทคลับหรือคาบาเรต” หมายความวา กิจการขายอาหารหรือ
เครื่องดื่มไมวาชนิดใด ๆ ในหรือจากสถานที่ซึ่งจัดใหมกี ารแสดงดนตรี
การลีลาศ หรือการแสดงเพื่อความบันเทิงใด ๆ
มาตรา 78 ทวิ ผูประกอบการคาในกิจการดังตอไปนี้ ไมอยูในบังคับบทบัญญัติแหงหมวดนี้
(1) กิจการคาหาบเร
(2) กิจการผลิตสินคา ดังตอไปนี้
(ก) ปอทุกชนิดรวมทั้งเศษปอ ไมวาดิบหรือผานกรรมวิธีใด ๆ แลว รวมทั้งปอที่เปนเสนใย
แตไมรวมถึงปอที่ปนเปนเสนหรือวัตถุประดิษฐอื่นจากปอ
(ข) ถั่วทุกชนิด ไมวากะเทาะเปลือกหรือทั้งเปลือก บดทําใหเปนซีกหรือชิ้น รวมทั้งกากถั่ว
แตไมรวมถึงแปงถั่ว หรือถั่วที่ผานกรรมวิธีเพื่อทําเปนอาหารนอกจากอาหารสัตว
(ค) ขาวโพด ไมวาเปนฝกหรือเมล็ด อบ บดทําใหเปนซีกหรือชิ้น แตไมรวมถึงแปงขาวโพด
หรือขาวโพดที่ผานกรรมวิธีเพื่อทําเปนอาหารนอกจากอาหารสัตว
(ง) เมล็ดละหุง
(จ) ขาวเปลือก ขาวฟาง ขาวสาลี
ฯลฯ
อีกประการหนึ่ง ถาดูความในมาตรา 78 ทวิ ที่บัญญัติถึงการประกอบการคาที่
ไดรับการยกเวนไมตองเสียภาษีการคา เชน กิจการ ผลิตสินคา (ข) ถั่วทุกชนิด
ไมวากะเทาะเปลือกหรือทั้งเปลือกบด ทําใหเปนซีกหรือชิ้น รวมทั้งกากถั่ว แตไม
รวมถึงแปงถั่วหรือถั่วที่ผานกรรมวิธีเพื่อทําเปนอาหาร นอกจากอาหารสัตว (ค)
ขาวโพด ไมวาเปนผักหรือเมล็ด อบ บด ทําใหเปนซีกหรือชิ้น แตไมรวมถึงแปง
ขาวโพดหรือขาวโพดที่ผานกรรมวิธเี พื่อทําเปนอาหารนอกจากอาหารสัตว
เฉพาะคําวา อาหารคําแรกในทั้งสองวรรคตองตีความวาหมายถึงอาหารคน ซึ่ง
เปนการผลิตอาหารที่ตองเสียภาษีการคา ตรงกันขามการผลิตอาหารสัตวจาก
ถั่วหรือขาวโพดไมตองเสียภาษีการคาตามมาตรา 78 ทวิ
เมื่อความหมายของคําวา "อาหาร" ในประมวลรัษฎากรสามารถแยกแยกออกได
เชนนี้ คําวา "ผลิตภัณฑอาหาร" ก็ตองหมายถึงอาหารคนแตอยางเดียว ถากฎหมาย
ประสงคใหหมายถึงอาหารอยางอื่น ก็จําเปนจะตองบัญญัติไวใหชัดเปนแหง ๆ ไป
เชนอาหารสัตวตามมาตรา 78 ทวิ เปนตน อาหารสัตวจึงไมอยูในความหมายของคํา
วา "ผลิตภัณฑอาหาร" ตามบัญชีทายพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล
รัษฎากรวาดวยการลดอัตรารัษฎากร (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2509 บัญชีที่ 1 หมวด 1
อาหาร ฯลฯ ดังนั้นจําเลยจึงไมมีอาํ นาจบังคับใหโจทกเสียภาษีการคาในอัตรารอยละ
5 ของรายรับ เพราะที่โจทกเสียภาษีไปแลวในอัตรารอยละ 1.5 ของรายรับ เปนการ
ถูกตองแลว
ศาลจึงตัดสินใหใหเพิกถอนคําสั่งประเมินเรียกเก็บภาษีและเงินเพิ่มของจําเลยที่ 1
และคําวินิจฉัยอุทธรณของจําเลยที่ 2, 3, 4 โดยไมตองใหโจทกชําระคาภาษีการคา
และเงินเพิ่ม 1,062,985.90 บาทใหจําเลย
ขอสังเกต
ตามบัญชีที่ ๑ หมวด ๑ (๔) ทายพระราชกฤษฎีกาออกตาม
ความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรารัษฎากร (ฉบับที่
๒๑) พ.ศ. ๒๕๐๙ ซึ่งมาตรา ๔ ของพระราชกฤษฎีกาดังกลาว
กําหนดใหลดอัตราภาษีการคา ตามอนุมาตรา (๑) กรณี “สินคา
ตามบัญชีที่ ๑ ทายพระราชกฤษฎีกานี้ เฉพาะที่ผลิตใน
ราชอาณาจักรและสงออกนอกราชอาณาจักรโดยผูผลิตเปนผู
สงออก” และคงจัดเก็บในอัตรารอยละ ๒ ของรายรับ
(รายละเอียดดูหนาถัดไป)
จากการตรวจสอบบทบัญญัตใิ นบัญชีทายพระราชกฤษฎีกา บัญชีที่ ๑
หมวด ๑ อาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ (๑) ถึง (๔) ปรากฏความดังนี้
“(๑) เนื้อและสวนที่บริโภคไดของโค กระบือ แพะ แกะ สุกร
(๒) เนื้อและสวนตางๆ ของสัตวที่บริโภคไดที่รักษาไวมิใหเสียดวยการปรุงแตงหรือ
ดวยวิธีอื่น ทั้งนี้ เฉพาะที่นําเขาในราชอาณาจักร หรือที่ผูผลิตสินคาตาม (๑) ใน
ราชอาณาจักรผลิตเอง
(๓) นมขน นมผง เนย เนยแข็ง เนยเทียม ครีม
(๔) นมสด ผลิตภัณฑชงดื่ม อาหารกระปอง ผลไมกระปอง ลูกกวาด ผงชูรส ผงฟู
น้ําผึ้ง น้ํามันปรุงอาหารนอกจากน้ํามันมะพราว ผลิตภัณฑอาหาร เครื่องปรุง
รส กลิ่นหรือสี ทั้งนี้ เฉพาะที่บรรจุภาชนะหรือหีบหอผนึก หรือที่บรรจุภาชนะหรือ
หีบหอที่มีชื่อการคาหรือเครื่องหมายการคา”
จากคําพิพากษาดังกลาว มีขอสังเกตวา ในการปรับใชหลักนิติวธิ ี
สําหรับการตีความกฎหมายลายลักษณอักษรอันไดแก การพิเคราะห
ตัวอักษรหรือถอยคําวา “ผลิตภัณฑอาหาร” ตามบทบัญญัติแหง
กฎหมายที่ตองดวยกรณี ตองเปนไปตามหลักเกณฑในมาตรา ๔ วรรค
หนึ่ง มิใชมาตรา ๔ วรรคสอง เปนปญหาที่จะตองคนหาความหมาย
ของคําวา “ผลิตภัณฑอาหาร” ซึ่งกระทําไดโดยพิจารณาจากบท
มาตราอื่นๆ ของประมวลรัษฎากร เปนการปรับใชมาตรา ๔ อยาง
ถูกตองและชอบดวยหลักนิติวิธีแลว
แตมีปญหาเล็กนอย เมื่อปรากฏในคําพิพากษาดังกลาวดวยวา “ยอม
คนหาความหมายไดโดยเปรียบเทียบจากบทบัญญัติที่ใกลเคียงอยางยิ่ง
คือจากบทมาตราอื่นๆ ของประมวลรัษฎากร” แตการอาศัยเทียบบท
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง กลับเปนกรณีตามมาตรา ๔ วรรคสอง ซึ่ง
เปนเรื่องการใชกฎหมายโดยการเทียบเคียง ไมเกี่ยวกับปญหาการ
ตีความกฎหมาย ซึ่งตองพิจารณาจากมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง แตอยางใด
ดังนั้น หากใชคําวา “คนหาความหมายของคําวา“ผลิตภัณฑอาหาร”
ซึ่งกระทําไดโดยพิจารณาจากบทมาตราอื่นๆ ของประมวลรัษฎากร”
จะเปนการเหมาะสมกวา เนื่องจากเปนเรื่องของการตีความกฎหมาย
โดยตองพิจารณาบริบทแวดลอมตามมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง นั่นเอง
ขอสังเกต
ภาษีการคาเปนภาษีอากรตามกฎหมายเกา ในปจจุบันไดถูก
ยกเลิกไปแลว ภาษีมูลคาเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะเปนระบบ
ภาษีใหมท่นี ํามาบังคับใชแทนภาษีการคาตั้งแตวนั ที่ 1 มกราคม
พ.ศ. 2535
ตัวอยางจากคดีดังกลาว แสดงใหเห็นวา ในระบบกฎหมายไทย
ตามที่วางหลักเกณฑไวในมาตรา ๔ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย ไมมีการใชหลักทฤษฎีการตีความกฎหมายตาม
ตัวอักษร (Literal Interpretation) เหมือนเชนตามที่ปรากฏ
ในระบบคอมมอนลอว
หากมีการกลาวอางวา "กฎหมายไทยต O องตีความตามตัวอักษร"
คํากลาวอางเชนนี้ยอมไมเปนการถูกตอง เนื่องจากไมเปนไป
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔ วรรคหนึ่งที่
บัญญัติวา “กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวย
บทบัญญัติใด ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุง
หมายของบทบัญญัตินั้นๆ”
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔ กําหนดให
ความสําคัญกับบอเกิดของกฎหมายประเภทกฎหมายที่
บัญญัติขึ้นเปนลายลักษณอกั ษรมากกวาบอเกิดของ
กฎหมายประเภทกฎหมายที่มิไดบัญญัติข้นึ เนื่องจาก
ประเทศไทยใชระบบกฎหมายแบบซิวิลลอว มิใชระบบ
คอมมอนลอว
บอเกิดของกฎหมายคืออะไร
บอเกิดของกฎหมายคือ ระเบียบกฎเกณฑ (Norm) ที่นัก
กฎหมายสามารถนําไปใชปรับแกคดีท่เี กิดขึ้น เปรียบเสมือนจะ
หาน้ําตองหาน้ําใหถึงบอ จึงจะไดน้ํามา ดังนั้น ก็ตอ งหาบอเกิด
ของกฎหมายใหเจอ จึงจะทราบวาจะนํากฎหมายที่ไหนมา
ตัดสิน เปนการตอบคําถามวา “ใครมีอาํ นาจที่จะบัญญัติ
กฎหมายได” แตไมใชปญหาเรื่อง “ที่มาของกฎหมาย” วา
มาตรานั้นมาตรานี้ รางขึ้นโดยเทียบหลักกฎหมายเกาตรงไหน
หรือกฎหมายตางประเทศของประเทศใด มาตราใด
ในระบบกฎหมาย แบบ Civil Law
บอเกิดหลักหรือบอเกิดที่สําคัญของกฎหมายไดแก
กฎหมายลายลักษณอักษรซึ่งปรากฏตัวในรูปของประมวล
กฎหมาย โดยเฉพาะประมวลกฎหมายแพง รวมถึง
กฎหมายอื่นที่บัญญัติขึ้น สําหรับบอเกิดที่ไมเปนกฎหมาย
ลายลักษณอกั ษร ถือเปนบทสํารองหรือเปนบอเกิดรอง ใช
ในกรณีที่ไมสามารถปรับใชกฎหมายลายลักษณอักษรได
แลว จึงตองหันไปหาบอเกิดรองตามมาตรา ๔ วรรคสอง
ไดแก จารีตประเพณีแหงทองถิ่นและหลักกฎหมายทั่วไป
สวนคําพิพากษานั้น โดยหลักเปนเพียงตัวอยางในการนํากฎหมายไปปรับใชตามหลักที่
ปรากฏอยูในประมวลกฎหมายอยูแลว คําพิพากษาใหมจึงอาจตัดสินเปลี่ยนแปลงคํา
พิพากษาเดิมโดยใหเหตุผลเสียใหมก็ได
ดังนั้น โดยทั่วไปแลว ศาลจึงไมอาจนําคําพิพากษาของศาลในคดีกอ นมาใชเปนฐานอางอิง
ในการตัดสินคดีโดยตรง การตัดสินคดีตองเปนไปตามบทกฎหมาย และศาลไมตองถูกผูกพัน
ตามหลักเกณฑที่ปรากฏในคําพิพากษาคดีกอน
หลักสําคัญอยูที่การใชและตีความตัวบทกฎหมายในประมวลกฎหมายจะตองมุงหมายให
สามารถปรับใชไดเปนการทั่วไป ไมใชมุงตีความตามตัวอักษรอยางเครงครัด คือมุงใหมที ่ใี ช
อยางกวางขวาง ไมใชมุงใหมีที่ใชอยางคับแคบ จึงไมสามารถนําหลักการตีความตาม
ตัวอักษรซึ่งเปนปฏิปกษตอกฎหมายลายลักษณอักษรมาใชได
ปจจัยสําคัญที่เปนตัวแบงระหวางระบบซิวิลลอวกับระบบคอมมอนลอวน้นั จึงอยูที่ทัศนคติ
ที่มีตอกฎหมายลายลักษณอักษรและคําพิพากษาวาเปนอยางไร กลาวคือ มองสิ่งใดดวย
ความชื่นชม และยกยองเชิดชูใหเปนบอเกิดหลักหรือที่มาของกฎหมายเปนดานหลัก
มากกวากัน โดยจะมุงยกยองกฎหมายลายลักษณอักษรมากกวาคําพิพากษา หรือจะยกยอง
คําพิพากษามากกวากฎหมายลายลักษณอักษรนั่นเอง
ในระบบกฎหมาย Common Law
คําพิพากษาบรรทัดฐานของศาลเปนบอเกิดของกฎหมายและ
เปนบอเกิดหลัก เพราะโดยทั่วไป หลักกฎหมายเกิดจากคํา
พิพากษาของศาล การตัดสินคดีก็พิจารณาจากหลักเกณฑและ
เหตุผลจากคําพิพากษาในคดีกอน และคําพิพากษาตอๆ มาใน
กรณีขอเท็จจริงอยางเดียวกันยอมตองตัดสินตามแนวคํา
พิพากษากอน ๆ นั้นเสมอ กลาวคือ เปนไปตามหลัก
precedent นั่นเอง แตอยางไรก็ดี ในระบบกฎหมาย
Common Law ก็มีบอเกิดของกฎหมายที่เปนบทบัญญัติลาย
ลักษณอักษรที่ตราขึ้นโดยรัฐสภาดวย
ลักษณะเฉพาะของระบบคอมมอนลอว มี ๒ ประการคือ
ประการที่หนึ่ง ระบบดังกลาวไมไดรับอิทธิพลโดยตรงจากกฎหมายโรมัน ซึ่งมิได
หมายความวาจะไมไดรับอิทธิพลจากกฎหมายโรมันเลย เพียงแตไดรับอิทธิพล
เพียงบางอยางจากกฎหมายโรมันเทานั้น โดยเฉพาะในเนื้อหาของกฎหมายบาง
เรื่อง สวนวิธีคิดยอมมิไดนาํ วิชานิติศาสตรโรมันไปใชกํากับเปนหลักเปนฐาน
เหมือนอยางในระบบซิวิลลอว
ประการที่สอง ในระบบคอมมอนลอว แมจะมีการบัญญัติกฎหมายลายลักษณ
อักษรเปนจํานวนมาก แตกไ็ มมีประมวลกฎหมายตามความหมายที่แทจริง จึงไม
ยึดถือกฎหมายลายลักษณอักษรเปนบอเกิดหลักของกฎหมาย หากแตไปยึดถือ
คําพิพากษาของศาลวาเปนบอเกิดหลักของกฎหมาย และมีทัศนะที่เปนลบตอ
กฎหมายลายลักษณอักษร จึงตองการจํากัดที่ใชของกฎหมายลายลักษณอักษร
เอาไว และเปนที่มาของทฤษฎีการตีความกฎหมายตามตัวอักษร
กฎหมายลายลักษณอักษรในระบบซิวิลลอวอยูภายใตระบบของเหตุผลและหลัก
ความเปนธรรม การใชกฎหมายมิไดดูแตตัวอักษรที่เขียนไว หากแตจะตอง
พิจารณาความมุงหมายหรือเจตนารมณของกฎหมายควบคูไปดวย และ
กฎหมายลายลักษณอักษรถือเปนหลักทั่วไป ไมใชกฎหมายเฉพาะเรื่องเฉพาะ
ราว ในกรณีที่ตัวบทมิไดกลาวไวโดยตรงก็ยังสามารถอาศัยเทียบเคียงบท
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งเพื่อปรับใชหลักตามกฎหมายลายลักษณอักษรไปได
ตรงกันขามกับกฎหมายลายลักษณอักษรในระบบคอมมอนลอว ซึ่งเนนหลักการ
ตีความตามตัวอักษร และถือเปนหลักกฎหมายเฉพาะเรื่องเฉพาะราวเทานั้น
ทั้งนี้ เพราะในระบบคอมมอนลอวถือวา บอเกิดของกฎหมายที่สาํ คัญคือคํา
พิพากษาของศาลซึ่งเปนแนวบรรทัดฐานมานาน เมื่อตัวบทไปไมถึง ก็ตองหันไป
ใชหลักทั่วไปซึ่งเปนไปตามแนวคําพิพากษาของศาล จะอาศัยเทียบเคียงจากบท
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งไมได
ศ.ดร. อักขราทร จุฬารัตน สนใจเรื่องนิติวิธแี ละอธิบายวา ทําไม
นักกฎหมายไทยถึงเถียงกันไมจบ ตีความกันไมเลิก
เมื่อหลายพันปกอน กอนจะมีประมวลกฎหมายแพงกฎหมาย
อาญา ศาลก็ตัดสินดวยขอเท็จจริง วาถาคดีนี้มขี อเท็จจริงอยาง
นี้ มีเหตุผลอยางนี้ ก็ตองตัดสินอยางนี้ ทํากันมาหลายรอยป
จนถึงสมัยโรมัน จึงมีการประมวลเปนหลักกฎหมาย เขียนไวให
ยึดโยงกันหมด จึงเกิดประมวลกฎหมายแพงและประมวล
กฎหมายอาญา ใชในทุกประเทศที่เปนเมืองขึ้นของจักรวรรดิ
โรมัน และเปนที่มาของระบบ Civil Law ในปจจุบัน
ประเทศไทยก็อยูในระบบนี้ดว ย
ศ.ดร. อักขราทร จุฬารัตน สนใจเรื่องนิติวิธแี ละอธิบายวา ทําไมนัก
กฎหมายไทยถึงเถียงกันไมจบ ตีความกันไมเลิก
ที่วาใชในทุกประเทศที่เปนเมืองขึ้นของจักรวรรดิโรมันนั้น ยกเวน
อังกฤษ ซึ่งโรมันเขาไปปกครองไมนานนัก อังกฤษจึงยังใชระบบศาล
ตัดสิน หลักกฎหมายอยูในคําสั่งศาล ซึ่งเรียกวา case laws คนโรมัน
เมื่อทําประมวลฯแลวก็มีหลักการในการที่จะใชกฎหมาย วาการตีความ
ตองเปนอยางนั้นอยางนี้ เขาก็ follow กันมา ในยุโรปที่ใชระบบ Civil
Law แบบโรมันจะตีความโดยมีกฎเกณฑการตีความ แตอังกฤษไมใช
คนอังกฤษไมมีปญหาเรื่องการตีความเพราะศาลตัดสินอยางเดียวใน
ชวงแรกเพราะตอนนั้นยังไมมปี ญหาเรื่องการออกกฎหมายมาใช มีคดี
มาศาลก็ตัดสิน follow ตาม case laws วาไป แตเขาไมมีปญหาเรื่อง
การใชกฎหมายตีความกฎหมาย เพราะศาลสูงสุดเปนคนตีความ
เรียกวาศาล Common Law (และเขามีศาล Equity ดวย)
ศ.ดร. อักขราทร จุฬารัตน สนใจเรื่องนิติวิธีและอธิบายวา ทําไมนักกฎหมายไทยถึง
เถียงกันไมจบ ตีความกันไมเลิก
ปญหามันเกิดขึ้นเมื่ออังกฤษตองมาเปนประชาธิปไตย ก็ตองมีสภา สภาออก
กฎหมายมาเปนพระราชบัญญัติ มันก็ตองบังคับใชกับประชาชน เมื่อบังคับแลว
ก็เกิดปญหา มีคดีความเกิดขึ้นจากการใชพระราชบัญญัติเหลานั้น ก็ยอนกลับไป
เปนคดีความในศาล ปญหาจึงเกิดขึ้นวา เดิมนั้นศาลอังกฤษมี free hand ที่จะ
พิจารณาใหเหตุใหผล สรางหลักกฎหมายในคดีตางๆ ได แตปจ จุบันมีสภาออก
กฎหมายมาบังคับวาถาอยางนี้ตองเปนอยางนี้ แตมันก็ไมหลุดพนจากสิ่งที่ตอ ง
ไปสูศาลใหตดั สิน เมื่อไปสูศาลศาลวายังไง นี่เปน behaviour ของมนุษย ศาล
มีอํานาจในการตัดสินอยูดีๆ สภามาบังคับใหตองแปลกฎหมายที่สภาเขียนมา
ศาลอังกฤษจึงคอนขางตีความโดยเครงครัดกับตัวหนังสือ เพราะฉะนั้นถาทาน
อานกฎหมายอังกฤษทานจะไมรูเรื่องเลย คนอังกฤษยังอานกฎหมายอังกฤษไมรู
เรื่อง ยกเวนคนที่มีอาชีพทนายความ เพราะสนิมพริมพราย ไอโนนยึดโยง ถาไม
เขียนละเอียด เรียบรอยเลย ศาลก็ตีความเฉพาะที่เห็นในตัวหนังสือ (ตามทฤษฎี
เรียกวา หลักการตีความตามตัวอักษร หลักนี้ไมมีในระบบซิวิลลอว)
ความผิดพลาดของ Prussian Codification
แควนปรัสเซียซึ่งมีอยูกอ นการรวมอาณาจักรเยอรมัน กษัตริยข อง
ปรัสเซียเคยมีพระประสงควากฎหมายตองเขียนใหชัดเจนไมใหมีปญ  หา
แตตนรางประมวลกฎหมายดังกลาวตองปรับปรุงใหม เนื่องจากรางกัน
มาถึง 30,000 กวามาตรา
ตอมา ประมวลกฎหมายทั่วไปแหงรัฐปรัสเซีย ที่ประกาศใชเมื่อ ค.ศ.
1794 (มีทั้งเรื่องกฎหมายแพง กฎหมายอาญา และกฎหมายปกครอง
รวมอยูดวยกัน) ยังคงมีตวั บทรวมทั้งสิ้นถึง 19,000 มาตรา อยูอีก ตาม
ความประสงคที่จะขจัดไมใหตองตีความกฎหมาย แตไมประสบ
ความสําเร็จ เพราะเปนเพียงเรื่องรายละเอียดจุกจิก (casuistic)
กฎหมายแพง(หมายถึงกฎหมายเอกชน)ที่เราเรียนมาเปนเรื่องของ
บุคคล 2 ฝายที่มีสถานภาพเทากัน เพราะฉะนั้นความเปนธรรม การ
ตีความตามเจตนาของทั้ง 2 ฝาย ก็วาไปตามสภาพปกติ แตกฎหมาย
มหาชนคืออะไร คนหนึ่งดูแลสิทธิผลประโยชนเสรีภาพของตัวเอง แต
อีกฝายหนึ่งก็คือรัฐ ดูแลผลประโยชนของคนสวนรวมหรือคนสวนใหญ
ความจริงไมพอ มนุษยหนาไหนมันจะมาดูแลผลประโยชนสวนรวม ก็
คือเจาหนาที่ของรัฐที่จะมาดูแลผลประโยชนสว นกลาง มันเปน
นามธรรม เพราะฉะนั้นมันก็มีผลประโยชนของตัวเองเขามาเกี่ยวดวย
ในทางกฎหมายมหาชนจึงมี 3 ฝาย เอกชนที่เปนตัวบุคคล รัฐซึ่ง
จะตองมีคนดูแลรักษาคือราชการ แตความจริงไมใช เจาหนาที่ซึ่งทํา
แทนตรงนี้ยังมีประโยชนตัวเองเขาไปเกี่ยวของดวย เพราะฉะนั้น
หลักการตีความกฎหมายมหาชน เปาหมายสําคัญคือวัตถุประสงคของ
กฎหมายนั้นคือประโยชนสาธารณะ โดยคํานึงถึงสิทธิประโยชนที่บุคคล
เอกชนจะพึงมีตามกฎหมายที่ให
หลักการตีความกฎหมายมหาชน
เปาหมายสําคัญคือวัตถุประสงคของกฎหมายนั้นคือประโยชน
สาธารณะ โดยคํานึงถึงสิทธิประโยชนที่บุคคลเอกชนจะพึงมีตาม
กฎหมายที่ให
ไมใชวาเวลาตีความบอกไมเปนไรหรอก ใหยายแกไปเพราะสงสารแก
ใหๆ แกไปเถอะ เพราะแก suffer มาก ดูในแงมนุษยธรรมโอเค แตใน
แงความเปนจริงเราเปนเจาหนาที่รัฐตองดูแลผลประโยชนวา หนึ่ง ตอง
ดูวายายคนนั้นแกมีสิทธิอันชอบธรรมที่ควรจะได ถาควรจะไดตองให
แก แตไมใชเพราะเหตุวาเฮยไมเทาไหรหรอก เอาแลวเงินไมเทาไหรมัน
เงินของคนสวนกลาง แลวคุณไมดูแลเหรอ มันตอง balance สิทธิ
ประโยชนสวนบุคคลกับสิทธิประโยชนสวนรวม อันนี้คือภารกิจของ
ศาลปกครอง คือจะตอง balance ตรงนี้ใหได ใหมันเกิดความสมดุลให
ได
กรณีแมอาย
(กระทรวงมหาดไทยเพิกถอนสัญชาติชาวไทยภูเขา)
ถาไมสังเกตก็จะบอกวา เออ ศาลปกครองไปแปลอะไรจนใหเกิดความเสียหาย ความ
จริงเขาไมเขาใจ สิ่งที่เราชี้ก็คือคนไดรับความเดือดรอนเนื่องจากไมใชไมใหสัญชาติ
นะ แตไปเพิกถอนเขา ในแงความมั่นคงก็จะบอกเออถูกแลวนี่ คนที่ไมควรมีสัญชาติ
ไทยถาใหคงสถานะอยู มันก็ไมถูก แตความจริงตองพูดวาดูกฎหมายเปนหรือไม คือ
ศาลไมไดบอกวาใหสัญชาตินะ แตศาลบอกวาการที่คุณใชวิธีเหมา ถอนไปกอน แลว
คอยวากันทีหลัง เฮยมันไมถูก หนาที่ของคุณในการเปนฝายปกครองหรือบริหาร
ประเทศ ถาจะถอนสัญชาติเขา คุณตอง case by case ไมใชอยูดีๆ เอาความสะดวก
เหมาไปหมด นี่คอื การมองสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ นี่คือตัวอยาง
ประเทศที่มีรัฐธรรมนูญเปนลายลักษณอกั ษร รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด คุณตอง
ดูขางบนกอน ดูรัฐธรรมนูญแลวไลลงมา แลวมันมีชองวางตรงไหนที่กฎหมายเขียนไม
ถึง และหมายความวาอยางไร จะแปลยังไงเพื่อใหสอดคลองกับบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญ ไมใชวากฎหมายไมมีเขียนไว ก. ข. เลยยกไป ไมใช มันเปนศาสตร มัน
อยูท่คี วามเที่ยงธรรมของคนตีความดวย แนนอน ตอใหคุณเกงทางกฎหมายแตคุณไม
มีจิตใจที่เปนธรรม นักกฎหมายนี่นะครับยิ่งเกงเทาไหร ถาไมมีคุณธรรมยิ่งกวาโจร คือ
สามารถทําใหอะไรเปนอะไรไดหมด ทําขาวเปนดํา ดําเปนขาว นักกฎหมายที่ไมสุจริต
ขอความทั่วไปวาดวยนิติวิธี
(Juristic Method)
“มาตรา 4 กฎหมายนั้ น ต อ งใช ใ นบรรดากรณี ซึ่ ง ต อ งด ว ย
บทบัญญัติใด ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุง
หมายของบทบัญญัตินั้น ๆ
เมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้น
ตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น
ใหวินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถา
บทกฎหมายเชน นั้ น ก็ ไม มี ด ว ย ให วิ นิจ ฉัย ตามหลั กกฎหมาย
ทั่วไป”
คํ า ว า “กฎหมาย” ซึ่ ง เป น คํ า แรกของมาตรา ๔ จึ ง เป น กฎหมายใน
ความหมายนามธรรม ไมใชกฎหมายตามตัวอักษร
“มาตรา 4 กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใด
ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัติ
นั้น ๆ (วรรคแรก)”
คําวา “กฎหมาย” ในบทบัญญัติขางตนหมายถึงกฎหมายใน
ความหมายนามธรรม มิไดมีความหมายจํากัดเฉพาะกฎหมายตาม
ตัวอักษรเทานั้น เพราะกฎหมายนั้นมีทั้งที่เปนกฎหมายตามตัวอักษร
และที่ไมใชตามตัวอักษร โดยที่บทบัญญัติในมาตรา ๔ เปนบทที่
กลาวถึงบอเกิดแหงกฎหมาย และวิธีใชและตีความกฎหมาย หรืออีกนัย
หนึ่ง กลาวถึงนิติวิธีนั่นเอง
สาระสําคัญของมาตรา 4
มุง กํ าหนดใหปรั บใชกฎหมายตามตั ว อั กษรหรือ ตามความมุง
หมายของบทบัญญัติที่ตองดวยกรณี หรือตองดวยขอเท็จจริง
อันเปนประเด็นของขอพิพาทเสียกอนเปนลํ าดับแรก เมื่อไมมี
กฎหมายตามตัวอักษรหรือตามความมุงหมายมาปรับใชไดแลว
จึ ง ต อ งพิ จ ารณาว า จะมี จ ารี ต ประเพณี แ ห ง ท อ งถิ่ น หรื อ บท
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง หรือหลักกฎหมายทั่วไปที่ตองดวย
กรณีนั้นหรือไมสําหรับการปรับใชในลําดับตอ ๆ ไปตามลําดับ
การใชกฎหมาย
การใชกฎหมาย คือ การนําขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นในคดีมา
ปรับกับกฎหมาย และวินิจฉัยวาขอเท็จจริงนั้นมีผลทาง
กฎหมายอยางไร
การใชกฎหมาย จึงมีความหมายกวาง กลาวคือ ตองใช
กฎหมายทุกบอเกิดหรือทุกประเภท ทั้งกฎหมายลาย
ลักษณอักษร กฎหมายประเพณี หลักกฎหมายทั่วไป
รวมทั้งการใชกฎหมายโดยการเทียบเคียง (analogy)
การตีความกฎหมาย

การตีความกฎหมายเกิดขึ้นเมื่อมีการใชกฎหมาย
ลายลักษณอกั ษรเทานั้น เพราะการตีความคือ
กระบวนการขบคิดคนหาความหมายหรือขอความ
จากบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณอักษร โดย
ใชเหตุผลทางตรรกวิทยาและเหตุผลสามัญสํานึก
เพื่อนําไปวินิจฉัยคดีใหถูกตอง คือ เหมาะเจาะ
เหมาะสม และเปนธรรม
การตีความจึงตองมีวตั ถุในการตีความ นั่นคือ “ถอยคํา”
ซึ่งเปนลายลักษณอักษร
ถอยคําหรือตัวอักษรนั้น ไมมีความหมายชัดแจงในตัวเอง
ความหมายของถอยคําจะชัดเจนเมื่ออานรวมกับถอยคํา
อื่นที่เปนขอความแวดลอม (บริบท หรือ context ใน
ภาษาอังกฤษ)
การอานขอความแวดลอมทั้งหมด คือ การคนหาความมุง
หมายของกฎหมายหรือเหตุผลของกฎหมาย (ratio
legis) นั่นเอง
การตีความกฎหมายจึงตองกระทําโดยพิเคราะหตัวอักษรเพื่อ
คนหาความหมายตามบริบทแวดลอม (ratio legis – Nature of
Things) ของกฎหมายเรื่องนั้นๆ
ปพพ. มาตรา ๔ กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติ
ใด ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัตินั้น ๆ
เมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีน้นั ตามจารีต
ประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น ใหวินจิ ฉัยคดีอาศัยเทียบบท
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้นก็ไมมีดวย ใหวินิจฉัยตาม
หลักกฎหมายทั่วไป
 มาตรา ๔ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยดังกลาวมุงกําหนดใหปรับใช
กฎหมายตามตัวอักษรหรือตามความมุงหมายของบทบัญญัตทิ ี่ตองดวยกรณี
หรือตองดวยขอเท็จจริงอันเปนประเด็นของขอพิพาทเสียกอนเปนลําดับแรก
บริบทแวดลอม (ratio legis – Nature of Things) ของกฎหมายเรื่องนั้นๆ
หมายถึงการพิเคราะหคุณคาอันเปนรากฐานของกฎหมาย ที่แผซึมไปในทุกบทมาตรา
ดังนั้น ในการคนหาความหมายที่ถูกตองแทจริงจึงจําเปนตองพิจารณาจากขอความ
แวดลอม เรียกวาเปนขอความระหวางบรรทัด (between the lines) ซึ่งอาจเปน
– ในมาตราเดียวกัน ใหอานทั้งมาตรา อาจเห็นขอความขางหนา (“สิทธิอยางหนึ่งอยางใด”
ตามมาตรา 420 หมายถึงสิทธิเด็ดขาด ไมใชสิทธิสัมผัส)
– บทบัญญัติมาตราตางๆ ในหมวดเดียวกัน เชน คําวา “การ” ในเรื่องละเมิด กับคําวา “การ”
ในเรื่องนิติกรรม
– บทบัญญัติมาตราอื่นๆ ในกฎหมายเรื่องเดียวกันที่ตองดวยกรณี เชน คําวา “อาหาร” มิได
พิจารณาตามบทบัญญัติในบัญชีทายพระราชกฤษฎีกาลดอัตรารัษฎากร แตตองดวยกรณีที่
ตองพิจารณาบทบัญญัติมาตราอื่นๆ ในประมวลรัษฎากร และหมายถึงอาหารสําหรับคน ไม
รวมไปถึงอาหารสัตว
– บริบทแวดลอมในสังคม (เทศกาลบานเมือง) เชน มาตรา 444 ในกรณีทาํ ใหเสียหายแก
รางกายหรืออนามัย ศาลตีความใหครอบคลุมความเสียหายมากกวาอดีต เพื่อใหระมัดระวังใน
การขับรถมากยิ่งขึ้น
บริบทแวดลอมที่ไดจากการพิเคราะหคุณคาอันเปนรากฐานของกฎหมาย
มีความหมายรวมไปถึงรากฐานยอยที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกันลงไปอีก
เชน ในกฎหมายแพง มีหลักอิสระทางแพงหรือหลักเสรีภาพในการทําสัญญา
เปนคุณคาอันเปนรากฐานของกฎหมาย
– รากฐานยอยในเรื่องนี้ มีหลายประการ เชน หลักการเคารพเจตนาของ
คูกรณี หลักสุจริต หลักความยุติธรรมในการแลกเปลี่ยนตอบแทน หลัก
สัญญาตองเปนสัญญา
– รากฐานยอยเหลานี้ประสานเกาะเกี่ยวเชื่อมโยงใหหลักอิสระทางแพงหรือ
หลักเสรีภาพในการทําสัญญาดํารงอยูได
– บทกฎหมายใดที่มีลักษณะขัดแยงกับคุณคาที่บทบัญญัติสวนใหญในเรื่องนั้น
มีอยู ยอมจะตองถือวาเปนขอยกเวน จึงตองไมตีความขยายความบท
กฎหมายดังกลาว แตควรจะตีความอยางเครงครัดและไมสมควรนําบท
กฎหมายนั้นไปใชเปนบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง
ตัวอยางการตีความกฎหมายสิบสองโตะ(มัด)
มัด (โตะ) ที่ 6 tignum iunctum aedibus vineave sei concapit ne
solvito (ไมอาจรือ้ ขื่อบานหรือตนองุนที่ใชสัมภาระของผูอื่นมาทําการปลูก
สรางได)
ใครสรางบานโดยเอาสัมภาระของผูอื่นมาสรางบาน จะไมถกู บังคับใหรื้อขื่อ
ออก ดังนี้ แมจะไมใชขื่อ แตอาจเปนสวนอื่นของบาน เชน หลังคา เสาบาน
ผนังบาน ก็มีผลอยางเดียวกับเรื่องขื่อ จึงตีความรวมไปถึงสิ่งของเหลานี้
ดวยวาจะรื้อไมไดเชนเดียว จะตีความอยางเครงครัดตามตัวอักษรไมได
โปรดดู ภูมินทร บุตรอินทร. การใชเหตุผลทางนิติศาสตร Legal
Reasoning. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โครงการตําราและเอกสาร
ประกอบการสอน คณะนิติศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2555, หนา
128
สวนคําพิพากษานั้น โดยหลักเปนเพียงตัวอยางในการนํากฎหมายไปปรับใชตาม
หลักที่ปรากฏอยูในประมวลกฎหมายอยูแลว คําพิพากษาใหมจึงอาจตัดสิน
เปลี่ยนแปลงคําพิพากษาเดิมโดยใหเหตุผลเสียใหมก็ได ดังนั้น โดยทั่วไปแลว
ศาลจึงไมอาจนําคําพิพากษาของศาลในคดีกอนมาใชเปนฐานอางอิงในการ
ตัดสินคดีโดยตรง การตัดสินคดีตองเปนไปตามบทกฎหมาย และศาลไมตองถูก
ผูกพันตามหลักเกณฑที่ปรากฏในคําพิพากษาคดีกอน
ในระบบซิวิลลอว คําพิพากษา ในตัวของมันเองไมใชบอ เกิดของกฎหมาย แตก็
มีความสําคัญ เพราะเปนเรื่องการใชและการตีความกฎหมาย
ในการตีความกฎหมาย วัตถุแหงการตีความ มีแตบทบัญญัติกฎหมายลายลักษณอักษร
เทานั้น (มาตรา 4 วรรคหนึ่ง ทั้งการใชและการตีความกฎหมาย)
สวนกรณีตามมาตรา 4 วรรคสอง (จารีตประเพณีแหงทองถิ่น การใชกฎหมายโดยการ
เทียบเคียง และหลักกฎหมายทัว่ ไป) มีแตการใชกฎหมายเทานั้น แตจะเปนวัตถุแหง
การตีความไมได!!!
ดังนั้น ความหมายตามตัวอักษรหรือถอยคําลอยๆ จึงไมมี การ
แยก “ความหมายตามตัวอักษร” และ “ความหมายตามความ
มุงหมายหรือเจตนารมณ” จึงเปนไปไมได
การกลาววา ถาตีความตามตัวอักษรไดความหมายอยางหนึ่ง
และตีความตามความมุงหมายหรือเจตนารมณไดความหมายอีก
อยางหนึ่ง ใหถือความหมายตามความมุงหมายหรือเจตนารมณ
จึงเปนสิ่งที่ไมถูกตอง
ที่ถูกตอง ตองพิเคราะหถอยคําหรือตัวอักษรพรอมกันไปกับการ
คนหาความมุงหมายหรือเจตนารมณของกฎหมาย เพื่อคนหา
ความหมายที่ถูกตองที่แทจริง ซึ่งมีอยูความหมายเดียว
ดังนั้น การใชการตีความตามหลักการของ ปพพ. มาตรา ๔
วรรคหนึ่ง จึงหมายความวา การใชการตีความกฎหมายนั้น ตอง
ใชกฎหมายกอนและตีความกฎหมายตามมาดวย ใหตองดวย
ความหมายที่แทจริง ไมวาจะพิจารณาตามตัวอักษรหรือ
ความหมายตามความมุงหมาย ก็มีความหมายเชนเดียวกัน
ขอพิจารณาเกี่ยวกับบทบัญญัติมาตรา ๔
“มาตรา 4 กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวย
บทบัญญัติใด ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุง
หมายของบทบัญญัตินั้น ๆ
เมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้น
ตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น
ใหวินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถา
บทกฎหมายเชน นั้ น ก็ ไม มี ด ว ย ให วิ นิจ ฉัย ตามหลั กกฎหมาย
ทั่วไป”
สําหรับกรณีตามมาตรา ๔ วรรคสอง
นั้น มีแตเรื่องการใชกฎหมาย ไมมี
เรื่อง “การตีความกฎหมาย”
การใหเหตุผลโดยการเทียบเคียงเปนเรื่องในระบบคอมมอนลอว
และมีการใชคําวา analogy ในที่น้ดี วย
หลักการของวิธีเทียบเคียงคือ “ความเหมือนกัน” (symmetry) ขอเท็จจริง
อยางเดียวกันควรไดรับการปรับใชหลักเกณฑเดียวกัน และนําไปสูผลลัพธ
เดียวกัน
แตในระบบซิวิลลอว ตองพิจารณาหลักการตามมาตรา 4 วรรคหนึ่ง กอน จะ
ขามไปใชวิธีการอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งไมได หากปรากฏวา
ยังคงมี “บทกฎหมายจะปรับแกคดี” อยูตามหลักนิติวิธีตามมาตรา 4 วรรค
หนึ่ง กลาวคือ ตองใชกฎหมายที่บัญญัติขึ้นกอนเปนลําดับแรกตามหลักบอเกิด
ของกฎหมาย แลวนําไปสูการใชกฎหมาย และการตีความกฎหมาย
ในการตีความกฎหมายจะอธิบายวาเปนการอาศัยเทียบบทกฎหมายที่
ใกลเคียงอยางยิ่งไมได!!
กิตติศักดิ์ ปรกติ, “หลักทั่วไปเกี่ยวกับการใชการตีความกฎหมาย”, การใช
การตีความกฎหมาย, งานวิชาการรําลึกศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย ครั้งที่ ๑๓,
กองทุนศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,
พิมพครั้งที่ ๔, ๒๕๕๓, น.๑๗ – ๘๓.
1) ไมมีบทกฎหมายใดที่ไมตองตีความ
2) การตีความกฎหมายแบบตางๆ ซึ่งตองใชควบคูกันไป (ตามบท
วิจารณของ ศ. ดร. ประชุม โฉมฉาย, หนา ๗๑ – “การที่เรารู
วาบทบัญญัตนิ ั้นๆ ตองดวยกรณีหรือไม เราตองพิจารณาจาก
ความมุงหมายเสมอ”)
 หลักการตีความตามหลักภาษาควบคูไปกับหลักการตีความตาม
เหตุผลทางตรรกะ (ตามที่ไดกลาวมาแลวในชวงแรก)
การตีความกฎหมายแบบตางๆ ซึ่งตองใชควบคูกันไป
ตัวอักษรกับเหตุผลเปนสิ่งที่มิไดแยกออกจากกัน อันเปน
ที่มาของการใชนิติวิธีที่สําคัญของนักกฎหมายในระบบ
ซิวิลลอว โดยทั้งนี้ ทําใหวิชานิติศาสตรไดพัฒนามาเปน
– หลักการตีความอยางกวาง (extensive interpretation)
– หลักการตีความอยางแคบ (restrictive interpretation)
– หลักการตีความใหความเห็นแตกตาง (distinctive
interpretation)
แนวทางในการคนหาความมุงหมาย
1) สังเกตลักษณะกฎหมาย 3 รูปแบบ
ก) บทบัญญัติที่มาจากกฎหมายประเพณี สวนมากอยูในกฎหมาย
ครอบครัว เชน สามีภริยาตองอยูกินกันฉันสามีภริยา การหมั้น ให
ตีความใหเขากับจิตใจของคนไทย
ข) บทบัญญัติที่มาจากหลักกฎหมายหรือหลักนิติศาสตร เชน อายุ
ความ ครอบครองปรปกษ กฎหมายยอมรับรูเรื่องเหลานี้แมขัด
หลักศีลธรรมจารีตประเพณี ตองศึกษาจากประวัติศาสตรหลัก
กฎหมาย
ค) บทบัญญัติที่เกิดขึ้นจากเหตุผลเฉพาะเจาะจงบางประการ เชน
กฎหมายจราจร เปนความผิดเพราะกฎหมายหาม ไมใชความผิด
ในตัวเอง
ตัวอยางกรณีการหมั้นซึ่งตัดสินตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๔๓๗ เดิม
“มาตรา ๑๔๓๗ (เดิม) ของหมั้นเปนทรัพยสินที่ฝายชายให
ไวแกฝา ยหญิงเพื่อเปนหลักฐานการหมั้นและประกันวาจะสมรสกับ
หญิงนั้น
ของหมั้นใหตกเปนสิทธิแกหญิง เมื่อไดทําการสมรสแลว
สินสอด เปนทรัพยสินซึ่งฝายชายใหแกบิดามารดาหรือ
ผูปกครองฝายหญิงเพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส ถาไมมกี าร
สมรส ชายเรียกคืนได”
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๘๕๒/๒๕๐๖ จําเลยขอหมั้นนองสาวโจทก
เพื่อใหแตงงานกับบุตรจําเลย แตจําเลยไมมีเงิน จึงทําสัญญากูใหโจทก
ยึดถือไวและโจทกจาํ เลยตกลงกันวาถาจําเลยปลูกเรือนหอ โจทกจะลด
เงินกูใหบางตามราคาของเรือนหอ ตอมาจําเลยไมปลูกเรือนหอและบุตร
จําเลยไมยอมแตงงานกับนองสาวโจทก โจทกจึงฟองเรียกเงินตามสัญญากู
สัญญากูดังกลาวนี้เปนเพียงสัญญาจะใหทรัพยสินเปนของหมั้นกันในวัน
ขางหนา ยังไมไดมีการมอบทรัพยสินใหแกกันอยางแทจริง เจตนาอัน
แทจริงของคูสัญญาก็มิไดมุงตอการใหสัญญากูตกเปนของอีกฝายหนึ่งใน
สภาพของหมั้นและไมมีความประสงคใหตกเปนสิทธิแกหญิงเมื่อสมรส
แลวในกรณีเชนนีถ้ ือไมไดวามีการใหของหมั้นกันตามกฎหมาย โจทกจะ
ฟองเรียกเงินตามสัญญากูหาไดไม เพราะสัญญากูรายนี้ไมมีมูลหนี้เดิมอัน
จะมีผลทําใหโจทกมีสิทธิเรียกรองใหจําเลยชําระหนี้ตามสัญญาได
ดังนั้น ในการตีความกฎหมาย จึงอาจนําจารีตประเพณีมาชวยในการตีความกฎหมายไดในลักษณะที่
เปนบริบทแวดลอมวา ในสังคมไทย การหมั้นตองมีของหมั้น มิฉะนั้น ยอมไมมีผลผูกพันกันตาม
กฎหมายสําหรับกรณีการหมั้นดังกลาว ในเวลาตอมา เมื่อมีการรางบทบัญญัติบรรพ ๕ วาดวย
กฎหมายครอบครัวเสียใหม เพื่อใหสอดคลองหลักความเสมอภาคระหวางชายและหญิงตาม
รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๑๗ จึงไดมีการเขียนหลักการเรื่องของหมั้นใหสอดคลองกับแนวทางการ
ตีความกฎหมายของศาล และเพื่อใหประชาชนทั่วไปสามารถเขาถึงและเขาใจเนื้อหาของกฎหมาย
ครอบครัวไดสะดวกยิ่งขึ้น หลักเรื่องของหมั้นตามมาตรา ๑๔๓๗ ใหม ตามที่ปรากฏพระราชบัญญัติให
ใชบทบัญญัติบรรพ ๕ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ที่ไดตรวจชําระใหม พ.ศ. ๒๕๑๙ จึงมี
ขอความดังนี้
“มาตรา ๑๔๓๗ (ปจจุบัน) การหมั้นจะสมบูรณเมื่อฝายชายไดสงมอบหรือโอนทรัพยสินอัน
เปนของหมั้นใหแกหญิงเพื่อเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้น
เมื่อหมั้นแลวใหของหมั้นตกเปนสิทธิแกหญิง
สินสอด เปนทรัพยสินซึ่งฝายชายใหแกบิดามารดา ผูรบั บุตรบุญธรรมหรือผูปกครองฝายหญิง
แลวแตกรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส ถาไมมีการสมรสโดยมีเหตุสําคัญอันเกิดแกหญิงหรือโดยมี
พฤติการณซึ่งฝายหญิงตองรับผิดชอบ ทําใหชายไมสมควรหรือไมอาจสมรสกับหญิงนั้น ฝายชายเรียก
สินสอดคืนได
ถาจะตองคืนของหมั้นหรือสินสอดตามหมวดนี้ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๔๑๒ ถึงมาตรา ๔๑๘
แหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยลาภมิควรไดมาใชบังคับโดยอนุโลม”
แนวทางในการคนหาความมุงหมาย
2) อานทุกถอยคําของบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้น เชน
มาตรา 420 “สิทธิอยางหนึ่งอยางใด” ตองดู
ขางหนา จะไดความวา ตองเปนเรื่องของสิทธิ
เด็ดขาด
3) ดูตําแหนงแหงที่ของบทบัญญัติกฎหมายนั้น
ประกอบ เชน มาตรา 21 – 24 หรือมาตรา 150
คําวา “การใด (ๆ)” หมายถึงนิติกรรม
4) อานประกอบกับบทบัญญัติมาตราอื่นๆ
แนวทางในการคนหาความมุงหมาย
5) พิจารณาถึงสภาวการณที่เกี่ยวของที่เปนอยูในปจจุบัน เชน มาตรา
444 วรรคหนึ่ง เดิมจํากัดเฉพาะคารักษาพยาบาล ตอมาศาลมี
แนวโนมใหจายคาเสียหายเปนจํานวนมาก เพื่อใหระวังในการขับรถ
มากขึ้น
6) ใหตคี วามเปนคุณแกคูกรณีที่เสียเปรียบ (มาตรา 11)
7) ในบางกรณีตองเลือกความหมายโดยพฤตินัย (de facto) เชน
มาตรา 1627
8) ตองถือวากฎหมายมีความมุงหมายในทางที่จะใชบังคับได เชน
มาตรา 10 เอกสารตีความไดหลายนัย ใหถือเอานัยที่เปนผลบังคับได
ไมถือตามนัยที่ไรผล
คลองจารีตประเพณีแหงทองถิ่นมีความสัมพันธกับกฎหมาย
ลายลักษณอกั ษร
1) พิจารณาในแงประวัติศาสตร (กฎหมายสิบสองโตะของโรมัน เปนที่มาของ
วิชานิติศาสตรโรมันและมาตรา 4 ในที่สุด)
2) พิจารณาในแงระบบกฎหมาย
ก) จารีตประเพณีเปนบทสํารอง (มาตรา 4 วรรคสอง)
ข) จารีตประเพณีเปนบทเคียงคู
 อยางตัดทอน เชน ชกมวย เปนเหตุยกเวนความผิดอาญา
 อยางสงเสริม เชน การหมั้น ศาลใชหลักประเพณีวา ตองมีของหมั้น
3) พิ จารณาจากตัวบทบั ญญั ติกฎหมายลายลักษณ อักษร (ปะปน 147/1354
แทรกซึ ม 150 ศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชน ประมวลกม.เป ด หนาตา งรั บ
อากาศบริสุทธิ์ภายนอก ที่เปนความคิดความรูสึกทางศีลธรรม)
คลองจารีตประเพณีแหงทองถิ่นมีความสัมพันธกับกฎหมาย
ลายลักษณอักษร
ตัวอยางเชน การชกมวย การเลนฟุตบอล หรือการรักษาคนไข
ดวยวิธีผาตัด หากพิเคราะหดูอยางผิวเผิน เหมือนกับเปนการทํา
ละเมิด เพราะเปนการทําใหเสียหายโดยจงใจ แตหากพิเคราะห
ความสัมพันธเชิงเหตุผลในขอเท็จจริงนั้นแลว ก็เห็นไดวาไมเปน
การทําละเมิด เพราะมีจารีตประเพณีอนุญาตใหแขงขันชกมวย
เลนฟุตบอล หรือมีปกติประเพณีในการรักษาคนไข ซึ่งใหอํานาจ
ผู เข าแข ง ขันหรือแพทยกระทําการในกรอบกติกาไดโดยชอบ
ดวยกฎหมาย ดังนี้เปนตน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 157/2524
 ผูรองรองวา ผูรอ งเปนชายโดยกําเนิด แตไดรับการผาตัดเปลี่ยนอวัยวะเพศเปนหญิงแลว
เพียงแตไมสามารถมีบุตรไดเทานั้น ผูรองมีความประสงคจะถือเพศเปนหญิง แตเจา
พนักงานขัดของในการแกหลักฐานในทะเบียนบาน บัตรประจําตัวประชาชนและทะเบียน
ทหารนอกจากจะไดรับอนุญาตจากศาลกอน จึงขอใหศาลสั่งอนุญาตใหผูรองถือเพศเปน
หญิง
 ศาลชั้นตนตรวจคํารองแลวมีคําสั่งใหยกคํารอง
 ผูรองอุทธรณ
 ศาลอุทธรณพิพากษายืน
 ผูรองฎีกา
 ศาลฎีกาวินิจฉัยวา เพศของบุคคลธรรมดานั้น กฎหมายรับรองและถือเอาตามเพศที่ถือ
กําเนิดมา และคําวา หญิง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานหมายความถึงคนที่
ออกลูกได ผูรองถือกําเนิดมาเปนชาย ถึงหากจะมีเสรีภาพในรางกายโดยรับการผาตัด
เปลี่ยนแปลงอวัยวะเพศเปนอวัยวะเพศของหญิงแลวก็ตามแตผูรองก็รับอยูวาไมสามารถมี
บุตรไดฉะนั้น โดยธรรมชาติและตามที่กฎหมายรับรองผูรองยังคงเปนเพศชายอยู และไมมี
กฎหมายรับรองใหสทิ ธิผูรองขอเปลี่ยนแปลงเพศทีถ่ ือกําเนิดมาได ทั้งมิใชกรณีที่ผูรอง
จะตองใชสิทธิทางศาลตามกฎหมาย
 พิพากษายืน
กิตติศกั ดิ์ ปรกติ, “หลักทั่วไปเกี่ยวกับการใชการตีความกฎหมาย”,
การใชการตีความกฎหมาย, งานวิชาการรําลึกศาสตราจารยจิตติ ติงศ
ภัทิย ครั้งที่ ๑๓, กองทุนศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย คณะนิติศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, พิมพครั้งที่ ๔, ๒๕๕๓, น. ๕๓.

จากคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 157/2524 นี้ มีขอ


สงสัยอยูวา หากหญิงเปนหมันหรือไมสามารถ
ออกลูกไดจะนับเปนหญิงไดหรือไม
หากนําจารีตประเพณีมาชวยกําหนดเพศจะเปนการ
เหมาะสมกวา
กิตติศักดิ์ ปรกติ, “หลักทั่วไปเกี่ยวกับการใชการตีความกฎหมาย”,
การใชการตีความกฎหมาย, งานวิชาการรําลึกศาสตราจารยจิตติ ติงศ
ภัทิย ครั้งที่ ๑๓, กองทุนศาสตราจารยจิตติ ติงศภัทิย คณะนิติศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, พิมพครั้งที่ ๔, ๒๕๕๓, น. ๕๓.
โดยหลัก ตองเปนประเพณีที่มีมานมนาน แตหากเปน
เรื่องปกติประเพณีไมจําเปนตองมีมานาน
ตองเปนประเพณีท่สี มควร เชน ไมขัดตอ
ผลประโยชนหรือความชอบธรรมของมหาชน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1380/2532 ปชญ.
ไมยืนตนเปนสวนควบกับที่ดินที่ปลูกไมนั้น ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
108(145) วรรคแรก แตถาไมยืนตนนั้น ผูปลูกมีเจตนาจะปลูกลงในที่ดินชั่วระยะเวลาอันมี
จํากัดเพียงชั่วคราว ยอมถือไดวาเปนทรัพยที่ติดกับที่ดินเพียงชั่วคราวไมกลายเปนสวนควบ
ของที่ดินตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 109 (146)
จําเลยตกลงใหผูรองปลูกตนสนลงในที่ดินของจําเลย เมื่อตนสนโตเต็มที่จะตัด
ขายเอาเงินมาแบงกัน ตนสนไมตกเปนสวนควบของที่ดิน แตเปนกรรมสิทธิ์รวม
ระหวางจําเลยกับผูรอง จําเลยนําที่ดินไปจํานองไวกับโจทก โจทกไมมีสิทธิ
บังคับคดีเอาจากตนสนสวนของผูรองซึ่งเปนบุคคลภายนอก ผูรองมีสิทธิขอกัน
สวนได
 (ปญหาคือบริบทแวดลอมในที่นี้เปนเรื่องทรัพยซึ่งถือหลักการพิจารณาตาม
สภาพแหงทรัพยไมใชเจตนาของผูปลูก ศาลจึงตีความเกินเลยบริบทหรือความ
มุงหมายของกฎหมายลักษณะทรัพยออกไปมาก)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 774/2553
พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ.2533 มาตรา 73 (1) บัญญัติวา การจายเงินคาทําศพใหจายแก
“บุคคล” ตามลําดับดังนี.้ .. มาตรา 73 (2) การจายเงินสงเคราะหกรณีที่ผูประกันตนถึงแก
ความตายใหจา ยแก “บุคคล”... มาตรา 75 จัตวา การจายประโยชนทดแทนในกรณี
สงเคราะหบุตรแก “บุคคล” ตามลําดับ ดังนี้ แตในมาตรา 77 จัตวา บัญญัตวิ า “ทายาท”
ของผูนั้นมีสิทธิไดรับเงินบําเหน็จชราภาพ “ทายาท” ผูมีสิทธิตามวรรคหนึ่งไดแก (1) (2)
(3)... เมื่อบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวใชคําวา “บุคคล” กับ “ทายาท” แสดงวา
กฎหมายมีเจตนารมณที่จะใหมคี วามแตกตางกัน และคําวา “ทายาท” ซึ่งเปนถอยคําใน
บทบัญญัติของกฎหมายจึงตองแปลความหมายโดยเทียบเคียงกับคําวา “ทายาท” ใน
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งตาม ป.พ.พ. มาตรา 4 และกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งในกรณี
นี้ก็คอื บทบัญญัติใน ป.พ.พ. บรรพ 6 วาดวยมรดก ซึ่งมีบทบัญญัติถึงคําวา “ทายาท” อยู
ในมาตรา 1659, 1603 โดยคําวา “ทายาท” ในบทบัญญัติดังกลาวนี้หมายถึงเฉพาะ
ทายาทที่ชอบดวยกฎหมายเทานั้น ดังนั้น คําวา “ทายาท” ตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม
พ.ศ.2533 มาตรา 77 จัตวา จึงตองหมายถึง ทายาทที่ชอบดวยกฎหมายเทานั้นมิได
หมายความรวมถึงทายาทตามความเปนจริงดวยแตประการใด
ขอสังเกตของผูสอน
คํากลาวที่วา “เมื่อบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวใชคําวา
“บุคคล” กับ “ทายาท” แสดงวากฎหมายมีเจตนารมณที่จะให
มีความแตกตางกัน” ไมนาจะชอบดวยหลักนิติวิธี เนื่องจากใน
การพิเคราะหตัวอักษรหรือถอยคํา จะตองมีการคนหา
ความหมายจากการอานขอความแวดลอม มิใชอาศัยการเปรียบ
แตเพียงถอยคํานั้นๆ เอง ซึ่งเมื่อตามเหตุผลของเรื่อง (Nature
of Things) ตองดวยกรณีคนละเรื่องแลว อาจมีการใชถอยคําที่
แตกตางกันได และความหมายในแตละกรณีจะเหมือนกัน
หรือไมน้นั ก็ไมเกี่ยวของกัน
คํากลาวที่วา “คําวา “ทายาท” ซึ่งเปนถอยคําในบทบัญญัติ
ของกฎหมายจึงตองแปลความหมายโดยเทียบเคียงกับคําวา
“ทายาท” ในกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งตาม ปพพ. มาตรา ๔
และกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งในกรณีนี้ก็คือบทบัญญัติใน
ปพพ. บรรพ ๖ วาดวยมรดก” ในการคนหาความหมายของ
บทบัญญัติคาํ วาทายาทนี้ เปนเรื่องหลักเกณฑการตีความ
กฎหมายตามมาตรา ๔ วรรคหนึ่ง มิใชการใชกฎหมายโดยการ
เทียบเคียงหรือกรณีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง
ตามมาตรา ๔ วรรคสอง แตประการใด
อยางไรก็ตาม ในคําตัดสินที่ไดมีการคนหาความหมายของคําวา
ทายาทโดยนําบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
บรรพ ๖ วาดวยมรดก มาพิจารณาเพื่อคนหาความหมายที่
ถูกตองแทจริงตามหลักการพิเคราะหตัวอักษรตามมาตรา ๔
วรรคหนึ่ง ก็นับวาเปนสิ่งที่ถูกตองแลว ดังนั้น คําวา “ทายาท”
ตาม พรบ. ประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๗๗ จัตวา จึง
ตองหมายถึง ทายาทที่ชอบดวยกฎหมายเทานั้นมิไดหมายความ
รวมถึงทายาทตามความเปนจริงดวยแตประการใด
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 15198/2551
ผูรองคัดคานไดรวมกอตั้งบริษัท อ. ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญในบริษัท ม. โดยผู
รองคัดคานเปนผูถือหุน การที่ผูรองคัดคานซึ่งเปนผูจัดการนิติบุคคลอาคารชุดไม
ดําเนินการใดๆ กับบริษัท ม.ซึ่งคางชําระคาใชจายสวนกลางเปนจํานวนมากนั้น
เนื่องจากคํานึงถึงผลกระทบที่จะมีตอเครือญาติและตนเองในบริษัทดังกลาว อัน
เปนการกระทําที่เปนปฏิปกษตอผลประโยชนของนิติบุคคลอาคารชุดมิลฟอรด
พาราไดซ คอนโดเทล ถือไดวา ประโยชนไดเสียของนิติบุคคลขัดกับประโยชนได
เสียของผูแทนของนิตบิ ุคคลในเรื่องดังกลาว เมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับ
แกกรณีดังกลาวได ทั้งไมปรากฏวามีจารีตประเพณีแหงทองถิ่นในกรณีเชนนี้ จึง
ตองวินิจฉัยคดีโดยอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งตาม ปพพ. มาตรา
4 ผูรองซึ่งเปนเจาของรวมในอาคารชุดยอมรองขอใหศาลแตงตั้ง ธ. เปนผูแทน
เฉพาะการเพื่อดําเนินการในเรื่องการทวงถามคาใชจายสวนกลางตลอดจนการ
ดําเนินการอื่นที่เกี่ยวของตามขอบังคับของนิติบุคคลอาคารชุดมิลฟอรด พารา
ไดซ คอนโดเทลได ตามปพพ. มาตรา 75
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6414/2551
จําเลยเปนขาราชการในสังกัดของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ
โจทก และไดรับมอบหมายจากโจทกใหเปนผูดําเนินการอบรมลูกจางประจํา
โรงเรียนปฏิรูปการศึกษา การที่จําเลยขอยืมจากโจทกเพื่อนําไปใชในการอบรม
ลูกจางประจําโรงเรียนปฏิรูปการศึกษาดังกลาว เปนเรื่องของการปฏิบัตหิ นาที่
ราชการ การทําสัญญาการยืมเงินเปนเพียงขั้นตอนหนึ่งในการ
ปฏิบัติหนาที่ราชการของจําเลย จึงมิใชเปนการยืมตามลักษณะ
9 แหง ป.พ.พ. และไมอาจนําบทบัญญัติในลักษณะ 9 มาใชบังคับในฐานะ
บทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งได
เมื่อมีคนรายมางัดประตูรถยนตลักเอาเงินจํานวนดังกลาวไป จําเลยผูยืมจะรับ
ผิดชดใชเงินยืมในราชการแกโจทกหรือไมตองเปนไปตาม พรบ.ความรับผิดทาง
ละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6042/2551
ตามสัญญาเชาซื้อ ขอ 10 วรรคหนึ่ง ระบุวา หากผูเชาซื้อถึงแกกรรมในระหวางที่เชาซื้อ... ที่ดินที่เชาซื้อจะตองตก
อยูภายใตบังคับมาตรา 39 แหง พรบ.การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ซึ่งมาตรา 39 บัญญัตวิ า “ที่ดินที่
บุคคลไดรับสิทธิโดยการปฏิรปู ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทําการแบงแยกหรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผูอนื่ มิได เวนแต
เปนการตกทอดทางมรดกแกทายาทโดยธรรม... ทั้งนี้ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดใน
กฎกระทรวง” แตไมปรากฏวามีการออกกฎกระทรวงตามกฎหมายมาตราดังกลาวแตอยางใด แตก็มีระเบียบ
คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมวาดวยหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการโอนและการตกทอดทางมรดก
สิทธิการเชาหรือเชาซื้อที่ดนิ ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2535 ซึ่งออกโดยอาศัยอํานาจตามมาตรา 30
วรรคหก ของพระราชบัญญัติดงั กลาวซึ่งตาม ป.พ.พ. มาตรา 4 วรรคสอง ไดบัญญัติวาเมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะยก
มาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง เมื่อระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรมดังกลาวใชบังคับอยูกอนที่ ฉ. ถึงแกกรรม จึงตองนําระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ดังกลาวมาใชกับที่ดินที่ ฉ. เชาซื้อตามที่กาํ หนดไวในสัญญาเชาซื้อขอ 10 การสืบสิทธิการเชาซื้อที่ดินของ ฉ. จึงตอง
เปนไปตามระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมดังกลาว ดังนั้นสิทธิการเชาซื้อของ ฉ. จึงตกทอดทาง
มรดกแกคูสมรสเปนอันดับแรกก็คือโจทกนั่นเองตามระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมวาดวย
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการโอนและการตกทอดทางมรดก สิทธิการเชาหรือเชาซื้อที่ดินในการปฏิรปู ที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2535 หมวด 2 การตกทอดทางมรดกของสิทธิการเชาหรือเชาซื้อขอ 11 ที่กําหนดวา “เมื่อ
เกษตรกรถึงแกกรรมใหสิทธิการเชาหรือเชาซื้อตกทอดแกคสู มรสเปนอันดับแรก” ดังนั้นมติของคณะกรรมการปฏิรูป
ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่วินิจฉัยใหแบงสิทธิการเชาซื้อของ ฉ. จึงไมมีผลกระทบตอสิทธิของโจทก จําเลยที่ 1 ตอง
ดําเนินการแบงสิทธิการเชาซื้อของ ฉ. แกโจทกทั้งหมด (เปนเรื่องการตีความโดยดูบริบทแวดลอมมากกวาหรือไม)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 5286/2551
พ.ร.บ.อาคารชุดฯ มาตรา 38 บัญญัติวา “บุคคลดังตอไปนี้มีสิทธิไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ (1) เจาของรวม หรือคูสมรส
ของเจาของรวม (2) ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาลหรือผูพทิ ักษ ในกรณีที่เจาของรวมเปนผูเยาว คนไรความสามารถหรือคน
เสมือนไรความสามารถ แลวแตกรณี (3) ผูจัดการหรือผูแทนอื่นของนิตบิ ุคคลในกรณีที่นิติบุคคลเปนเจาของรวม” เมื่อพิจารณา
บทบัญญัติดังกลาวจะเห็นไดวามีการแยกบุคคลที่มีสทิ ธิไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการนิติบคุ คลอาคารชุดไว โดยใน (1) และ (2)
เปนการใหสิทธิบุคคลธรรมดา สวนใน (3) แสดงใหเห็นวานิติบุคคลที่เปนเจาของรวมในอาคารชุดมีสิทธิไดรับการแตงตั้งเปน
กรรมการได หาไดจํากัดเฉพาะบุคคลธรรมดาไม ดังนั้น การแสดงออกของนิติบุคคลยอมกระทําไดโดยผานผูแทนหรือตัวแทน
หรือผูรับมอบอํานาจจากนิติบุคคล และการกระทําดังกลาวมีผลผูกพันนิติบคุ คลใหตองรับผิดดวย แมตาม พ.ร.บ.อาคารชุดฯ
มาตรา 38 (3) กําหนดบุคคลที่จะเปนกรรมการในกรณีที่นติ ิบุคคลเปนเจาของรวมไววา “ผูจัดการหรือผูแทนอื่นของนิตบิ ุคคล”
ก็ตาม แตเมื่อ พ.ร.บ.อาคารชุดฉบับดังกลาวซึ่งใชบังคับในขณะเกิดเหตุพิพาท มิไดใหคาํ จํากัดความหรือนิยามความหมายของ
คําวา “ผูจัดการ” หรือ “ผูแทนอื่นของนิติบุคคล” ไว จึงตองนํา ป.พ.พ.ลักษณะหุนสวนบริษัทซึ่งเปนกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่ง
มาเทียบเคียงโดยในบริษัทจํากัด “ผูจัดการ” หมายถึงผูที่ดําเนินการจัดการเรื่องใหแกบริษัท กฎหมายมิไดบังคับวาตองเปน
กรรมการของบริษัทเทานั้นจึงจะสามารถเปนผูจัดการได อาจเปนบุคคลใดก็ไดที่บริษัทเห็นสมควรแตงตั้งใหเปนผูจัดการ สวน
กรณีผูแทนอื่นของนิติบุคคลหาไดมีบทกฎหมายใดบังคับวาตองเปนผูมีอํานาจดําเนินการ อาจเปนผูที่ไดรับมอบอํานาจจากผูมี
อํานาจกระทําการแทนของนิติบุคคลก็ได ดังนั้น ผูจัดการ หรือผูแทนอื่นของนิติบุคคลจึงไมจําเปนตองเปนกรรมการผูจัดการของ
นิติบุคคลนั้น หรือเปนผูแทนของนิติบุคคลนั้นโดยตรง ผูที่ไดรับมอบอํานาจหรือรับมอบหมายจากนิติบุคคลที่เปนเจาของรวม
ยอมมีสิทธิไดรับแตงตั้งใหเปนกรรมการควบคุมการจัดการนิติบุคคลอาคารชุดได เมื่อบริษัท ส. บริษัท ท. บริษัท ม. บริษทั ป.
บริษัท จ. และบริษทั ว. ลวนแตเปนนิติบุคคลที่เปนเจาของรวมอาคารชุด ยอมมีสิทธิไดรับเลือกใหเปนกรรมการของนิติบุคคล
อาคารชุดและมีอํานาจมอบอํานาจหรือมอบหมายใหบุคคลใดเปนผูจดั การหรือผูแทนบริษัทเขาเปนกรรมการควบคุมการจัดการ
ของนิติบคุ คลอาคารชุด อ. แทนบริษัทได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1854/2551
ผูตายเปนบุตรนอกกฎหมายที่บิดาไดรับรองแลวตาม ป.พ.พ. มาตรา
1627 แตผลของบทกฎหมายดังกลาวเพียงแตใหถือวาบุตรนั้นเปน
ผูสบื สันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบดวยกฎหมายมีสิทธิไดรับมรดกของ
บิดาเทานั้น หาไดมผี ลทําใหบิดาที่ไมชอบดวยกฎหมายกลับเปนบิดาที่
ชอบดวยกฎหมายมีสิทธิไดรับมรดกของบุตรในฐานะทายาทโดยธรรม
ตามมาตรา 1629 ดวยไม ผูคัดคานซึ่งเปนบิดาผูตายจึงมิใชทายาท
หรือผูมีสวนไดเสียในกองมรดกของผูตาย ไมมสี ิทธิคัคคานหรือรองขอ
ตอศาลใหตั้งตนเองเปนผูจัดการมรดกของผูตายได และปญหาดังกลาว
มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับแกคดีไดอยูแลว กรณีไมตอ งดวยมาตรา 4
ที่จะตองวินิจฉัยคดีตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น หรืออาศัยเทียบบท
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง หรือวินจิ ฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1727/2551
เจาของที่ดินโฉนดเลขที่ 2208 อนุญาตใหผูรองปลูกสรางอาคารบนที่ดินแปลง
ดังกลาวเพื่ออยูอาศัย ตอมาผูรองไดปลูกสรางอาคาร กรณีตามคํารองขอของผู
รองซึ่งรองขอใหศาลมีคําสั่งแสดงวาบานที่ผูรองปลูกอยูในที่ดินของผูอื่นเปน
กรรมสิทธิ์ของผูรองนั้น ไมมีกฎหมายใดสนับสนุนรับรองใหผูรองกระทําเชนนั้น
ได ผูรองจึงไมมีสิทธิยื่นคํารองขอเปนคดีไมมีขอพิพาทตอศาล หากผูรองถูก
โตแยงสิทธิหรือหนาที่เกี่ยวกับบานหลังดังกลาว ผูรองก็ชอบที่จะเสนอคดีของ
ตนตอศาลที่มีเขตอํานาจไดอยางคดีมีขอพิพาทตาม ป.วิ.พ. มาตรา 55 สวน ป.
ที่ดิน มาตรา 78 และกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2497) ซึ่งออกตามความใน
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 นั้น เปนกรณีที่กฎหมาย
บัญญัติถึงวิธีการจดทะเบียนการไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินตาม ปพพ. มาตรา
1382 มิใชกฎหมายใกลเคียงที่นาํ มาใชแกกรณีของผูรอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7024/2549
มาตรา 18 วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ.เครื่องหมายการคา พ.ศ.2534 ที่บัญญัติใหคําวินิจฉัยอุทธรณ
ของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาเปนที่สดุ นั้น หมายถึงคําวินิจฉัยอุทธรณคณะกรรมการ
เครื่องหมายการคาตองเปนคําวินิจฉัยที่ถูกตองตามกฎหมายหรือชอบดวยกฎหมายเทานั้น หากคํา
วินิจฉัยอุทธรณดังกลาวไมถูกตองตามกฎหมายหรือไมชอบดวยกฎหมาย ผูอุทธรณยอ มนําคดีมาสู
ศาลเพื่อใหตรวจสอบคําวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคาได ฉะนั้น เมื่อโจทก
อางวาคําวินจิ ฉัยดังกลาวไมชอบดวยกฎหมาย โจทกจึงมีอํานาจฟองคดีนี้ตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาล
ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพยสนิ ทางปญญาและ
การคาระหวางประเทศ พ.ศ.2539 มาตรา 26 ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา 55 โดยโจทกไมตองยื่น
ฟองภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรบั แจงคําวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมายการคา
เพราะคดีนี้มิใชคดีอุทธรณคําวินิจฉัยของนายทะเบียนฯ เนื่องจากมีผูคัดคานการจดทะเบียนตาม
มาตรา 35 ถึงมาตรา 38 แตเปนคดีอุทธรณคําสั่งของนายทะเบียนฯ และคําวินิจฉัยอุทธรณของ
คณะกรรมการเครื่องหมายการคาตามมาตรา 16 และมาตรา 18 และกรณีไมอาจนํากําหนดเวลา
ยื่นฟองคดีภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงคําวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการเครื่องหมาย
การคาตามมาตรา 38 มาใชบังคับในฐานะเปนบทกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งตามมาตรา 4 แหง ป.
พ.พ. เพราะจะเปนการนําบทกฎหมายใกลเคียงกันอยางยิ่งมาใชบังคับในลักษณะจํากัดสิทธิของ
ประชาชน
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 886/2548
หนังสือมอบอํานาจเอกสารหมาย จ.2 มีขอความระบุวา "ขาพเจา บริษัท สแกนดิเนเวียฯ โดยนาย ซ. และ
นาย ว. กรรมการผูมีอํานาจ ขอแตงตั้งใหนาย ว. แตผูเดียวลงลายมือชื่อพรอมประทับตราสําคัญบริษัท ให
เปนตัวแทนของบริษัท และใหอํานาจดําเนินการแทนบริษัท ดังจะกลาวตอไปนี้ ขอ 1 ใหตัวแทนมีอํานาจ
ฟองคดี ขอ 9 ใหมีอํานาจแตงตั้งตัวแทนชวง เพื่อใหมีอํานาจและดําเนินการตามอํานาจดังกลาวขางตน
ใหทุกประการ" และหนังสือมอบอํานาจเอกสารหมาย จ.3 มีขอความวา "ดวยหนังสือนี้ ขาพเจา บริษทั
สแกนดิเนเวียฯ โดยนาย ว. กรรมการผูมีอํานาจ ขอแตงตั้งให นาย จ. และหรือ นาย ก. ใหเปนตัวแทน
ของบริษัทและใหอํานาจดําเนินการแทนบริษทั ดังจะกลาวตอไปนี้" แมหนังสือมอบอํานาจเอกสารหมาย
จ.3 ระบุวานาย ว. ผูมอบอํานาจกระทําการในฐานะกรรมการผูมีอํานาจโจทก มิไดระบุวากระทําการแทน
ในฐานะตัวแทนโจทกก็ตาม แตตาม ป.พ.พ. มาตรา 10 บัญญัติวา "เมื่อความขอใดขอหนึ่งในเอกสารอาจ
ตีความไดสองนัย นัยไหนจะทําใหเปนผลบังคับได ใหถือเอาตามนัยนั้น ดีกวาที่จะถือเอานัยที่ไรผล" ดังนั้น
การที่โจทกฟองคดีน้โี ดยในคําฟองระบุวา นาย จ. และหรือ นาย ก. เปนผูรับมอบอํานาจชวง กับอาง
หนังสือมอบอํานาจเอกสารหมาย จ.2 และ จ.3 เปนพยานหลักฐาน ทั้งใบแตงทนายความโจทกระบุวา ผู
แตงทนายความ คือ โจทก โดยนาย จ. ผูรับมอบอํานาจชวง จึงตองถือวานาย ว. มีเจตนาลงลายมือชื่อ
และประทับตราสําคัญโจทกในหนังสือมอบอํานาจเอกสารหมาย จ.3 เพื่อมอบอํานาจชวงใหนาย จ. และ
หรือ นาย ก. ฟองคดีนี้ตามที่ไดรับมอบอํานาจจากโจทก หาไดกระทําการในฐานะกรรมการผูมีอํานาจโจทก
แตอยางใด ดังนี้ หนังสือมอบอํานาจเอกสารหมาย จ.3 จึงมีผลสมบูรณ โจทกมีอํานาจฟอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2003/2536
เมื่อความขอใดขอหนึ่งในเอกสารอาจตีความไดเปน 2 นัยนัยไหนจะทําใหเปน
ผลบังคับได ใหถือเอาตามนัยนั้นดีกวาที่จะถือเอานัยที่ไรผล และในการตีความ
แสดงเจตนานั้น ใหเพงเล็งถึงเจตนาอันแทจริงยิ่งกวาถอยคําสํานวนหรือ
ตัวอักษร เมื่อตามประกาศของจําเลยที่ 1 เรื่องการประกวดราคาเชาสะพานทา
เทียบเรือวางเงื่อนไขไววา ผูยื่นซองจะตองเปนนิติบุคคลเทานั้น และ
โจทกจําเลยทั้งสามตางก็ยอมรับวาโจทกเปนผูเสนอราคามาโดยตลอดดังนั้น
ขอความในใบเสนอการประกวดราคาที่ระบุวา "ขาพเจา บ. ผูจัดการ หาง
หุนสวนจํากัดโรงน้ําแข็งเฉลิมพล... ขอเสนอการประกวดราคาการเชาสะพาน
ทาเทียบเรือ..." จึงตองถือวาบ. เสนอราคาในนามของโจทก ซึ่งเปนนิติบคุ คล
มิใชเสนอราคาในฐานะสวนตัว เพราะหากถือวา บ. เสนอราคาในฐานะสวนตัว
ยอมทําใหการเสนอราคาไรผลและขัดเจตนาของคูกรณี
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4371/2528
ระเบียบขอบังคับวาดวยการลาออกมิไดกําหนดตัวผูมีอํานาจหนาที่อนุมัติใบลาออกไว
ชัดแจง แตไมอาจแปลจํากัดเพียงวานอกจากกรรมการผูจัดการผูมีอํานาจหนาที่
กระทําการแทนจําเลยผูเดียวเทานั้นแลว ผูอื่นใดหามีอํานาจที่จะอนุมตั ิอีกไมเปนการ
แปลเฉพาะขอความตอนใดตอนหนึ่งอันไมตองดวยหลักการตีความ การตีความจัก
ตองตีความไปตามความประสงคในทางสุจริตโดยพิเคราะหเทียบเคียงถึงขอสัญญา
และขอตกลงอื่นๆ ประกอบดวย และตองตีความโดยนัยที่จะทําใหเปนผลบังคับได
การเลิกจางตามระเบียบขอบังคับของจําเลยมีขอความเปนทํานองเดียวกับประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุมครองแรงงานฯขอ 47(1) ถึง (6) เปนการเลิกจาง
ในทางวินัย เปนการลงโทษในสถานที่หนักที่สุดที่นายจางพึงกระทําตอลูกจางไดนั้น
ใหอํานาจผูจัดการโรงงานไว สวนการลาออกโดยความสมัครใจ ซึ่งโดยปกติยอมไมมี
ผลรายแกลูกจางไมมีประโยชนและความจําเปนประการใดที่จําเลยจะสงวนอํานาจ
เชนวานี้ไวเปนอํานาจโดยเฉพาะสําหรับกรรมการผูจัดการผูเดียวเทานั้น ผูจัดการ
โรงงานจึงมีอาํ นาจอนุมัติได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2643/2515
คําวา 'ผลิตภัณฑอาหาร' ตามบัญชีที่ 1 หมวด 1(4)ทายพระราชกฤษฎีกาออก
ตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรารัษฎากร (ฉบับที่ 21) พ.ศ.
2509 ไมมบี ทนิยามใหมีความหมายโดยเฉพาะ ยอมคนหาความหมายไดโดย
เปรียบเทียบจากบทบัญญัติที่ใกลเคียงอยางยิ่ง(?)คือจากบทมาตราอื่นๆ ของ
ประมวลรัษฎากร
คําวา 'อาหาร' ในบทบัญญัติแหงประมวลรัษฎากร ถาใชเปนคํากลางๆ
หมายถึงอาหารสําหรับคนเทานั้น หามีความหมายถึงอาหารสัตวดวยไม คําวา
'ผลิตภัณฑอาหาร' จึงหมายถึง อาหารคนแตอยางเดียว ถากฎหมายประสงคจะ
ใหหมายถึงอาหารอยางอื่น ก็จําเปนจะตองบัญญัติไวใหชัดเปนแหง ๆ ไปฉะนั้น
อาหารสัตวจึงไมอยูในความหมายของคําวา 'ผลิตภัณฑอาหาร‘
(ดูเหมือนเปนเรื่องตีความโดยตองดูบริบทแวดลอมตามมาตรา 4 วรรคหนึ่ง
มากกวา)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 848/2499
เกี่ยวกับทรัพยสินที่ยกใหนั้นเมื่อขอความในสัญญาบางแหงใช
คําวา'หองแถว'บางแหงใชคําวา'ที่หองแถว' และเมื่อพิเคราะห
ขอความในสัญญาโดยตลอดแลวเห็นวา'ที่หองแถว' คง
หมายความวา'หองแถว' ไมไดหมายความถึงที่ดินดวยประกอบ
กับการทํานิติกรรมยกใหตอกรมการอําเภอก็แสดงวายกใหแต
เฉพาะหองแถว ถายกใหทั้งที่ดินซึ่งมีโฉนดแลวดวยก็ตอ งไปทํา
นิติกรรมและจดทะเบียนตอเจาพนักงานที่ดนิ หรือผูทาํ การแทน
มิฉะนั้นการยกใหไมสมบูรณ
เมื่อทรัพยสวนใดในพินัยกรรมผูทําพินัยกรรมกลับใจยกใหแกผูอ่นื ไป
ทรัพยสวนนั้นก็ถูกเพิกถอนไปเทานั้นเองพินัยกรรมไมเสียไปทั้งฉบับ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1029/2485
การตีความไนพินัยกัมตองพยายามไหไดเจตนาอันไกลเคียงของเจามรดกเสมอ
ขอเท็ดจิงไดความวา เจามรดกไดทําพินัยกัมยกทรัพยมรดกทั้งหมดไหจัดการทําบุญกุสลไนพระพุทธสาสนา
โดยตั้งไหนางสาวบุญเรือง ตั้งตรงจิตเปนผูจัดการมรดก แตนางสาวบุญเรืองไดถูกสาลพิพากสาไหถอนการ
เปนผูจัดการมรดกเสียแลว จําเลยจึงรองขอเปนผูจัดการมรดกตอไป แตขอ ความไนพินัยกัมเรื่องจัดตั้ง
ผูจัดการมรดกมีวา ขาพเจาขอตั้งไหนางสาวบุญเรืองพี่สาวของขาพเจาเปนผูจัดการทรัพยมรดกของ
ขาพเจา ถาหากนางสาวบุญเรืองพี่สาวของขาพเจา ถาหากนางสาวบุญเรืองพี่สาวของขาพเจาวายชนม
เสียกอนขาพเจาขาพเจาขอตั้งไหนางสาวสังวาลยนองสาวของขาพเจาเปนผูจัดการ หรือถาวายชนมแลว
นางสาวบุญเรืองจึงวายชนมลงอีก แตยังมิทันจัดการไหเส็ดไปตามความหมายขอ ๑ แหงพินัยกัมก็ดี
ขาพเจาขอตั้งไหนางสาวสังวาลยนองสาวขาพเจา แตถาขาพเจาวายชนมลงนางสาวบุญเรือ นางสาว
สังวาลยยังมีชีวิตหยูดวยกัน ก็ขอไหนางสาวบุญเรืองพี่สาวขาพเจาเปนผูจัดการตามพินัยกัมคนเดียว
เทานั้น
สาลดีกาเห็นวาการตีความพินัยกัมนั้นตองพยายามไหไดเจตนาอันไกลเคียงของเจามรดก จะถือเอา
เครงครัดตามตัวหนังสือเสมอไปหาไดไม เวนแตเจตนาตามตัวหนังสือทีไ่ ดสแดงออกจะชัดเจนแนนอน เรื่อง
นี้ตองสมมติเอาวาหากเจามรดกกลับมีชีวิตขึ้นไปชนะนี้และเห็นแลววานางสาวบุญเรืองเปนผูจัดการมรดก
ไมไดตอไป จะมีไครตอไปเลาที่เจามรดกเชื่อถือไววางไจไหเปนผูจัดการมรดกวิญูชนตองเห็นเปนหนึ่งแน
วาก็คือโจทซึ่งเปนนองสาวของเขานั่นเอง
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 121/2472
โจทกไดเอาที่ดินจํานองไวแกจําเลย ตนเงินแลดอกเบี้ยคาง โจทกจึงโอนที่ดินใหเปน
สิทธิแกจําเลย ตอมาอีก ๒ วันจําเลยไดทําสัญญาใหแกโจทก ๑ ฉบับมีความวา "
ขาพเจานายผัน จงภู สัญญาใหนางเปานายฟอนรายหักโอนนาที่จํานําไวเมื่อปชวด
๒๔๖๗ ปฉลูสัญญาจะใหนางเปานายฟอนไถไดในจํานวนปขาล ๒๔๖๙ นี้ ๑ ป "
ครั้นโจทกหาเงินไดจะซื้อที่ดินคืนภายในกําหนด จําเลยไมสามารถโอนใหโจทกได
เพราะขายใหผูอื่นไปเสียกอนแลว
ขอความในสัญญานั้นแสดงเจตนาอันแทจริงของโจทกจําเลยวา เมื่อโจทกหาเงินมา
ใหจาํ เลยไดภายใน ๑ ปแลว จําเลยจะยอมคืนที่ดินใหโจทกดังนี้ เปนสัญญาใหคํามั่น
จะซื้อขายตามประมวลแพงแลพาณิชย ม.๔๕๔ แลมีความเห็นตอไปวา แมในสัญญา
จะไมไดใชคําวาใหคํามั่นจะซื้อขายกันก็ดี แตตาม ม.๑๓๒ บังคับไววา ในการตีความ
แสดงเจตนานั้น ใหเพงเล็งถึงเจตนาอันแทจริงยิ่งกวาถอยคําสํานวนตามตัวอักษร แล
ม.๑๐ ทานใหแปลความไปในทางที่มีผลบังคับไดดีกวาจะแปลไปในทางที่ไรผล แล
การใหคํามั่นจะซื้อขายที่ดิน ทําหนังสือกันเองก็ใชไดตาม ม.๔๕๖
ระบบซิวิลลอวกับระบบคอมมอนลอว
ทาน RENE DAVID[1] ไดจัดเกณฑในการแบงกลุมของ
ระบบกฎหมายตาง ๆ ในโลกอันเปนที่ยอมรับกันอยาง
ขวางไวโดยพิจารณาตามหลักของวัฒนธรรมทาง
กฎหมาย และแบงระบบกฎหมาย (legal system) หรือ
ตระกูลกฎหมาย (law family) ออกไดเปน 4 กลุมใหญๆ
[1] Major Legal Systems in the World Today,
1968.
ระบบกฎหมาย (legal system) หรือตระกูล
กฎหมาย (law family) 4 กลุม
1) ตระกูลกฎหมายโรมาโนเยอรมานิค (Romano-
Germanic Family) หรือระบบซิวิลลอว
2) ระบบกฎหมายสังคมนิยม (Socialist Laws)
3) ตระกูลกฎหมายคอมมอนลอว (The Common Law)
หรือระบบคอมมอนลอว
4) ระบบอื่น ๆ ที่จัดระเบียบสังคมและกฎหมาย
(Religious and Traditional Laws)
ตระกูลกฎหมายโรมาโนเยอรมานิค (Romano-Germanic
Family) หรือระบบซิวิลลอว
วัฒนธรรมทางกฎหมายมีลักษณะที่วิชานิติศาสตรประกอบกันขึ้นบน
รากฐานของกฎหมายโรมัน หรือถือกําเนิดมาจากวิชานิติศาสตรโรมัน
แตในเนื้อหาของกฎหมายมีลกั ษณะผสมผสานระหวางหลักกฎหมาย
โรมันกับหลักกฎหมายเยอรมานิค
เปนระบบที่ใชอยูในภาคพื้นทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาใต คิวบา กลุม
ประเทศตะวันออกกลาง เชน
อียิปต ซีเรีย อิหราน หลายประเทศในทวีปเอเชียโดยเฉพาะไทย ญี่ปุน
เกาหลีใต และกลุมประเทศในแถบอาฟริกาใต
ระบบกฎหมายสังคมนิยม (Socialist Laws)
มีวัฒนธรรมทางกฎหมายที่วางรากฐานอยูบนหลักทฤษฎีมารกซิสต-
เลนินนิสต
ในระบบกฎหมายสังคมนิยม เปนไปตามหลักคําสอนทางทฤษฎีมารก
ซิสต-เลนินนิสต ซึ่งเปนตัวกําหนดทฤษฎีทั่วไปวาดวยรัฐและ
กฎหมาย โดยถือวาในที่สุด สังคมจะมีววิ ัฒนาการไปสูสังคมที่
ปราศจากชนชั้น ซึ่งในชวงเปลี่ยนผานนี้ จําเปนตองใชระบบ “เผด็จ
การของชนชั้นกรรมาชีพ” โดยใชกฎหมายเปนเครื่องมือจัดระเบียบ
ในสังคมขึ้นใหมเพื่อนําไปสูทิศทางทีพ่ งึ ปรารถนานั้น มีการบังคับโดย
กฎหมายใหเปนไปตามแผนพัฒนาประเทศที่ตั้งไวตามอุดมการสังคม
นิยม อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน เนื่องจากประเทศในกลุมสังคมนิยมได
สลายตัวไปจนเกือบหมดแลว ประกอบกับสวนใหญมีลักษณะเปน
ประเทศในระบบซิวิลลอวรวมอยูดวย ความจําเปนในการศึกษา
ระบบนี้จงึ ลดนอยลงไปอยางมาก
ตระกูลกฎหมายคอมมอนลอว (The Common
Law) หรือระบบคอมมอนลอว
มีวัฒนธรรมทางกฎหมายในลักษณะที่กฎหมายตาง ๆ
ไมไดนําหลักกฎหมายโรมันมาเปนแมแบบ แตเปน
กฎหมายที่สรางขึ้นโดยผูพิพากษาเปนหลัก
เกือบจะกลาวไดวา ประเทศที่ใชระบบคอมมอนลอวไดแก
ประเทศที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ หรือประเทศ
ที่เคยอยูกลุมประเทศอาณานิคมของอังกฤษ ซึ่งมีจํานวน
นอยกวากลุมประเทศในระบบซิวิลลอว
ระบบอื่น ๆ ที่จดั ระเบียบสังคมและกฎหมาย
(Religious and Traditional Laws)
วัฒนธรรมทางกฎหมายที่ถอื หลักตามกฎหมายศาสนา
หรือกฎหมายประเพณีของตนเปนหลัก
เนื่องจากมีลักษณะเปนกฎหมายศาสนาหรือกฎหมาย
ประเพณีของแตละสังคมเทานั้น มิไดสงอิทธิพลไปถึง
ระบบกฎหมายในประเทศอื่น ความจําเปนที่จะตอง
ศึกษาในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบจึงมีนอยมาก
ระบบซิวิลลอวกับระบบคอมมอนลอว
เปนคูที่สําคัญที่สุด
เพราะสงอิทธิพลตอโลกมากที่สุด และยังมี
ความเขาใจผิดบางประการในสังคมไทย
เกี่ยวกับระบบกฎหมายของไทยเพราะไม
แยกแยะความแตกตางระหวางสองระบบนี้ใหดี
ระบบซิวิลลอว
ระบบนี้ไดชื่อวาเปนตระกูลกฎหมายโรมาโนเยอรมานิค เพราะวิชา
นิติศาสตรประกอบกันขึ้นบนรากฐานของกฎหมายโรมัน หรือถือกําเนิด
มาจากวิชานิติศาสตรโรมัน แตในเนื้อหาของกฎหมายมีลักษณะ
ผสมผสานระหวางหลักกฎหมายโรมันกับหลักกฎหมายเยอรมานิค ดังที่
ไดกลาวมาแลว จะเห็นไดวามีลักษณะสําคัญที่ตรงวิธีคิด และวิธีคิดนี้
เกิดจากหลักวิชานิติศาสตรโรมันซึ่งนําไปสูวิธีการจัดทําประมวล
กฎหมายในชวงสมัยใหมตอ มา บางครั้งจึงอาจเรียกไดอีกชื่อหนึ่งวา
เปนระบบประมวลกฎหมาย สวนชื่อเรียก ระบบซิวิลลอว นี้ มาจากคํา
วา jus civile ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชบังคับกับพลเมืองโรมันและเปน
กฎหมายที่วางรากฐานอยูบนวิชานิติศาสตรโรมันที่พัฒนาขึ้นมานั่นเอง
ความหมายที่แทจริงของประมวลกฎหมาย
นักศึกษาควรทําความเขาใจวา คําวาประมวลกฎหมายนั้น ความหมายที่
แทจริงอาจไมเปนไปตามที่คิดกัน ประมวลกฎหมาย (codification) ไมใช
สิ่งที่เปนแตเพียงการรวบรวมกฎหมายใหเปนหมวดหมูอ ยูในฉบับเดียวกัน
เทานั้น การรวบรวมกฎหมายใหเปนหมวดหมูไวในที่เดียวกันจะยังทึกทักวา
เปนประมวลกฎหมายแลวไมได ตราบใดที่ยังไมมีการจัดระบบระเบียบทีต่ ัว
โครงสรางของกฎหมายเรื่องนั้นและยังไมมกี ารทาวความเชื่อมโยงถึงกัน
และกันอยางเปนระบบ อยางมากก็เปนเพียง compilation เทานั้น แมแต
ประมวลกฎหมายจัสติเนียนของชาวโรมันก็ยังไมเปนประมวลกฎหมายที่
แทจริงตามความหมายของประมวลกฎหมายสมัยใหมเพราะขาดลักษณะ
สําคัญดังที่กลาวมาขางตน กฎหมายตราสามดวงของไทยก็เชนเดียวกัน ถือ
วาไมใชประมวลกฎหมาย เปนเพียงการนํากฎหมายมารวบรวมใหเปน
หมวดหมูและอยูในที่เดียวกันเทานั้น
ความสําคัญของวิชานิติศาสตรโรมัน
อยางไรก็ตาม แมในสมัยโรมันจะยังไมมีประมวล
กฎหมาย แตวิชานิติศาสตรโรมัน ก็เปนสิ่งสําคัญที่
ชวยใหสามารถคิดคนวิธีการจัดทําประมวล
กฎหมายขึ้นบังคับใชในชวงปลายศตวรรษที่ 18
ขึ้นมาได ซึ่งเกิดจากวิธีคิดในการใชและตีความ
กฎหมายของชาวโรมันนั่นเอง
กําเนิดวิชานิติศาสตรโรมัน (1)
ไดมีการรวบรวมกฎหมายจารีตประเพณีเหลานั้นมาบันทึกเปนลายลักษณ
อักษรจารึกไวบนแผนทองแดงตั้งไวในที่สาธารณะเรียกกันตอมาวา
กฎหมายสิบสองโตะ (ที่จริงควรเรียก “กฎหมายสิบสองมัด” มากกวา)
เวลามีขอ พิพาทเกิดขึ้นผูพิพากษาก็จะนําเอาหลักเกณฑตามบทกฎหมายที่
จารึกไวนี้มาปรับใช แตเมื่อเวลาผานไปนาน ๆ ก็เกิดความรูสึกขึ้นทั่วไปวา
การปรับใชกฎหมายตามตัวบทซึ่งตุลาการปรับใชโดยเครงครัดมาโดย
ตลอดนั้นกอใหเกิดความขลุกขลักโดยสอดคลองกับความรูสึกวาอะไรเปน
ธรรมอะไรไมเปนธรรมในสังคม ชาวโรมันถือคติตามที่ถายทอดมาทาง
ปรัชญากรีกวากฎหมายที่แทจริงนั้นคือเหตุผล ดังนั้น กฎหมายจึงตองเปน
ธรรม ในเมื่อกฎหมายไมเปนธรรมก็ตองหาวิธที าํ ใหเปนธรรมจึงจะถูกตอง
กําเนิดวิชานิติศาสตรโรมัน (2)
อยางไรก็ดี ชาวโรมันมีความเชื่อในความถูกตองความดีของสิ่งที่มีมา
อยูกอนและตกทอดมาแตบรรพบุรุษ เชื่อในจารีตประเพณีท่ตี กทอดมา
วาเปน The Good Old Law ดังนั้น เมื่อเห็นวากฎหมายที่มอี ยูมันใช
การไดไมถนัดก็ไมปฏิเสธหรือยกเลิกของเกา แตกลับพยายามรักษาของ
เกาไวโดยเอาความคิดใหมเขาไปปรุงแตง คือนําความคิดเรื่องเหตุผล
และหลักความเปนธรรมเขามาปรุงแตงใหมันเจริญขึ้น
การปรุงแตงนี้เองทําใหเกิดพัฒนาการทางนิติศาสตร เปนหลักวิชาใน
การใชและตีความกฎหมาย ตลอดจนพัฒนาหลักกฎหมายใหม ๆ ปรับ
ใชไดอยางเหมาะสม jus civile จึงมีจุดเดนที่เปนการใชกฎหมายอยาง
มีเหตุผล ไมใชการใชกฎหมายไปตามตัวอักษรอยางเครงครัด เพราะมี
วิธีคิดที่วางรากฐานอยูบนเหตุผลและหลักความเปนธรรมสําหรับการ
ใชและการตีความกฎหมายกํากับอยูนั่นเอง
กําเนิดประมวลกฎหมาย
ในเวลาตอมา ราวคริสตศตวรรษที่ 6 จักรพรรดิจัสติเนียนจึงได
ดําเนินการใหมกี ารจัดทําประมวลกฎหมายในรูปของการ
สรุปผลงานของนักนิติศาสตรที่พัฒนากฎหมายมานานนับพันป
ใหเปนระบบระเบียบขึ้น เรียกวา corpus juris civilis ซึ่งมี
ผูเรียกโดยใหเกียรติกับพระเจาจัสติเนียนวา ประมวลกฎหมาย
จัสติเนียน
โดยอาศัยวิธีคิดของชาวโรมันนี้เอง ในชวงปลายศตวรรษที่ 18
เปนตนมา จึงสามารถดําเนินการจนจัดทําประมวลกฎหมาย
สมัยใหมเปนผลสําเร็จ
สําคัญที่วิธีคิด (method)
ชื่อเรียก ระบบซิวิลลอว นี้ มาจากคําวา jus civile ซึ่งเปน
กฎหมายที่ใชบังคับกับพลเมืองโรมันและเปนกฎหมายที่
วางรากฐานอยูบนวิชานิติศาสตรโรมันที่พัฒนาขึ้นมานั่นเอง
การเรียกชื่อวาเปนระบบซิวิลลอวจึงเปนการใหความสําคัญกับ
วิชานิติศาสตรโรมันวาเปนหัวใจของระบบนี้
วิธีคิดหรือทัศนคติที่มีในการจัดคูความสัมพันธระหวางกฎหมาย
ประเพณีกับกฎหมายลายลักษณอักษรเปนเรื่องสําคัญ
สังคมดั้งเดิมของโรมันเปนสังคมเผาชาวนาและนักรบ
เล็ก ๆ ทางตอนเหนือของคาบสมุทรอิตาลี กฎหมาย
ของโรมันก็เปนเชนเดียวกับกฎหมายในสังคมโบราณ
ทั่วไปคือเปนกฎเกณฑทางจารีตประเพณีที่ตกทอดกัน
มา
ตอมาราวศตวรรษที่ 5 กอนคริสตกาล ไดมกี าร
รวบรวมกฎหมายจารีตประเพณีเหลานั้นมาบันทึก
เปนลายลักษณอักษรจารึกไวบนแผนทองแดงตั้งไวใน
ที่สาธารณะเรียกกันตอมาวากฎหมายสิบสองโตะ
(มัด) เวลามีขอ พิพาทเกิดขึ้นผูพิพากษาก็จะนําเอา
หลักเกณฑตามบทกฎหมายที่จารึกไวนี้มาปรับใช
แตเมื่อเวลาผานไปนาน ๆ ก็เกิดความรูสึกขึ้นทั่วไปวา
การปรับใชกฎหมายตามตัวบทซึ่งตุลาการปรับใชโดย
เครงครัดมาโดยตลอดนั้นกอใหเกิดความขลุกขลักโดย
สอดคลองกับความรูสึกวาอะไรเปนธรรมอะไรไมเปน
ธรรมในสังคม
ชาวโรมันถือคติตามที่ถายทอดมาทางปรัชญากรีกวา
กฎหมายที่แทจริงนั้นคือเหตุผล ดังนั้น กฎหมายจึงตอง
เปนธรรม ในเมื่อมันไมเปนธรรมก็จะตองหาวิธีทําให
มันเปนธรรมมันจึงจะถูกตอง
อยางไรก็ดี ชาวโรมันมีความเชื่อในความถูกตองความดี
ของสิ่งที่มีมาอยูกอ นและตกทอดมาแตบรรพบุรุษ เชื่อใน
จารีตประเพณีที่ตกทอดมาวาเปน The Good Old Law
ดังนั้น เมื่อเห็นวากฎหมายที่มีอยูมันใชการไดไมถนัดก็ไม
ปฏิเสธหรือยกเลิกของเกา แตกลับพยายามรักษาของเกา
ไวโดยเอาความคิดใหมเขาไปปรุงแตง
คือนําความคิดเรื่องเหตุผลและหลักความเปนธรรมเขามา
ปรุงแตงใหมันเจริญขึ้น การปรุงแตงนี้เองทําใหเกิด
พัฒนาการทางนิติศาสตร เปนหลักวิชาในการใชและ
ตีความกฎหมาย ตลอดจนพัฒนาหลักกฎหมายใหม ๆ
ปรับใชไดอยางเหมาะสม
jus civile จึงมีจุดเดนที่เปนการใชกฎหมายอยางมีเหตุผล ไมใชการใช
กฎหมายไปตามตัวอักษรอยางเครงครัด เพราะมีวิธีคิดที่วางรากฐานอยู
บนเหตุผลและหลักความเปนธรรมสําหรับการใชและการตีความ
กฎหมายกํากับอยูนั่นเอง
ในเวลาตอมา ราวคริสตศตวรรษที่ 6 จักรพรรดิจัสติเนียนจึงได
ดําเนินการใหมีการจัดทําประมวลกฎหมายในรูปของการสรุปผลงาน
ของนักนิติศาสตรที่พัฒนากฎหมายมานานนับพันปใหเปนระบบ
ระเบียบขึ้น ซึ่งเรียกกันตอมาในสมัยกลางวา corpus iuris civilis แต
มีผูเรียกโดยใหเกียรติกับพระเจาจัสติเนียนวา ประมวลกฎหมายจัสติ
เนียน
แตอยาลืมวา “ประมวลกฎหมายจัสติเนียน” ก็ยังไมใชประมวล
กฎหมายในความหมายที่แทจริง
โดยอาศัยวิธีคิดของชาวโรมันนี้เอง ในชวงปลาย
ศตวรรษที่ 18 เปนตนมา จึงสามารถดําเนินการจน
จัดทําประมวลกฎหมายสมัยใหมเปนผลสําเร็จ ซึ่งอาจ
ถือไดวามีอยู 5 รูปแบบใหญ ๆ คือ

1) การจัดทําประมวลกฎหมายปรัสเซีย ไมคอ ย
ประสบความสําเร็จ เพราะยืดยาว ไมคอยเปน
ระบบ
ความผิดพลาดของ Prussian Codification
แควนปรัสเซียซึ่งมีอยูกอ นการรวมอาณาจักรเยอรมัน กษัตริย
ของปรัสเซียเคยมีพระประสงควากฎหมายตองเขียนใหชัดเจน
ไมใหมีปญหา แตตนรางประมวลกฎหมายดังกลาวตองปรับปรุง
ใหม เนื่องจากรางกันมาถึง 30,000 กวามาตรา
ตอมา ประมวลกฎหมายทั่วไปแหงรัฐปรัสเซีย ที่ประกาศใชเมื่อ
ค.ศ. 1794 (มีทั้งเรื่องกฎหมายแพง กฎหมายอาญา และ
กฎหมายปกครอง รวมอยูดวยกัน) ยังคงมีตัวบทรวมทั้งสิ้นถึง
19,000 มาตรา อยูอีก ตามความประสงคที่จะขจัดไมใหตอง
ตีความกฎหมาย แตไมประสบความสําเร็จ เพราะเปนเพียงเรื่อง
รายละเอียดจุกจิก (casuistic)
2) การจัดทําประมวลกฎหมายออสเตรีย ประมวล
กฎหมายแพงทั่วไป (ABGB) (มีเนื้อหาเปนเรื่อง
กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายแพง) ซึ่ง
ประกาศใชเมื่อป ค.ศ. 1811 ไมคอยประสบ
ความสําเร็จ เพราะยังคอนขางยืดยาวอยูนั่นเอง
ใชถอ ยคําเขาใจยาก และยังไมเปนระบบมากนัก
โดยมีตัวบทรวมกันถึงเกือบ 8,000 มาตรา
3) การจัดทําประมวลกฎหมายฝรั่งเศส
ประสบความสําเร็จอยางมากหาก
พิจารณาถึงอิทธิพลที่สงผลไปในประเทศ
ตาง ๆ ทั่วโลก เพราะเปนประมวล
กฎหมายฉบับแรกที่ทําไดดี วางระบบไดดี
ที่สุดในยุคนั้น (มีผลใชบังคับในป 1804)
ใชถอ ยคําเขาใจงาย
4) การจัดทําประมวลกฎหมายเยอรมัน เปนประมวล
กฎหมายที่ไดรับการยกยองวามีโครงสรางที่ดีที่สุด
จัดระบบความคิดไดดีเลิศ แตเมื่อประกาศใหมีผล
บังคับใชภายหลังประมวลกฎหมายฝรั่งเศสเกือบ 100
ป (มีผลใชบังคับในป 1900) จึงสงผลตอประเทศตาง
ๆ นอยวาเพราะประเทศในระบบซิวิลลอวรับเอาแบบ
ฝรั่งเศสไปใชเสียกอนแลว แตก็นับวาเปนประมวล
กฎหมายที่ใชขอความที่ชาวบานอานเขาใจได
คอนขางยาก
5) การจัดทําประมวลกฎหมายสวิส แมในแงระบบโครงสรางของ
ประมวลกฎหมายจะไมมีอะไรใหม เพราะของเยอรมันดีอยูแลว แต
ประมวลกฎหมายสวิสก็มีลักษณะดีเลิศที่การเลือกใชถอ ยคําที่อาน
เขาใจงาย แมแตการจัดทําประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยของ
ไทย ผูรางซึ่งเปนชาวฝรั่งเศสก็ยังตองศึกษาเปรียบเทียบการใช
ถอยคําจากหลักกฎหมายสวิสอยูเสมอ และบทบัญญัติที่สําคัญหลาย
เรื่องก็นาํ เนื้อความมาจากกฎหมายสวิสโดยตรง อนึ่ง โดยทั่วไป หลัก
กฎหมายสวิสจะมีลักษณะอยูกึ่งกลางระหวางหลักกฎหมายฝรั่งเศส
กับหลักกฎหมายเยอรมัน ดังนั้น ในหลายประเทศก็ไดรับอิทธิพลจาก
กฎหมายสวิสในแงเนื้อหาของกฎหมายดวย สวนโครงสรางของประมวล
กฎหมาย จะเปนแบบฝรั่งเศสหรือเยอรมัน ซึ่งในเรื่องของเนื้อหาของกฎหมาย
นั้น แมจะเปนสวนประกอบที่สําคัญ แตสิ่งที่สําคัญกวาคือระบบโครงสราง
ความคิด
ตัวอยางคําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๑๒-๑๓/๒๕๕๑
ระหวาง นายเรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกวุฒิสภากับคณะรวม ๒๙ คน ผู
รองที่ ๑
นายกรัฐมนตรี (นายสมัคร สุนทรเวช) ผูถกู รอง
เรื่อง ประธานวุฒิสภาสงคํารองของสมาชิกวุฒิสภาเพื่อขอใหศาล
รัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยการสิ้นสุดความเปนรัฐมนตรีของ
นายกรัฐมนตรี
ระหวาง คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูรองที่ ๒
นายกรัฐมนตรี (นายสมัคร สุนทรเวช) ผูถกู รอง
เรื่อง คณะกรรมการการเลือกตั้งขอใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินจิ ฉัย
การสิ้นสุดความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรี
รธน. ๒๕๕๐ หมวด ๑๒การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ
สวนที่ ๒การกระทําที่เปนการขัดกันแหงผลประโยชน
มาตรา ๒๖๕ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาตอง
(๑) ไมดาํ รงตําแหนงหรือหนาที่ใดในหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือ
ตําแหนงสมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น หรือขาราชการสวนทองถิ่น
(๒) ไมรับหรือแทรกแซงหรือกาวกายการเขารับสัมปทานจากรัฐ หนวยราชการหนวยงานของ
รัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเขาเปนคูสัญญากับรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐหรือ
รัฐวิสาหกิจ อันมีลกั ษณะเปนการผูกขาดตัดตอน หรือเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหาง
หุนสวนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเขาเปนคูสัญญาในลักษณะดังกลาว ทั้งนี้ ไมวาโดย
ทางตรงหรือทางออม
(๓) ไมรับเงินหรือประโยชนใดๆ จากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เปน
พิเศษนอกเหนือไปจากที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติตอบุคคล
อื่นๆในธุรกิจการงานตามปกติ
(๔) ไมกระทําการอันเปนการตองหามตามมาตรา ๔๘ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ
มาตรา ๒๖๗ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๕ มาใชบังคับกับนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีดวย เวน
แตเปนการดํารงตําแหนงหรือดําเนินการตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย และจะดํารงตําแหนง
ใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปน
กัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใดก็มไิ ดดวย
พิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกลาว มุงประสงค
ใหมีการตรวจสอบการกระทําที่เปนการขัดกันแหง
ผลประโยชนของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง โดยเฉพาะ
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะมีบทบังคับเปนกรณีพิเศษ
ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๗ วา จะดํารงตําแหนงใดใน
หางหุนสวน บริษทั หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหาผล
กําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใด
ก็มิไดดวย
 มีปญหาประการแรกที่ตองวินิจฉัยวา ผูถูกรองเปนลูกจางของ
บริษัทเฟซ มีเดีย จํากัด หรือไม
 พิจารณาแลวเห็นวา ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๗ ซึ่งบัญญัติหา ม
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีเปนลูกจางของบุคคลใดเพื่อใหการปฏิบตั ิ
หนาที่ของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีเปนไปโดยชอบ ปองกันมิใหเกิด
การกระทําที่เปนการขัดแยงกันแหงผลประโยชน อันจะกอใหเกิด
สถานการณขาดจริยธรรมซึ่งยากตอการตัดสินใจ ทําให ตองเลือก
อยางใดอยางหนึ่ง ระหวางประโยชนสวนตัวกับประโยชนสาธารณะ
เมื่อผูดํารงตําแหนงคํานึงถึงประโยชนสวนตัวมากกวาประโยชน
สาธารณะ การขัดกันระหวางประโยชนสวนตัวกับการใชอํานาจใน
ตําแหนงหนาที่จึงขัดกันในลักษณะที่ประโยชนสวนตัวจะไดมาจาก
การเสียไปซึ่งประโยชนสาธารณะ
การทําใหเจตนารมณของรัฐธรรมนูญดังกลาวบรรลุผลจึงมิใชแปล
ความคําวา “ลูกจาง” ในรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๗ เพียงหมายถึง
ลูกจางตามความหมายแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตาม
กฎหมายคุมครองแรงงาน หรือตามกฎหมายภาษีอากร เทานั้น เพราะ
กฎหมายแตละฉบับยอมมีเจตนารมณแตกตางกันไปตามเหตุผลแหง
การบัญญัติกฎหมายนั้น ๆ ทั้งกฎหมายดังกลาวเปนกฎหมายที่มีศกั ดิ์
ต่ํากวารัฐธรรมนูญซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดที่ใชในการปกครองประเทศ
และยังมีเจตนารมณเพื่อปองกันการกระทําที่เปนการขัดกันแหง
ผลประโยชนแตกตางจากกฎหมายดังกลาวอีกดวย อนึ่ง รัฐธรรมนูญ
เปนกฎหมายที่กําหนดหลักเกณฑการปกครองประเทศ มุงจัดตั้งรับรอง
สถานะของสถาบันและสิทธิและเสรีภาพของประชาชน กําหนดพื้นฐาน
ในการดําเนินการของรัฐ เพื่อใหรัฐไดใชเปนหลักในการปรับใชกับ
สภาวการณหรือเหตุการณตาง ๆ ไดอยางถูกตองตามเจตนารมณ
ดังนั้น คําวา “ลูกจาง” ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๗ จึงมีความหมาย
กวางกวาคํานิยามของกฎหมายอื่น
โดยมิไดคํานึงวาจะมีการทําสัญญาจางเปนลายลักษณอกั ษรหรือไม
หรือไดรับคาตอบแทนเปนคาจาง สินจาง หรือคาตอบแทนในลักษณะที่
เปนทรัพยสินอยางอื่น หากมีการตกลงเปนผูรับจางทําการงานแลว
ยอมอยูในความหมายของคําวา “ลูกจาง” ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา
๒๖๗ ทั้งสิ้น มิฉะนั้นผูเปนลูกจาง รับคาจางเปนรายเดือนในลักษณะ
สัญญาจางแรงงาน เมื่อไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี
หรือรัฐมนตรี ก็สามารถทํางานตอไปได โดยเปลี่ยนคาตอบแทนจาก
คาจางรายเดือนมาเปนสินจางตามการงานที่ทํา เชน แพทยก็เปลี่ยน
จากเงินเดือนมาเปนคารักษาตามจํานวนคนไข ที่ปรึกษากฎหมายก็
เปลี่ยนจากเงินเดือนมาเปนคาปรึกษาหรือคาทําความเห็นเปนรายครั้ง
ซึ่งก็ยังมีความผูกพันในเชิงผลประโยชนกันอยูระหวางเจาของกิจการ
กับผูรับทํางานให เห็นไดชัดเจนวากฎหมายยอมไมมีเจตนารมณใหหา
ชองทางหลีกเลี่ยงบทบังคับกันไดโดยงายเชนนั้น
ผูถูกรองชี้แจงเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑ และยังคงยืนยัน
เหมือนวากอนเดือนธันวาคม ๒๕๕๐ ผูถูกรองไดรับคาตอบแทน
เปนเพียงคาน้ํามันรถเทานั้น ซึ่งขัดแยงกับคําเบิกความของนาง
ดาริกา และหลักฐานทางภาษีอากรดังกลาวขางตนที่วากอน
หนานั้นผูถูกรองไดรับคาจางแสดง ไมใชคาน้ํามันรถ อันเปนขอ
พิรุธ สอแสดงวาเปนการทําหลักฐานยอนหลังเพื่อปกปด
ขอเท็จจริงเกี่ยวกับคาตอบแทนของผู ถูกรอง ทั้งผูถูกรองเอง
เบิกความวาผูถูกรองไมไดรับคาน้ํามันรถและคาใชจาย นาจะ
เปนการนําเงินไปใหคนขับรถมากกวา ก็ขัดแยงกับคําชี้แจงของ
ผูถูกรอง ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๑
อนึ่ง มีตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ 6 คน เห็นวา ผูถูกรองเปนลูกจางของ
บริษัทเฟซ มีเดีย จํากัด เปนการกระทําอันตองหามตามรัฐธรรมนูญ มาตรา
๒๖๗ จึงไมจาํ ตองวินิจฉัยในปญหาวา ผูถกู รองดํารงตําแหนงใดในบริษัทเฟซ
มีเดีย จํากัด หรือไมอีก สวนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอีก 3 คน เห็นวา การเปน
พิธีกร การใชช่อื รายการชิมไป บนไป และใชรูปใบหนาของผูถูกรองในรายการ
ของบริษัทเฟซ มีเดีย จํากัด เปนการตกลงเขากันเพื่อกระทํากิจการรวมกันดวย
ประสงคจะแบงปนกําไรอันจะพึงไดแก กิจการที่ทาํ นั้นในลักษณะเปนหุนสวน
รวมกัน ดังนั้น การกระทําของผูถูกรองใหแกบริษัทเฟซ มีเดีย จํากัด จึงเปนการ
ดํารงตําแหนงในหางหุนสวนโดยมุงหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน และไม
จําตองวินิจฉัยในปญหาวา ผูถูกรองเปนลูกจางของบริษัทเฟซ มีเดีย จํากัด เปน
การกระทําอันตองหามตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๗ หรือไมอีก
ศาลรัฐธรรมนูญโดยมติเปนเอกฉันทจึงวินิจฉัยวา ผูถูกรองกระทําการอัน
ตองหามตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๗ มีผลใหความเปนรัฐมนตรีของนายสมัคร
สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ผูถูกรองสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญ มาตรา
๑๘๒ วรรคหนึ่ง (๗)
ตัวอยาง ป.ป.ช. ตีความกฎหมายขึ้นเงินเดือนตัวเอง
คําพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง
ในคดี ป.ป.ช.
ระเบียบวาดวยการจายคาเบี้ยประชุม (ครั้งละประมาณ 50,000 บาท)
ป.ป.ช.ซึ่งสวนใหญเปนผูใหญเปนกฎหมายเขาใจระเบียบตางๆ เปน
อยางดี แตก็ยังออกระเบียบดังกลาวเพื่อขึ้นคาตอบแทนใหกับ
ตัวเอง ดังนั้น ศาลจึงพิจารณาลงโทษวา ป.ป.ช.มีเจตนากระทํา
ความผิดมาตรา 157 แมจําเลยทั้ง 9 คนคืออดีต ป.ป.ช.จะมีการ
ยกเลิกระเบียบดังกลาวไปแลว แตก็ถือวาความผิดสําเร็จแลว การคืน
เงินจึงไมไดทําใหจําเลยพนจากความผิดไปได
รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐
มาตรา ๒๕๓ เงินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชน
ตอบแทนอื่นของผูพพิ ากษาและตุลาการ ใหเปนไปตามที่
กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ จะนําระบบบัญชีเงินเดือนหรือเงินประจํา
ตําแหนงของขาราชการพลเรือนมาใชบังคับ มิได
บทบัญญัติวรรคหนึ่งใหนํามาใชบังคับกับกรรมการการ
เลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการปองกันและ
ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และกรรมการตรวจเงินแผนดิน
ดวย โดยอนุโลม
เอาเงินมาคืน จะยังคงมีความผิดอาญาหรือไม
ขอสงสัยทางกฎหมายกรณีเรื่องความผิดสําเร็จ
แลว อาจเปรียบเทียบใหเห็นขอเท็จจริงกับขอ
กฎหมายวา ตามประมวลกฎหมายอาญา ถามีบุคคล
ใดบุคคลหนึ่งไปลักทรัพย แลวกลัวความผิดจึงรีบนํา
เงินไปคืนเจาของทรัพย ก็ยังถือวาบุคคลดังกลาวมี
ความผิดขอหาลักทรัพย เพราะถือวามีเจตนาลัก
ทรัพย และกระทําความผิดสําเร็จแลว
ประเด็นพิจารณา

การพิจารณาความผิดศาลจะดูในสองประเด็น
หลัก คือหนึ่ง ระเบียบดังกลาววาดวยการจาย
คาเบี้ยประชุมเปนระเบียบที่ถูกตองตาม
กฎหมายหรือไม จากนั้นจะมาดูประเด็นที่
สอง คือผูออกระเบียบใหมีการจายเงินคาเบี้ย
ประชุมมีเจตนาหรือไม
คํ าวิ นิจ ฉั ยสวนตนตอนหนึ่งของนายประพันธ ทรั พยแสง 1 ใน 9 องค
คณะศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง (๑)
"เมื่อจําเลยทั้ง 9 ไดชวงชิงผลประโยชนนั้นมา สังคมยอมไดรับความ
เสียหายในตัว การกําหนดเงินเดือนนั้น ปกติจ ะกํ าหนดเปนองครวม
โดยกํ าหนดจากปจจัยทางสังคม จริยธรรม ประวัติศาสตร พิจารณา
จากบทบาทลักษณะงาน คุณสมบัติ หรือระยะเวลาการศึกษา ประกอบ
กัน เมื่ อรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 253
กําหนดใหเ งินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชน ตอบแทนอื่น
ของผู พิ พ ากษาและตุ ล าการ กกต. ผูต รวจการแผ น ดิน ของรัฐ สภา
ป.ป.ช. และกรรมการตรวจเงินแผนดิน เปนไปตามกฎหมาย
คํ าวิ นิจ ฉั ยสวนตนตอนหนึ่งของนายประพันธ ทรั พยแสง 1 ใน 9 องค
คณะศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง (๒)

โดยเฉพาะอยางยิ่งพระราชบัญญัติเงินเดือน เงินประจํา
ตําแหนง และประโยชนตอบแทนอื่นของประธานศาล
รัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ประธานคณะกรรมการ
การเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐบาล ประธาน ป.ป.ช.
และประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน พ.ศ. 2541 ซึ่งทั้ง
5 องค ก รนี้ จ ะต อ งมี เ งิ น เดื อ น เงิ น ประจํ า ตํ า แหน ง และ
ผลประโยชนตอบแทนเปนเอกภาพเทาเทียมกัน"
คํ าวิ นิจ ฉั ยสวนตนตอนหนึ่งของนายประพันธ ทรั พยแสง 1 ใน 9 องค
คณะศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง (๓)
"หากจําเลยทั้ง 9 จะไปกําหนดรายไดเพิ่มสูงกวา โดยไมมีอํานาจยอม
กอใหเกิดความวุนวาย โกลาหลไมมีที่สิ้นสุด เพราะองคกรอื่นก็จะเอา
เยี่ยงอยางบาง องคกรที่ออกระเบียบทีหลังอาจจะกําหนดรายไดเพิ่ม
สูงกวาองคกรแรก องคกรแรกที่ออกระเบียบไปแลว ก็จะแกไข
เพิ่มเติมยกเลิกระเบียบเกา ออกระเบียบเพิ่มเงินคาตอบแทนใหสูง
กวาเกาขึ้นอีก ทั้งการออกระเบียบทําไดอยางไมมีขอจํากัดทุก
เรื่อง และไมจํากัดอัตราคาตอบแทน จะเกิดความขัดแยงขึ้นใน
ระหวางองคกรอิสระตางๆ เขาลักษณะมือใครยาวสาวไดสาวเอา"
ขอสังเกตของผูสอน
คําวา “กฎหมาย” ในมาตรา ๒๕๓ จึงหมายถึงพระราชบัญญัติ
ซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ง ของหลักการที่ ตอ งไดรั บความเห็น ชอบจาก
รัฐสภา เห็นไดจากการอานขอความบริบทแวดลอม เพื่อใหเห็น
ความมุ ง หมายของกฎหมายไปพร อ มกั น นอกจากนี้ คํ า ว า
“กฎหมาย” ตามรั ฐ ธรรมนู ญ เมื่ อ พิ จ ารณาบทบั ญ ญั ติ
รัฐธรรมนูญในสวนที่วาดวยการนิติบัญญัติ จะเห็นวาหมายถึง
กรณีที่ตองผานกระบวนการนิติบัญญัติโดยทางรัฐสภาอยูในตัว
จะอานแลวตีความจากคําวากฎหมายเพียงคําเดียวมิได
การใชกฎหมายโดยการเทียบเคียง (analogy)
เปนการใชกฎหมายที่เลยพนตัวบทบัญญัติที่เปนลายลักษณอักษร
ออกไปแลว แตเหตุผลของบทบัญญัต(ิ เหตุผลของเรื่อง)นั้นครอบคลุม
ไปถึงขอเท็จจริงในคดี เพราะมีสาระสําคัญตรงกัน
ดังนั้น จึงไมใชการใชกฎหมายโดยตรง แตอาศัยกฎหมายลาย
ลักษณอักษรมาใชเทียบเคียง จึงไมถือวาเปนการตีความ
กฎหมาย
ขอเท็จจริงอยูในขอบเขตตัวบท =การใชกฎหมายโดยตรง
ขอเท็จจริงอยูนอกขอบเขตตัวบท =การใชกฎหมายโดยการ
เทียบเคียง (ไมใชบอเกิดใหม แตมาจากการนําบอเกิดแบบ written
law มาเทียบเคียงปรับใช)
ความสําคัญของการอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง
การเทียบเคียง หรือการ Analogy มิใชเกิดขึ้นเพียงเพราะตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชยหรือกฎหมายใดๆ บัญญัติเรื่องการเทียบเคียงบทกฎหมายที่
ใกลเคียงอยางยิ่งเพื่อเปนการอุดชองวางของกฎหมายไว แตมาจากเบื้องหลัง
ความคิดที่มหี ลักเหตุผลของเรื่อง (Nature of things) และหลักความเปนธรรม
ประกอบดวย อันเนื่องมาจากการใชกฎหมายตองเปนสิ่งที่อยูภายใตกรอบของ
เหตุผล ซึ่งบทกฎหมายลายลักษณอักษรก็มีกําลังภายในที่ประกอบไปดวย
เหตุผล ทําใหเหตุผลเปนสิ่งสําคัญในการพิจารณาการปรับใชการเทียบเคียง
เหตุผลของเรื่องกับหลักความยุตธิ รรมมีความสอดคลองกัน โดยกฎหมายเปนสิ่ง
ที่มีความสัมพันธตามหลักเหตุผลของเรื่องทําใหมนุษยรับรูไดวาสิ่งใดถูกหรือสิ่ง
ใดผิด และกฎหมายที่ดีนั้นตองสอดคลองกับความเปนธรรม โดยกฎหมายตอง
เปนเครื่องอํานวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้น
หลักความยุติธรรมที่วา “สิ่งที่เหมือนกันควรจะไดรับการปฏิบตั ิอยาง
เดียวกันหรือเทาเทียมกัน” จึงถือเปนหลักการพื้นฐานเบื้องหลังของ
การเทียบเคียงบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง ซึ่งหลักความยุติธรรม
ดังกลาวเปนความรูสึกนึกคิดและเปนความตองการที่มีอยูภายในจิตใจ
ของมนุษยทุกคน เกิดขึ้นตามเองธรรมชาติ โดยไมมีผูใดอยากเปนผูถูก
เลือกปฏิบัตอิ ยางแตกแยกและตอยต่ํากวาผูอื่น มนุษยจึงมีหลักการ
เทียบเคียง หรือ Analogy อยูภายในจิตใจ จึงเปนที่มาของสุภาษิต
กฎหมายที่วา “เรื่องที่มีเหตุผลเดียวกันตองใชบทบัญญัติเดียวกัน
บังคับ” “UBI EADEM RATIO, IBI EADEM LEX; ET DE SIMILIBUS
IDEM EST JUTCIUM” หรือ “Where the same reason exists,
there the same law prevails; and of thing similar, the
judgment is similar” ตามหลักเหตุผลของเรื่องและความเปนธรรม
ที่สงเสริมใหมีการปรับใชการเทียบเคียงขึ้นในกฎหมาย
ตัวอยางการใชกฎหมายสิบสองโตะ(มัด) โดยการเทียบเคียง
มัด (โตะ) ที่แปด เจาของสัตวสี่เทาตองรับผิดหากสัตวกอความเสียหาย
แกผูอื่น โดยละทิ้งสัตวนั้นหรือชดใชคาสินไหมทดแทนแกบุคคลผูตอง
เสียหายเพราะเหตุดังกลาว
– ปญหาเกิดขึ้นเมื่อทาส (สัตวสองเทา) กอความเสียหายแกผูอื่น แตมิไดระบุ
กรณีสัตวสองเทาไว โตะที่แปดระบุแตเรื่องสัตวสเี่ ทา
– ตามหลักกฎหมายโรมัน ความรับผิดของเจาของสัตวจํากัดไวไมเกินมูลคา
ของสัตวนั้น
– ตามกฎหมายสิบสองโตะ ตองเปนกรณีความเสียหายเพราะสัตวสี่เทา แตใน
การตีความไมมีทางที่จะตีความขยายความใหสัตว 4 เทาครอบคลุมไปถึง
นกกระจอกเทศซึ่งเปนสัตว 2 เทาได
เมื่อกฎหมายสิบสองโตะไมเพียงพอที่จะปรับใชไดโดยตรง จึงเกิด
หลักการเทียบเคียงกฎหมายขึ้นมา เปนการปรับใชการเทียบเคียงบท
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง หรือการ Analogy ซึ่งไดชัดเจนขึ้นในยุคนี้
ดวยเชนกัน ทั้งนี้ เนื่องจากมีขอเท็จจริงเกิดขึ้นมาวา การที่
นกกระจอกเทศซึ่งเปนสัตว 2 เทาไปกอใหเกิดความเสียหายแกบุคคล
อื่น เจาของนกกระจอกเทศตองรับผิดดวยหรือไม ซึ่งแตเดิมกฎหมาย
สิบสองโตะบัญญัติไวเพียงความรับผิดของเจาของสัตว 4 เทา ไมมีการ
กลาวถึงสัตว 2 เทาไวเลย แตในภายหลังจากที่ทหารโรมันไปรบกับ
แอฟริกา ทหารโรมันไดนํานกกระจอกเทศกลับมาดวย ซึ่ง
นกกระจอกเทศไมใชนกเล็ก แตเปนนกที่มีขนาดใหญและก็ไปกอใหเกิด
ความเสียหายแกบุคคลอื่น เชนนี้ จึงทําใหตองมาตระหนักถึงการแกไข
ปญหาดังกลาวที่เกิดขึ้น
เมื่อพิเคราะหถึงเจตนารมณของบทบัญญัติกฎหมาย บทบัญญัติกฎหมายมีมาเพื่อ
ตองการใหเจาของที่เลี้ยงสัตวมีความระมัดระวังไมใหสัตวของตนไปกอความ
เดือดรอนเสียหายแกผูอื่น ซึ่งสาระสําคัญของบทบัญญัติกฎหมายมิไดอยูที่จํานวนเทา
ของสัตว แตสาระสําคัญอยูที่ความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว ซึ่งกฎหมายตองการ
ใหเจาของสัตวน้นั ตองรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น ดังนั้น แมกรณีความเสียหายที่
เกิดขึ้นจากสัตว 2 เทาจะไมมีบทบัญญัติของกฎหมายบัญญัติไว แตหากสัตว 2 เทา
ไปกอความเดือดรอนแกบุคคลอื่นใหไดรับความเสียหายเหมือนกัน ก็ยอ มตองเปน
ความรับผิดเหมือนกับที่เจาของสัตว 4 เทาควรจะตองรับผิด จึงนําเอาบทบัญญัติ
กฎหมายเรื่องความรับผิดของเจาของสัตว 4 เทามาใชโดยเทียบเคียงพฤติการณหรือ
เหตุการณที่เกิดขึ้นกับกรณีสตั ว 2 เทาที่กอใหเกิดความเสียหาย แลวปรับบท
กฎหมายใหเขากับเหตุการณนั้น ซึ่งเปนวิธีการ Analogy โดยใชการเทียบเคียงบท
กฎหมายดังกลาวกับขอเท็จจริงในสวนที่ไมเปนสาระสําคัญ การ Analogy จึงเขามา
มีสวนชวยในการแกไขปญหากรณีที่บทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณอักษรไม
สามารถครอบคลุมไปถึงพฤติการณใดพฤติการณหนึ่งดังกรณีนี้ จะตองตัดสินคดีตาม
เหตุผลแหงธรรมชาติ (naturalis ratio) กลาวคือ ตองตัดสินตามหลักเกณฑท่ดี ีและ
ยุติธรรม (ex bono et aequo)
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4623/2559
ส. เปนผูเอาประกันภัยสัญญาประกันภัยอุบัติเหตุไวกับจําเลย โดยระบุให
ธนาคาร ก. เปนผูรับประโยชน ตอมา ส. ถึงแกความตาย และไมปรากฏวา
ธนาคาร ก. แสดงเจตนาขอรับประโยชนจากสัญญาประกันภัยดังกลาว ธนาคาร
ก. จึงยังไมมีสิทธิใด ๆ เมื่อสิทธิของผูรับประโยชนยังไมเกิดขึ้นตามกฎหมาย ส.
ผูเอาประกันภัยในฐานะคูสญ ั ญายอมเปนผูมีสิทธิไดรับคาสินไหมทดแทนตาม
เงื่อนไขของกรมธรรม แตเมื่อ ส. ถึงแกความตายแลว คาสินไหมทดแทนไมใช
ทรัพยมรดกที่ ส. มีอยูขณะถึงแกความตาย เพราะไดมาหลังจาก ส. ถึงแกความ
ตายแลว จึงตองอาศัยบทกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งตาม ป.พ.พ. มาตรา 4
วรรคสอง เงินดังกลาวจึงตกแกทายาทของ ส. เสมือนหนึ่งเปนทรัพยมรดก
โจทกเปนมารดาของ ส. ยอมเปนทายาทโดยธรรมมีสิทธิรับมรดกของ ส. จึงมี
สิทธิฟองจําเลยเรียกคาสินไหมทดแทนตามกรมธรรมประกันภัยอุบัติเหตุ
ดังกลาวได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4623/2559 (ตอ)
ผูเอาประกันภัยในฐานะคูสัญญายอมเปนผูมสี ิทธิไดรบั คา
สินไหมทดแทนตามเงื่อนไขของกรมธรรมและเมื่อผูเอา
ประกันภัยถึงแกความตายแลว คาสินไหมทดแทนดังกลาวไมใช
ทรัพยมรดกที่ผูเอาประกันภัยมีอยูขณะถึงแกความตาย(ตาม
ปพพ. มาตรา 1600) เพราะไดมาหลังจากผูเอาประกันภัยถึงแก
ความตายแลว จึงตองอาศัยบทกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 วรรคสอง เงิน
ดังกลาวจึงตกแกทายาทของผูเอาประกันภัยเสมือนหนึ่งเปน
ทรัพยมรดก
สวนกรณีตามคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6893/2559 เปนเรื่อง
การตีความกฎหมายตามมาตรา 4 วรรคหนึ่ง
โจทกเปนผูจัดการมรดกของ ท. การที่ ส. ทําสัญญาประกันชีวติ กับจําเลยโดยระบุให ท.
เปนผูรบั ประโยชนเปนสัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา ส. และ
ท. ตางถึงแกความตายซึ่งไมวา ท. จะถึงแกความตายกอนหรือหลัง ส. ท. ก็ถึงแกความตาย
เชนเดียวกัน เมื่อ ท. ผูรับประโยชนถึงแกความตายจึงไมอาจเขารับประโยชนตามสัญญา
ประกันชีวิตของ ส. ได ดังนั้นจึงไมอาจถือวา ท. จะไดรับประโยชนจากการจายเงินตาม
เงื่อนไขของกรมธรรมและไมถือวาเงินตามกรมธรรมที่จาํ เลยจะตองจายใหแก ท. ซึ่งเปน
ผูรับประโยชนนั้นตกเปนของกองมรดก ท. กรณีตองถือวา ท. ผูรับประโยชนไมอาจเขาถือเอา
ประโยชนตามสัญญาประกันชีวิตของ ส. ดังนั้นประโยชนที่จะไดรับจากสัญญาประกันชีวิตจึง
ตองตกแกทายาทโดยธรรมของ ส. ผูเอาประกันภัยเสมือนหนึ่งเปนทรัพยมรดกซึ่งผูจ ัดการ
มรดกของ ส. หรือทายาทโดยธรรมจึงจะมีสิทธิเรียกรองเอาเงินตามเงื่อนไขกรมธรรมประกัน
ชีวิตของ ส. เมื่อโจทกเปนเพียงผูจัดการมรดกของ ท. จึงไมมีสิทธิฟองเรียกใหจําเลยชําระ
เงินตามกรมธรรมประกันชีวิตของ ส. ได
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4301/2559
มีปญหาใหพิจารณาวาการประชุมใหญวิสามัญเจาของรวมของนิติบุคคลอาคาร
ชุดเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2552 เปนการประชุมและลงมติที่ฝาฝนตอกฎหมาย
หรือไม
ขอบังคับนิติบุคคลอาคารชุดระบุวา กรณีใดมิไดตราไวในขอบังคับนี้ ใหนํา
บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตอิ าคารชุด พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติอาคาร
ชุด (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534 รวมถึงกฎหมายอาคารชุดที่จะมีการเปลี่ยนแปลง
แกไขเพิ่มเติมในภายหนา ตลอดจนบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของมาใชบังคับ ดังนี้ เมื่อพระราชบัญญัติอาคาร
ชุดมิไดมีบทบัญญัตใิ หมีการขอใหเพิกถอนมติที่ประชุมใหญวิสามัญเจาของรวม
อันผิดระเบียบไว จึงตองวินจิ ฉัยคดีโดยอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยาง
ยิ่งตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 ซึ่งกรณีนี้ไดแกมาตรา
1176 และมาตรา 1195 (ซึ่งเปนบทบัญญัติวาดวยเรื่องบริษัทจํากัด)
สวนกรณีตามคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6079/2554 เปนเรื่องการ
ตีความกฎหมายตามมาตรา 4 วรรคหนึ่ง
มีปญหาวามติที่ประชุมใหญของนิติบคุ คลอาคารชุดชอบดวยกฎหมาย
หรือไม
แมพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 มิไดกําหนดใหมีการขอใหเพิกถอนมติที่
ประชุมใหญเจาของรวมอันผิดระเบียบไวกต็ าม แตตามขอบังคับนิติบุคคล
อาคารชุดทองหลอทาวนเวอรขอ 32 ระบุวา "ใหนําบทบัญญัตวิ าดวยการ
ประชุมใหญอันเปนบทบัญญัติในหมวดและสวนที่เกี่ยวกับการประชุมใหญผูถือ
หุนของบริษัทจํากัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชกับการประชุม
ใหญเจาของรวมโดยอนุโลมเทาที่ไมขัดหรือแยงกับขอบังคับนี"้ และตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1195 อันเปนบทบัญญัติในหมวด
และสวนที่เกี่ยวกับการประชุมใหญของบริษัทจํากัดไดบัญญัติไว
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 11486/2556
แมขณะที่ ก. ถึงแกความตายเมื่อป 2540 ก. ยังไมมีสิทธิไดรับจัดที่ดนิ
และการชดเชยเพราะคณะรัฐมนตรีเพิ่งมีมติใหผทู ี่ถกู น้ําทวมอันเปน
ผลกระทบจากการสรางเขื่อนสิรินธรไดรับสิทธิเชนวานั้น เมื่อวันที่ 22
พฤษภาคม 2550 สิทธิไดรับจัดที่ดินและการชดเชยตามมติ
คณะรัฐมนตรีจึงมิใชทรัพยสินที่ ก. มีอยูในขณะถึงแกความตายและ
มิใชเปนมรดกของ ก. ผูตายก็ตาม แต ป.พ.พ. บรรพ 6 ลักษณะมรดก
เปนบทกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งในอันที่จะใชบังคับแกสิทธิไดรับจัด
ที่ดนิ และการชดเชย ดังนั้น สิทธิไดรับจัดที่ดินและการชดเชยของ ก.
จึงควรตกทอดไดแกทายาทของ ก. เสมือนหนึ่งเปนทรัพยมรดก
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12768/2555
โจทกฟองขอใหเพิกถอนชื่อ จ. ออกจากการเปนมารดาของจําเลยตอนาย
ทะเบียนทองถิ่นแลวใหจําเลยกลับไปใชชื่อบิดามารดาเดิมโดยอางวาจําเลยไมมี
ความเกี่ยวของกับ จ. เปนเพียงคนที่ จ. อุปการะเลี้ยงดู และใหใชชื่อสกุลเทานั้น
เมื่อตามทะเบียนบานระบุวาจําเลยเกิดวันที่ 15 พฤศจิกายน 2490 ความเปน
บิดามารดากับบุตรระหวางจําเลยกับ จ. ตาม พ.ร.บ.ใหใชบทบัญญัติบรรพ 5
แหง ป.พ.พ. ที่ตรวจชําระใหม พ.ศ.2519 มาตรา 5 กําหนดวา บทบัญญัติ
บรรพ 5 แหง ป.พ.พ. ไดตรวจชําระใหมไมมีผลกระทบกระเทือนถึงความ
สมบูรณของการเปนบิดามารดากับบุตร ดังนั้นความเปนมารดากับบุตรระหวาง
จําเลยกับ จ. ตองเปนไปตามบทบัญญัตแิ หง ป.พ.พ. บรรพ 5 เดิม ซึ่งมาตรา
1525 บัญญัติรบั รองความเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิงวาเด็กที่เกิดจาก
หญิงที่มิไดสมรสกับชายยอมตองเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิงนั้นเสมอ
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 12768/2555 (ตอ)
การพิสูจนความเปนมารดาชอบดวยกฎหมายระหวาง
จําเลยกับ จ. ไมมีบทบัญญัติแหงกฎหมายหรือจารีต
ประเพณีแหงทองถิ่นที่จะยกมาบังคับได จึงตองอาศัย
เทียบเคียงบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งตาม ป.พ.พ.
มาตรา 4 วรรคสอง ซึ่งไดแกบทบัญญัติท่ใี ชพิสูจนความ
เปนบิดาตามมาตรา 1524 วรรคสองและวรรคสามตาม
ป.พ.พ. บรรพ 5 เดิม มาพิสูจนความเปนบุตรชอบดวย
กฎหมายระหวางจําเลยกับ จ.
ฎ.1820/2548
ผูรอ งเปนหุนสวนไมจํากัดความรับผิดของหางหุนสวนจํากัด ยื่นคํารอง
ขอใหศาลมีคําสั่งตั้งผูรองเปนผูแทนชั่วคราวของหาง โดยใหผูรองแตผู
เดียวลงลายมือชื่อและประทับตราของหางมีอํานาจกระทําการแทนหาง
เพื่อผูรองจะไดกระทํากิจการตางๆ ในนามหางได อันเปนการแกไข
อุปสรรคขอขัดของของหางมิใหเกิดความเสียหายเนื่องจากหุนสวน
ผูจัดการคนอื่นไมยอมลงลายมือชื่อในหนังสือมอบอํานาจรวมกับผูร อง
เพื่อดําเนินคดีเรียกคาเสียหายจากการที่ผูอ่นื ฉอโกงหางทําใหหาง
เสียหาย แมคํารองขอของผูรองจะไมใชกรณีตําแหนงผูแทนของหาง
วางลงตามที่ ป.พ.พ. มาตรา 73 บัญญัตไิ ว แตก็ไมมีบทกฎหมายที่จะ
ยกมาปรับคดีได ทั้งไมมีจารีตประเพณีแหงทองถิ่นในกรณีนี้ จึงตอง
อาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งมาวินิจฉัยคดีตามมาตรา 4
วรรคสอง และมาตรา 73 เปนบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งที่จะ
นํามาวินิจฉัยคดีไดดังนั้นหากไดความจริงตามคํารองขอศาลก็สามารถ
ตั้งผูรองเปนผูแทนชั่วคราวตามบทกฎหมายดังกลาวได
ฎ.2898/2543
ตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 มิไดกาํ หนดเวลารองขอใหศาลเพิกถอน
มติของที่ประชุมใหญเจาของรวมอันผิดระเบียบไวแตอยางไรก็ดีพระราชบัญญัติ
ดังกลาวไดบัญญัตกิ ารจัดตั้งนิติบุคคลอาคารชุดและผูจัดการ พรอมทั้งกําหนดใหมี
คณะกรรมการควบคุมการจัดการนิติบุคคลอาคารชุดซึ่งประกอบดวยกรรมการที่ไดรับ
แตงตั้งโดยมติของที่ประชุมใหญเจาของรวมอันมีลักษณะคลายคลึงกับวิธีจัดการ
บริษัทจํากัด เหตุนี้เมื่อพระราชบัญญัติอาคารชุดพ.ศ. 2522 ไมมีบทบัญญัติที่วาดวย
กําหนดระยะเวลารองขอใหศาลเพิกถอนมติของที่ประชุมใหญอันผิดระเบียบมาปรับ
แกคดีได จึงตองวินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 4 ซึ่งกรณีนี้ไดแกมาตรา 1195 แหงประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย ที่บัญญัติใหการรองขอใหศาลเพิกถอนมติของที่ประชุม
ใหญอันผิดระเบียบนั้นตองรองขอภายในกําหนดเดือนหนึ่งนับแตวันลงมตินั้น ซึ่ง
สอดคลองกับเจตนารมณของกฎหมายที่ตองการใหการจัดการนิติบุคคลอาคารชุด
เปนไปโดยรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพตรงตามความประสงคของเจาของรวม
ทั้งหลาย ทั้งกําหนดเวลาดังกลาวมิใชกาํ หนดอายุความที่ใชบงั คับแกสิทธิเรียกรอง
แมศาลชั้นตนจะใชคําวา "อายุความ" ในประเด็นที่กาํ หนดไวก็ตาม เหตุนี้จึงจะนํา
กําหนดอายุความทั่วไปสิบป มาใชปรับแกคดีนี้ดงั ที่ผูรองฎีกากลาวอางมิได
ขอสังเกตเกี่ยวกับการอุดชองวางกฎหมาย

ในการตอบคําถามวา ทานจะวินิจฉัยไดอยางไรวา
ขอเท็จจริงในกรณีใดตองดวยบทบัญญัติใด และถา
ไมตอ งดวยบทบัญญัติใดเลย ทานจะวินิจฉัยอยางไร
จะชวยทําใหสามารถใหคําตอบกับคําถามนาคิด
ประการหนึ่งที่วา “ชองวางกฎหมายมีไดหรือไม”
ขอยืนยันวากฎหมายไมมีชองวาง (๑)
การพิจารณาวากรณีใดตองดวยบทบัญญัติใด ตองพิจารณาจาก
ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของ และพิเคราะหความสัมพันธเชิงเหตุผลที่
ดํารงอยูในความขัดแยงในเรื่องนั้นๆ ใหชัดเจนเสียกอน แลวจึง
พิ เ คราะห ว า มี ห ลั ก เกณฑ ต ามบทบั ญ ญั ติ ใ ด ไม ว า จะเป น
หลักเกณฑแหงกฎหมายตามตัวอักษรหรือตามความมุงหมายที่
สอดคลองตองกันกับความสัมพันธเชิงเหตุผลในกรณีพิพาทนั้น
หรือไม ถาตองตรงกันก็ปรับใชหลักเกณฑตามบทบัญญัตินั้นๆ
ได เ ล ย แ ต ถ าบ ท บั ญ ญั ติ แ ห ง กฎ ห ม า ย ไม ต อ ง ต ร ง แ ก
ความสั ม พัน ธ เ ชิ ง เหตุ ผ ลในข อ พิ พ าทนั้ น ก็จั ด เป น กรณี ที่ขอ
พิพาทนั้นไมตองตามบทกฎหมายนั้นๆ
ขอยืนยันวากฎหมายไมมีชอ งวาง (๒)
ตัวอยางเชน การชกมวย การเลนฟุตบอล หรือการรักษาคนไข
ดวยวิธีผาตัด หากพิเคราะหดูอยางผิวเผิน เหมือนกับเปนการทํา
ละเมิด เพราะเปนการทําใหเสียหายโดยจงใจ แตหากพิเคราะห
ความสัมพันธเชิงเหตุผลในขอเท็จจริงนั้นแลว ก็เห็นไดวาไมเปน
การทําละเมิด เพราะมีจารีตประเพณีอนุญาตใหแขงขันชกมวย
เลนฟุตบอล หรือมีปกติประเพณีในการรักษาคนไข ซึ่งใหอํานาจ
ผู เข าแข ง ขันหรือแพทยกระทําการในกรอบกติกาไดโดยชอบ
ดวยกฎหมาย ดังนี้เปนตน
ขอยืนยันวากฎหมายไมมีชองวาง (๓)
ในกรณีที่ไมมีบทกฎหมายตามตัว อักษรมาปรั บใชแกกรณี พิพาท ป.
พ.พ. มาตรา ๔ วรรคสอง ความวา
“เมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีต
ประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น ใหวินิจฉัยคดี
อาศั ย เทีย บบทกฎหมายที่ใ กลเ คีย งอยา งยิ่ ง และถ า บทกฎหมาย
เชนนั้นก็ไมมีดวย ใหวินจิ ฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป”
การที่ กฎหมายบัญญัติเ ชนนี้ เปน ขอ ยืนยัน วา กฎหมายไมมี ช องวา ง
หรือแมมีชองวางก็เปนชองวางของตัวบท ไมใชชองวางของกฎหมาย
ดังนั้ นศาลไมมีอํานาจปฏิเสธไมพิจารณาคดีโดยอางวาไมมีกฎหมาย
บังคับแกคดี
วิชา มธ.๑๒๒

การระงับขอพิพาท

รศ.ดร. สมเกียรติ วรปญญาอนันต


แนวคิดของความข ัดแย้ง

 ทัศนคติที่มีตอความขัดแยง
 การจัดการกับความขัดแยง
 บทบาทและหนาที่ของเจาหนาที่ภาครัฐ
ท ัศนคติทมี
ี ตอ
่ ความข ัดแย้ง
และการจ ัดการก ับความข ัดแย้ง
• แนวคิดวาดวยความขัดแยงและแนวทางการแกไขปญหาเมื่อมีความขัดแยง
เปนผลมาจากเรื่องทัศนคติที่มตี อความขัดแยง และการจัดการกับความขัดแยง
วาเปนแนวคิดเชิงบวกหรือเปนแนวคิดเชิงลบ บุคคลทั่วไปอาจไมทราบวา ใน
การระงับขอพิพาท มิไดมีแตเพียงวิธีการที่ตองใหศาลเปนผูตัดสินชําระคดีให
เทานั้น ในคดีแพงจํานวนมาก ปรากฏผลอยูบอยครั้งวา เมื่อชนะคดีแลว เจาหนี้
ตามคําพิพากษากลับไมอาจบังคับชําระหนี้ได จึงไมเปนการสอดคลองกับหลัก
สากลวาดวยกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงที่เรียกรองหลักการสามประการ
ควบคูกันไป ไดแก เปนธรรม มีประสิทธิภาพ และภายในเวลาอันสมควร ดวย
เหตุนี้ การระงับขอพิพาทโดยวิธีใชศาลอาจจะมิไดนําไปสูการแกไขปญหาที่
แทจริงก็ได

ความข ัดแย้ง: ข้อเสย
1) ความแตกแยกในองคกร ชุมชนหรือสังคม
2) ความเครียด
3) ความออนแอขององคกร ชุมชนหรือสังคม
4) เสียเวลา
5) เสียคาใชจาย
6) ขัดขวางการพัฒนา
ความข ัดแย้ง: ข้อดี
1. กอใหเกิดความคิดพัฒนาและไมหยุดนิ่งกับที่
2. การเรียนรูซึ่งกันและกัน
3. การตรวจสอบตนเอง
4. ทําใหเกิดความกลมเกลียวสามัคคีในหมูคณะ
วิธก
ี ารระง ับข้อพิพาท
1) การเจรจาตอรอง
2) การไกลเกลี่ยขอพิพาท คน กลาง

3) อนุญาโตตุลาการ
4) การดําเนินคดีในศาล

วิธีที่ 1-3 เปนวิธีไมใชศาล แตเปนกระบวนการระงับขอ


พิพาททางเลือก (ADR)
มี
• ในการระงับขอพิพาทในทางหลักการอาจมีได ๒ วิธกี ารดวยกัน
คือ
– ๑.การระงับขอพิพาทโดยวิธีไมใชศาล หรือกระบวนการระงับขอ
พิพาททางเลือก (Alternative Dispute Resolution - ADR)
เมื่อปญหาไดรับการแกไขสําเร็จ อาจมีทางออกโดยการถอนฟอง
มาตรา
850 -

852

การทําสัญญาประนีประนอมยอมความ สําหรับวิธีเจรจาตอรองหรือ
ไกลเกลี่ยขอพิพาท หรือการทําคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
– ๒.การระงับขอพิพาทโดยวิธีใชศาล นําไปสูการมีคําพิพากษาหรือ
คําสั่งของศาลและการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง
กระบวนการระง ับข้อพิพาททางเลือก
Alternative Dispute Resolution
(ADR)

“วิธีการระงับขอพิพาทดวย
วิธีการใดๆ ก็ตามนอกเหนือจาก
การฟองรองคดีตอศาล”
ความชอบธรรมของการระงับขอพิพาททางเลือก

• การดําเนินคดีในศาลสรางภาวะคุกคามตอความสงบเรียบรอยในสังคม
• กระบวนการยุติธรรมทางเลือกชวยใหคกู รณีสามารถหลีกเลี่ยงการใช
กําลังเพื่อแสวงหาความยุติธรรมดวยตนเองอันจะนําไปสูสภาวะ
สงคราม ไมตา งไปจากการระงับขอพิพาทโดยวิธีใชศาล
• เปนอีกวิธีหนึ่งในการยุตขิ อพิพาท โดยไมควรจํากัดใหเปนบทบาทของ
รัฐแตเพียงผูเดียวเทานั้น
• เปนเรื่องภารกิจในการยุติขอพิพาทโดยสันติวิธี
• สรางความประสานกลมกลืนและสันติภาพในหมูประชาชนพลเมือง
หลักการระงับขอพิพาทตามหลักความสมัครใจของคูกรณี
สอดคลองกับหลักการพื้นฐานที่วามนุษยมีความสามารถใน
การกําหนดชะตากรรมของตนไดดวยตนเอง
• มาจากหลักใหญวาดวยเสรีO ภาพ ... หลักเสรีภาพในการทําสัญญา(Liberty of
Contract) หรือหลักอิสระทางแพง (Private Autonomy)
• แตมีขอโตแยงวาเปนแนวคิดที่พนสมัย
• ขอโตแยงของนักวิชาการที่อางหลักความสงบเรียบรอยของประชาชน
(Franceskakis กลาววาจําเปนตองคํานึงถึงการสงวนรักษาไวซึ่งการจัด
โครงสรางทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ) - ความจําเปนตองใช
วิธีระงับขอพิพาทโดยใชวิธีการดําเนินคดีในศาล
• หลักการกําหนดตนเองของปจเจกชน (self-determination
of the individual) เปนสิ่งที่สามารถกระทําไดเนื่องจากเปน
เรื่องเกี่ยวกับประโยชนของเอกชน มิใชเรื่องประโยชน
สาธารณะ และเปนการบังคับตามนิติฐานะ (legal positions)
ของปจเจกชนผูนั้นเอง
• หลักความประสงคของคูความ เปนหลักการที่เปนที่ยอมรับในกลุม
ประเทศในระบบซิวิลลอว โดยเฉพาะในประเทศฝรั่งเศสและประเทศ
เยอรมนี
• ในกรณีการดําเนินคดีในศาล คูความยังสามารถเสนอขอหาตอศาล
และตอสูคดีเพื่อตั้งประเด็นระหวางคูความได โดยมีหลักหามศาล
พิพากษาเกินคําขอได ดังนั้น ในการระงับขอพิพาทโดยวิธีไมใชศาล
คูกรณียอ มมีสิทธิระงับขอพิพาทใหยุติตามหลักความประสงคของ
คูความไดเชนกัน
หลักการระงับขอพิพาทโดยวิธีไมใชศาลไมขัดตอหลักสากล
วาดวยวิธีพิจารณาความ
• การใชวิธีระงับขอพิพาทโดยวิธีไมใชศาลมีผลเปนการสละสิทธิที่จะ
ไดรับการพิจารณาคดีในศาล
– เสรีภาพในการสละสิทธิ/หลักความประสงคของคูความ
– ทางเลือกอื่นในการดําเนินคดีอาญา
– การยุติขอพิพาททางปกครอง
– ปญหาความชอบดวยกฎหมายของการสละสิทธิ
– ความชอบดวยกฎหมายของการสละสิทธิและกรณีที่ไมอาจสละสิทธิได
– ความชอบดวยกฎหมายของการสละสิทธิและหลักความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน
• การระงับขอพิพาทโดยความสมัครใจของคูกรณีและหลักประกันที่จะมี
ระบบวิธีพิจารณาที่เปนธรรม
– ความเปนอิสระและความเปนกลางของผูไกลเกลี่ย
– ความรวดเร็วของวิธีพิจารณาโดยการระงับขอพิพาทโดยความสมัครใจของ
คูกรณี
– ความเปนธรรมของการระงับขอพิพาทโดยความสมัครใจของคูกรณีหรือ
ความเสมอภาคตามอํานาจตอรองของคูกรณี
– หลักการฟงความสองฝาย
– หนาที่ซื่อสัตยตอคูกรณี
– หลักการรักษาความลับของคูกรณี
• สอดคลองกับหลักทั่วไปวาดวยสิทธิที่จะไดรับการบังคับคดีให
เปนผลสําเร็จ
– มีสิทธิรองขอใหบังคับคดีหรือไม?
– ผลของสัญญาประนีประนอมยอมความ
– การเพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความ
– การเลิกสัญญาประนีประนอมยอมความ
– ผลตามสัญญา (การไดมาซึ่งสิทธิในการบังคับคดี)
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
คืออะไร?

การหารือระหวางบุคคลที่เกี่ยวของ
โดยตรงกับขอพิพาทเพื่อหาหนทาง
ยุติขอพิพาทระหวางกัน
การไกล่เกลียข้อพิพาท
(Mediation) คืออะไร ?

• การไกลเกลี่ย คือ กระบวนการยุติหรือระงับขอ


พิพาทดวยความตกลงยินยอมของคูความเอง
โดยที่มีบุคคลที่สามมาเปนคนกลางคอย
ชวยเหลือแนะนํา เสนอแนะหาทางออกในการ
ยุติหรือระงับขอพิพาทใหคูความตอรองกันได
สําเร็จ
ทําไมจึงต้องใชก ้ ระบวนการไกล่เกลีย
ข้อพิพาท ?
เนื่องจากคูพิพาทไมสามารถเจรจาจนบรรลุขอตกลงดวยตนเอง
ได ซึ่งอาจมีสาเหตุจาก
▫ ขาดความไวเนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน
▫ แตละฝายมีอารมณโกรธหรือมีทิฐิ
▫ ความเขาใจที่ไมตรงกัน
▫ การไมรูจักวิธีการแกไขปญหา
▫ ฯลฯ
กระบวนการอนุญาโตตุลาการ
(Arbitration) คืออะไร?

• กระบวนการระงับขอพิพาทดวยการใหคนกลางเขามา
ทําหนาที่วินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาท ซึ่ง “คําชี้ขาด
(Award)” จะมีผลผูกพันคูพิพาทใหตองปฏิบัติตาม
การยุตข
ิ อ
้ พิพาทด้วยการถอนฟ้อง
หรือประนีประนอมยอมความ
• ไมวาจะเปนการระงับขอพิพาทดวยวิธีการ
เจรจาตอรองหรือการไกลเกลี่ยขอพิพาท
คูกรณียอ มสามารถตกลงถอนฟองหรือ
ประนีประนอมยอมความกันไดตามกฎหมาย

หล ักการทําสญญาประนี
ประนอมยอมความ
เปนการตกลงยุติขอพิพาทที่คูกรณีตองมีการปฏิบัติตอกัน
ในอนาคตในเรื่องตางๆ และกอความผูกพันขึ้นใหมตาม
กฎหมายลักษณะประนีประนอมยอมความ ซึ่งเปนไปตาม
หลักเกณฑในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
๘๕๐-๘๕๒
1) กูยืมเงิน
2) การชดใชคาเสียหายกรณีละเมิด
3) ที่ดนิ
4) ขอพิพาทอื่นๆ ตามที่คูพิพาทตกลงกัน
ปพพ.
• มาตรา ๘๕๐ อันวาประนีประนอมยอมความนั้น คือสัญญาซึ่งผูเปน
คูสัญญาทั้งสองฝายระงับขอพิพาทอันใดอันหนึ่งซึ่งมีอยูหรือจะมีขึ้นนั้น
ใหเสร็จไปดวยตางยอมผอนผันใหแกกัน
• มาตรา ๘๕๑ อันสัญญาประนีประนอมยอมความนั้น ถามิไดมี
หลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิด
หรือลายมือชื่อตัวแทนของฝายนั้นเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองให
บังคับคดีหาไดไม
• มาตรา ๘๕๒ ผลของสัญญาประนีประนอมยอมความนั้น ยอมทําให
การเรียกรองซึ่งแตละฝายไดยอมสละนั้นระงับสิ้นไป และทําใหแตละ
ฝายไดสิทธิตามที่แสดงในสัญญานั้นวาเปนของตน
ั ประนอมยอมความทีดี
ล ักษณะของสญญาประนี
1. สาระครบถวน
2. เขาใจงาย
3. ไมสรางปญหาในอนาคต
4. ผูกพันคูสัญญา
5. ถูกตองตามแบบพิธที ี่กฎหมายกําหนด (ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลง
ลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิดเปนสําคัญ) สามารถนําไปฟองรองบังคับ
คดีในภายหลังได หากเปนกรณีการทําสัญญาประนีประนอมยอม
ความกอนฟองคดี (สวนกรณีคําพิพากษาตามยอมบังคับคดีไดทันที
เพราะเปนการทําสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล)
• ประเทศไทยมีการใชกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมา
ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๗๗ ดังจะเห็นไดจากประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง เริ่มใช พ.ศ. ๒๔๗๗ แกไขปรับปรุง
จนถึงปจจุบัน ไดบญ
ั ญัติไวในมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และ
มาตรา ๒๐ ทวิ ใหอํานาจศาลในการใหคูความตกลงหรือ
ประนีประนอมยอมความกันไมวาการพิจารณาคดีจะได
ดําเนินไปแลวเพียงใด แตการประนีประนอมยอมความ
ภายใตมาตรานี้ก็ไมเปนที่นิยม
• ในป พ.ศ. ๒๕๓๐ ศาลยุติธรรมไดริเริ่มสนับสนุนใหมีการนํา
กระบวนการระงับขอพิพาทมาใชอยางจริงจัง โดยการจัดตั้งสถาบัน
อนุญาโตตุลาการเพื่อทําหนาที่สงเสริมการระงับขอพิพาททางเลือก
โดยวิธีการอนุญาโตตุลาการและการไกลเกลี่ยขอพิพาท แตการ
อนุญาโตตุลาการและการไกลเกลี่ยขอพิพาทก็ยังไมเปนที่นิยม
จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๔๐ ศาลยุติธรรมไดสนับสนุนและกระตุนใหเกิดการ
ใชกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมากขึ้นเพื่อใหประชาชนสามารถ
เขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดอยางทั่วถึงโดยการกําหนดยุทธศาสตรที่
สนับสนุนและใหความรูแกประชาชนในการใชกระบวนการระงับขอ
พิพาททางเลือกในภูมิภาคตางๆ
• ปจจุบัน การใหบริการดานการไกลเกลี่ยขอพิพาทของไทย นอกเหนือจากประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและขอกําหนดของประธานศาลฎีกาแลว ยังมี
กฎหมายพิเศษบางฉบับวาดวยการไกลเกลี่ยหลังฟอง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาล
เยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่
เปดโอกาสใหคูความในคดีครอบครัวไดมีโอกาสไกลเกลี่ย ประนีประนอมกันไมวา
คดีจะไดดําเนินไปถึงชั้นใดแลวก็ตามเพื่อคํานึงถึงประโยชนสุขแหงการอยูรวมกัน
พระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลแรงงานและวิธพี ิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ที่ให
ศาลแรงงานไกลเกลี่ยใหคูความไดตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกัน โดย
ใหถอื วาคดีแรงงานมีลักษณะพิเศษอันควรระงับลงไดดวยความเขาใจอันดีตอกัน
เพื่อที่นายจางและลูกจางจะไดมีความสัมพันธท่ดี ีกันตอไป ยังมีกฎหมายพิเศษตาง
ๆ ที่เปดโอกาสใหคูความไดมีโอกาสไกลเกลี่ยขอพิพาทกันกอนที่จะไดนําคดีขึ้นสู
ศาล
ประเภทของระบบไกล่เกลียข้อพิพาท
การไกลเกลี่ยขอพิพาทนอกศาล
 การไกลเกลี่ยขอพิพาทในชุมชน
 การไกลเกลี่ยเฉพาะดานโดยหนวยงานตาง ๆ ของรัฐ
การไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาล
ตามขอกําหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการไกลเกลี่ย พ.ศ.
๒๕๕๔ (ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๘ ตอนที่ ๗๓ ก, ๗ ตุลาคม
๒๕๕๔) ขอ 6 ในกรณีมีคดีขึ้นสูศาล หากผูรับผิดชอบราชการศาล
หรือองคคณะผูพิพากษาเห็นสมควร หรือเมื่อคูความฝายใดฝาย
หนึ่งรองขอและคูความฝายอื่นตกลงใหมีการไกลเกลี่ย ให
ดําเนินการใหมีการไกลเกลี่ยตามขอกําหนดนี้
การไกล่เกลียข้อพิพาทในชุมชน
• การระงับขอพิพาทในชุมชนเพื่อใหเกิดความสามัคคี
ความสงบสุขแกชุมชนในระดับหมูบาน ตําบล และอําเภอ
ไดรับการรับรองไวโดยกฎหมายตาม พรบ. ลักษณะ
ปกครองทองที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ มาตรา ๒๗ ที่กําหนดให
ผูใหญบานมีหนาที่อาํ นวยความเปนธรรม สรางความ
สมานฉันทและความสามัคคีใหเกิดขึ้นในหมูบาน กํานันใน
ระดับตําบล และนายอําเภอในระดับอําเภอ
• การประนีประนอมขอพิพาทในระดับชุมชนระดับหมูบา น เปนไปตาม
ขอบังคับกระทรวงมหาดไทยวาดวยการปฏิบัติงานประนีประนอมขอ
พิพาทของคณะกรรมการหมูบา น พ.ศ.๒๕๓๐ กฎหมายนี้มีความมุง
หมายใหผูใหญบานและคณะกรรมการหมูบาน เปนผูที่ทําการระงับขอ
พิพาทที่ลูกบานในหมูบานของตนเกิดขอขัดแยงโตเถียงกัน ซึ่งเมื่อ
ลูกบานคูพิพาทสามารถตกลงยุติการพิพาทกันไดแลว ตางก็ยังสามารถ
อยูรวมกันในชุมชนอยางสงบสุข มีความเรียบรอยในชุมชน แลวยังจะ
เปนการสรางความสมานฉันทแกสังคมตอไป อันจะเปนผลดีกับทุกฝาย
ทําการประนีประนอมขอพิพาทที่เกิดขึ้นในหมูบานได ทั้งขอพิพาท
เกี่ยวกับความแพงหรือความอาญาที่เปนความรับผิดอันยอมความได
• ขอพิพาทที่อาจเกิดขึ้น มีตั้งแตเรื่องทะเลาะเบาะแวงเล็กๆ นอยๆ การ
ผิดสัญญา ผิดขอตกลงใดๆ ตอกัน จนถึงการกระทําความผิดทางอาญา
หากเปนความผิดทางอาญาที่ยอมความตอกันได คณะกรรมการ
หมูบานก็สามารถทําการไกลเกลี่ยขอพิพาทนั้นๆ ได และหากคูพิพาท
สามารถตกลงกันได ก็ใหคณะกรรมการหมูบานทําบันทึกขอตกลงเปน
สัญญาประนีประนอมขอพิพาทขึ้นมา โดยใหคูพิพาทตางลงชื่อไวใน
บันทึกนี้
• เมื่อคูพิพาทฝายใดฝายหนึ่งไมปฏิบัติตามที่ไดตกลงไวในสัญญา
ประนีประนอมขอพิพาท การจะบังคับใหคูพิพาทฝายนั้นรับผิดตาม
สัญญาฯ คูพิพาทอีกฝายก็จะตองนําสัญญาประนีประนอมขอพิพาทนี้
ไปฟองตอศาลเพื่อใหศาลมีคําพิพากษาตามสัญญาฯ ตอไป
การไกล่เกลียเฉพาะด้านโดย
หน่วยงานต่าง ๆ ของร ัฐ
• ผูที่อาจมีบทบาทสําคัญในการไกลเกลี่ยโดยหนวยงานตาง ๆ
ของรัฐ สําหรับการไกลเกลี่ยขอพิพาทนอกศาล
นอกเหนือไปจากชุมชน ไดแก นายอําเภอและพนักงานอัยการ
สําหรับเรื่องทั่วๆ ไป
• ในเรื่องการไกลเกลี่ยเฉพาะดาน มีกรณีการดําเนินการโดย
เจาหนาที่ของรัฐตามบทบัญญัติกฎหมายเฉพาะวาดวยการนั้น
อยูดวยเชนเดียวกัน โดยเฉพาะกรณีพนักงานเจาหนาที่ตาม
พระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทําดวยความรุนแรงใน
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
พรบ. สงเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. ๒๕๖๐
มาตรา ๒๙ เมื่อมีขอพิพาทในการปฏิบัติตามสัญญาในระบบเกษตรพันธ
สัญญา ถาคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งประสงคจะใชกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท
ใหคูสัญญาทั้งสองฝายเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทตามที่บัญญัติไวใน
หมวดนี้กอน จึงจะมีสิทธินําขอพิพาทไปสูการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ หรือ
นําคดีไปสูศาลได
ใหคูสัญญาซึ่งประสงคจะใชกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท ยื่นคํารองตอ
ประธานกรรมการไกลเกลี่ยขอพิพาท พรอมดวยเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวของ
กับประเด็นขอพิพาท
การยื่นคํารองใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการประกาศ
กําหนด
พรบ. วิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๔ ใหมีเจาพนักงานคดีทําหนาที่ชวยเหลือศาลในการดําเนินคดีผบู ริโภค ตามที่
ศาลมอบหมาย ดังตอไปนี้
(๑) ไกลเกลี่ยคดีผูบริโภค
(๒) ตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐาน
(๓) บันทึกคําพยาน
(๔) ดําเนินการใหมีการคุมครองสิทธิของคูความทั้งกอนและระหวางการพิจารณา
(๕) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามขอกําหนดของประธานศาลฎีกาใน
การทําหนาที่ชวยเหลือนั้น
ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหเจาพนักงานคดีเปนเจาพนักงานตาม
ประมวลกฎหมายอาญาและใหมีอํานาจมีหนังสือเรียกบุคคลใดบุคคลหนึ่งมาใหขอมูล หรือใหจัดสง
เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามอํานาจหนาที่
หลักเกณฑและวิธีการปฏิบัตหิ นาที่ของเจาพนักงานคดีใหเปนไปตามที่กําหนดไวใน
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา
มาตรา ๒๔ เมื่อศาลสั่งรับคําฟองแลว ใหศาลกําหนดวันนัด
พิจารณาโดยเร็ว และออกหมายเรียกจําเลยใหมาศาลตามกําหนดนัดเพื่อ
การไกลเกลี่ย ใหการ และสืบพยานในวันเดียวกัน ทั้งนี้ ใหศาลสงสําเนา
คําฟองหรือสําเนาบันทึกคําฟองใหจาํ เลย และสั่งใหโจทกมาศาลในวันนัด
พิจารณานั้นดวย
จําเลยจะยื่นคําใหการเปนหนังสือกอนวันนัดพิจารณาตามวรรค
หนึ่งก็ได
มาตรา ๒๕ ในวันนัดพิจารณา เมื่อโจทกและจําเลยมาพรอมกัน
แลวใหเจาพนักงานคดีหรือบุคคลที่ศาลกําหนดหรือที่คูความตกลงกันทํา
การไกลเกลี่ยใหคูความไดตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันกอน
ในการไกลเกลี่ย ถาคูความฝายใดฝายหนึ่งรองขอหรือผูไกลเกลี่ย
เห็นสมควร ผูไกลเกลี่ยจะสั่งใหดําเนินการเปนการลับเฉพาะตอหนาตัว
ความทุกฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งก็ได
หลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาในการไกลเกลี่ย ใหเปนไปตาม
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกา
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการดําเนินกระบวน
พิจารณาและการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานคดีในคดีผูบริโภค
พ.ศ. ๒๕๕๑
• ขอ ๑๔ ในวันนัดพิจารณาเมื่อคูความมาพรอมกัน ใหเจาพนักงานคดีเปนผูไกล
เกลี่ยใหคคู วามไดเจรจาตกลงกัน เวนแตศาลเห็นสมควรจะแตงตั้งใหผู
ประนีประนอมประจําศาลทําหนาที่ไกลเกลี่ยแทนก็ได
• ถาคูความมีความประสงครวมกันที่จะใหบุคคลใดเปนผูไกลเกลี่ย ใหแจงตอเจา
พนักงานคดีพรอมสถานที่ติดตอและหมายเลขโทรศัพทของบุคคลนั้น ศาลอาจ
มอบหมายใหเจาพนักงานคดีตดิ ตอไปยังบุคคลดังกลาวเพื่อใหมาทําหนาที่เปนผู
ไกลเกลี่ย หากไมสามารถดําเนินการไดหรือบุคคลนั้นไมยอมรับเปนผูไกลเกลี่ย
หรือการกระทําเชนนั้นจะทําใหคดีเนิ่นชาเสียหาย ใหเจาพนักงานคดีหรือผู
ประนีประนอมประจําศาลดําเนินการไกลเกลี่ยตอไป
• ไดมกี ารประกาศใชพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผนดิน
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔ ที่ใหเพิ่มความเปนมาตรา ๖๑/๑
มาตรา ๖๑/๒ และมาตรา ๖๑/๓ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผนดิน พ.ศ.๒๕๓๔ โดยที่มาตรา ๖๑/๒ มีสาระสําคัญ
กําหนดใหแตละอําเภอมีคณะบุคคลผูทําหนาทีไ่ กลเกลี่ยและประนอม
ขอพิพาทฯ ซึ่งตอมาก็ไดมีการออกกฎกระทรวงวาดวยการไกลเกลี่ย
และประนอมขอพิพาททางแพง พ.ศ. ๒๕๕๓ และมาตรา ๖๑/๓ มี
สาระสําคัญกําหนดใหนายอําเภอหรือปลัดอําเภอเปนผูไกลเกลี่ยขอ
พิพาท ซึ่งก็ไดออกเปนกฎกระทรวงวาดวยการไกลเกลี่ยความผิดที่มี
โทษทางอาญา พ.ศ. ๒๕๕๓
• ในทางแพง เมื่อคูพิพาทตกลงกันไดและทําบันทึกเปนสัญญา
ประนีประนอมยอมความแลว ทําใหขอเรียกรองเดิมของ
คูพพิ าทไดระงับสิ้นไปและไดสทิ ธิตามที่แสดงไวในสัญญา
ประนีประนอมยอมความ หากคูพิพาทฝายใดไมปฏิบัติตามที่
ตกลงไวในสัญญาประนีประนอมยอมความ คูพิพาทอีกฝายก็
สามารถนําความไปรองขอตอพนักงานอัยการเพื่อใหยื่นคํารอง
ตอศาลใหออกคําบังคับแกคูพิพาทที่ผดิ สัญญาไดเลยโดยไม
จําตองนําไปฟองเปนคดีใหม
• มาตรา ๖๑/๒ ในอําเภอหนึ่ง ใหมีคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทของประชาชนที่คกู รณีฝายใดฝายหนึ่งมี
ภูมลิ ําเนาอยูในเขตอําเภอ ในเรื่องที่พิพาททางแพงเกี่ยวกับที่ดินมรดก และขอพิพาททางแพงอื่นที่มีทุนทรัพยไมเกินสองแสนบาท
หรือมากกวานั้น ตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา
• ใหนายอําเภอโดยความเห็นชอบของคณะกรมการจังหวัดจัดทําบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะทําหนาที่เปนคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ย
และประนอมขอพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรูหรือมีประสบการณเหมาะสมกับการทําหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท
• เมื่อมีขอพิพาทเกิดขึ้นและคูพิพาทตกลงยินยอมใหใชวิธกี ารไกลเกลี่ยขอพิพาทใหคูพิพาทแตละฝายเลือกบุคคลจากบัญชีรายชื่อ
ตามวรรคสองฝายละหนึ่งคน และใหนายอําเภอ พนักงานอัยการประจําจังหวัด หรือปลัดอําเภอที่ไดรับมอบหมายคนหนึ่งเปน
ประธาน เพื่อทําหนาที่เปนคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท
• ใหคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทมีอํานาจหนาที่รับฟงขอพิพาทโดยตรงจากคูพิพาท และดําเนินการไกล
เกลี่ยใหเกิดขอตกลงยินยอมรวมกันระหวางคูพิพาทโดยเร็ว ถาคูพิพาททั้งสองฝายตกลงกันได ใหคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ย
และประนอมขอพิพาทจัดใหมีการทําสัญญาประนีประนอมยอมความระหวางคูพิพาท และใหถอื เอาขอตกลงตามสัญญา
ประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันคูพิพาททั้งสองฝาย ในกรณีที่คูพิพาทไมอาจตกลงกันได ใหคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ย
และประนอมขอพิพาทสั่งจําหนายขอพิพาทนั้น
• ขอตกลงตามวรรคสี่ใหมีผลเชนเดียวกับคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายวาดวยอนุญาโตตุลาการ
• หลักเกณฑและวิธีการจัดทําบัญชี การดําเนินการไกลเกลี่ยขอพิพาทและการจัดทําสัญญาประนีประนอมยอมความ ตลอดจน
คาตอบแทนของคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
• ในกรณีที่คูพิพาทฝายใดฝายหนึ่งไมปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความใหคพู ิพาทอีกฝายหนึ่งยื่นคํารองตอพนักงาน
อัยการ และใหพนักงานอัยการดําเนินการยื่นคํารองตอศาลที่มเี ขตอํานาจเพื่อใหออกคําบังคับใหตามสัญญาประนีประนอมยอม
ความดังกลาวโดยใหนํากฎหมายวาดวยอนุญาโตตุลาการมาใชบังคับโดยอนุโลม
• เมื่อคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทไดรบั ขอพิพาทไวพิจารณา ใหอายุความในการฟองรองคดีสะดุดหยุดลง
นับแตวันที่ยื่นขอพิพาทจนถึงวันที่คณะบุคคลผูทาํ หนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทสั่งจําหนายขอพิพาทหรือวันที่คูพิพาททํา
สัญญาประนีประนอมยอมความกัน แลวแตกรณี
• ความในมาตรานี้ใหใชกับเขตของกรุงเทพมหานครดวยโดยอนุโลม
• มาตรา ๖๑/๓ บรรดาความผิดที่มีโทษทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตอําเภอใดหากเปน
ความผิดอันยอมความได และมิใชเปนความผิดเกี่ยวกับเพศ ถาผูเสียหายและผูถูก
กลาวหายินยอม หรือแสดงความจํานง ใหนายอําเภอของอําเภอนั้นหรือปลัดอําเภอที่
นายอําเภอดังกลาวมอบหมายเปนผูไกลเกลี่ยตามควรแกกรณี และเมื่อผูเสียหายและผู
ถูกกลาวหายินยอมเปนหนังสือตามที่ไกลเกลี่ยและปฏิบัติตามคําไกลเกลี่ยดังกลาวแลว
ใหคดีอาญาเปนอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
• ในกรณีที่ผูเสียหายและผูถูกกลาวหาไมยินยอมตามที่ไกลเกลี่ย ใหจําหนายขอพิพาทนั้น
แตเพื่อประโยชนในการที่ผูเสียหายจะไปดําเนินคดีตอไป อายุความการรองทุกขตาม
ประมวลกฎหมายอาญาใหเริ่มนับแตวันที่จําหนายขอพิพาท
• หลักเกณฑและวิธีในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนดใน
กฎกระทรวง
• พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐
กําหนดใหนายอําเภอมีบทบาทสําคัญในเรื่องการไกลเกลี่ยขอพิพาท โดย
กําหนดใหมีอํานาจไกลเกลี่ยหรือจัดใหมีการไกลเกลี่ยประนอมขอพิพาทเพื่อให
เกิดความสงบเรียบรอยในสังคม เมื่อคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยและ
ประนอมขอพิพาทไดรับขอพิพาทไวพิจารณา ใหอายุความในการฟองรองคดี
สะดุดหยุดลง การไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทอาจนําไปสูการจัดใหมีการทํา
สัญญาประนีประนอมยอมความระหวางคูพพิ าท และใหถือเอาขอตกลงตาม
สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันคูพิพาททั้งสองฝาย ในกรณีที่
คูพิพาทไมอาจตกลงกันได ใหคณะบุคคลผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอ
พิพาทสั่งจําหนายขอพิพาทนั้นตามหลักความสมัครใจของคูกรณี และกฎหมาย
ดังกลาวกําหนดใหขอ ตกลงมีผลเชนเดียวกับคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตาม
กฎหมายวาดวยอนุญาโตตุลาการอีกดวย กลาวคือ สามารถดําเนินการขอให
ศาลออกคําบังคับไดทันทีโดยไมตองมีคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลกอน เปน
การยุติขอพิพาทโดยไมตองฟองศาลนั่นเอง
กฎกระทรวงวาดวยการไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท
ทางแพง พ.ศ. ๒๕๕๓
• เมื่อคูพิพาททุกฝายมาพรอมกันแลว ใหนายอําเภอดําเนินการให
คูพพิ าทเลือกผูไกลเกลี่ยของตนและรวมกันเลือกวาจะให
นายอําเภอ พนักงานอัยการประจําจังหวัด หรือปลัดอําเภอเปน
ประธานคณะผูไกลเกลี่ย และจัดใหมีการบันทึกความตกลง
ยินยอมไวในสารบบการไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท พรอม
ทั้งใหคูพิพาททุกฝายลงลายมือชื่อในสารบบนั้น
• ในกรณีที่คูพิพาทไมอาจรวมกันเลือกประธานคณะผูไกลเกลี่ยได
ใหนายอําเภอเปนผูกําหนดประธานคณะผูไกลเกลี่ย
• ในความผิดอาญาอันยอมความกันได เมื่อผูเสียหาย
และผูถูกกลาวหาไดยินยอมเปนหนังสือตามที่ไกล
เกลี่ยและปฏิบัติตามคําไกลเกลี่ยแลว ทําให
คดีอาญาที่พิพาทกันมากอนนั้นเปนระงับ คือไมอาจ
นําเรื่องที่พิพาทกันมานี้ไปฟองรองตอศาลได
• อยางไรก็ตาม กระทรวงยุติธรรมมีความเห็นวาหลักการในกฎหมายที่ใชบงั คับอยู
ในขณะนี้อาจไมเหมาะสมเนื่องจากการไกลเกลี่ยกับอนุญาโตตุลาการเปนคนละ
เรื่องกัน มีธรรมชาติแตกตางกัน อาจมีปญหาเกิดความขัดแยงกันในการปรับใช
หลักเกณฑเพื่อแกปญหาการระงับขอพิพาทในชุมชน จึงประสงคจะใหมี
กฎหมายกลางสําหรับการไกลเกลี่ยขอพิพาทกอนฟองคดีตอ
ศาล จึงไดจัดทําขอเสนอรางพระราชบัญญัตสิ งเสริมการไกล
เกลี่ยขอพิพาทในชุมชน พ.ศ. ....
• ตอมา รางกฎหมายดังกลาวเปลี่ยนชื่อเปนพระราชบัญญัติการไกลเกลี่ยขอ
พิพาท พ.ศ. ๒๕๖๒ หลักการคือ หนวยงานของรัฐสามารถดําเนินการไกลเกลี่ย
ขอพิพาทตามกฎหมายฉบับนี้ไดโดยขึ้นทะเบียนผูไกลเกลี่ยของแตละหนวยงาน
และแจงใหกระทรวงยุติธรรมทราบ
• หากไกลเกลี่ยไมสําเร็จกฎหมายใหมใหขยายสิทธิฟองคดีออกไปอีกหกสิบวันนับ
แตวันที่การไกลเกลี่ยขอพิพาทสิ้นสุดลง
อยางไรก็ตาม การระงับขอพิพาททางแพงตามพระราชบัญญัติการไกล
เกลี่ยขอพิพาท พ.ศ. ๒๕๖๒ มีขอจํากัดตามมาตรา ๒๐ ซึ่งบัญญัติวา
มาตรา ๒๐ การไกลเกลี่ยขอพิพาททางแพงตามพระราชบัญญัตินี้ ถา
เกี่ยวดวยสิทธิแหงสภาพบุคคล สิทธิในครอบครัว หรือกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย
ไมสามารถกระทําได
การไกลเกลี่ยขอพิพาททางแพงใหกระทําไดในกรณี ดังตอไปนี้
(๑) ขอพิพาทเกี่ยวกับที่ดินที่มิใชขอพิพาทเกี่ยวดวยกรรมสิทธิ์
(๒) ขอพิพาทระหวางทายาทเกี่ยวกับทรัพยมรดก
(๓) ขอพิพาทอื่นตามที่กาํ หนดในพระราชกฤษฎีกา
(๔) ขอพิพาทอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓) ที่มีทุนทรัพยไมเกินหาลาน
บาท หรือไมเกินจํานวนตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา
ระบบการไกลเกลี่ยกอนฟองคดีตามพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง (ฉบับที่ ๓๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
• หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัตฉิ บับนี้ คือ โดยที่เปนการ
สมควรสงเสริมใหมีระบบการไกลเกลี่ยกอนฟองคดีเพื่อเปนทางเลือกใหแกผูที่มี
กรณีพิพาททางแพงใชเปนชองทางในการยุติขอพิพาทกอนที่จะมีการฟองคดี
โดยคูกรณีสามารถรองขอใหศาลแตงตั้งผูประนีประนอมดําเนินการไกลเกลี่ยขอ
พิพาท และหากตกลงกันไดก็อาจขอใหศาลมีคําพิพากษาตามยอมไดทันที ทําให
ขอพิพาททางแพงสามารถยุติลงไดในเวลาอันรวดเร็วโดยไมจําเปนตองมีการ
ฟองคดี อีกทั้งเปนการประหยัดเวลาและทรัพยากรตาง ๆ ที่จะตองสูญเสียใน
การดําเนินคดีอันจะยังประโยชนแกระบบเศรษฐกิจและสังคม จึงจําเปนตองตรา
พระราชบัญญัติน้ี
• เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๗๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๘ กันยายน ๒๕๖๓
• มาตรา ๒๐ ตรี กอนยื่นฟองคดี บุคคลที่จะเปนคูความอาจยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจหากมีการ
ฟองคดีนั้น เพื่อขอใหศาลแตงตั้งผูประนีประนอมทําหนาที่ไกลเกลี่ยใหคูกรณีที่เกี่ยวของไดตกลงหรือ
ประนีประนอมยอมความกันในขอที่พิพาท
• เมื่อศาลเห็นสมควร ใหศาลรับคํารองนั้นไวแลวดําเนินการสอบถามความสมัครใจของคูกรณีอีกฝาย
หนึ่งในการเขารวมการไกลเกลี่ย หากคูกรณีอีกฝายหนึ่งยินยอมเขารวมการไกลเกลี่ย ใหศาลมีอํานาจ
เรียกคูกรณีที่เกี่ยวของมาศาลดวยตนเองโดยคูกรณีจะมีทนายความมาดวยหรือไมก็ได และแตงตั้งผู
ประนีประนอมดําเนินการไกลเกลี่ยตอไป
• ถาคูกรณีท่เี กี่ยวของสามารถตกลงหรือประนีประนอมยอมความกันไดใหผปู ระนีประนอมเสนอ
ขอตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความตอศาล หากศาลพิจารณาแลวเห็นวาขอตกลงหรือ
สัญญาประนีประนอมยอมความเปนไปตามเจตนาของคูกรณี หลักแหงความสุจริต เปนธรรม และไม
ฝาฝนตอกฎหมาย ก็ใหคูกรณีลงลายมือชื่อในขอตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความนั้น
• ในวันทําขอตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความตามวรรคหนึ่งคูสัญญาอาจรองขอใหศาลมีคํา
พิพากษาตามยอม พรอมแสดงเหตุผลความจําเปนตอศาล หากศาลเห็นวากรณีมีความจําเปนที่สมควร
จะมีคําพิพากษาไปในเวลานั้น ก็ใหศาลมีคาํ พิพากษาไปตามขอตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอม
ความดังกลาวได
• เมื่อศาลมีคําสั่งแตงตั้งผูประนีประนอมแลวแตการไกลเกลี่ยสิ้นสุดลงโดยไมเปนผล หากปรากฏวาอายุ
ความครบกําหนดไปแลวหลังจากยื่นคํารองหรือจะครบกําหนดภายในหกสิบวันนับแตวันที่การไกล
เกลี่ยสิ้นสุดลง ใหอายุความขยายออกไปอีกหกสิบวันนับแตวันที่การไกลเกลี่ยสิ้นสุดลง
การไกล่เกลียข้อพิพาทในศาล
• เปนเรื่องในสวนของกระบวนการยุติหรือระงับขอพิพาทดวย
ความตกลงยินยอมของคูความเอง โดยมีบคุ คลที่สามมาเปนคน
กลางคอยชวยเหลือแนะนํา เสนอแนะหาทางออกในการยุติหรือ
ระงับขอพิพาทใหคูความตอรองกันไดสําเร็จ ตามหลักเกณฑใน
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการไกลเกลี่ย พ.ศ.
๒๕๕๔ ในกรณีมีคดีขึ้นสูศาล หากผูรับผิดชอบราชการศาล
หรือองคคณะผูพิพากษาเห็นสมควร หรือเมื่อคูความฝายใดฝาย
หนึ่งรองขอและคูความฝายอื่นตกลงใหมกี ารไกลเกลี่ย ให
ดําเนินการใหมีการไกลเกลี่ยตามขอกําหนดนี้ (ขอ ๖) ซึ่ง
หลักการสําคัญคือหลักความสมัครใจของคูความนั่นเอง
การไกล่เกลียข้อพิพาทในศาล
• การไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาล หมายถึง การที่ผูไกลเกลี่ยทําการ
ไกลเกลี่ยขอพิพาทซึ่งเปนคดีที่อยูระหวางการพิจารณาของศาล
ตั้งแตศาลรับฟองจนถึงกอนมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหกับคูความ
เปนการชวยใหคูความทั้งสองฝายสามารถบรรลุขอตกลงรวมกัน
แตผไู กลเกลี่ยไมมีอํานาจในการกําหนดขอตกลงใหแกคคู วามแต
อยางใด โดยมีจดุ ประสงคเพื่อใหเกิดการประนีประนอมยอม
ความใหจากความสมัครใจของคูความทั้งสองฝายเปนสําคัญ
ดังนั้น ฝายใดฝายหนึ่งอาจขอยกเลิกการไกลเกลี่ยเสียเมื่อใดก็
ยอมได
การไกล่เกลียข้อพิพาทในศาล
ขอ ๗ ในการดําเนินการใหมีการไกลเกลี่ย ศูนยไกลเกลี่ยประจําศาล
อาจเชิญชวนหรือใหคําแนะนําแกคูความ ทนายความหรือผูท่เี กี่ยวของกับ
การไกลเกลี่ย การดําเนินกระบวนการไกลเกลี่ยและวิธีการรองขอใหมีการ
ไกลเกลี่ย ตลอดจนขอมูลอื่นใดอันจะเปนประโยชนแกบุคคลดังกลาว
เพื่อประโยชนในการจัดใหมีการไกลเกลี่ย ผูรับผิดชอบราชการศาล
อาจประกาศกําหนดลักษณะหรือประเภทของคดีที่ใหศนู ยไกลเกลี่ยประจํา
ศาลดําเนินการเชิญชวนคูความใหเขารวมการไกลเกลี่ย ทั้งนี้ การกําหนด
ลักษณะหรือประเภทคดีดังกลาวไมเปนการจํากัดลักษณะหรือประเภทของ
คดีอื่นที่อาจดําเนินการไกลเกลี่ยได
ขอ ๘ ในกรณีที่คูความประสงคจะใหมีการไกลเกลี่ย คูความ
อาจแจงความประสงคตอศูนยไกลเกลี่ยประจําศาลหรือแถลงตอองค
คณะผูพิพากษาในระหวางการพิจารณา
ขอ ๑๐ ในกรณีที่คูความฝายใดแถลงขอใหมีการไกลเกลี่ยตอ
องคคณะผูพิพากษาในระหวางการพิจารณา ใหองคคณะผูพิพากษา
สอบถามคูความฝายอื่น หากคูความทุกฝายประสงคจะใหมีการไกล
เกลี่ยและองคคณะผูพิพากษาเห็นสมควร องคคณะผูพิพากษาอาจ
ดําเนินการไกลเกลี่ยเองหรือมีคาํ สั่งใหศูนยไกลเกลี่ยประจําศาล
ดําเนินการจัดใหมีการไกลเกลี่ยตอไป ทั้งนี้ องคคณะผูพิพากษาอาจ
กําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขอื่นใดเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยดวยก็ได
การไกล่เกลียโดยองค์คณะผูพ
้ พ
ิ ากษา

ขอ ๑๑ องคคณะผูพพิ ากษาอาจไกลเกลี่ย


ดวยตนเองหรือใหผูพิพากษาคนหนึ่งหรือหลายคน
ในองคคณะดําเนินการไกลเกลี่ยก็ได
การไกล่เกลียโดยผูป
้ ระนีประนอม
ขอ ๑๒ ในกรณีที่ตองดําเนินการไกลเกลี่ย ผูรับผิดชอบ
ราชการศาลหรือองคคณะผูพิพากษาอาจแตงตั้งผูประนีประนอมเพื่อ
ชวยเหลือศาลในการไกลเกลี่ยคดีเรื่องใดเรื่องหนึ่งก็ได ใหผู
ประนีประนอมที่ไดรับการแตงตั้งดําเนินการไกลเกลี่ยตามขอกําหนด
นี้
(“ผูรับผิดชอบราชการศาล” หมายความวา ประธานศาลฎีกา
ประธานศาลอุทธรณ ประธานศาลอุทธรณภาค อธิบดีผูพิพากษาศาล
ชั้นตน ผูพิพากษาหัวหนาศาล ผูทําการแทน หรือผูที่บุคคลดังกลาว
มอบหมายใหดาํ เนินการตามขอกําหนดนี)้
• ขอ ๑๔ ในการแตงตั้งผูประนีประนอม ผูรับผิดชอบ
ราชการศาลหรือองคคณะผูพิพากษาพึงคํานึงถึงความ
เหมาะสมของบุคคลนั้นและความพอใจของคูความ
เทาที่จะพึงกระทําได
• ขอ ๑๖ หากการดําเนินกระบวนการไกลเกลีย่ จะเปน
เหตุใหการพิจารณาคดีลาชาเกินสมควร ศาลอาจสั่งให
ดําเนินกระบวนพิจารณาไปพรอมกับการไกลเกลี่ยก็ได
ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงประโยชนของคูความทุกฝายเปนสําคัญ
กระบวนการไกล่เกลีย
ขอ ๒๕ คูความที่เปนบุคคลธรรมดาพึงเขารวมประชุมไกลเกลี่ยดวย
ตนเอง เวนแตมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจําเปนอื่นอันไมอาจกาวลวงได คูความ
นั้นอาจแตงตั้งตัวแทนที่มีอาํ นาจตัดสินใจและทําสัญญาประนีประนอมยอม
ความเขารวมประชุมไกลเกลี่ยก็ได
คูความที่เปนนิติบุคคลพึงแตงตั้งตัวแทนที่มีอํานาจตัดสินใจและทํา
สัญญาประนีประนอมยอมความเขารวมประชุมไกลเกลี่ย โดยทําเปนหนังสือ
สงตอเจาหนาที่ประจําศูนยไกลเกลี่ย เวนแตจะไดแตงตัง้ ผูมีอํานาจทําสัญญา
ประนีประนอมยอมความไวในคดีแลว เมื่อเจาหนาที่ประจําศูนยไกลเกลี่ยไดรับ
หนังสือแตงตั้งตัวแทนแลว ใหตรวจสอบความถูกตองของผูมอบอํานาจและ
ผูรับมอบอํานาจและขอบเขตอํานาจที่ไดรับมอบ ในกรณีที่หนังสือมอบอํานาจมี
ขอบกพรองหรือมีขอจํากัดเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจที่ไดรับมอบ ใหแจงใหผู
ประนีประนอมทราบ
กระบวนการไกล่เกลีย
ขอ ๒๖ ในกรณีที่คูความมิไดตกลงไวเปนอยางอื่น ผูประนีประนอม
อาจกําหนดขั้นตอนหรือแนวทางในการดําเนินการไกลเกลี่ยตามที่เห็นสมควร
โดยคํานึงถึงพฤติการณแหงคดี ความประสงคของคูความ การปฏิบตั ิตอ
คูความอยางเปนธรรมและความตองการที่จะระงับขอพิพาทดวยความ
รวดเร็ว
กอนไกลเกลี่ย ใหผูประนีประนอมแจงขั้นตอนการไกลเกลี่ยให
คูความทราบวา ขอเสนอและคําแถลงเกี่ยวกับขอเท็จจริงในชั้นไกลเกลี่ย
ศาลจะเก็บเปนความลับ คูความไมมีสิทธิใชอางอิงไมวากรณีใด ๆ และไม
ผูกมัดคูความหรือศาลใหตอ งปฏิบัตติ าม และหากคดีไมสามารถตกลงกัน
ไดกไ็ มมีผลตอการพิจารณาและคําพิพากษาของศาล
กระบวนการไกล่เกลีย
ขอ ๓๑ กระบวนการไกลเกลี่ยใหดําเนินการเปนการลับ และไมใหมีการ
บันทึกรายละเอียดของการไกลเกลี่ยไว เวนแตคูความจะตกลงกันใหบันทึกรายละเอียด
ของการไกลเกลี่ยทั้งหมดหรือแตบางสวนโดยคูความเปนผูออกคาใชจายก็ได
ขอ ๓๒ ผูประนีประนอมอาจจัดทําสัญญาประนีประนอมยอมความใหแก
คูความ หรือจะใหทนายความของคูความหรือเจาหนาที่ประจําศูนยไกลเกลี่ยเปน
ผูจัดทําสัญญาประนีประนอมยอมความใหก็ได
ในกรณีที่เจาหนาที่ประจําศูนยไกลเกลี่ยไมไดเปนผูจัดทําสัญญา
ประนีประนอมยอมความนั้น ผูประนีประนอมอาจขอใหเจาหนาที่ประจํา ศูนยไกล
เกลี่ยชวยตรวจสอบวาขอตกลงหรือการประนีประนอมยอมความกันนั้นเปนการฝาฝน
ตอกฎหมายหรือไมก็ได
ฯลฯ
ิ ดแห่งกระบวนการไกล่เกลีย
การสนสุ
ขอ ๓๕ ในกรณีดังตอไปนี้ใหถือวากระบวนการไกลเกลี่ยสิ้นสุดลง
(๑) คูความตกลงระงับขอพิพาทดวยการถอนฟอง หรือขอใหศาลมีคํา
พิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
(๒) คูความฝายใดฝายหนึ่งไมประสงคใหทําการไกลเกลี่ยอีกตอไป
(๓) คูความไมสามารถระงับขอพิพาทไดภายในระยะเวลาที่กําหนด
(๔) ผูประนีประนอมเห็นวาการดําเนินการไกลเกลี่ยตอไปจะไมเปนประโยชน
แกคดี
(๕) ผูรับผิดชอบราชการศาลหรือองคคณะผูพิพากษาที่แตงตั้งเห็นวาการ
ดําเนินการไกลเกลี่ยตอไปจะไมเปนประโยชนแกคดี
การร ักษาความล ับของข้อมูลในการไกล่เกลีย
ขอ ๓๗ ในกรณีที่คูความไมไดตกลงไวเปนอยางอื่น ใหรักษาขอมูลทั้งหมดที่เกี่ยวกับการไกลเกลี่ย
ขอพิพาทเปนความลับ เวนแตเปนการใชเทาที่จาํ เปนเพื่อปฏิบัติหรือบังคับใหเปนไปตามสัญญาประนีประนอม
ยอมความ
ขอ ๓๘ หามมิใหคูความที่เขารวมในการไกลเกลี่ย ผูประนีประนอมหรือบุคคลภายนอก รวมทั้งผูที่
เกี่ยวของกับการจัดการไกลเกลี่ย นําความลับไปอางอิง หรือนําสืบเปนพยานหลักฐานในกระบวนการ
อนุญาโตตุลาการ กระบวนพิจารณาของศาลหรือเพื่อดําเนินการอื่นใดไมวาจะนําไปใชในรูปแบบใด เกี่ยวกับ
เรื่องดังตอไปนี้
(๑) ความประสงคหรือความเต็มใจของคูความในการขอเขารวมในการไกลเกลี่ย
(๒) ความเห็นหรือขอเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการในการระงับขอพิพาทของคูความในการไกลเกลี่ย
(๓) การยอมรับหรือขอความที่กระทําโดยคูความในการไกลเกลี่ย
(๔) ขอเสนอใด ๆ ที่เสนอโดยผูประนีประนอม
(๕) ขอเท็จจริงที่ไดแสดงใหเห็นถึงความเต็มใจที่จะยอมรับขอเสนอในการไกลเกลี่ย
(๖) เอกสารที่จัดทําโดยมีวัตถุประสงคเพื่อจะใชหรือใชในการไกลเกลี่ยโดยเฉพาะ
อนึ่งพยานหลักฐานใดที่ใชในการไกลเกลี่ย หากเปนพยานหลักฐานที่นําสืบไดอยูแลวในกระบวนการ
อนุญาโตตุลาการ กระบวนพิจารณาของศาล หรือเพื่อดําเนินการอื่นใด ยอมไมตอ งหามตามความในวรรคหนึ่ง
ทะเบียนผูป
้ ระนีประนอม
ขอ ๕๐ ใหเลขาธิการจัดใหมที ะเบียนผูประนีประนอมขึ้นโดยใหคํานึงถึงความจําเปนของแตละ
ศาล
กรอบอัตราผูประนีประนอมที่แตละศาลเสนอขอใหขึ้นทะเบียนตามหมวดนี้ ใหเปนไปตาม
ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม
ขอ ๕๑ ผูขอขึ้นทะเบียนผูประนีประนอมตองมีคณ ุ สมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี้
(๑) มีอายุไมต่ํากวาสามสิบปบริบูรณ
(๒) เปนผูสําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีและมีประสบการณในการทํางานมาไมนอยกวา
หาป หรือเปนผูมีประสบการณในการทํางานสาขาตาง ๆ อันจะเปนประโยชนแกการไกลเกลี่ยไมนอยกวา
สิบป
(๓) เปนผูผานการอบรมหลักสูตรเทคนิคหรือวิธกี ารไกลเกลี่ยที่สาํ นักงานศาลยุติธรรมจัดหรือ
รับรอง
(๔) มีประสบการณปฏิบัติงานดานการไกลเกลี่ยในศาลหรือในสํานักระงับขอพิพาท สํานักงาน
ศาลยุติธรรมไมนอยกวาสิบคดี
ฯลฯ
(ตามขอ 15 การแตงตั้งบุคคลที่มิไดขึ้นทะเบียนเปนผูประนีประนอม จะทําไดตอเมื่อคูความที่จะตองเขา
รวมในกระบวนการไกลเกลี่ยไดใหความยินยอมและตกลงที่จะรับผิดชอบคาปวยการและคาใชจายของ
บุคคลเชนวานั้น ถามี)
ศูนย์ไกล่เกลียประจําศาล

ขอ ๖๒ ใหมีศูนยไกลเกลี่ยประจําศาลตามความ
จําเปน เพื่อดําเนินงานไกลเกลี่ยของศาลใหเปนไปดวย
ความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ สงเสริมและสนับสนุน
การนําวิธีการระงับขอพิพาททางเลือกโดยเฉพาะการ
ไกลเกลี่ยมาใชอยางแพรหลาย
การไกล่เกลียข้อพิพาทในศาล
• การไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาล หมายถึง การที่ผูไกลเกลี่ยทําการไกลเกลี่ยขอ
พิพาทซึ่งเปนคดีที่อยูระหวางการพิจารณาของศาลตั้งแตศาลรับฟองจนถึงกอนมีคาํ
พิพากษาถึงที่สุดใหกับคูความ เปนการชวยใหคูความทั้งสองฝายสามารถบรรลุ
ขอตกลงรวมกัน แตผไู กลเกลี่ยไมมอี ํานาจในการกําหนดขอตกลงใหแกคูความ
แตอยางใด โดยมีจุดประสงคเพื่อใหเกิดการประนีประนอมยอมความใหจากความ
สมัครใจของคูความทั้งสองฝายเปนสําคัญ ดังนั้น ฝายใดฝายหนึ่งอาจขอยกเลิกการ
ไกลเกลี่ยเสียเมื่อใดก็ยอมได
• สงผลสองทางคือคูกรณีทั้งสองฝายพอใจทั้งคูหรือเรียกวา ชนะทั้งคู (win-win) จึง
เปนผลที่ตรงตามความมุงหมายของการไกลเกลี่ย เชนเจาหนี้ก็ไดรับชําระหนี้แม
อาจไมเต็มจํานวน ลูกหนี้ก็ไดรับการลดหยอน เชน การผอนเวลาใหหรือการ
กําหนดเวลาปลอดดอกเบี้ยให เปนตน แตการไกลเกลี่ยคูความยังมีสิทธิในการ
ดําเนินกระบวนพิจารณาตามปกติ
ผูไ้ กล่เกลียคือใคร
• ผูไกลเกลี่ย หรือบางครั้งเรียกวา “ผูประนีประนอม” ไดแก ผูพิพากษาในศาล
ตางๆ ซึ่งมิใชผูพิพากษาเจาของสํานวน รวมทั้งบุคคลหรือคณะบุคคลที่ผาน
การอบรมหลักสูตรการไกลเกลี่ย และ แตงตั้งใหเปนผูประนีประนอมประจํา
ศาล โดยผูพิพากษาหรือบุคคลดังกลาวเปนผูมีความสนใจมีความพรอมและ
สมัครใจที่จะทําหนาที่เปนผูไกลเกลี่ยซึ่งมีความเปนกลาง ไมมีอคติสามารถให
ความเปนธรรมกับคูความ ทุกฝายไดถูกตองตรงตามความประสงคของคูความ
ชวยแกไขปญหาใหแกคูความทุกฝายและเปนผูชวยทําใหขอพิพาททั้งหลายยุติ
ลงอยางฉันมิตร ผูไกลเกลี่ยมีหนาที่ในการชวยใหคูความทั้งสองฝายตกลง
ประนีประนอมยอมความกัน ไมมหี นาที่ตัดสินชี้ขาดขอพิพาทหรือคดีระหวาง
ความแตอยางใด ทั้งนี้ การไกลเกลี่ยในแตละคดีความนั้นตองไดรับการแตงตั้ง
ใหเปนผูไกลเกลี่ยคดีนั้นโดยผูพิพากษาหัวหนาศาลอีกครั้งหนึ่ง
คดีหรือข้อพิพาททีสามารถไกล่เกลียได้
• 1. คดีหรือขอพิพาททางแพง เชน กูยืม ค้ําประกัน ซื้อขาย เชาทรัพย
ครอบครัว มรดก ฯลฯ
• 2. คดีหรือขอพิพาททางอาญาที่ยอมความได เชน บุกรุก ยักยอก ทําให
เสียทรัพย หมิ่นประมาท ฯลฯ
• 3. ขอพิพาททางแพงที่เกี่ยวกับคดีอาญา สามารถไกลเกลี่ยไดในสวน
คดีแพง เชน กรณีขับรถโดยประมาทเปนเหตุใหผอู ื่นไดรับอันตรายแก
กายหรือจิตใจ คดีสามารถตกลงประนีประนอมยอมความไดในสวนของ
คาเสียหายสวนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญานั้นเจาพนักงาน
ตํารวจสามารถดําเนินคดีตอไปได
• 4. คดีหรือขอพิพาทอื่นที่ยุติโดยวิธีการไกลเกลี่ยขอพิพาท
ขนตอนการไกล่
ั เกลีย
1. การเตรียมความพรอม
2. การเปดการไกลเกลี่ย
3. การรวบรวมขอมูลและคนหาความตองการที่แทจริง
4. การรวบรวมทางออก
5. การหาขอตกลงและปดการไกลเกลี่ย
จริยธรรมสําหร ับผูไ้ กล่เกลีย

1) การไมเปนผูตัดสิน
2) การเปนกลาง
3) การรักษาความลับ
ขนตอนการเข้
ั าระบบไกล่เกลีย
1.กรณีการไกลเกลี่ยขอพิพาทกอนวันนัด
1.1 โจทกอาจแสดงความประสงคตอศาล เพื่อขอใหศาลนํา
คดีเขาสูระบบการไกลเกลี่ย ขอพิพาทในศาลเมื่อโจทกดําเนินการ
ยื่นฟองคดี หรือจําเลยเมื่อไดรับสําเนาคําฟองหรือหนังสือเชิญชวน
เขาสูระบบการไกลเกลี่ยขอพิพาท อาจแจงความประสงคมายัง
ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทเพื่อขอไกลเกลี่ยขอพิพาทกับคูพิพาท
1.2 ภายหลังที่ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทไดรับแจงความ
ประสงคของคูพิพาทแลวจะประสานกับคูพิพาทเพื่อกําหนดนัดวัน
ไกลเกลี่ยและแจงใหคูพิพาททุกฝายทราบ
2. กรณีการไกลเกลี่ยขอพิพาทระหวางการพิจารณาคดีของศาล
2.1 คูความสามารถขอใหศาลใชระบบการไกลเกลี่ยขอพิพาทใน
เวลาใดๆ ก็ไดในระหวางการพิจารณาคดีหรือศาลอาจเห็นสมควรใหไกล
เกลี่ยคดีใหอยูระหวางการพิจารณาก็ได
2.2 ผูพิพากษาสงคดีเขาสูศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทประจําศาล
ดําเนินการ
2.3 ผูพิพากษาทําหนาที่ไกลเกลี่ยหรือผูประนีประนอมประจําศาล
ซึ่งเปนบุคคลภายนอกที่ขึ้นทะเบียนไวดําเนินการไกลเกลี่ย
2.4 ถาตกลงกันไดอาจมีการถอนฟอง ถอนคํารองทุกข หรือศาลมี
คําพิพากษาไปตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่คูความตกลงยินยอม
จัดทําขึ้น
ข้อดีของการไกล่เกลียหรือประนอมข้อพิพาท
• 1. สะดวก การไกลเกลี่ยขอพิพาทเปนวิธีระงับขอพิพาทไมมี
แบบพิธีคอ นขางจะยืดหยุนและรักษาสัมพันธภาพระหวาง
คูพพิ าทมากกวาการพิจารณาคดีตามปกติของศาล
• 2. รวดเร็ว การไกลเกลี่ยใชเวลาในการดําเนินการไมมากนักก็
สามารถที่จะทราบไดวาคูพิพาทจะตกลงกันไดหรือไมอยางไร
หากตกลงกันไดจะทําใหคดีเสร็จสิ้นไปเร็วกวากระบวนการปกติ
ถาไมสามารถตกลงกันไดก็จะสงสํานวนคืนผูพิพากษาเจาของ
สํานวน พรอมแจงผลการไกลเกลี่ยเพื่อพิจารณาดําเนินการตาม
ขั้นตอนปกติตอไป
• 3. ประหยัดคาใชจาย การไกลเกลี่ยใชเวลาไมมากนักทําใหประหยัด
คาใชจา ยในการดําเนินการตางๆ เชน คาเดินทางมาศาลในแตละนัด
คาปวยการทนายความ ตลอดจนคาดําเนินการในชั้นอุทธรณ ฎีกา รวม
ตลอดถึงชั้นบังคับคดี นอกจากนี้การประนีประนอมยอมความหรือถอน
ฟอง หากเปนคดีแพงสามัญ ก็สามารถขอคืนคาธรรมเนียมศาลเปน
กรณีพิเศษ ซึ่งเปนการแบงเบาภาระทางคดีของคูพิพาทอีกประการ
หนึ่ง
• 4. รักษาสัมพันธภาพระหวางคูพิพาท เมื่อคูพิพาทสามารถตกลงระงับ
ขอพิพาทกันไดจะทําใหลด ขอขัดแยง ขอโตเถียงระหวางกัน สามารถ
อยูรวมกันตอไปซึ่งจะเปนผลดีตอทุกฝาย
• 5. สรางความพึงพอใจใหแกคูความ การไกลเกลี่ยเปนวิธีการที่
ตองใชเทคนิคการเจรจาตอรองใหผูพิพาทยินยอมผอนปรน โอน
ออนผอนตามใหแกกันและกันโดยไมมีฝายใดฝายหนึ่งไดเปรียบ
เสียเปรียบซึ่งกันและกัน กลาวคือ ไมเหมือนการพิจารณาคดี
ตามปกติ ไมมกี ารชี้วาฝายใดถูก ฝายใดผิด ฝายใดแพ ฝายใด
ชนะ อันกอใหเกิดความรูสึกเสียศักดิ์ศรี และทําใหที่พึงพอใจ
ของคูพิพาท
• 6. รักษาชื่อเสียงและรักษาความลับทางธุรกิจของคูพิพาท
กระบวนการไกลเกลี่ยดําเนินการเปนความลับ พยานหลักฐาน
ขอมูลที่นาํ เสนอในชั้นนี้ไมสามารถนําไปใชเปนพยานหลักฐาน
อางอิงในขั้นศาลไดเวนแกผูพิพาทอีกฝายหนึ่งจะยินยอม
• 7. สรางความสงบสุขใหแกชุมชน การไกลเกลี่ยสามารถทําให
คูพพิ าทกลับไปอยูรวมกันอยางปกติสุขตลอดจนรวมกันพัฒนา
สังคมของตนตอไป
• 8. แบงเบาภาระทางคดีของศาล ขอพิพาทที่สามารถตกลงกันได
ก็สามารถตกลงกันไดกจ็ ะทําใหคดีไมเขาสูกระบวนการพิจารณา
พิพากษาคดีของศาล คดีเสร็จไปไมคางการพิจารณาเปน
สวนมาก
• 9. สรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมใหแกประเทศชาติ
เมื่อขอพิพาทเกิดขึ้นนอย ปริมาณคดีที่ขึ้นสูศาลก็ลดลงยังให
งบประมาณในสวนนี้ลดลง สังคมก็จะอยูรว มกันอยางปกติสุข
สามารถรวมกันพัฒนาชุมชน ไมกอ ใหเกิดปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ
ผลทีคูค
่ วามจะได้ร ับจากการไกล่เกลีย
1) คูความสามารถตกลงกันไดดวยการถอนฟอง
2) คูความ สามารถตกลงกันไดโดยทําสัญญา
ประนีประนอมยอมความแลวขอใหศาลมีคําพิพากษา
ตามยอม
3) คูความฝายใดฝายหนึ่งถอนตัวจากการไกลเกลี่ยขอให
ดําเนินคดีดวยวิธีการพิจารณาตามปกติไดเชนเดิม
4) คูความตกลงกันไมได ศาลก็จะสงสํานวนไปดําเนิน
กระบวนการพิจารณาตามปกติ
ประโยชน์ของการไกล่เกลีย
1) ทําใหคูความสามารถหันหนาเขาหากันไดอีกอยางฉันมิตร
2) ในบางกรณีคูความสามารถดําเนินธุรกิจติดตอกันไดอีก
3) ประหยัดคาใชจาย ทําใหคาใชจายในการดําเนินคดีของคูความลดลง
4) คูความไดรับความพึงพอใจ
5) คูความไมตองประสบกับการบังคับคดีที่ยุงยากในศาล
6) ชวยลดปริมาณคดีที่คางพิจารณาอยูในศาล ทําใหคดีที่ทําการไกลเกลี่ยและ
คดีอื่นๆ สามารถยนระยะเวลาพิจารณาไดเร็วขึ้น
7) ลดปริมาณคดีที่จะขึ้นสูศาลอุทธรณ และศาลฎีกา
8) กอใหเกิดความสงบสุขในสังคม
9) รัฐประหยัดงบประมาณที่จะตองใชในการจัดใหมีการดําเนินการพิจารณาคดี
หรือขอพิจารณาของประชาชนโดยรวม
กระบวนการไกล่เกลียข้อพิพาทเชงิ บ ังค ับ
(แนวโน้มในอนาคต???)

• เปรมมิศา หนูเรืองงาม, “การพัฒนากระบวนการ


ยุติธรรมทางเลือก :กรณีศึกษาการนํากระบวนการ
ไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับมาใชในประเทศไทย”,
วารสารกระบวนการยุตธิ รรม ปที่ 6 เลมที่ 2
พฤษภาคม - สิงหาคม 2556, หนา 110-114.
Why?
• แมกระบวนการระงับขอพิพาทจะเริ่มเปนที่รจู ักแพรหลาย แตจากการ
คนควา การศึกษาวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศ พบวา สาเหตุ
สําคัญของการที่ประชาชนไมนยิ มใชกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมา
จากหลายปจจัย เชน การไมเขาใจขั้นตอนหรือกระบวนการของ
กระบวนการยุติธรรมทางเลือก ประชาชนไมเชื่อมั่นตอการบังคับใช
และผลจากคําตัดสิน ปญหากฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับ
กระบวนการยุติธรรมทางเลือก หรือการสนับสนุนจากทนายความ ผูซึ่ง
เปนเหมือนประตูบานสําคัญที่จะนําคูความเขาสูกระบวนการยุติธรรม
ทางเลือก ปญหาเหลานี้เกิดขึ้นกับหลายประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา
หรือประเทศในภูมภิ าคยุโรป สงผลใหอัตราการใชการระงับขอพิพาท
ทางเลือกอยูในระดับต่ํากวาเปาหมายที่ตั้งไว
Why?
• ดังนั้น แนวคิดเรื่องกระบวนการยุติธรรมทางเลือกเชิง
บังคับ (Mandatory Alternative Dispute
Resolution) จึงไดมีการพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนใหมี
การใชการระงับขอพิพาททางเลือกมากขึน้ รวมทั้ง
เพื่อขจัดปญหาที่เปนอุปสรรคตอการใชการระงับขอ
พิพาททางเลือกในรูปแบบตางๆ
• ระบบการไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับของประเทศ
สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีการนําแนวคิดเรื่องการไกลเกลี่ยขอพิพาท
เชิงบังคับมาใชในหลายมลรัฐและไดรบั การยอมรับ ทั้งนี้ เพื่อ
สะทอนใหเห็นถึงความจําเปนของการนําแนวคิดในการบังคับให
ประชาชนเขาสูระบบการระงับขอพิพาททางเลือก ทั้งนี้ มิใช
เพื่อจุดมุงหมายหลักในการลดปริมาณคดีข้นึ สูศาล แตการ
บังคับใหคูความเขาสูกระบวนการยุติธรรมทางเลือกก็เพื่อ
ผลประโยชนสูงสุดแกคูความในการบรรลุขอตกลงที่เกิดจาก
ความตองการและความพึงพอใจรวมกัน
การไกล่เกลียข้อพิพาทเชงิ บ ังค ับในประเทศสหร ัฐอเมริกา
(Mandatory Mediation in the United States)
• หลักการสําคัญซึ่งเปนหัวใจของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในระดับสากลคือ
ความสมัครใจของคูความในการนําขอพิพาทหรือคดีความของตนเขาสูกระบวนการ
ยุติธรรมทางเลือกประเภทตางๆ โดยคูความสามารถที่จะออกจากกระบวนการได ไม
วาในชั้นใดหรือดวยเหตุผลใด และไมคํานึงถึงวากระบวนการจะไดดําเนินการไปถึง
ชั้นใดแลว รวมทั้ง คูความสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับหรือปฏิบัติตามผลหรือคําตัดสิน
ที่ไดกระบวนการนั้น ๆ หากคูความพิจารณาแลวเห็นวาไมเปนประโยชนกับขอพิพาท
ของตนและสามารถกลับไปใชสิทธิในการนําคดีขึ้นสูศาลตอไปได ซึ่งแตกตางจาก
แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกเชิงบังคับ กลาวคือ กระบวนการ
ยุติธรรมทางเลือกเชิงบังคับเปนกระบวนการที่บังคับใหคูพิพาทตองนําขอพิพาทของ
ตนเขามาสูกระบวนการระงับขอพิพาทกอน อยางไรก็ตาม อํานาจในการที่จะยอมรับ
หรือปฏิเสธผลหรือคําตัดสินที่ไดจากกระบวนการยุติธรรมทางเลือกยังคงเปนของ
คูพิพาท รวมทั้งปฏิเสธที่จะยอมรับหรือปฏิบัติตามผลหรือคําตัดสินที่ไดกระบวนการ
นั้นๆ เชนเดียวกับกระบวนการยุติธรรมทางเลือกแบบปกติ
• กระบวนการยุติธรรมทางเลือกเชิงบังคับจึงเปนเพียง
กระบวนการที่บังคับคูความเขาสูกระบวนการมากกวาจะ
เปนความสมัครใจของคูความ ทั้งนี้ เพราะผลของการ
ตัดสินใจในการระงับขอพิพาทยังคงเปนของคูความโดยที่
ไมมีกฎหมายหรือศาลใดจะมาบังคับใหคูความตองยอมรับ
ผลของขอตกลงที่คูความไมสมัครใจได
หล ักการพืนฐานของกระบวนการยุตธ ิ รรม
ทางเลือกเชงิ บ ังค ับในประเทศสหร ัฐอเมริกา
• แนวความคิดของการนํากระบวนการยุติธรรมทางเลือกเชิงบังคับมาใช
ในประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดขึ้นตั้งแตป ค.ศ. 1970 เนื่องจากในชวง
เวลาดังกลาว ศาลในมลรัฐตางๆ ประสบปญหาเกี่ยวกับคดีความที่มีอยู
มากมาย ในขณะที่ทรัพยากรตาง ๆ ของศาลมีอยูอยางจํากัด ไมวาจะ
เปนจํานวนผูพิพากษา สถานที่ในการพิพากษาคดี อีกทั้งคดีที่คั่งคางอยู
ที่ศาลจํานวนมาก สงผลใหคูความมีคาใชจายที่เพิ่มขึ้น ทั้งคา
ทนายความ คาใชจายในการเดินทาง สิ้นเปลืองเวลา ซึ่งสงผลกระทบ
ตอระบบธุรกิจของคูความและระบบเศรษฐกิจโดยรวม แนวความคิดใน
การนํากระบวนการยุติธรรมทางเลือกเชิงบังคับมาใชจึงเกิดขึ้นเพื่อ
แกไขปญหาตางๆ ดังกลาว
• นอกจากนี้ การนํากระบวนการยุติธรรมทางเลือกยังมีประโยชน
ทางออมตอคดีบางประเภท ซึ่งหากใชกระบวนการไกลเกลี่ยขอ
พิพาทจะเกิดประโยชนแกคูความมากกวาการนําคดีขึ้นสูศาลใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบบการไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับจะ
กระทําไดโดยบทบัญญัตขิ องกฎหมาย ระเบียบขอบังคับของ
ศาลหรืออาจทําไดโดยขอตกลงระหวางคูกรณี โดยการกําหนด
ในขั้นตอนการทําสัญญาวา หากมีขอพิพาทเกิดขึ้นระหวาง
คูสัญญา ใหมีการไกลเกลี่ยขอพิพาทระหวางคูสญ
ั ญากอนที่จะ
นําคดีขึ้นสูศาล
• ในปจจุบัน มลรัฐตางๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกาไดออก
กฎหมายบังคับใหคูความเขาสูกระบวนการยุติธรรมทางเลือก
กอน หากไมสามารถตกลงกันได จึงคอยนําคดีขึ้นสูศาล ไดแก
รัฐ Minnesota, รัฐ Delaware, รัฐ New York เปนตน และ
ประเภทคดีที่ถูกกําหนดใหมีการใชกระบวนการไกลเกลี่ยเชิง
บังคับมากที่สุด ไดแก คดีที่เกี่ยวของกับครอบครัวและมรดก คดี
เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบของแพทย คดีที่เกี่ยวของ
กับสิทธิประชาชนและคดีที่เกี่ยวกับผูบริโภค
ข้อควรพิจารณาในการกําหนดให้ม ี
การไกล่เกลียข้อพิพาทเชงิ บ ังค ับ
• การไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา จะกระทําไดก็
ตอเมื่อกําหนดไวในกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอบังคับของศาลแลว
ประเภทของคดีหรือข้อพิพาท
• การเลือกใชวิธีการไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับจะเปนประโยชน
อยางมากตอขอพิพาทในลักษณะที่เปนความขัดแยงทาง
ผลประโยชนและคูพิพาทมีความจําเปนหรือมีความตองการที่จะ
ติดตอธุรกิจกันอีกในเพื่อผลประโยชนระยะยาวในการทําธุรกิจ
รวมกันในอนาคต แตหากเปนความขัดแยงทางผลประโยชนที่
คูความไมมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือความจําเปนที่ตอง
ติดตอกันอีกในอนาคต การบังคับใหคูความเขาสูกระบวนการ
ไกลเกลี่ยเชิงบังคับอาจจะไมเหมาะสมและไมประสบ
ความสําเร็จ
ความแตกต่างทางสถานะและอํานาจของคูค
่ วาม
• การไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับจะมีประโยชนอยางมาก หากเปนเปนกลไกที่
ชวยใหคูความผายที่ออ นแอ สามารถตอสูกับคูความฝายที่แข็งแกรงกวาไดใน
ระดับเดียวกัน ความออนแอของคูความอีกฝายหนึ่งนี้ หมายถึง ความออนแอ
กวาในทางเศรษฐกิจ กลาวคือ มีฐานะยากจนกวา หรือไมสามารถเขาถึงขอมูล
ไดเทากับคูความอีกฝายหนึ่ง ในคดีหรือขอพิพาทที่คูความมีความแตกตางกัน
มาก และหากสามารถบังคับใหคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิง
บังคับได นักไกลเกลี่ยขอพิพาทสามารถชวยใหคูความฝายที่ออนแอกวาเขาถึง
ขอมูลไดมากขึ้นโดยการใหคําปรึกษา หรือใหความชวยเหลือคูความฝายที่มี
ฐานะดอยกวาโดยการหาแหลงเงินชวยเหลือมาชวยใหคูความทั้งสองสามารถ
ตกลงกันไดในชั้นการไกลเกลี่ย ตัวอยางเชน ในคดีจํานองที่นาระหวางธนาคาร
และชาวนา หากคดีนี้ ไดเขาสูระบบการไกลเกลี่ย นักไกลเกลี่ยสามารถหา
ขอสรุปหรือขอตกลงที่ประนีประนอมแกทั้งสองฝายได โดยมิตองนําคดีขึ้นสูศาล
• นอกเหนือจากความแตกตางในการเขาถึงขอมูลและความแตกตางดาน
ทุนทรัพยระหวางคูความ ที่กระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทสามารถ
ชวยคูความฝายที่ออนแอกวาได กระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท ยัง
ชวยประเมินสถานการณ ความเปนไปไดของการแพหรือชนะในคดีหรือ
ขอพิพาทของคูความไดลวงหนา นอกจากนี้ การบังคับใหคูความเขาสู
กระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท ยังชวยใหคูความไดมีโอกาสพบปะกับ
ผูเชี่ยวชาญที่เปนคนกลาง ซึ่งนักไกลเกลี่ยสามารถจัดใหมีผูเชี่ยวชาญ
มาใหคําปรึกษาระหวางกระบวนการไกลเกลี่ยได นอกจากนี้ การบังคับ
ใหคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยยังชวยใหคูความมีโอกาสได
สื่อสารกันกอน ซึ่งอาจเปนประโยชนตอคูความในการปรับความเขาใจ
และอาจนําไปสูขอตกลงที่เกิดความยินยอมของทั้งฝายก็ได

ความสบสนและขาดความเข้
าใจต่อกระบวนการไกล่เกลียข้อพิพาท

• ความสับสนและขาดความเขาใจตอกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท
ของคูความและทนายความ อาจเปนสาเหตุสําคัญของการทําใหการ
ไกลเกลี่ยขอพิพาทไมเปนที่นิยม ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากประชาชนไมมี
ความเขาใจและไมทราบขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท
การบังคับใหคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทจะเปนวิธีการ
ที่ใหความรู ความเขาใจ และใหคูความทําความรูจักกับวิธีการไกล
เกลี่ยขอพิพาทดวยตนเอง นอกจากนี้ ยังชวยใหคูความที่ไมแนใจหรือ
ลังเลวาจะเขาสูกระบวนการหรือไม ไดมีโอกาสเขามาสูกระบวนการ
และทําลายอคติที่วา การเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยแสดงถึงความ
ออนแอของคูความฝายใดฝายหนึ่งที่ไมสามารถจะชนะในการตอสูทาง
คดีได
ความข ัดแย้งทางผลประโยชน์ของ
ทนายความ
• ในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นทนายความจะพยายามหลีกเลี่ยงหรือ
แนะนํามิใหคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ย ทั้งนี้ มิใชเพราะ
ทนายความไมมีความรู ความเขาใจ หรือประสบการณเกี่ยวกับ
กระบวนการไกลเกลี่ยนั้น แตเนื่องมาจากผลประโยชนของทนายความ
เอง แมกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทนั้นจะเปนไปเพื่อประโยชนของ
คูความก็ตาม ทั้งนี้ หากทนายความแนะนําใหคูความนําคดีหรือขอ
พิพาทของตนเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท จะทําให
ทนายความขาดรายไดจากการใหคําปรึกษาหรือวาความในคดีน้นั ๆ
ดังนั้น การบังคับใหคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยจะทําให
ทนายความไมสามารถปฏิเสธกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทได
ี ของการไกล่เกลียข้อพิพาท
ข้อดีและข้อเสย
เชงิ บ ังค ับ
• ประโยชนประการแรกของการบังคับใหคคู วามเขาสู
กระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท อาจเปนเครื่องมือในการกระตุน
ใหคูความเห็นความสําคัญและเขาสูกระบวนการระงับขอพิพาท
ทางเลือกไดมากขึ้น ทั้งนี้ เมื่อคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ย
แลวนักไกลเกลี่ยขอพิพาทที่ไดผานการฝกฝนมาอยางดีจะไม
ปลอยโอกาสที่จะทําใหคูความเขาใจถึงกระบวนการไกลเกลี่ยขอ
พิพาทและชวยทําใหการเจรจาระหวางคูความสามารถบรรลุ
ขอตกลงรวมกันในการระงับขอพิพาทได
• ประการที่สอง การไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับที่กําหนดใหคูความซึ่งมีอคติ
กับกระบวนการไกลเกลี่ยไดเขารวมในกระบวนการและสามารถระงับขอ
พิพาทนั้นดวยวิธีการไกลเกลี่ย และนอกจากจะเปนการทําใหคูความไดมี
โอกาสในการระงับขอพิพาทที่มีตอกันแลว ในทางกลับกัน ยังชวยลด
ปริมาณคดีขึ้นสูศาลดวย ประการที่สาม การบังคับใหคูความเขาสู
กระบวนการไกลเกลี่ย ยังชวยแกปญหาความเขาใจผิดที่มีตอการไกลเกลี่ย
ขอพิพาทได โดยเฉพาะการที่คคู วามฝายใดฝายหนึ่งมองวา การเขาสู
กระบวนไกลเกลี่ยเปนสัญญาณที่แสดงถึงความกลัวที่จะเสียเปรียบในการ
ดําเนินคดี นอกากนี้ การบังคับใหคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยยังเปน
การเพิ่มโอกาสใหผมู ีอรรถคดีไดเขามาสูกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและ
ทําคุนเคยกับกระบวนการ ซึ่งจากการสอบถามคูความทีเ่ ขามามีสวนรวมใน
กระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับ คูความไดรับประโยชนจากการ
ประหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย
กระบวนการไกล่เกลียข้อพิพาทเชงิ บ ังค ับใน
ประเทศฝรงเศส

• ในระยะเริ่มแรก มีการนํากระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิง
บังคับมาใชในเรื่องกฎหมายครอบครัว
• ตอมา มีการออกรัฐกําหนด (Ordonnance) เลขที่ 2015-
1033 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2015 กําหนดใหการระงับขอพิพาท
นอกศาลในขอพิพาทระหวางผูบริโภคกับผูประกอบการตองผาน
กระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทเชิงบังคับ โดยผูประกอบการมี
หนาที่เสนอใหมีการไกลเกลี่ยขอพิพาทกอนเสมอ แตไมผูกพัน
ใหผูบริโภคจําตองยอมรับการไกลเกลี่ย ผูบริโภคจะใชสิทธิฟอง
ศาลหรือไมก็ได
วิชา มธ. 122 กฎหมายในชวี ต
ิ ประจําว ัน

รศ. ดร. สมเกียรติ วรปั ญญาอนันต์

-การแกไขกฎหมายเพื่อปรับปรุงกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญาครั้งใหญเมื่อป พ.ศ. 2547
มีสาระสําคัญอยางไร
- ลักษณะพิเศษของกระบวนการยุตธิ รรมทาง
ปกครอง
การแก้ไขกฎหมายเพือปร ับปรุง
กระบวนการยุตธ ิ รรมทางอาญาครงใหญ่

เมือปี พ.ศ. 2547 มีสาระสําค ัญอย่างไร
เปนการแกไขปญหาคุกมีไวขังคนจน โดยมุงแกไขปญหาโดย
เริ่มตนที่สาเหตุจากตนทางของกระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา ซึ่งตองพิจารณาตั้งแตชั้นตํารวจ ไมมงุ แกไขปญหาที่
ปลายทางในชั้นอัยการและชั้นศาลเหมือนเชนในอดีต ตาม
พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๗
การออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนผลมาจาก
บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐
รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐ กําหนดมาตรการเรงรัดใหมีการ
บัญญัติกฎหมายระดับพระราชบัญญัติตามหลักประกันขั้น
พื้นฐานที่รัฐธรรมนูญรับรองไวตามมาตรา ๓๓๕ (๖) ภายใน
เวลาหาปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญ แตอยางไรก็ตาม ใน
การออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ มาใชบังคับ ก็
ไดใชเวลาเกินกวาหาป
เมื่อมีการบัญญัติกฎหมายรับรองหลักการพื้นฐานสําคัญนี้ไว
แลวในการปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนตนมา ในการวางบทบัญญัติเรื่อง
เหลานี้ในหมวดวาดวยศาลในรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐
และรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐ ก็หมดความจําเปนลงที่
จะตองกําหนดสาระสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทาง
อาญาอยางละเอียดดังเชนที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ.
๒๕๔๐ อีก คงปรากฏบทบัญญัติวาดวยหลักการวาดวยสิทธิและ
เสรีภาพขั้นพื้นฐานที่รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ หมวด ๓
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ.
๒๕๖๐ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยเทานั้น

สรุปสมภาษณ์ ั
พเิ ศษ ศ.ดร.สุรศกดิ ิ ธิว ัฒนกุล –เรือง
ลิขสท
: แก้ วิ.อาญาใหม่ ตรงสว่ นไหนบ้าง? ทีมา : วารสารข่าว
กฎหมายใหม่ ฉบ ับว ันที 1 ธ ันวาคม 2547
หลักทั่วไปในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
– มาตรา 7/1 การคุมครองสิทธิและเสรีภาพในชั้นสอบสวน
ผูถูกจับหรือผูตองหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังมีสิทธิในการแจงใหญาติหรือผูที่ตน
วางใจทราบถึงการถูกจับและสถานที่ที่ถูกควบคุมในโอกาสแรก
ใหผูถูกจับหรือผูตองหามีสทิ ธิดังตอไปนี้ดวย
– (๑) พบและปรึกษาผูซึ่งจะเปนทนายความเปนการเฉพาะตัว
– (๒) ใหทนายความหรือผูซึ่งตนไววางใจเขาฟงการสอบปากคําตนไดในชั้นสอบสวน
– (๓) ไดรับการเยี่ยมหรือติดตอกับญาติไดตามสมควร
– (๔) ไดรับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกิดการเจ็บปวย
– ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจซึ่งรับมอบตัวผูถูกจับหรือผูตองหามีหนาที่แจงใหผูถูก
จับหรือผูตองหานั้นทราบในโอกาสแรกถึงสิทธิตามวรรคหนึ่ง
หลักทั่วไปในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
– มาตรา 8 สิทธิของจําเลย
มีการกําหนดเพิ่มเติมวาการพิจารณาคดีดวยความ
รวดเร็ว ตอเนื่อง และเปนธรรม เพราะการดําเนินคดี
ตอเนื่องอยางเดียวอาจทําใหเกิดความลาชาได
สามารถขอตรวจหรือคัดสําเนาคําใหการของตนใน
ชั้นสอบสวนหรือเอกสารประกอบคําใหการของตนได
การออกหมายอาญา
– แตเดิมการออกหมายอาญาจะออกโดยพนักงานสอบสวน แตใน
ปจจุบันเปนอํานาจศาลเทานั้นที่จะมีอํานาจออกหมายอาญา
ไดแก หมายจับ ขัง จําคุก คน และปลอย เปนตน
หมายอาญา
– มาตรา 59/1 วางหลักเกณฑทั่วไปวา ศาลจะตองมี
พยานหลักฐานตามสมควรที่เชื่อไดวามีเหตุที่จะออกหมายได
ไมใชแคมีเหตุสงสัยแลวจะสามารถออกหมายได ซึ่ง
พยานหลักฐานอาจเปนพยานอะไรก็ไดที่เพียงพอใหเชื่อไดวา
เขาเปนผูกระทํา
เหตุทจะออกหมายจ
ี ับ
มาตรา 66 แตเดิมนั้นกฎหมายใชคาํ วา “ถูกสงสัยโดย
มีเหตุอันควร” แตกฎหมายแกไขให ”ตองมีหลักฐาน
ตามสมควร” (วาบุคคลใดนาจะไดกระทําความผิดอาญาซึ่ง
มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงเกินสามป หรือนาจะไดกระทํา
ความผิดอาญาและมีเหตุอันควรเชื่อวาจะหลบหนี หรือจะไป
ยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่น)
ซึ่งมีระดับความนาเชื่อถือแตกตางกัน
มาตรา ๖๖ (เดิม) เหตุทจะออกหมายจ
ี ับได้มด
ี ังต่อไปนี
(๑) เมื่อผูตองหาซึ่งถูกสงสัยโดยมีเหตุอันควร หรือจําเลยเปนผูไมมีที่อยูเปน
หลักแหลง
(๒) เมื่อความผิดที่ผูตองหาถูกสงสัยโดยมีเหตุอันควรหรือที่จาํ เลยถูกฟองนั้น
มีอัตราโทษอยางสูงตั้งแตสามปขึ้นไป
(๓) เมื่อผูตองหาหรือจําเลยซึ่งไมไดถูกควบคุมหรือขังอยู ไมมาตามหมายเรียก
หรือตามนัดโดยไมมขี อ แกตัวอันควรก็ดี ไดหนีไปก็ดี มีเหตุอนั ควรสงสัยวาจะ
หลบหนีหรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐานโดยทางตรงหรือทางออมก็ดี
(๔) เมื่อผูตองหาหรือจําเลย ซึ่งถูกปลอยชั่วคราว มิสามารถทําสัญญาประกัน
ใหจํานวนเงินสูงกวาเดิมหรือหาหลักประกันมาเพิ่มหรือใหดกี วาเดิมตาม
มาตรา ๑๑๕
มาตรา ๖๖ (ใหม่) เหตุทจะออกหมายจ
ี ับได้มด
ี ังต่อไปนี

(๑) เมื่อมีหลักฐานตามสมควรวาบุคคลใดนาจะไดกระทํา
ความผิดอาญาซึ่งมีอตั ราโทษจําคุกอยางสูงเกินสามป หรือ
(๒) เมื่อมีหลักฐานตามสมควรวาบุคคลใดนาจะไดกระทํา
ความผิดอาญาและมีเหตุอันควรเชื่อวาจะหลบหนี หรือจะไปยุง
เหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอนั ตรายประการอื่น
ถาบุคคลนั้นไมมีที่อยูเปนหลักแหลง หรือไมมาตาม
หมายเรียกหรือตามนัดโดยไมมีขอแกตัวอันควร ใหสันนิษฐานวา
บุคคลนั้นจะหลบหนี
หมายจ ับ
มาตรา 78 เปนมาตราที่ตอเนื่องมาจากมาตรา 59/1 คือ ศาลเทานั้น
เปนผูมีอาํ นาจออกหมาย ดังนั้นโดยหลักทั่วไปจะจับโดยไมมีหมายจับ
หรือคําสั่งศาลไมได เวนแตจะมีขอยกเวนตาม (1)-(4)
(1) เมื่อบุคคลนั้นไดกระทําความผิดซึ่งหนาดังไดบัญญัติไวในมาตรา 80
(2) เมื่อพบบุคคลโดยมีพฤติการณอันควรสงสัยวาผูน้นั นาจะกอเหตุรายให
เกิดภยันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่นโดยมีเครื่องมือ อาวุธ หรือ
วัตถุอยางอื่นอันสามารถอาจใชในการกระทําความผิด
(3) เมื่อมีเหตุที่จะออกหมายจับบุคคลนั้นตามมาตรา 66 (2) แตมีความ
จําเปนเรงดวนที่ไมอาจขอใหศาลออกหมายจับบุคคลนั้นได
(4) เปนการจับผูตองหาหรือจําเลยที่หนีหรือจะหลบหนีในระหวางถูก
ปลอยชั่วคราวตามมาตรา 117
มาตรา 83 เวลาจับจะตองมีการแจงขอกลาวหา โดยแจงขอกลาวหาทันที หาก
ไมมกี ารแจงสิทธิกอน ถอยคําเหลานั้นไมอาจรับฟงเปนพยานหลักฐานได
“ในการจับนั้น เจาพนักงานหรือราษฎรซึ่งทําการจับตองแจงแกผูที่จะถูกจับนั้นวา
เขาตองถูกจับ แลวสั่งใหผูถูกจับไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนแหงทองทีท่ ี่
ถูกจับพรอมดวยผูจับ เวนแตสามารถนําไปที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบไดใน
ขณะนั้น ใหนําไปที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบดังกลาว แตถาจําเปนก็ใหจับ
ตัวไป
ในกรณีที่เจาพนักงานเปนผูจับ ตองแจงขอกลาวหาใหผูถูกจับทราบ หากมี
หมายจับใหแสดงตอผูถูกจับ พรอมทั้งแจงดวยวา ผูถูกจับมีสิทธิที่จะไมใหการหรือ
ใหการก็ไดและถอยคําของผูถูกจับนั้นอาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดี
ไดและผูถกู จับมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความ หรือผูซึ่งจะเปนทนายความ
ถาผูถูกจับประสงคจะแจงใหญาติหรือผูซ่งึ ตนไววางใจทราบถึงการจับกุมที่สามารถดําเนินการได
โดยสะดวกและไมเปนการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผูถูกจับหรือทําใหเกิดความไม
ปลอดภัยแกบุคคลหนึ่งบุคคลใด ก็ใหเจาพนักงานอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควรแก
กรณี ...”
หมายจ ับ หมายจําคุก หมายปล่อย
(จ ับ ข ัง จําคุก)
มาตรา 84 เปนการคุมครองสิทธิของผูถูกจับ และเปนหลักประกันวาตํารวจจะรีบ
ดําเนินการใหผูตองหารับสารภาพแลวปดสํานวนไมได เพราะคํารับสารภาพในชั้น
จับกุมหามรับฟงเปนพยานหลักฐาน แตหากเปนถอยคําเรื่องอื่นๆ สามารถรับฟง
เปนพยานหลักฐานได หากไดรับการแจงสิทธิ
มาตรา 87 วรรคแปด การขอใหศาลฝากขังตอ มีการกําหนดไวอยางชัดเจนวา
สามารถที่จะใหทนายความเขามาแถลงขอคัดคานแลวถามพยาน ถายังไมมี
ทนายความก็ตอ งดําเนินการใหมีทนายความกอน
มาตรา 90 กรณีขังโดยมิชอบ ศาลมีอํานาจในการไตสวนฝายเดียวโดยดวน ถาเห็น
วามีมูล ศาลมีอาํ นาจสั่งผูคุมขังใหปลอยผูถูกคุมขังไปได (ทันที)
ค้น
มาตรา 92 การคนในเคหะสถาน (ที่รโหฐานหมายความถึงที่ตาง ๆ ซึ่งมิใช
ที่สาธารณสถาน) จะตองมีหมายคนหรือคําสั่งของศาล และจะตองมี
หลักฐานตามสมควรวามีเหตุจําเปนเรงดวน
– เวนแตพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจเปนผูคน และในกรณีดังตอไปนี้
(๑) เมื่อมีเสียงรองใหชวยมาจากขางในที่รโหฐาน หรือมีเสียงหรือพฤติการณอื่นใดอันแสดงไดวามีเหตุรายเกิดขึ้นใน
ที่รโหฐานนั้น
(๒) เมื่อปรากฏความผิดซึ่งหนากําลังกระทําลงในที่รโหฐาน
(๓) เมื่อบุคคลที่ไดกระทําความผิดซึ่งหนา ขณะที่ถูกไลจับหนีเขาไปหรือมีเหตุอันแนนแฟนควรสงสัยวาไดเขาไปซุก
ซอนตัวอยูในที่รโหฐานนั้น
(๔) เมื่อมีพยานหลักฐานตามสมควรวาสิ่งของทีม่ ีไวเปนความผิดหรือไดมาโดยการ
กระทําความผิดหรือไดใชหรือมีไวเพื่อจะใชในการกระทําความผิด หรืออาจเปน
พยานหลักฐานพิสจู นการกระทําความผิดไดซอนหรืออยูในนั้น ประกอบทั้งตองมี
เหตุอันควรเชื่อวาเนื่องจากการเนิ่นชากวาจะเอาหมายคนมาไดสิ่งของนั้นจะถูก
โยกยายหรือทําลายเสียกอน
(๕) เมื่อที่รโหฐานนั้นผูจะตองถูกจับเปนเจาบาน และการจับนั้นมีหมายจับหรือจับตามมาตรา ๗๘

การปล่อยต ัวชวคราว (ประก ันต ัว)
แตเดิมมีปญหามาก เนื่องจากฐานะของผูตองหาหรือจําเลย ซึ่งหากไม
มีเงินก็จะตองถูกขังไวตลอดเวลา เพราะไมสามารถหาหลักประกันได
และการอนุมัติการปลอยตัวยังมีความลาชา
มาตรา 107 มีการแกไขแนวความคิดจากแนวทางปฏิบัติท่ผี านมาวาทุก
คนพึงถูกกักขังระหวางดําเนินคดี โดยแกไขเปนหลักทั่วไปวาทุกคนพึง
ไดรับอนุญาตปลอยชั่วคราวอันเปนไปตามหลักพื้นฐานของรัฐธรรมนูญ
มาตรา 108 กําหนดหลักในการปลอยตัวชั่วคราว
มาตรา 108/1 กําหนดถึงเหตุที่จะไมปลอยตัวชั่วคราววาจะตองมีเหตุใด
เหตุหนึ่งที่ระบุไว และตองแสดงเหตุผลดวยวาเหตุใดจึงไมสามารถปลอย
ตัวชั่วคราวได
มาตรา ๑๐๘ วรรคหนึ่ง ในการวินิจฉัยคํารองขอใหปลอยชั่วคราว
ตองพิจารณาขอเหลานี้ประกอบ
(๑) ความหนักเบาแหงขอหา
(๒) พยานหลักฐานที่ปรากฏแลวมีเพียงใด
(๓) พฤติการณตาง ๆ แหงคดีเปนอยางไร
(๔) เชื่อถือผูรองขอประกันหรือหลักประกันไดเพียงใด
(๕) ผูตองหาหรือจําเลยนาจะหลบหนีหรือไม
(๖) ภัยอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกิดจากการปลอยชั่วคราวมีเพียงใดหรือไม
(๗) ในกรณีที่ผูตองหาหรือจําเลยตองขังตามหมายศาล ถามีคําคัดคานของ
พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ โจทก หรือผูเสียหาย แลวแตกรณี ศาลพึงรับ
ประกอบการวินิจฉัยได
มาตรา ๑๐๘/๑ การสั่งไมใหปลอยชั่วคราว จะกระทําไดตอ เมื่อมีเหตุอัน
ควรเชื่อเหตุใดเหตุหนึ่งดังตอไปนี้
(๑) ผูตองหาหรือจําเลยจะหลบหนี
(๒) ผูตองหาหรือจําเลยจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน
(๓) ผูตองหาหรือจําเลยจะไปกอเหตุอนั ตรายประการอื่น
(๔) ผูรองขอประกันหรือหลักประกันไมนาเชื่อถือ
(๕) การปลอยชั่วคราวจะเปนอุปสรรคหรือกอใหเกิดความเสียหาย
ตอการสอบสวนของเจาพนักงานหรือการดําเนินคดีในศาล
คําสั่งไมใหปลอยชั่วคราวตองแสดงเหตุผล และตองแจงเหตุ
ดังกลาวใหผตู องหาหรือจําเลยและผูยื่นคํารองขอใหปลอยชั่วคราวทราบ
เปนหนังสือโดยเร็ว

การปล่อยต ัวชวคราว (ประก ันต ัว)
มาตรา 110 แตเดิมแมจะมีการประกันตัวในชั้นศาลหรือชั้น
อัยการแลว ก็ยังจะตองไปหาหลักทรัพยมาประกันตัวในชั้นศาลอีก
แตในวิ.อาญาที่แกไขใหมจะทําใหเกิดความสะดวกมากขึ้นโดย
กําหนดหลักเกณฑการประกันในการปลอยตัวชั่วคราวตอเนื่องทั้ง
กระบวนการ หากหลักประกันไมเพียงพอก็สามารถเรียกเพิ่มเติม
ได (ตัวบทปจจุบันแยกไปบัญญัติในมาตรา 113/1)
มาตรา 119 วรรคสอง กฎหมายที่แกไขใหมใหอาํ นาจเจาหนาที่
ของศาลเปนเจาหนีท้ ่จี ะบังคับคดีได เพราะปกติแลวเมื่อมีการผิด
สัญญาประกันอาจจะไมมผี ูคอยติดตามบังคับคดี (ตัวบทปจจุบัน
เปนวรรคสาม)
การสอบสวนสาม ัญ
มาตรา 131 แตเดิมพนักงานสอบสวนมีหนาที่รวบรวมพยานหลักฐาน
เพื่อที่จะรูตัวผูกระทําผิดและพิสูจนใหเห็นความผิด ซึ่งในทางปฏิบัติ
เจาหนาที่ตํารวจจะพยายามรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อเอาผิด แต
หลักฐานที่เปนคุณกลับไมรวบรวมไวดวย เปลี่ยนเปน “รวบรวม
หลักฐานทุกชนิด เทาที่สามารถจะทําได เพื่อประสงคจะทราบ
ขอเท็จจริงและพฤติการณตาง ๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูกกลาวหา
เพื่อจะรูตัวผูกระทําผิดและพิสูจนใหเห็นความผิดหรือความบริสุทธิ์ของ
ผูตองหา”
– การแกไขวิ.อาญามาตรานี้ เปนการเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรและ
แนวความคิดของเจาหนาที่ใหมเพราะตํารวจคือผูชั่งน้ําหนักพยาน
ในชั้นตน ซึ่งจะตองพิสูจนใหเห็นถึงความบริสุทธิ์ของผูตองหาดวย
มาตรา ๑๓๑ (เดิม) ใหพนักงานสอบสวนรวบรวมหลักฐาน
ทุกชนิด เทาที่จะทําได เพื่อประสงคจะทราบขอเท็จจริงและ
พฤติการณตาง ๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูกกลาวหา และ
เพื่อจะรูตัวผูกระทําผิดและพิสูจนใหเห็นความผิด
มาตรา ๑๓๑ (ใหม) ใหพนักงานสอบสวนรวบรวมหลักฐาน
ทุกชนิด เทาที่สามารถจะทําได เพื่อประสงคจะทราบ
ขอเท็จจริงและพฤติการณตาง ๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูก
กลาวหา เพื่อจะรูตัวผูกระทําผิดและพิสูจนใหเห็นความผิด
หรือความบริสุทธิ์ของผูตองหา
การสอบสวนสาม ัญ
มาตรา 134 แตเดิมนั้นการแจงขอหากําหนดไวสั้นๆ แคใหแจง
ขอหา แตวิ.อาญาแกไขใหมน้นั จะตองแจงใหทราบถึงขอเท็จจริง
เกี่ยวกับการกระทําที่ถูกกลาวหา แลวจึงแจงขอหา และการแจง
ขอหานั้นจะตองมีหลักฐานตามสมควรดวย
มาตรา 134/1 มีการแกไขใหสอดคลองกับชั้นพิจารณา คือ ถาเปนโทษ
ประหารชีวิตกับกรณีเด็กอายุไมเกิน 18 ป ตองถามกอนวามีทนายหรือไม
ถาไมมีตองเปนหนาที่ของรัฐที่จะจัดหาทนายให
– ในวรรคสอง หากเปนคดีมีโทษจําคุก กอนสอบสวนตองถามกอน
วามีทนายความหรือไม หากไมมีและตองการทนายความ รัฐจะตอง
จัดหาทนายความให แตหากเขาไมตองการก็ดําเนินการสอบสวนไป
ไดเลย
สรุป
จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวามีการแกไขปรับปรุง
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาใหมท้งั กระบวนการ ไม
จํากัดขอบเขตแตเพียงเฉพาะในชั้นอัยการและชั้นศาลเชน
ในอดีตเทานั้น หากแตมีการกําหนดหลักเกณฑเพิ่มเติมที่
สําคัญในชั้นตํารวจ เพื่อใหสอดคลองกับหลักการสําคัญ
ตามความมุงหมายของรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐
กระบวนการยุตธ
ิ รรมทางปกครอง
คดีปกครอง คือขอพิพาทระหวางหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของรัฐที่อยูใน
บังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของรัฐบาลกับเอกชน หรือระหวาง
หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น
หรือเจาหนาที่ของรัฐทีอ่ ยูในบังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของรัฐบาล
ดวยกัน ซึ่งเปนขอพิพาทอันเนื่องมาจากการกระทําหรือการละเวนการ
กระทําที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวน
ทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของรัฐนั้น ตองปฏิบัติตามกฎหมาย หรือ
เนื่องจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําที่หนวยราชการ
หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่
ของรัฐนั้น ตองรับผิดชอบในการปฏิบตั ิหนาที่ตามกฎหมาย
พรบ. จ ัดตงศาลปกครองและวิ
ั ธพ ี จ
ิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๙ (วรรคหนึ่ง) ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งในเรื่องดังตอไปนี้
(๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวย
กฎหมายไมวาจะเปนการออกกฎ คําสั่งหรือการกระทําอื่นใดเนื่องจากกระทําโดยไมมีอํานาจหรือนอกเหนือ
อํานาจหนาที่หรือไมถูกตองตามกฎหมาย หรือโดยไมถูกตองตามรูปแบบขั้นตอน หรือวิธีการอันเปนสาระสําคัญ
ที่กําหนดไวสําหรับการกระทํานั้น หรือโดยไมสุจริต หรือมีลกั ษณะเปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม หรือมี
ลักษณะเปนการสรางขั้นตอนโดยไมจําเปนหรือสรางภาระใหเกิดกับประชาชนเกินสมควร หรือเปนการใช
ดุลพินิจโดยมิชอบ
(๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอหนาที่ตามที่
กฎหมายกําหนดใหตอ งปฏิบัติ หรือปฏิบัตหิ นาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร
(๓) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอยางอื่นของหนวยงานทางปกครองหรือ
เจาหนาที่ของรัฐอันเกิดจากการใชอํานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ คําสั่งทางปกครอง หรือคําสั่งอื่น หรือจาก
การละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบตั ิหนาที่ดงั กลาวลาชาเกินสมควร
(๔) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง
(๕) คดีที่มีกฎหมายกําหนดใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐฟองคดีตอศาลเพื่อบังคับ
ใหบุคคลตองกระทําหรือละเวนกระทําอยางหนึ่งอยางใด
(๖) คดีพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่มีกฎหมายกําหนดใหอยูในเขตอํานาจศาลปกครอง
พรบ. จ ัดตงศาลปกครองและวิ
ั ธพี จ
ิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๙ (วรรคสอง) เรื่องดังตอไปนี้ไมอยูในอํานาจศาลปกครอง
(๑) การดําเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร
(๒) การดําเนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายวาดวย
ระเบียบขาราชการฝายตุลาการ
(๓) คดีที่อยูในอํานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาล
ภาษีอากร ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ศาลลมละลาย
หรือศาลชํานัญพิเศษอื่น
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์, “อํานาจหน้าทีศาลปกครองและวิธ ี
พิจารณาคดีปกครอง” ใน หน ังสอ ื รวมบทความวิชาการ
เนืองในโอกาส ๖๐ ปี ศาสตราจารย์วริ ย ิ ะ นามศริ พ ์ ันธุ,์
ิ งศพ
คณะนิตศ ิ าสตร์ มหาวิทยาล ัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๗, หน้า
๗๗-๙๖.
คดีปกครองเปนคดีพิพาทที่เกิดจากการกระทําของหนวยงานทาง
ปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐสามประเภท คือ
1. การที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐใชอํานาจทาง
ปกครอง
2. การที่หนวยงานทางปกครองละเลยตอหนาที่ทางปกครองตามที่
กฎหมายกําหนดใหตอ งปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกิน
สมควร และ
3. สัญญาทางปกครอง
การกระทําของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
ประเภทที่หนึ่งซึ่งไดแกการใชอํานาจทางปกครองนั้นมีขอที่จะตอง
ทําความเขาใจกันวา “อํานาจทางปกครอง” หมายถึงอํานาจใด

อาจกลาวไดในเบื้องตนวา อํานาจทางปกครองเปนสวนหนึ่ง
ของอํานาจทางบริหารของรัฐ และอํานาจทางบริหารของรัฐแท
ที่จริงแลวก็คืออํานาจรัฐที่ใชกระทําการตางๆ ที่มิใชการนิติ
บัญญัติ (การตรากฎหมาย) หรือการตุลาการ (การพิจารณา
พิพากษาอรรถคดี) ดังนั้น คดีพิพาทที่เกิดจากการใชอํานาจนิติ
บัญญัติหรืออํานาจตุลาการจึงไมใชคดีปกครอง
อยางไรก็ตาม หากพิจารณากันใหถองแทแลวจะพบตอไปวา อํานาจทางบริหาร
ของรัฐ ซึ่งไดกลาวแลววาคืออํานาจกระทําการตางๆ ที่มิใชการนิติบัญญัติหรือ
การตุลาการนั้น ยังแยกออกไดเปน ๒ ประเภทคือ อํานาจทางบริหารที่มี
“แหลงที่มา” จากรัฐธรรมนูญโดยตรง ซึ่งอาจเรียกสั้นๆวา “อํานาจทางบริหาร
ตามรัฐธรรมนูญ” และอํานาจทางบริหารที่มี “แหลงที่มา” จากกฎหมายอื่น
นอกจากรัฐธรรมนูญ (พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ
และพระราชกําหนด) ซึ่งอาจเรียกสั้นๆวา “อํานาจทางบริหารตามกฎหมาย”
อํานาจทางปกครองคืออํานาจทางบริหารตามกฎหมาย อํานาจทางบริหารตาม
รัฐธรรมนูญมิใชอาํ นาจทางปกครอง โดยอํานาจทางบริหารตามรัฐธรรมนูญที่ใช
โดยประมุขของรัฐ คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ในทางตํารา
เรียกวา “อํานาจทางรัฐบาล” และผลิตผลของการใชอํานาจดังกลาวเรียกวา
“การกระทําทางรัฐบาล”
คณะบุคคลหรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายใหใชอํานาจทางบริหารบางคณะหรือ
บางคน เชน คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี ฯลฯ บางกรณีก็ใชอํานาจทาง
บริหารตามรัฐธรรมนูญ บางกรณีก็ใชอํานาจทางบริหารตามกฎหมาย ในกรณีที่
คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีใชอํานาจทางบริหารตามรัฐธรรมนูญ ไมถือวา
คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีเปนเจาหนาที่ของรัฐตามนัยบทนิยาม
“เจาหนาที่ของรัฐ” ในมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองและวิธี
พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และคดีพิพาทที่เกิดจากการใชอํานาจทาง
บริหารตามรัฐธรรมนูญของคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีไมใชคดีปกครอง
เฉพาะแตในกรณีที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีใชอํานาจทางบริหารตาม
กฎหมายเทานั้นที่จะถือวาคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีเปน “เจาหนาที่ของ
รัฐ” ตามนัยบทนิยาม “เจาหนาที่ของรัฐ” ในบทบัญญัตแิ หงกฎหมายดังกลาว
และคดีพิพาทที่เกิดจากการใชอํานาจทางบริหารตามกฎหมายของคณะรัฐมนตรี
หรือนายกรัฐมนตรีอาจเปนคดีปกครองได
อนึ่ง สมควรระลึกไวดวยวาอํานาจทางบริหารตามกฎหมายก็ใช
วาจะเปนอํานาจทางปกครองเสียทั้งหมด ทั้งนี้ เพราะในทาง
ตําราและทางปฏิบัติ อํานาจกระทําการตามกฎหมายวาดวยวิธี
พิจารณาความทั้งหลาย ไมวาจะเปนกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณา
ความแพงหรือกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความอาญา ไมถือวา
เปนอํานาจทางปกครอง แตเปน “อํานาจดําเนินการตาม
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา” หรือ “อํานาจดําเนินการตาม
กระบวนการยุติธรรมทางแพง” แลวแตกรณี และคดีพิพาทที่เกิด
จากการใชอาํ นาจในการดําเนินการตามกระบวนการยุตธิ รรมทาง
อาญาหรือทางแพงดังกลาวก็ไมใชคดีปกครอง เชนกัน
หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐใชอํานาจทาง
ปกครองตามความหมายขางตนกระทําการได ๓ ลักษณะ
คือ ออกกฎ ออกคําวินิจฉัยสั่งการ ซึ่งอาจเปนคําสั่งทาง
ปกครองหรือคําสั่งอื่นก็ได และกระทําการอื่นที่มิใชการ
ออกกฎหรือออกคําวินิจฉัยสั่งการ เปนตนวา การรื้อถอน
อาคารของบุคคลที่กอสรางหรือดัดแปลงโดยไมชอบดวย
กฎหมายและไมอาจแกไขใหถูกตองตามกฎหมายได
สําหรับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลย
ตอหนาที่ทางปกครองตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัตหิ รือ
ปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควรนั้นอาจจะกลาวไดวาเปน
ดานที่ตรงกันขามกับการใชอํานาจทางปกครองออกกฎ คํา
วินิจฉัยสั่งการ หรือกระทําการอื่น กลาวคือเปนกรณีที่
หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐซึ่งมีกฎหมาย
มอบหมายใหใชอํานาจทางปกครองออกกฎ คําวินิจฉัยสั่งการ
หรือกระทําการอื่นไมใชอํานาจทางปกครองกระทําการดังกลาว
หรือใชอํานาจทางปกครองกระทําการดังกลาวลาชากวาเวลาที่
กฎหมายกําหนดหรือลาชาเกินสมควร
การไมใชอํานาจทางปกครองหรือใชอํานาจดังกลาวลาชากวาเวลาที่
กฎหมายกําหนดหรือลาชาเกินสมควร ซึ่งถือวาเปนการละเลยตอหนาที่
ทางปกครองตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบตั ิหรือปฏิบตั ิหนาทีท่ าง
ปกครองลาชาเกินสมควรนี้ มีที่มาจากความคิดทางกฎหมายมหาชน
สมัยใหมที่วา อํานาจที่กฎหมายมอบหมายใหเจาหนาที่ของรัฐใช
กระทําการตาง ๆ มิใชทรัพยสมบัติสวนตัวของเจาหนาที่ของรัฐที่จะ
สละเสียไดตามความพอใจของตน เมื่อกฎหมายมอบหมายใหเจาหนาที่
ของรัฐใดมีอํานาจกระทําการใดก็ตาม เจาหนาที่ของรัฐนั้นมีหนาที่ท่ี
จะตองใชอํานาจนั้นและใชอํานาจนั้นภายในเวลาที่พึงใช ดวยเหตุนี้
จึงเรียกอํานาจที่กฎหมายมอบหมายใหเจาหนาที่ของรัฐใชกระทําการ
ตางๆ วา “อํานาจหนาที่”
สวนสัญญาทางปกครองนั้น มาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
บัญญัติใหคํานิยามไววา “สัญญาทางปกครอง” หมายความ
รวมถึง “สัญญาที่คูสัญญาอยางนอยฝายหนึ่งเปนหนวยงาน
ทางปกครองหรือเปนบุคคลซึ่งกระทําการแทนรัฐ และมีลักษณะ
เปนสัญญาสัมปทาน สัญญาที่จัดใหทําบริการสาธารณะ หรือ
จัดใหมีสิ่งสาธารณูปโภค หรือแสวงประโยชนจาก
ทรัพยากรธรรมชาติ”
คํานิยามของ “สัญญาทางปกครอง” ดังกลาวแสดงใหเห็นวา สัญญาที่หนวยงาน
ทางปกครองทํากับบุคคลอื่นและเปนสัญญาทางปกครองนั้นมีทั้งที่เปนสัญญาทาง
ปกครองโดยสภาพ และสัญญาทางปกครองที่กฎหมายกําหนด
สัญญาทางปกครองโดยสภาพคือ สัญญาที่มีขอกําหนดในสัญญาซึ่งมีลักษณะ
พิเศษที่แสดงถึงเอกสิทธิ์ของรัฐ ไมอาจพบไดในสัญญาระหวางเอกชนกับ
เอกชน เนื่องจากเปนสัญญาที่เอกชนไมอาจทํากับเอกชนดวยกันใหมีผลบังคับ
กันไดโดยสมบูรณ คือไมตกเปนโมฆะ เชน สัญญาซื้อขายอาวุธสงคราม สัญญา
จางผลิตอาวุธสงคราม ฯลฯ หากเอกชนทําสัญญาเหลานี้กันสัญญายอมเปน
โมฆะ
สวนสัญญาทางปกครองที่กฎหมายกําหนดไดแก สัญญาที่หนวยงานทาง
ปกครองทํากับบุคคลอื่นและมีลักษณะเปนสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ใหจัดทํา
บริการสาธารณะ สัญญาที่จัดใหมีสิ่งสาธารณูปโภค สัญญาที่ใหแสวงประโยชน
จากทรัพยากรธรรมชาติ
- สัญญาสัมปทานในที่นี้หมายถึงสัญญาสัมปทานบริการสาธารณะ
กลาวคือเปนสัญญาที่หนวยงานทางปกครองซึ่งมีอํานาจหนาที่
จัดทําบริการสาธารณะทํากับบุคลอื่นและมีขอกําหนดใหบุคคลอื่น
เขามาจัดทําบริการสาธารณะแทนตนหรือรวมกับตน โดยบุคคลอื่น
ที่เปนคูสัญญาจะไดคาตอบแทนการจัดทําบริการสาธารณะจาก
คาบริการที่เรียกเก็บจากผูใชบริการสาธารณะนั้นตามอัตราที่
หนวยงานทางปกครองกําหนด เชน สัญญาระหวางองคกรขนสง
มวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) กับเจาของรถรวมบริการ
- สัญญาที่ใหจัดทําบริการสาธารณะคือ สัญญาที่
หนวยงานทางปกครองซึ่งมีอํานาจหนาที่จัดทําบริการ
สาธารณะจางบุคคลอื่นทําบริการสาธารณะแทนตนหรือ
รวมกับตน เชน สัญญาที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจาง
เอกชนเก็บและหรือกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
- สัญญาจัดใหมีสิ่งสาธารณูปโภคคือ สัญญาที่หนวยงานทาง
ปกครองซึ่งมีอํานาจหนาที่สรางหรือซอมบํารุงสิ่งสาธารณูปโภค
จางบุคคลอื่นสรางหรือซอมบํารุงสิ่งสาธารณูปโภค โดยสิ่ง
สาธารณูปโภคหมายถึงอสังหาริมทรัพยที่เปนบริการสาธารณะ
หรือที่หนวยงานทางปกครองใชเปนเครื่องมือในการจัดทํา
บริการสาธารณะที่อยูในอํานาจหนาที่ของตน เชน ถนน
สะพาน เขื่อน อางเก็บน้ํา อาคารเรียน อาคารโรงพยาบาล ฯลฯ
- สัญญาที่ใหแสวงประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติคือ
สัญญาที่หนวยงานทางปกครองซึ่งมีอํานาจหนาที่ดแู ล
รักษาและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอนุญาตให
บุคคลอื่นเขาแสวงประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่อยู
ในอํานาจหนาที่ดูแลรักษาและบริหารจัดการของตน โดย
ผูรับอนุญาตตกลงจะแบงปนผลประโยชนที่ไดสว นหนึ่ง
ใหแกหนวยงานทางปกครองเปนการตอบแทน
ประเภทของคดีทอยู
ี ใ่ นอํานาจพิจารณาพิพากษา
ของศาลปกครอง
เมื่อพิจารณามาตรา ๙ วรรคหนึ่งประกอบกับมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยตลอดแลว จะเห็นไดวาคดีที่อยูในอํานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลปกครองแบงออกเปน ๖ ประเภท ดังนี้
– ประเภทที่หนึ่ง คดีที่ผฟู องคดีฟองวาหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่
ของรัฐ แลวแตกรณี ใชอํานาจทางปกครองออกกฎ คําสั่ง หรือกระทําการ
อื่นใดโดยไมชอบดวยกฎหมาย และผูฟองคดีมีคําขอใหศาลปกครอง
พิพากษาหรือมีคําสั่งใหเพิกถอนกฎ คําสั่ง หรือหามการกระทํานั้นทั้งหมด
หรือบางสวน (มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) ประกอบกับมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง
(๑) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒)
– ประเภทที่สอง คดีที่ผูฟองคดีฟองวาหนวยงานทางปกครองหรือ
เจาหนาที่ของรัฐละเลยตอหนาที่ทางปกครองตามที่กฎหมาย
กําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร
และผูฟองคดีมีคําขอใหศาลปกครองพิพากษาหรือมีคําสั่งให
หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐปฏิบัติหนาที่ภายใน
เวลาที่ศาลกําหนด (มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) ประกอบกับมาตรา
๗๒ วรรคหนึ่ง (๒) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธี
พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒)
– ประเภทที่สาม คดีพิพาทเกี่ยวกับกับความรับผิดทางละเมิดหรือ
ความรับผิดอยางอื่นของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของ
รัฐอันเกิดจากการใชอํานาจทางปกครองออกกฎ คําสั่ง หรือกระทํา
การอื่นใด หรือจากการละเลยตอหนาที่ทางปกครองตามที่
กฎหมายกําหนดใหตอ งปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกิน
สมควร และผูฟองคดีมีคําขอใหศาลปกครองพิพากษาหรือมีคําสั่ง
ใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐเยียวยาความ
เสียหายใหแกตนโดยสั่งใหใชเงิน สงมอบทรัพยสิน หรือใหกระทํา
การหรืองดเวนกระทําการ (มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) ประกอบกับ
มาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๓) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒)
– ประเภทที่สี่ คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ซึ่งเปนคดีที่
คูสัญญาทางปกครองฝายหนึ่งฟองคูสัญญาอีกฝายหนึ่งใหรับผิด
ตามสัญญาดังกลาว และผูฟองคดีมีคําขอใหศาลปกครองพิพากษา
หรือมีคําสั่งใหผูถูกฟองคดีใชเงิน สงมอบทรัพยสิน หรือใหกระทํา
การหรืองดเวนกระทําการ (มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) ประกอบกับ
มาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๓) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
และวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒)
– ประเภทที่หา คดีที่มีกฎหมายกําหนดใหหนวยงานทางปกครอง
หรือเจาหนาที่ของรัฐฟองตอศาล เพื่อบังคับใหบุคคลตองกระทํา
การหรือละเวนการกระทําอยางหนึ่งอยางใด และมีคําขอใหศาล
ปกครองสั่งใหบคุ คลนั้นกระทําการหรือละเวนการกระทําอยาง
หนึ่งอยางใดเพื่อใหเปนไปตามกฎหมาย (มาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๕)
ประกอบกับมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๕) แหงพระราชบัญญัตจิ ัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒) เชน คดีที่
เจาพนักงานทองถิ่นตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคารรอง
ขอตอศาลเพื่อใหศาลออกหมายจับผูรับคําสั่งของเจาพนักงาน
ทองถิ่นที่ส่งั ใหรื้อถอนอาคารแตไมปฏิบัติตามคําสั่งมาขังไว
จนกวาจะมีการรื้อถอนอาคารถูกตองครบถวนตามคําสั่ง
– ประเภทที่หก คดีพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่มีกฎหมายกําหนดใหอยูใน
เขตอํานาจศาลปกครอง เชนคดีที่รองขอใหศาลปกครองเพิกถอน
หรือบังคับตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการที่ชี้ขาดขอพิพาท
เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ซึ่งมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัติ
อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติใหยื่นคํารองตอศาลปกครอง
คดีประเภทที่หนึ่งถึงประเภททีห่ าเปนคดีปกครองโดยแท แตคดี
ประเภทที่หกนี้อาจไมใชคดีปกครองโดยแท แตเปนคดีที่
เกี่ยวเนื่องกับคดีปกครองโดยแท (ตามตัวอยางที่ยกมาแสดงไว
ขางตนเปนคดีที่เกี่ยวเนื่องกับคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทาง
ปกครอง) กฎหมายจึงไดบัญญัติใหอยูในอํานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลปกครอง
คดีปกครองทีไม่อยูใ่ นอํานาจพิจารณาพิพากษา
ของศาลปกครอง
คดีปกครองที่ไมอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง เนื่องจาก
กฎหมายหามมิใหศาลปกครองรับไวพิจารณาพิพากษาดวยเหตุผลทางนิตินโยบายบาง
ประการมีตวั อยางเชน
- มาตรา ๙ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัตวิ า “เรื่องดังตอไปนี้ไมอยูในอํานาจศาลปกครอง
(๑) การดําเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร
(๒) การดําเนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขาราชการฝายตุลาการ
(๓) คดีท่อี ยูในอํานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษี
อากร ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ศาลลมละลาย หรือศาล
ชํานัญพิเศษอื่น”
- มาตรา ๑๖ แหงพระราชกําหนดการบริหารราชการแผนดินใน
สถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ บัญญัตวิ า “ขอกําหนด ประกาศ คําสั่ง
หรือการกระทําตามพระราชกําหนดนี้ไมอยูในบังคับของ .....และ
กฎหมายวาดวยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง”
- มาตรา ๒๓ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ บัญญัติวา “การดําเนินคดีใดๆ อัน
เนื่องมาจากขอกําหนด ประกาศ คําสั่ง หรือการกระทําตามหมวดนี้
(หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร) ใหอยูใน
อํานาจของศาลยุติธรรม”
เงือนไขในการฟ้องคดี
เงื่อนไขในการที่ศาลปกครองจะรับคําฟองคดีไวพิจารณา
พิพากษาตอไปได ที่เรียกกันสั้นๆวา “เงื่อนไขในการฟองคดี”
นั้นมีหลายประการ ที่สําคัญไดแก เงื่อนไขเกี่ยวกับผูฟอ งคดี
เงื่อนไขเกี่ยวกับการที่ไดมีการดําเนินการเพื่อแกไขความ
เดือดรอนหรือเสียหายตามขั้นตอนหรือวิธีการที่กฎหมาย
กําหนดแลว เงื่อนไขเกี่ยวกับคําฟอง และเงื่อนไขเกี่ยวกับ
ระยะเวลาการฟองคดี
เงือนไขเกียวก ับผูฟ
้ ้ องคดี
เงื่อนไขเกี่ยวกับผูฟองคดีมีสาระสําคัญวา ผูฟองคดีตองเปนผูมีสิทธิ
ฟองคดีและตองมีความสามารถในการใชสิทธิฟอ งคดีดวย
สําหรับผูมีสิทธิฟองคดีนั้น มาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติวา
“ผูใดไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดรอนหรือ
เสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดจากการกระทําหรือการงดเวนการการ
กระทําของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐหรือมีขอโตแยง
เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือกรณีอื่นใดที่อยูในเขตอํานาจศาล
ปกครองตามมาตรา ๙ และการแกไขหรือบรรเทาความเดือดรอนหรือ
ความเสียหายหรือยุตขิ อโตแยงนั้น ตองมีคําบังคับของศาลตามที่
กําหนดในมาตรา ๗๒ ผูนั้นมีสิทธิฟองคดีตอศาลปกครอง”
บทบัญญัติแหงกฎหมายดังกลาวแสดงใหเห็นวา ผูที่จะมีสิทธิฟองคดีตอศาล
ปกครอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผูที่จะมีสิทธิฟอ งคดีพพิ าทเกี่ยวกับการที่
หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวย
กฎหมาย ไมวาจะเปนการออกกฎ คําสั่ง หรือกระทําการอื่น หรือคดีพิพาท
เกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอหนาที่
ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชาเกินสมควร
ไมใชบุคคลใดก็ไดที่เห็นวาการกระทําหรือการงดเวนการกระทํานั้นไมชอบดวย
กฎหมาย แมผทู ี่จะมีสิทธิฟอ งคดีพพิ าทดังกลาวไมจําเปนตองเปนบุคคลที่สิทธิ
หรือเสรีภาพของตนถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดจากการกระทํา
หรือการงดเวนการกระทําของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ แต
ผูที่จะมีสิทธิฟองคดีพิพาทดังกลาวอยางนอยตองเปนบุคคลที่ไดรบั ความ
เดือดรอนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได
จากการกระทําหรือการงดเวนการกระทําของหนวยงานทางปกครองหรือ
เจาหนาที่ของรัฐที่เปนเหตุแหงการฟองคดี
สวนที่วาผูฟองคดีตองเปนผูมคี วามสามารถใชสิทธิฟองคดีหมายความวา ผูนั้นตองไมเปนผู
หยอนความสามารถในการใชสิทธิหรือปฏิบัตหิ นาที่ ในกรณีที่ผูมสี ิทธิฟองคดีเปนผูหยอน
ความสามารถในการใชสิทธิหรือปฏิบัติหนาที่ ผูนั้นจะฟองคดีไดตอเมื่อไดปฏิบัติตาม
บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยความสามารถ (ขอ ๒๖ วรรคหนึ่ง
ของระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด วาดวยวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓) กลาวคือ ถาผูเยาวหรือคนไรความสามารถเปนผูมีสิทธิฟองคดีก็
ตองใหผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล แลวแตกรณีฟองคดีแทน ถาคนเสมือนไร
ความสามารถเปนผูมีสิทธิฟองคดีก็ตองไดรับความยินยอมของผูพิทักษกอนจึงจะฟองคดีได
อยางไรก็ตาม ในกรณีที่เห็นสมควร ศาลปกครองอาจอนุญาตใหผูเยาวซ่งึ มีอายุไมต่ํากวาสิบ
หาปบริบูรณฟอ งคดีปกครองดวยตนเองก็ได ในกรณีเชนวานี้ พนักงานเจาหนาที่ของศาล
ปกครองตองแจงใหผูแทนโดยชอบธรรมของผูเยาวดังกลาวทราบ และศาลอาจมีคําสั่งให
ผูแทนโดยชอบธรรมนั้นหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวของใหขอเท็จจริงตอศาลเพื่อประกอบการ
พิจารณาได (ขอ ๒๗ ของระเบียบของที่ประชุมใหญในศาลปกครองสูงสุด วาดวยวิธี
พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓)
เงื่อนไขเกี่ยวกับการที่ไดมีการดําเนินการเพื่อแกไขความเดือดรอน
หรือความเสียหายตามขั้นตอนที่กฎหมายกําหนดแลว
มาตรา ๔๒ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติวา “ในกรณีที่
มีกฎหมายกําหนดขั้นตอนหรือวิธีการสําหรับการแกไขความ
เดือดรอนหรือความเสียหายในเรื่องใดไวโดยเฉพาะ การฟองคดี
ปกครองในเรื่องนั้นจะกระทําไดตอเมื่อมีการดําเนินการตาม
ขั้นตอนและวิธีการดังกลาว และไดมีการสั่งการตามกฎหมาย
นั้น หรือมิไดมีการสั่งการภายในเวลาอันสมควรหรือภายในเวลา
ที่กฎหมายนั้นกําหนด”
ตัวอยางของเรื่องทีม่ ีกฎหมายกําหนดขั้นตอนหรือวิธกี ารสําหรับการแกไข
ความเดือดรอนหรือความเสียหายไวโดยเฉพาะไดแก คําสั่งทางปกครอง
ซึ่งโดยปกติแลว “คูกรณี” มีสิทธิอุทธรณโตแยงไดตามขั้นตอนและ
ระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด ดังนั้น คูกรณี ซึ่งเปนผูที่ไดรับความเดือดรอน
หรือเสียหายจากคําสั่งทางปกครองจะใชสิทธิฟองขอใหศาลปกครองเพิก
ถอนคําสั่งนั้นหรือฟองคดีละเมิดอันเกิดจากคําสั่งนั้นไดตอเมื่อไดอุทธรณ
คําสั่งนั้นตามขั้นตอนหรือวิธกี ารที่กฎหมายกําหนด และผูมีอํานาจหนาที่ใน
การวินิจฉัยอุทธรณไดมีคาํ วินิจฉัยอุทธรณแลวหรือมิไดมีคําวินิจฉัยอุทธรณ
ภายในระยะเวลาอันสมควรหรือภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด หาก
ยังไมไดอุทธรณหรือไดอุทธรณแลวแตยังไมมคี ําวินิจฉัยอุทธรณและ
ระยะเวลาที่ผูมีอํานาจหนาทีพ่ ิจารณาอุทธรณตองพิจารณาอุทธรณใหแลว
เสร็จยังไมลวงพนไป ผูมสี ิทธิฟองคดียงั ไมอาจใชสิทธิฟองคดีได
เงือนไขเกียวก ับระยะเวลาการฟ้องคดี
โดยหลักแลว การฟองคดีตอศาลปกครองตองยื่นฟองภายใน
ระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด (ขอ ๓๐ วรรคหนึ่ง ของระเบียบ
ของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด วาดวยวิธี
พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๘๔๓) เวนแตการฟองคดีที่
เกี่ยวกับการคุมครองประโยชนสาธารณะหรือสถานะของบุคคล
ที่ผูมีสิทธิฟองคดีจะยื่นฟองเมื่อใดก็ได (มาตรา ๕๒ วรรคหนึ่ง
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒) ระยะเวลาในการฟองคดีปกครองแตละ
ประเภทสั้นยาวแตกตางกัน ดังนี้
- การฟองคดีปกครองประเภทที่หนึ่ง ตองยื่นฟองภายในเกาสิบวันนับแตวันที่รู
หรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี เวนแตจะมีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดไวเปน
อยางอื่น (มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒)
- การฟองคดีปกครองประเภทที่สอง ตองยื่นฟองภายในเกาสิบวันนับแตวันที่
พนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่ผูฟองคดีไดมีหนังสือรองขอตอหนวยงานทาง
ปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐเพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด และ
ไมไดรบั หนังสือชี้แจงจากหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐหรือ
ไดรับแตเปนคําชี้แจงที่ผูฟอ งคดีเห็นวาไมมีเหตุผล แลวแตกรณี เวนแตจะมี
บทกฎหมายเฉพาะกําหนดไวเปนอยางอื่น (มาตรา ๔๙ แหงพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒)
- การฟองคดีปกครองประเภทที่สาม ตองยื่นฟองภายในหนึ่งปนับแตวันที่รูหรือ
ควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี แตไมเกินสิบปนับแตวนั ที่มีเหตุแหงการฟองคดี
(มาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒) เวนแตจะมีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดไวเปนอยางอื่น
- การฟองคดีปกครองประเภทที่สี่ ตองยื่นฟองภายในหาปนับแตวันที่รูหรือควรรู
ถึงเหตุแหงการฟองคดี แตไมเกินสิบปนับแตวันที่มีเหตุแหงการฟองคดี (มาตรา
๕๑ แหงพระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติมโดพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๕๑)
- การฟองคดีประเภทที่หาและประเภทที่หกก็ยอมตองยื่นฟองภายในระยะเวลา
ที่บทกฎหมายเฉพาะกําหนดไวเปนสําคัญ
ล ักษณะเฉพาะของกระบวนการ
ยุตธ
ิ รรมทางปกครอง

อํานวยความยุติธรรมเกี่ยวกับขอพิพาททาง
ปกครอง โดยมุงใหเกิดความสมดุลในการ
คุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและการ
ดําเนินงานของรัฐเพื่อประโยชนสาธารณะ
ล ักษณะเฉพาะของกระบวนการยุตธ
ิ รรมทางปกครอง
โดยที่คดีปกครองในสวนที่เปนขอพิพาทระหวางรัฐกับเอกชนนั้น เอกชน
เสียเปรียบในปญหาขอกฎหมายซึ่งมีกฎหมายใชบังคับอยูในปจจุบันเปน
จํานวนมาก เจาหนาที่ของรัฐยอมทราบดีถึงรายละเอียดในกฎหมายแตเอกชนไม
ทราบ จะใหคูความระวังรักษาผลประโยชนกันเองอยางในคดีแพงนั้นยอมไมเปน
การถูกตอง และเอกชนยังเสียเปรียบในปญหาขอเท็จจริงเพราะเอกสาร
ตนเรื่องตาง ๆ ลวนเก็บไวท่ฝี ายปกครองทั้งสิ้น เปนการเกินกําลังที่เอกชนหรือ
ทนายความทั่วไปจะหยั่งทราบถึงรายละเอียดเหลานั้น การไดเปรียบเสียเปรียบ
เชิงคดีนี้จึงตองขจัดปดเปาไปเพื่อใหเริ่มตนคดีในชั้นพิจารณาคดีของศาลไดโดย
ไมมขี อไดเปรียบเสียเปรียบดังกลาว กอนที่จะผานไปสูขั้นตอนการนั่งพิจารณา
คดีของศาลในรูปองคคณะจึงตองมีการดําเนินการตามขั้นตอน 2 ประการที่มี
ลักษณะเฉพาะของศาลปกครอง คือ “การแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดี การ
จัดทําคําแถลงการณของตุลาการผูแถลงคดี ” เสียกอน
การดําเนินกระบวนพิจารณาคดีของศาลปกครองอาจแยกออก
ไดเปน ๖ ขั้นตอน คือ การตรวจคําฟอง การแสวงหาขอเท็จจริง
แหงคดี การจัดทําคําแถลงการณของตุลาการผูแถลงคดี การ
นั่งพิจารณาคดี การประชุมปรึกษาคดี และการอานผลแหงคํา
พิพากษา
แตกระบวนพิจารณาที่แสดงใหเห็นถึงลักษณะเดนของวิธี
พิจารณาคดีของศาลปกครองที่สมควรกลาวถึงมีอยู ๒ ขั้นตอน
ไดแก การแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดีและการจัดทําคํา
แถลงการณของตุลาการผูแถลงคดี
ขั้นตอนการสอบสวนและสรุปสํานวนโดยตุลาการเจาของสํานวน โดยกฎหมาย
กําหนดใหตุลาการเจาของสํานวนทําหนาที่ตรวจสอบและเสนอความเห็นใน
ขอเท็จจริงและขอกฎหมายตอองคคณะพิจารณาพิพากษา
จากนั้น กอนวันนั่งพิจารณาคดี ใหตุลาการเจาของสํานวนสงมอบสํานวนคดีให
ตุลาการผูแถลงคดีพิจารณาและใหผูแถลงคดีปกครองจัดทําสรุปขอเท็จจริง ขอ
กฎหมาย และความเห็นของตนในการวินิจฉัยคดีนั้นเสนอตอองคคณะพิจารณา
พิพากษา และใหมาชี้แจงดวยวาจาตอองคคณะพิจารณาพิพากษาในวันนั่ง
พิจารณาคดีนั้น และใหมีสิทธิอยูรวมในการพิจารณาและในการประชุมปรึกษา
เพื่อพิพากษาคดีนั้นได แตไมมีสิทธิออกเสียงในการวินิจฉัยคดีนั้น
ในการพิจารณาคดี ใหองคคณะพิจารณาพิพากษาคดีจัดใหมีการนั่งพิจารณาคดี
อยางนอยหนึ่งครั้งเพื่อใหคูกรณีมีโอกาสมาแถลงดวยวาจาตอหนาองคคณะ
พิจารณาพิพากษา
มาตรา ๖๑ ใหตุลาการศาลปกครองคนหนึ่งคนใดซึ่งไดรับมอบหมายจากองคคณะมีอํานาจ
ดังตอไปนี้
(๑) มีคําสั่งเรียกใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของชี้แจงขอเท็จจริง
หรือใหความเห็นเปนหนังสือเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหนวยงานทางปกครองหรือของเจาหนาที่ของ
รัฐที่เกี่ยวของ
(๒) มีคําสั่งเรียกใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐสงวัตถุ เอกสาร หรือ
พยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของ หรือใหความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใด หรือสงผูแทนหรือเจาหนาที่ของรัฐ
ในหนวยงานทางปกครองนั้นมาชี้แจงหรือใหถอยคําประกอบการพิจารณา
(๓) มีคําสั่งเรียกใหคกู รณีมาใหถอยคําหรือนําพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณา
(๔) มีคําสั่งเรียกใหบุคคลที่เกี่ยวของกับคดีมาใหถอยคํา หรือใหสง พยานหลักฐานมา
ประกอบการพิจารณา
(๕) ไตสวนหรือมีคําสั่งในเรื่องใดที่มใิ ชการวินจิ ฉัยชี้ขาดคดี ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในระเบียบ
ของที่ประชุมใหญตลุ าการในศาลปกครองสูงสุด
ในกรณีจําเปน ตุลาการศาลปกครองหรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากตุลาการศาลปกครองมี
อํานาจไปตรวจสอบสถานที่ บุคคล หรือสิ่งอื่นใดเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได
กระบวนการยุตธ
ิ รรมทางปกครองเป็นอย่างไร
ใชวิธีพิจารณาคดีดวยระบบไตสวน
บทบาทของตุลาการเจาของสํานวน
บทบาทของตุลาการผูแถลงคดี
การทําคําฟอง
การทําคําใหการ
การทําคําคัดคานการใหการ
การทําคําใหการเพิ่มเติม
ขั้นตอนตางๆ ที่ตามมาในการพิจารณาพิพากษาคดี
กฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาคดีปกครองของศาลปกครองไทยก็
ไดกําหนดใหระบบการแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดีเปนไปตาม
ระบบไตสวน โดยมาตรา ๕๕ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาล
ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติวา
“ในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลปกครองอาจตรวจสอบและ
แสวงหาขอเท็จจริงไดตามความเหมาะสม ในการนี้ ศาล
ปกครองจะรับฟงพยานบุคคล พยานเอกสาร พยาน
ผูเชี่ยวชาญ หรือพยานหลักฐานอื่นนอกเหนือจาก
พยานหลักฐานของคูกรณีไดตามที่เห็นสมควร”
การแสวงหาข้อเท็จจริงแห่งคดี
การแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดีถือเปนขั้นตอนที่สําคัญ
ของการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลทุกศาล ทั้งนี้
เพราะวากอนที่จะตัดสินชี้ขาดคดีได ศาลจะตอง
ตรวจสอบใหไดความเปนยุติวา ขอเท็จจริงแหงคดีนั้นมีอยู
อยางไร ระบบการแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดีในกฎหมาย
วาดวยวิธีพิจารณาความเปรียบเทียบมี ๒ ระบบ คือ
ระบบกลาวหา (Accusatorial System) กับระบบไต
สวน (Inquisitorial System)
ตามระบบกลาวหา คูความหรือคูกรณีมีหนาที่ตองเสนอ
ขอเท็จจริงแหงคดีตอศาล คูความฝายใดกลาวอางขอเท็จจริงใดเพื่อ
สนับสนุนขออางขอเถียงของตน คูความฝายนั้นมีหนาที่ตองพิสูจน
ความมีอยูของขอเท็จจริงนั้น และศาลก็จะตองพอใจอยูแตเฉพาะกับ
ขอเท็จจริงที่คูความแตละฝายกลาวอางและพยานหลักฐานที่คูความ
นําสืบเทานั้น จะแสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน
นอกเหนือจากที่คูความกลาวอางและนําสืบไมได ในระบบนี้ศาลจึงมี
บทบาทเปนแตเพียงผูกํากับดูแลใหการเสนอขอเท็จจริงและ
พยานหลักฐานของคูความอยูภายในกรอบของกฎหมายเทานั้น ไมมี
บทบาทในการแสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานแตอยางใด
แตตามระบบไตสวนนั้น ศาลจะเปนผูรับผิดชอบ
ดําเนินการแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดี โดยความ
รวมมือของคูความหรือคูกรณี ดังนั้น ศาลจึงไม
จําตองผูกพันอยูกับขอเท็จจริงที่คูความกลาวอางเพื่อ
สนับสนุนขออางขอเถียงของตนและพยานหลักฐานที่
คูความนําสืบ แตอาจแสวงหาขอเท็จจริงและ
พยานหลักฐานเพิ่มเติมไดตามที่เห็นสมควร
แตไมวาจะใชระบบกลาวหาหรือระบบไตสวนก็ตาม ศาลก็ตอง
เคารพและปฏิบตั ิตาม “หลักการฟงความทุกฝาย” (audi
alteram patem) กลาวคือตองเปดโอกาสใหคูความแตละ
ฝายไดทราบถึงขออางขอเถียงของอีกฝายหนึ่ง และใหคูความ
แสดงพยานหลักฐานของตนเพื่อยืนยันขอเท็จจริงที่ตนกลาวอาง
และหรือหักลางขอเท็จจริงที่อีกฝายหนึ่งกลาวอาง ที่สําคัญคือ
เฉพาะแตขอเท็จจริงและพยานหลักฐานที่คูความมีโอกาสได
ทราบและยืนยันหรือหักลางแลวเทานั้นที่ศาลนํามาใชรับฟงใน
การพิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งชี้ขาดคดีได
เนื่องจากศาลปกครองไมเพียงแตจะมีบทบาทในการใหความคุมครอง
เอกชนจากการใชอํานาจตามอําเภอใจของหนวยงานทางปกครองและ
เจาหนาที่ของรัฐเทานั้น หากแตยังมีบทบาทในการพิทักษรักษา
ประโยชนสาธารณะหรือประโยชนสวนรวมอีกดวย ดังนั้น กฎหมายวิธี
พิจารณาคดีปกครองของประเทศตางๆ สวนใหญแลวจะใชระบบไต
สวน ทั้งนี้ เพื่อใหศาลปกครองสามารถแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดีและ
พยานหลักฐานที่จําเปนแกการพิสูจนขอเท็จจริงแหงคดีใหไดมากที่สุด
และอยางรอบดานที่สุด อันจะทําใหศาลอยูในวิสัยที่จะพิพากษาคดี
ปกครองไดอยางยุติธรรม กลาวคือกอใหเกิดดุลยภาพระหวางประโยชน
สาธารณะกับประโยชนของเอกชน
กฎหมายวาดวยวิธีพจิ ารณาคดีปกครองของศาลปกครองไทยก็ไดกําหนดให
ระบบการแสวงหาขอเท็จจริงแหงคดีเปนไปตามระบบไตสวน โดยมาตรา ๕๕
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
บัญญัติวา “ในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลปกครองอาจตรวจสอบและ
แสวงหาขอเท็จจริงไดตามความเหมาะสม ในการนี้ ศาลปกครองจะรับฟง
พยานบุคคล พยานเอกสาร พยานผูเชี่ยวชาญ หรือพยานหลักฐานอื่น
นอกเหนือจากพยานหลักฐานของคูกรณีไดตามที่เห็นสมควร” และขอ ๕๐ ของ
ระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด วาดวยวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ กําหนดวา “ในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลมีอาํ นาจ
แสวงหาขอเท็จจริงไดตามความเหมาะสม ในการนี้ ศาลอาจแสวงหา
ขอเท็จจริงจากพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานผูเชี่ยวชาญ หรือ
พยานหลักฐานอื่นนอกเหนือจากพยานหลักฐานของคูกรณีท่ปี รากฏในคําฟอง
คําใหการ คําคัดคานคําใหการ หรือคําใหการเพิ่มเติม ...” และผลแหง
บทบัญญัติแหงกฎหมายและระเบียบดังกลาวจึงมีวา
- ศาลเปนผูวิเคราะหคําฟองวาเปนคําฟองคดีขอหาใด ขออาง
สนับสนุนขอหามีวาอยางไร และมีคําขอใหศาลกําหนดคําบังคับ
อยางไร จากนั้น ศาลก็จะเปนผูสงสําเนาคําฟองใหผูถกู ฟองคดี
จัดทําคําใหการโดยกําหนดประเด็นใหผูถูกฟองคดีใหการและ
แสดงพยานหลักฐาน ทั้งนี้ ภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนด และ
เมื่อไดรับคําใหการแลว ศาลจะเปนผูวิเคราะหคาํ ใหการและสง
สําเนาคําใหการใหผูถูกฟองคดีจัดทําคําคัดคานคําใหการโดย
กําหนดประเด็นใหผูฟองคดีคดั คานคําใหการและแสดง
พยานหลักฐานภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนด ศาลจะไมปลอย
ใหคูความวิเคราะหคําคูความตามยถากรรม
- ในกรณีที่ผูถูกฟองคดีไมย่นื คําใหการภายในระยะเวลาที่กําหนด
กฎหมายถือวาผูถูกฟองคดียอมรับขอเท็จจริงตามขอหาของผูฟองคดี
และในกรณีที่ผูฟองคดีไมทําคําคัดคานคําใหการยื่นตอศาลภายใน
ระยะเวลาที่กําหนด ทั้งไมไดแจงเปนหนังสือใหศาลทราบวาประสงค
จะใหพิจารณาพิพากษาคดีตอไป ศาลอาจสั่งจําหนายคดีออกจากสา
รบบความโดยไมตัดสินชี้ขาดคดีเสียได
- ศาลมีอํานาจตรวจสอบและแสวงหาขอเท็จจริงไดตามความ
เหมาะสม โดยจะรับฟงพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานผูเชี่ยวชาญ
หรือพยานหลักฐานอื่นนอกเหนือจากพยานหลักฐานของคูกรณีที่
ปรากฏในคําคูความโดยไมจําตองพอใจอยูแตเฉพาะกับพยานหลักฐาน
เหลานั้นเทานั้น
- ในการแสวงหาขอเท็จจริง ถาตองมีการใหถอ ยคํา
ของคูกรณี พยาน หรือบุคคลใดๆ ศาลเปนผูซักถาม
พยาน
- ศาลเปนผูวินิจฉัยวาคดีมีขอเท็จจริงเพียงพอที่จะ
พิพากษาหรือมีคําสั่งชี้ขาดคดีไดแลว และกําหนดวัน
สิ้นสุดการแสวงหาขอเท็จจริง
อยางไรก็ตาม ระบบไตสวนไมไดหมายความวาคูกรณี โดยเฉพาะอยางยิ่ง
คูกรณีที่เปนเอกชนไมตองแสดงพยานหลักฐานใดๆ เพื่อพิสูจนขอเท็จจริงที่
ตนกลาวอางสนับสนุนขออางขอเถียงของตนเลย ดังที่เขาใจกัน ตรงกัน
ขาม คูกรณีฝายที่กลาวอางขอเท็จจริงใดๆ เพื่อสนับสนุนขออางขอเถียง
ของตนมีหนาที่ตองเสนอพยานหลักฐานเพื่อพิสจู นขอเท็จจริงนั้นใน
เบื้องตนจนมีเหตุอันควรเชื่อไดวาขอเท็จจริงนั้นมีมูลวาเปนเรื่องจริง ศาลจึง
จะผลักภาระการพิสูจนใหแกหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
ดังนั้น ในกรณีที่ผูถูกฟองคดีไมยื่นคําใหการภายในระยะเวลาที่กฎหมาย
กําหนด บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใหถือวาผูถูกฟองคดียอมรับขอเท็จจริง
ตามขอหาของผูฟองคดีตามที่กลาวมาขางตน จึงหมายถึงขอเท็จจริงที่มี
พยานหลักฐานสนับสนุนในเบื้องตนจนมีเหตุอันควรเชื่อไดวาขอเท็จจริงนั้น
มีมูลวาเปนเรื่องจริง ไมใชขอ เท็จจริงที่กลาวอางลอยๆ ปราศจาก
พยานหลักฐานใดๆ สนับสนุนเลย
การจ ัดทําคําแถลงการณ์ของตุลาการผูแ ้ ถลงคดี
กฎหมายวาดวยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
กําหนดใหมีตุลาการศาลปกครองคนหนึ่ง ซึ่งมิใชตุลาการในองคคณะที่ไดรับ
มอบหมายใหรับผิดชอบพิจารณาพิพากษาคดี เรียกวา “ตุลาการผูแถลงคดี” มี
หนาที่จัดทําสรุปขอเท็จจริง ขอกฎหมาย และความเห็นในการวินิจฉัยคดี
เรียกวา “คําแถลงการณ” เสนอตอองคคณะที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ
พิจารณาพิพากษาคดีนั้น เพื่อประกอบการพิจารณาพิพากษาขององคคณะ คํา
แถลงการณของตุลาการผูแถลงคดีนไี้ มผูกพันองคคณะใหตอ งตัดสินชี้ขาดคดี
ตามที่เสนอแมแตนอ ย องคคณะจะตัดสินชี้ขาดคดีโดยคลอยตามคําแถลงการณ
ของตุลาการผูแถลงคดีหรือไมเพียงใดขึ้นอยูกับเหตุผลที่ตุลาการผูแถลงคดีแสดง
ไวในคําแถลงการณวาหนักแนนเพียงใด แตอยางไรก็ตาม ตุลาการผูแถลงคดีก็
เปนสถาบันที่กฎหมายกําหนดใหมีขึ้นเพื่อคานอํานาจตัดสินชี้ขาดคดีขององค
คณะ ปองปรามมิใหองคคณะตัดสินชี้ขาดคดีตามอําเภอใจหรือปราศจากเหตุผล
อันควรคาแกการรับฟง

You might also like