You are on page 1of 37

ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม

ว่าด้วยงานธุรการเกี่ยวกับสานวนความและเอกสาร
พ.ศ. ๒๕๕๗
-------------------------------------------------------------------------------
----

1.ระเบียบนีเ้ รียกว่า
ตอบ “ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยงาน
ธุรการเกี่ยวกับสำนวนความและเอกสารพ.ศ. 2557”
การจัดทำสำนวนความ
1. ให้แยกสำนวนความให้แยกตามสิ่งใด
ตอบตามประเภทคดีโดยใช้อักษรย่อนำหน้าหมายเลขคดี
2. การใช้อักษรย่อนำหน้าหมายเลขคดีให้เป็ นไปตามประกาศใด
ตอบ ประกาศสำนักงานศาลยุติธรรม
3. ในกรณีที่ประกาศสำนักงานศาลยุตธิ รรมยังไม่ได้กำหนดอักษรย่อ
ของคดีประเภทใดไว้ให้ดำเนินการอย่างไร
ตอบ ให้หัวหน้าส่วนราชการศาลยุตธิ รรมกำหนดอักษรย่อของคดี
ประเภทนัน
้ ใช้ไปพลางก่อนแล้วแจ้งเลขาธิการสำนักงานศาลยุตธิ รรม
เพื่อพิจารณาดำเนินการออกประกาศตามวรรคสองต่อไป
4.การจัดทำสำนวนความให้จัดเรียงอย่างไร
ตอบ จัดเรียงตามลำดับเวลาวันเดือนและปี ที่เข้าสู่สานวนความ
โดยให้มีปกหน้าสำนวนและปิ ดท้ายด้วยปกหลังสานวนโดยให้เรียงปก
หน้า ปกใน บัญชีค่าฤชาธรรมเนียม สารบัญ

การเก็บสานวนความและเอกสาร
5. การเก็บรักษาสำนวนความให้ปฏิบัตอ
ิ ย่างไร
ตอบ(1) ให้เก็บสำนวนความที่ห้องเก็บสำนวนสำนวนความที่
ปฏิบัติงานเสร็จแล้วให้ส่งคืนห้องเก็บสำนวนทุกครัง้ กรณีที่ต้องมีการ
ปฏิบัติงานต่อให้ส่งสำนวนความไปยังงานที่ต้องปฏิบต
ั ิงานต่อโดยให้มี
หลักฐานการรับส่งหรือยืมสานวน
(2) ในการควบคุมและเก็บรักษาสำนวนความให้จัดทำบัญชีรับ
ส่งหรือยืมสำนวนโดยอย่างน้อยมีช่องรายการเลขคดีช่ อ
ื คู่ความวัน
เดือนปี ที่รับส่งงานที่รับสำนวนความและรายการสำหรับผู้รับและผู้ส่ง
ลงลายมือชื่อ
(3) ให้จัดเก็บสำนวนความในชัน
้ เก็บหรือตู้เก็บสำนวนโดยแยก
สำนวนเรียงตามลำดับเลขคดีและปี พ.ศ. หรือเรียงตามวันนัดจัดทำ
บันทึกการควบคุมสำนวนโดยลงวันที่จัดเก็บในสมุดคุมสำนวนหรือ
คอมพิวเตอร์และบันทึกการควบคุมสำนวนติดด้านหลังปกหลังสำนวน
ก่อนจัดเก็บ
(4) ให้งานที่ครอบครองสานวนความระมัดระวังรักษาสานวน
ความและเอกสารให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยหากชารุดหรือฉีกขาดให้
ซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพเรียบร้อยก่อนจัดเก็บหรือส่งมอบให้งานอื่น
ปฏิบัติต่อไป
6. การเก็บรักษาเอกสารและพยานวัตถุที่มีการแยกเก็บให้ปฏิบัติ
อย่างไร
ตอบเจ้าหน้าที่งานเก็บเอกสารหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(1) ให้จัดทำทะเบียนหรือบันทึกการควบคุมสำนวนการรับและ
ส่งเอกสารและพยานวัตถุโดยบันทึกรายการเอกสารและพยานวัตถุ
เลขเก็บที่ปีที่หมายเลขคดีดำคดีแดงชื่อคู่ความวันที่ลงทะเบียนรับ
เอกสารในสมุดทะเบียนหรือบันทึกการควบคุมสำนวน
(2) ให้ตรวจสอบเอกสารและพยานวัตถุที่ศาลสั่งแยกเก็บให้ถูก
ต้องครบถ้วนแล้วจัดเรียงตามลำดับแยกเป็ น
- เอกสารโจทก์โจทก์ร่วมจำเลยจำเลยร่วมผู้ร้องผู้คัดค้าน
และจัดทำสารบาญ (3) โดยบันทึกรายการเอกสารและพยานวัตถุเช่น
หมายจ. และหมายล. ให้ถูกต้องตรงตามคำสั่งศาลบันทึกเลขอันดับ
จำนวนแผ่นให้ถูกต้องตรงกับเอกสารในสำนวนบันทึกหมายเลขกำกับ
แต่ละปึ กบันทึกหมายเลขคดีดำคดีแดงลงบนหัวกระดาษแบบสารบาญ
ประทับตรายางวันที่จัดเก็บไว้ท้ายรายการเอกสารในสารบาญทุกครัง้ ที่
จัดเก็บพร้อมทัง้ บันทึกเลขเก็บที่ปีที่จำนวนแผ่นปึ กที่จัดเก็บวันที่จัดเก็บ
และลงลายมือชื่อผู้จัดเก็บไว้ท้ายรายงานกระบวนพิจารณาคำร้อง
คำแถลงท้ายหนังสือนำส่งแล้วแต่กรณีให้เรียบร้อย
(3) ให้จัดทำซองหรืออุปกรณ์ใส่เอกสารหรือพยานวัตถุโดย
บันทึกรายการดังต่อไปนี ้
-เลขเก็บที่ปีที่
- หมายเลขคดีดำคดีแดง
- ชื่อโจทก์จำเลย
-และจำนวนเอกสารไว้ที่หน้าซองหรืออุปกรณ์
เก็บเอกสารให้ถูกต้องครบถ้วนจัดเก็บเอกสารแยกเก็บใส่ซองหรือ
อุปกรณ์หรือนำเอกสารกับพยานวัตถุเข้าเก็บในห้องเก็บเอกสารโดย
เรียงเข้าชัน
้ หรือตู้เก็บตามลำดับหมายเลขที่จัดเก็บของแต่ละปี จาก
น้อยไปหามากหากเอกสารหรือพยานวัตถุนน
ั ้ ไม่อาจจัดเก็บในซองหรือ
อุปกรณ์หรือเก็บรวมเข้าชัน
้ หรือตู้เก็บตามปกติได้ให้แยกเก็บไว้ตา่ งหาก
โดยหมายเหตุในทะเบียนหรือบันทึกการควบคุมสำนวนว่าได้แยกเก็บ
ไว้ที่ใดจำนวนเท่าใดและลงลายมือชื่อผู้จัดเก็บ
(4) เอกสารที่เป็ นหลักประกันเช่นสมุดเงินฝากโฉนดที่ดินน.ส.
๓พันธบัตรกรมธรรม์ประกันอิสรภาพให้จัดทำทะเบียนคุมเพื่อบันทึก
รายการดังต่อไปนี ้
- เลขเก็บหลักประกัน
- วันที่ลงทะเบียนรับหลักประกัน
- หมายเลขคดีคำคดีแดง
- ชื่อคู่ความ
- ประเภทและจานวนหลักประกัน
ไว้ที่หน้าซองเก็บหลักประกันให้ถูกต้องครบถ้วนและลงลายมือชื่อผู้จัด
เก็บแล้วนำซองหลักประกันเข้าเก็บในตูเ้ ก็บหลักประกันเรียงตาม
หมายเลขที่จัดเก็บของแต่ละปี จากน้อยไปหามาก
(5) เอกสารและพยานวัตถุที่ส่งมาจากหน่วยงานหรือบุคคลอื่น
ซึ่งศาลยังไม่ได้หมายให้บน
ั ทึกรายการดังต่อไปนี ้
- รายการเอกสารและพยานวัตถุ
- หน่วยงานหรือบุคคลที่ส่ง
- เลขทะเบียน
- วันที่ส่ง
- จำนวนแผ่นของเอกสารที่ส่ง
แล้วให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการจัดเก็บเอกสารและพยานวัตถุข้างต้น
(6) ให้จัดทำบัญชีรับส่งหรือยืมเอกสารหรือพยานวัตถุโดยอย่าง
น้อยมีช่องรายการดังต่อไปนี ้
- รายการเลขคดี
- ชื่อคู่ความ
- วันเดือนปี ที่รับส่ง
- งานที่รับเอกสารหรือพยานวัตถุ
- และรายการสำหรับผู้รับและผู้ส่งลงลายมือชื่อ
(7) ให้ตรวจสอบความมีอยู่และความสมบูรณ์ของเอกสารและ
พยานวัตถุหากพบความไม่สมบูรณ์ของเอกสารหรือพยานวัตถุให้
รายงานตามลำดับชัน
้ ถึงหัวหน้าส่วนราชการศาลยุติธรรมทราบโดย
ทันที

การรับส่งสานวนความและเอกสาร
7.การรับส่งสานวนความและเอกสารระหว่างศาลโดยทางไปรษณีย์
ตอบให้ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
8. การรับส่งสานวนความและเอกสารระหว่างศาลโดยทางไปรษณีย์ให้
ดำเนินการอย่างไร
ตอบ(1) เมื่อศาลชัน
้ ต้นจะส่งสำนวนความและเอกสารไปยัง
ศาลอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ภาคหรือศาลฎีกาให้ทำใบส่งสำนวน (แบบก)
และใบรับสานวน (แบบข) ตามแบบท้ายระเบียบนีป
้ ระจำทุกสำนวน
แล้วส่งสำนวนโดยใส่ถุงสำนวนและประทับตราครั่งหรือวัตถุอ่ น
ื ใน
ลักษณะเดียวกันเมื่อศาลอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ภาคหรือศาลฎีกาได้ตรวจ
รับสานวนถูกต้องแล้วให้เก็บใบส่งสำนวน (แบบก) ไว้เป็ นหลักฐานและ
ส่งคืนใบรับสำนวน (แบบข) ไปยังศาลเดิม
(2) เมื่อศาลอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ภาคหรือศาลฎีกาจะส่งสำนวน
ความไปยังศาลชัน
้ ต้นให้ทำเช่นเดียวกันกับการส่งสำนวนความและ
เอกสารไปยังศาลอุทธรณ์ฯ
(3) การเปิ ดถุงสำนวนและการลงชื่อเป็ นผู้รับในใบรับสำนวน
(แบบข)สำหรับศาลชัน
้ ต้นศาลอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ภาคหรือศาลฎีกา
ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้อานวยการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
(4) การส่งใบรับสำนวน (แบบข) คืนศาลเดิมให้ผู้อานวย
การหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับสำนวนมีหน้าที่ส่งคืนทันทีเพื่อศาลที่
ส่งสำนวนจะได้ทราบว่าสำนวนดังกล่าวถึงผู้รับแล้ว
หากศาลที่ส่งสานวนไม่ได้รับใบรับสานวน (แบบข) คืน
ภายในสิบสีว่ ันนับแต่วน
ั ที่ส่งสานวนให้ทวงถามไปยังศาลที่รับสานวน
ทันที
9.การส่งสำนวนความและเอกสารระหว่างศาลโดยเจ้าหน้าที่ให้นำ
ความในข้อ 7 มาใช้บังคับโดยอนุโลมและให้ศาลที่ส่งสำนวนความจัด
ทาบัญชีส่งสำนวนให้เจ้าหน้าที่รับสำนวนลงลายมือชื่อวงเล็บชื่อและชื่อ
สกุลกำกับไว้พร้อมวันเดือนปี ที่รับสำนวนในบัญชีส่งสำนวนนัน
้ ด้วย
10. การจัดทำบัญชีคุมการรับส่งสำนวนความให้ทำรายการใดบ้าง
ตอบ - รายการชื่อศาลที่รับหรือศาลที่ส่งสำนวนความ
- เลขที่หนังสือรับหรือส่ง
- หมายเลขคดี
- ชื่อคู่ความ
- วันเดือนปี ที่รับหรือส่งเลขเอกสารแยกเก็บลงลายมือชื่อ
ของผู้รับ
และให้ผู้อำนวยการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายประสานงานและตรวจ
สอบว่าได้มีการรับส่งสำนวนความโดยถูกต้องและรวดเร็วและเมื่อรับ
สำนวนความแล้วให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อดำเนินการต่อไป
11. ใครคือผู้มีหน้าที่ตรวจสอบสำนวนความและเอกสารก่อนส่งไป
ยังศาลอื่นหรือเมื่อได้รับสำนวนความและเอกสารจากศาลอื่น
ตอบผู้อำนวยการหรือผู้ได้รับมอบหมาย
12.ให้ศาลชัน
้ ต้นจัดทำบัญชีคดีค้างอยู่ที่ศาลอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์
ภาคหรือศาลฎีกาส่งไปให้ศาลดังกล่าวตรวจสอบภายใน?
ตอบเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
13.เมื่อศาลอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ภาคหรือศาลฎีกาตรวจสอบแล้วให้
แจ้งให้ศาลชัน
้ ต้นทราบภายใน?
ตอบหนึ่งเดือนนับแต่วน
ั ที่ได้รับบัญชีคดีค้างจากศาลชัน
้ ต้น

การเก็บรักษาซองคำพิพากษาหรือคำสั่ง
14.เมื่อศาลชัน
้ ต้นได้รับสำนวนความพร้อมซองคำพิพากษาหรือคำสั่ง
จากศาลอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ภาคหรือศาลฎีกาให้ปฏิบัติอย่างไร
ตอบ (1) ให้ตรวจดูความถูกต้องและความสมบูรณ์ของซองคำ
พิพากษาหรือคำสั่งรวมทัง้ ตรวจดูเลขที่คำพิพากษาหรือคาสัง่ ให้ตรงกับ
หนังสือนำส่ง
(2) ให้จัดทำทะเบียนแยกเก็บซองคำพิพากษาหรือคำสั่งโดย
อย่างน้อยมีรายการชื่อศาลที่ส่งเลขที่หนังสือรับหรือส่งหมายเลขคดี
เลขซองคำพิพากษาหรือคำสั่งวันเดือนปี ที่รับหรือส่งและลงลายมือชื่อ
ผู้รับและส่ง
(3) ให้บน
ั ทึกหมายเลขคดีช่ อ
ื คู่ความที่หน้าซองคำพิพากษา
หรือคำสั่งและนำซองดังกล่าวมอบให้ผู้อำนวยการหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้
รับมอบหมายเก็บรักษาในตู้นิรภัยของศาลทันที
(4) กรณีที่มีการเลื่อนการอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ส่ง
ซองคำพิพากษาหรือคำสัง่ คืนผู้อำนวยการหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบ
หมายทันทีโดยให้มีหลักฐานการรับส่งไว้เว้นแต่หวั หน้าส่วนราชการ
ศาลยุติธรรมจะมีคำสั่งเป็ นอย่างอื่น
(5) ให้ผู้อำนวยการหรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายตรวจ
สอบทะเบียนและซองคำพิพากษาหรือคำสั่งถ้ามีการเลื่อนการอ่าน
ตัง้ แต่ครัง้ ที่สองเป็ นต้นไปหรือค้างอ่านเกินกำหนดสามเดือนนับแต่วน

รับให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการศาลยุตธิ รรมทราบเพื่อแจ้งให้ศาล
อุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ภาคหรือศาลฎีกาแล้วแต่กรณีทราบ

การดำเนินการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
การดำเนินการเกี่ยวกับสำนวนความและเอกสารตามระเบียบนี ้
จะกระทำด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนก็ได้ทงั ้ นีต
้ ามที่สำนักงานศาล
ยุติธรรมกำหนด
15. ระบบอิเล็กทรอนิกส์ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
ตอบต้องสามารถเก็บรักษาข้อมูลให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะสืบค้น
และนำกลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลงทัง้ ต้องมีความ
ปลอดภัยในการเก็บรักษาอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานด้วยแบบก.
ใบส่งสำนวน
ศาล/สานักงาน..............................................
วันที่........เดือน..............................พ.ศ. ..........

ได้สง่ สานวนมายังศาล/สา
นักงาน..........................................................ตามรายการดังนี ้
หมายเลข โจทก์ จำเลย เรื่อง หมายเหตุ
คดีแดง

(ลงชื่อ)..................................................ผู้อานวยการ/ผู้แทน (ผู้ส่ง)
(.................................................)
...............................................................................................................
....................................
แบบข.
ใบรับสำนวน
เรียนผู้อานวยการ
ศาล/สานักงาน..........................................................ได้
รับ......................................................
คดีหมายเลขแดงที่..................................ตามหนังสือ
ที่.............................ลงวันที่.................................
ไว้แล้วตัง้ แต่วันที่....................................................................................
(ลงชื่อ)...............................................ผู้อานวยการ/ผู้แทน (ผู้รับ)
(................................................)
...............................................................................................................
......
แบบพิมพ์ศาล
1. ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยแบบพิมพ์ศาล
พ.ศ.2557 กำหนดให้นำแบบพิมพ์ใหม่ มาใช้เมื่อใด
ตอบ วันที่ 1 เมษายน 2557
2. สำหรับแบบพิมพ์ที่เหลืออยูเ่ ดิม ให้ดำเนินการอย่างไร
ตอบ ให้ใช้แบบพิมพ์ดังกล่าวต่อไปจนกว่าจะหมด ทัง้ นี ้ ต้องไม่
เกินกว่า 180 วัน นับแต่วันที่ 1 เมษายน 2557
3. แบบพิมพ์ศาลให้ใช้กระดาษขนาดใด
ตอบ A4
4. แบบพิมพ์คำร้องคำขอ คำแถลง เรียกแบบอะไร

-------------------------------------------------------

ประกาศสำนักงานศาลยุติธรรม
เรื่อง การกำหนดอักษรย่อของสำนวนความในศาล
--------------------------------
1. ใช้บังคับตัง้ แต่วน
ั ที่ 1 มกราคม 2558
2. สำนวนความในศาล ให้ใช้อักษรย่อนำหน้าหมายเลขคดีดำ
ความอาญา
(ก) คดีอาญา อักษรย่อ อ
(ข) คดีขอหมายค้น อักษรย่อ ค
(ค) คดีขอออกหมายจับ อักษรย่อ จ
(ง) คดีผัดฟ้ อง อักษรย่อ ผ
(จ) คดีฝากขัง (คดีอาญาทั่วไป) อักษรย่อ ฝ
(ฉ) คดีขอคืนของกลาง อักษรย่อ ขก
(ช) คดีร้อ
ื ฟื้ นคดีอาญาขึน
้ พิจารณาใหม่ อักษรย่อ รฟ
(ซ) คดีส่งผู้ร้ายข้ามแดน อักษรย่อ ผด
(ฌ) คดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพ อักษรย่อ ช
(ญ) คดียาเสพติด อักษรย่อ ย
(ฎ) คดีฝากขัง (คดียาเสพติด) อักษรย่อ ยฝ (ส่วน
ใหญ่ในใช้ในศาลจังหวัด)
(ฏ) คดีฟ้ื นฟูสมรรถภาพ (คดียาเสพติด)อักษรย่อ ยฟ
(ฐ) คดีมาตรกากรในการปราบปราม อักษรย่อ มร
ผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด
ให้โทษ(ริบทรัพย์)
(ฑ) คดีขอคืนของกลาง (คดียาเสพติด) อักษรย่อ ยก
คดีแพ่ง
(ก) คดีแพ่ง อักษรย่อ พ
(ข) คดีครอบครัวและมรดกความ อักษรย่อ คอ
ตามกฎหมายอิสลาม
(ค) คดีผู้บริโภค อักษรย่อ ผบ
(ง) คดีพาณิชย์ อักษรย่อ พณ
(จ) คดีมโนสาเร่ อักษรย่อ ม
(ฉ) คดีไม่มีข้อยุ่งยาก อักษรย่อ มย
(ช) คดีร้องขอแสดงสิทธิในที่ดน
ิ อักษรย่อ รส
(ซ) คดีฟอกเงิน อักษรย่อ ฟ
(ฌ) คดีกักเรือ อักษรย่อ กร
ความอื่นๆ
(ก) คดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง อักษรย่อ อม
(ข) คดีการค้าระหว่างประเทศ อักษรย่อ กค
(ค) คดีทรัพย์สินทางปั ญญา อักษรย่อ ทป
(ง) คดีภาษี อักษรย่อ ภ
(จ) คดีเยาวชนและครอบครัว อักษรย่อ ยช
(ฉ) คดีแรงงาน อักษรย่อ ร
(ช) คดีล้มละลาย อักษรย่อ ล
(ซ) คดีล้มละลาย(ฟื้ นฟูกิจการ) อักษรย่อ ลฟ
(ฌ) คดีเลือกตัง้ อักษรย่อ ลต
(ญ) คดีสิ่งแวดล้อม อักษรย่อ สว
คดีสาขา
(ก) ชัน
้ สืบพยานก่อนฟ้ อง อักษรย่อ สฟ
(ข) ชัน
้ ไกล่เกลี่ย อักษรย่อ กก
(ค) ชัน
้ สืบพยานประเด็น อักษรย่อ ป
(ง) ชัน
้ บังคับคดี(ขับไล่) อักษรย่อ บล
(จ) ชัน
้ วิธีการชั่วคราว อักษรย่อ วช
(ฉ) ขัน
้ บังคับคดีแทน อักษรย่อ บท
(ช) ชัน
้ บังคับคดีนายประกัน อักษรย่อ บป
(ซ) ชัน
้ ร้องขอกันส่วน อักษรย่อ ก
(ฌ) ชัน
้ ร้องขัดทรัพย์ อักษรย่อ ข
(ญ) ชัน
้ ร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ อักษรย่อ ฉ
(ฎ) ชัน
้ ร้องขอเพิกถอนการขายทอดตลาด อักษรย่อ ถ
(ฏ) ชัน
้ ร้องขอรับชำระหนีจ
้ ำนองหรือ อักษรย่อ ขช
คดีร้องขอรับชำระหนีบ
้ ุริมสิทธิ
(ฐ) ชัน
้ ร้องขอสวมสิทธิ อักษรย่อ ส
(ฑ) ชัน
้ ร้องขอออกคำบังคับ (ม.309 ตรี) อักษรย่อ บ
(ฒ) ชัน
้ ละเมิดอำนาจศาล อักษรย่อ ลศ
คดีนักท่องเที่ยว อักษรย่อ ท

กลุ่มงานในศาลจังหวัด ศาลแขวง และหน้าที่ความรับผิดชอบโดย


ทั่วไป
1. กลุม
่ งานช่วยอำนวยการ ปฏิบัติหน้าที่และรับผิดชอบงานดังนี ้
(1) ปฏิบัติงานสารบรรณทั่วไป และสารบรรณคดี
(2) บริหารงานบุคคลเบื้องต้นและงานสวัสดิการของสำนักงาน
(3) ดำเนินงานราชพิธี รัฐพิธี งานพิธีการ และงานเลขานุการนัก
บริหาร
(4) ประสานความร่วมมือด้านการยุตธิ รรม ตลอดจนการประชุม
เกี่ยวกับงานบริหารจัดการด้านธุรการของศาล
(5) ดำเนินการรับ ส่งประเด็น และการส่งสำนวน หรือเอกสาร
ให้คณะกรรมการวินิจฉัยชีข
้ าดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล และ
สำนักงานศาลปกครอง
(6) ดำเนินการออกหนังสือรับรองการขอแรงทนาย การยืม และ
ส่งสำนวนศาลสูง
(7) ปฏิบัติงานสารสนเทศ จัดทำข้อมูลสถิติ และดูแลระบบ
คอมพิวเตอร์ของสำนักงาน
(8) ปฏิบัติงานห้องสมุดของสำนักงาน
(9) ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำ แผนงาน โครงการงาน
วิชาการของสำนักงาน
(10) ศึกษาวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบงานศาลรวม
ทัง้ การจัดทำคำของบประมาณประจำปี
(11) ปฏิบัติงานที่มิได้กำหนดให้เป็ นหน้าที่ของกลุ่มใดโดยเฉพาะ
2. กลุม
่ งานคลัง ปฏิบัติหน้าที่และรับผิดชอบงาน ดังนี ้
(1) ดำเนินการเกี่ยวกับการเงินงบประมาณ และการเงินนอกงบ
ประมาณ
(2) รับ-จ่าย เงินรางวัลนำจับ เงินในคดี และค่าป่ วยการแก่ผู้
(3) ดำเนินงานปรับพินัย ปรับนายประกัน การเก็บและคืนหลัก
ประกัน การรักษาเงินและเอกสารทางการเงิน
(4) ปฏิบัติงานด้านบัญชีงบประมาณ บัญชีนอกงบประมาณจัด
ทำงบเทียบยอด และการรายงานทางการเงิน
(5) ประสานการจัดทำคำของบประมาณประเภทงบประจำ
บริหารงบประมาณและการของบดำเนินการเพิ่มเติม
(6) ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตรวจเก็บรักษา เบิก-จ่าย จัดทำ
ทะเบียนคุมพัสดุและทรัพย์สิน ตลอดจนการซ่อมบำรุงและ
จำหน่ายพัสดุ
(7) วิเคราะห์ ประเมินคุณภาพของพัสดุ บริหารสัญญา วางแผน
ดำเนินงานและการจัดทำพัสดุประจำปี
(8) ดำเนินการรักษาความปลอดภัยงานอาคารสถานที่ และยาน
พาหนะ รวมทัง้ ดูแลระบบสาธารณูปโภค
3. กลุม
่ งานบริการประชาชนและประชาสัมพันธ์ปฏิบัติหน้าที่และ
รับผิดชอบงาน ดังนี ้
(1) ให้บริการเขียนคำร้อง คำขอ คำแถลง และคำคู่ความ รวม
ทัง้ ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมาย และสร้างความเข้าใจที่ดี
แก่ประชาชน
(2) ปฏิบัติงานขอปล่อยชั่วคราว รับคำร้องการอุทธรณ์คำสั่งที่
ศาลไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว
(3) ดำเนินการจัดทำสัญญาค้ำประกันและสัญญาชัน
้ ทุเลาการ
บังคับคดี การดำเนินการกรณีผิดสัญญาประกัน การแจ้งอายัด
และถอนอายัด
(4) ดำเนินการประชาสัมพันธ์ ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
(5) ปฏิบัติงานติดตามและสืบทรัพย์นายประกัน
(6) การคุ้มครองสิทธิของประชาชนตามกฎหมาย
4. กลุม
่ งานคดี ปฏิบัติหน้าที่และรับผิดชอบงาน ดังนี ้
(1) ดำเนินการรับฟ้ อง รับคำคู่ความ ผัดฟ้ อง ฝากขัง และการ
ยื่นคำร้องขอฟื้ นฟู การพิมพ์คำสั่งเบิกตัวผู้ต้องหา
(2) ปฏิบัติงานตรวจสอบตัวผู้ตอ
้ งหาหรือจำเลย และการสอบคำ
ให้การผู้ต้องหาหรือจำเลย
(3) คำนวณค่าธรรมเนียมและรับรองบัญชีค่าฤชาธรรมเนียม
(4) ดำเนินการออกหมายต่างๆ ทัง้ คดีแพ่งและคดีอาญา
(5) ดำเนินการรับ-ส่งหมาย ติดตามผล บันทึกและแจ้งผลการส่ง
หมาย ปลดและจำหน่ายหมาย
(6) ดำเนินการส่งหมายทางไปรษณีย์และจำทำบัญชีรับ-ส่ง
หมายทางไปรษณีย์
(7) ดำเนินการเกี่ยวกับสารบบความและสารบบคำพิพากษา
(8) ดำเนินการโต้ตอบ รับคำร้องหลังคำพิพากษา และการ
รับรองคดีถึงที่สุดรวมทัง้ ดำเนินการเกี่ยวกับสำนวนคดีสาขา
หลังคำพิพากษา
(9) ตรวจสอบ จัดเก็บ จ่ายสำนวนความและเอกสาร ตรวจ
สำนวนก่อนและหลังการพิจารณาพิพากษาคดี เสนอติดตาม
การจัดเก็บสำนวนคดี รวมทัง้ การให้บริการคัดสำเนาและ
รับรองเอกสาร
(10) ดำเนินการเก็บสำนวนคดีดำ สำนวนคดีแดง เก็บรักษากาก
สำนวน
(11) ดำเนินการเกี่ยวกับงานในชัน
้ อุทธรณ์-ฎีกา ได้แก่ การรับ
ฟ้ อง การตรวจสำนวนและสารบาญ การรายงานเพื่อส่งสำนวน
ก่อนส่งศาลสูง การเบิกตัวจำเลย การนัดฟั งคำพิพากษาและคำ
สั่ง การขอทุเลาการบังคับคดี การขยายระยะเวลาระหว่าง
อุทธรณ์-ฎีกา
(12) ดำเนินการเกี่ยวกับคดีคุ้มครองผู้บริโภค
5. กลุม
่ งานช่วยพิจารณาคดี ปฏิบัติหน้าที่และรับผิดชอบงาน
ดังนี ้
(1) ค้นตัวบทกฎหมายและคำพิพากษาฎีกา บริการข้อมูลทาง
กฎหมายและวิชาการ ตลอดจนเตรียมความพร้อมก่อนการ
พิจารณาคดี
(2) ปฏิบัติงานหน้าบัลลังก์และบันทึกคำพยาน การพิมพ์ การ
ตรวจร่างคำพิพากษา
(3) ดำเนินการเตรียมสำนวนและตรวจสอบสำนวนก่อนวันนัด
พิมพ์คำสั่งเบิกตัวจำเลย เก็บรักษาคำพิพากษาศาลสูง และงาน
ปฏิบัติตามคำสั่งศาลในรายงาน
(4) ดำเนินการจัดทำแผนที่พิพาท เดินเผชิญสืบ การสืบเสาะ
และคุมประพฤติและการประสานงานเกี่ยวกับล่าม นัก
จิตวิทยา และนักสังคมสงเคราะห์
(5) ปฏิบัติงานศูนย์นัดความและติดตามพยาน
6. กลุม
่ งานไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท ปฏิบัติหน้าที่และรับ
ผิดชอบงาน ดังนี ้
(1) ดำเนินการเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท
(2) การคุ้มครองสิทธิของประชาชนตามกฎหมาย
(3) การทำสัญญาประนีประนอมยอมความ
7. กลุม
่ งานคดีนักท่องเที่ยว ปฏิบัติหน้าที่และรับผิดชอบงาน ดังนี ้
อำนวยความยุตธิ รรมให้แก่นักท่องเที่ยวคุ้มครองสิทธิของนัก
ท่องเที่ยว ตลอดจนให้ความช่วยเหลือแก่นักท่องเทีย
่ วในกรณีที่
ตกเป็ นผู้เสียหายหรือเป็ นจำเลยในคดีแพ่งและคดีอาญา
พระราชบัญญัตว
ิ ิธพ
ี ิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.๒๕๕๑

1. ผู้บริโภคคือ
ตอบ ๑. ผู้ซ้อ
ื หรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ
2. ผู้ซ้อ
ื หมายความรวมถึงผู้ใดบ้าง
ตอบ ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อหรือผู้ได้รับมาด้วยประการใดๆ โดยให้คา่
ตอบแทนเป็ นเงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่น
3. ผู้ได้รับบริการ หมายความว่า
ตอบ 1) ผู้ได้รับการจัดการทำงานให้ เช่น ผู้วา่ จ้างทำของ ผู้ได้รบ

สิทธิใดๆ หรือได้ใช้หรือได้ประโยชน์ในทรัพย์สินหรือกิจการใดๆ โดย
เสียค่าตอบแทนเป็ นเงินหรือผลประโยชน์อ่ น
ื แต่ไม่รวมถึงการจ้าง
แรงงานตามกฎหมายแรงงาน
๒) ผู้ได้รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพื่อ
ให้ซ้อ
ื สินค้าหรือบริการ
๓) ผูใ้ ช้สินค้าหรือผู้ได้รับการบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดย
ชอบแม้มิได้เป็ นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
๔) ผู้เสียหาย ตามกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดต่อความเสีย
หายที่เกิดขึน
้ จากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

4. ผู้ประกอบการคือ
ตอบ 1)ผู้ขาย หมายความรวมถึง ผู้ให้เช่า ผูใ้ ห้เช่าซื้อหรือผู้จัดหา
ให้ไม่วา่ ด้วยประการใดๆ โดยเรียกค่าตอบแทนเป็ นเงินหรือผล
ประโยชน์อย่างอื่น ตลอดจนผู้เสนอหรือชักชวนเพื่อการดังกล่าวด้วย
2) ผู้ผลิตเพื่อขาย
3) ผู้สั่งหรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขาย
4) ผู้ซ้อ
ื เพื่อขายต่อซึ่งสินค้า
5) ผู้ให้บริการ
6) ผู้ประกอบกิจการโฆษณา
7) ผู้ประกอบการ

5. ผู้ให้บริการหมายถึง
ตอบผู้รับจัดทำการงาน เช่น ผู้รับจ้างทำของผูใ้ ห้สท
ิ ธิใดๆ หรือให้
ใช้หรือให้ประโยชน์ในทรัพย์สน
ิ หรือกิจการใดๆ โดยเรียกค่าตอบแทน
เป็ นเงินหรือผลประโยชน์อ่ น
ื แต่ไม่รวมถึงผู้รับจ้างแรงงานตามกฎหมาย
แรงงาน
- ผู้ให้บริการในข้อนี ้ มีการแปลความว่า หมายรวมถึง หน่วยงาน
ที่เป็ นโรงพยาบาลของรัฐ ผู้ให้กู้ยืมเงินไม่ว่าจะเป็ นราษฎรด้วยกันเอง
หรือสถาบันการเงิน สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์การเกษตร กองทุน
ต่างๆ เป็ นต้น
6. ผู้ประกอบการ ตามกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดต่อความเสียหาย
ที่เกิดขึน
้ จากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่
ตอบ - ผู้ผลิตหรือผูว้ ่าจ้างให้ผลิต
- ผู้นำเข้า
- ผู้ขายสินค้าที่ไม่สามารถระบุตัวผู้ผลิต ผู้ว่าจ้างให้ผลิตหรือ
ผู้นำเข้า
- ผู้ซึ่งใช้ช่ อ
ื ชื่อทางการค้า เครื่องหมายการค้า เครื่องหมาย
ข้อความหรือแสดงด้วยวิธีใดๆอันมีลักษณะที่จะทำให้เกิดความเข้าใจ
ว่าเป็ นผู้ผลิต ผูว้ ่าจ้างให้ผลิตหรือผู้นำเข้า
7. “คดีผู้บริโภค”ตามพระราชบัญญัติวธ
ิ ีพิจารณาคดีผู้บริโภค
พ.ศ.๒๕๕๑ หมายความว่า
ตอบ (1) คดีแพ่ง ระหว่างผู้บริโภคหรือผู้มีอำนาจฟ้ องแทนผู้
บริโภคฯ กับผู้ประกอบธุรกิจที่พิพาทกันเกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ตาม
กฎหมาย อันเนื่องมาจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ (ไม่ว่าผูบ
้ ริโภค
ฟ้ อง
ผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้ประกอบธุรกิจฟ้ องผู้บริโภค)
(2) คดีแพ่ง ตามกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดต่อความเสีย
หายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
(3) คดีแพ่ง ที่เกี่ยวพันกับคดีตาม (๑) หรือ (๒)
(4) คดีแพ่ง ที่มีกฎหมายบัญญัติให้ใช้วธิ ีพิจารณาตามพระ
ราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
พ.ศ.๒๕๕๑ นี ้

8.หลักวิธพ
ี ิจารณาพื้นฐานของพระราชบัญญัติวิธพ
ี ิจารณาคดีผู้
บริโภค พ.ศ.๒๕๕๑ คือ
ตอบ 1) หลักความสะดวกและประหยัด เช่น กำหนดให้ผู้
บริโภคหรือผู้มีอำนาจฟ้ องคดีแทนผู้บริโภคได้รับยกเว้นค่าฤชา
ธรรมเนียมหรือให้โจทก์และจำเลยสามารถยื่นฟ้ องหรือให้การด้วย
วาจาได้ ในกรณีที่โจทก์ประสงค์จะฟ้ องด้วยวาจา ให้เจ้าพนักงานคดีดำ
เนินการเพื่อให้การจดบันทึกรายละเอียดแห่งคำฟ้ องให้
2) หลักความรวดเร็ว เช่น กำหนดให้พิจารณาครัง้ แรก
ต้องกระทำโดยเร็ว
3) หลักไม่เป็ นทางการ การดำเนินกระบวนพิจารณาที่มี
ลักษณะไม่เคร่งครัดต่อระเบียบพิธิการเหมือนคดีแพ่งทั่วไป
4) หลักสุจริต หากผู้บริโภคนำคดีมาฟ้ องโดยไม่มีเหตุผล
อันสมควรให้ศาลมีอำนาจสั่งให้บุคคลนัน
้ ชำระค่าฤชาธรรมเนียมที่ได้
รับยกเว้นได้ หรือตามมาตรา 41 ที่ให้อำนาจศาลสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจ
เปลี่ยนสินค้าใหม่ให้แก่ผู้บริโภคได้นน
ั ้ ต้องคำนึงถึงความสุจริตของผู้
บริโภคประกอบด้วย เป็ นต้น

8. เจ้าพนักงานคดี คือ
ตอบบุคคลที่เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมแต่งตัง้ ให้ปฏิบัติ
หน้าที่ตาม พ.ร.บ.กฎหมายวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค เจ้าพนักงานคดี
มีหน้าที่ช่วยเหลือศาลในการดำเนินคดีผู้บริโภคตามที่ศาลมอบหมาย
9. เจ้าพนักงานคดีมีหน้าที่ช่วยเหลือศาลในการดำเนินคดีผู้บริโภค
ตามที่ศาลมอบหมาย ได้แก่
ตอบ 1) ไกล่เกลี่ยคดีผู้บริโภค
2) ตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐาน
3) บันทึกคำพยาน
4) ดำเนินการให้มีการคุ้มครองสิทธิของคู่ความทัง้ ก่อนและ
ระหว่างการพิจารณา
5) ปฏิบัติหน้าที่อ่ น
ื ตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค หรือ
ตามข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาฯ

การฟ้ องคดีผู้บริโภค
โจทก์จะฟ้ องด้วยวาจาหรือเป็ นหนังสือก็ได้ ในกรณีที่โจทก์
ประสงค์จะฟ้ องด้วยวาจา ให้เจ้าพนักงานคดีจัดให้มีการบันทึกราย
ละเอียดแห่งคำฟ้ องให้โจทก์ลงลายมือชื่อไว้
- กรณีผู้บริโภคฟ้ อง หรือผู้มีอำนาจฟ้ องคดีแทนผู้บริโภค ให้เสนอคดี
ต่อศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล หรือต่อศาลที่มูลคดีเกิด
ขึน
้ ในเขตศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
- กรณีผู้ประกอบธุรกิจฟ้ องให้เสนอต่อศาลที่ผู้บริโภค
มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาลเพียงแห่งเดียว

หมายเหตุ: กรณีผู้บริโภคหรือผู้มีอำนาจฟ้ องคดีแทนผู้บริโภค


ยื่นฟ้ องจะได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมศาล ส่วนผู้ประกอบธุรกิจฟ้ อง
จะไม่ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียม

คดีอาญา
1. โทษทางอาญา มี 5 สถาน ได้แก่
ตอบ
1. ประหารชีวิต
2. จำคุก
3. กักขัง
4. ปรับ
5. ริบทรัพย์สิน
2. ผู้ต้องโทษประหารชีวิต ปั จจุบันใช้วิธก
ี ารประหารชีวิตแบบใด ? วิธี
ฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย
3.หมายอาญา มีกี่ประเภท
ตอบ 5 ประเภทได้แก่
1)หมายจับ(สีขาว)
2)หมายค้น (สีขาว)
3)หมายขังแบ่งออกได้ดังนี ้
- หมายขังระหว่างสอบสวน (สีฟ้า)
- หมายขังระหว่างพิจารณา/ไต่สวนมูลฟ้ อง (สีเขียว)
4)หมายปล่อย (สีส้ม)
5)หมายจำคุกแบ่งออกได้ดงั นี ้
- หมายจำคุกและกักขังระหว่างอุทธรณ์ฎีกา หมายกักขัง
ระหว่างอุทธรณ์ฎีกา หรือหมายจำคุกระหว่างอุทธรณ์ฎีกา (สีเหลือง)
- หมายจำคุกและกักขังเมื่อคดีถึงที่สุด หมายกักขังเมื่อคดี
ถึงที่สุด หรือหมายจำคุกเมื่อคดีถึงที่สุด (สีแดง)
4. ใครคือผู้ที่ออกหมายทุกประเภท
ตอบ ศาล

คดีอาญา กรณีราษฎรเป็ นโจทก์

กรณีผู้เสียหายมิได้แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน
ประสงค์ที่จะดำเนินคดีเอง การยื่นฟ้ อง ผู้มีอำนาจฟ้ องจะต้องเป็ น
โจทก์ หรือทนายโจทก์ สามารถยื่นคำร้องที่งานรับฟ้ องอาญา การยื่น
ฟ้ องมูลคดีที่กระทำผิดจะต้องเกิดในเขตอำนาจศาลแขวง
พระนครเหนือ เมื่อโจทก์ย่ น
ื คำฟ้ องแล้วจะต้องวางค่านำหมาย เพื่อส่ง
หมายนัดและสำเนาคำฟ้ องให้แก่จำเลยตามภูมิลำเนา

ขัน
้ ตอนการยื่นฟ้ องคดีอาญา กรณีราษฎรเป็ นโจทก์

1. ผู้มีอำนาจยื่นฟ้ องจะต้องเป็ นโจทก์ผู้รับมอบอำนาจโจทก์


หรือทนายโจทก์
2. ผูม
้ อ
ี ำนาจฟ้ อง ลงลายมือชื่อในคำฟ้ องท้ายฟ้ อง (ผูล
้ งชื่อต้อง
เป็ นโจทก์หรือผูร้ บ
ั มอบอำนาจโจทก์)
3. มูลคดีเกิด สถานที่กระทำความผิดอยู่ในเขตอำนาจของศาล
แขวงพระนครเหนือ
4. ระบุข้อหาที่กระทำความผิด ให้ชัดเจน
5. เจ้าหน้าที่งานรับฟ้ องคดีอาญารับคำฟ้ องและออกเลขคดีดำ
6. กำหนดวันนัดไต่สวนมูลฟ้ อง (จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขต
อำนาจศาลแขวงพระนครเหนือ กำหนดวันนัด ๑ เดือน ถ้าจำเลยมี
ภูมิลำเนาอยูน
่ อกเขตอำนาจศาลแขวงพระนครเหนือให้กำหนดวันนัด
๔๕-๕๐ วัน)
7. โจทก์หรือทนายโจทก์ ลงชื่อทราบวันนัด
8. โจทก์วางค่าส่งหมายนัด และสำเนาคำฟ้ องให้แก่จำเลย
9. เจ้าหน้าที่งานรับฟ้ องอาญาบันทึก รายละเอียดใน
คอมพิวเตอร์
10. นำสำนวนเสนอศาล

ขัน
้ ตอนการรับฟ้ องคดีอาญา

โจทก์ยื่นคำฟ้อง

เจ้ าหน้ าที่ตรวจคำฟ้อง

ออกเลขคดีดำ

กำหนดวันนัดไต่สวนมูลฟ้อง

โจทก์ลงชื่อทราบนัด

โจทก์วางค่าส่งหมายนัดและสำเนาคำฟ้อง

เจ้ าหน้ าที่บนั ทึกรายละเอียดในคอมพิวเตอร์

นำสำนวนเสนอศาล
11. คดีจัดการพิเศษ หมายถึง
ตอบ คดีที่มีประเด็นไม่ยงุ่ ยาก สามารถพิจารณาให้แล้วเสร็จด้วย
ความรวดเร็ว อันได้แก่
- คดีที่จำเลยขาดนัดไม่ย่ น
ื คำให้การ
- คดีที่มีคำขอให้จำเลยชำระเงินมีจำนวนแน่นอน และมี
หนังสือสัญญา บังคับได้ตามกฎหมาย ทัง้ มีประเด็นไม่ยุ่งยาก เช่น กูย
้ ืม
ค้ำประกัน จำนอง เช่าซื้อ บัตรเครดิต หรือคดีสาขา เช่น คดีร้องขอ
เฉลีย
่ ทรัพย์ ขอกันส่วนทรัพย์หรือร้องขัดทรัพย์ ฯ

12. คดีสามัญ หมายถึง


ตอบ คดีที่จำเลยยื่นคำให้การปฏิเสธ และมีประเด็นข้อยุ่งยาก
จำเป็ นต้องสืบพยาน

13. คดีสามัญพิเศษ หมายถึง


ตอบ คดีสามัญที่มีพยานหลักฐานจำนวนมากเป็ นพิเศษ ไม่อาจ
สืบพยานให้แล้วเสร็จได้โดยเร็ว ศาลจะนัดพิจารณาคดีประเภทนีต
้ ่อ
เนื่องติดต่อกันเป็ นช่วงๆ จนกว่าจะแล้วเสร็จ

การปลดทำลายสำนวน
1.การรายงานการปลดทำลายสำนวนให้รายงานภายในเดือนใด
ตอบ ภายในเดือนมิถุนายนของทุกปี
2. กากประเด็นที่ศาลอื่นส่งมาให้สืบพยานแทนและได้สืบพยานเสร็จส่ง
ประเด็นคืนแล้ว จะเผาทำลายได้ในกรณีใด
ตอบมีอายุเกินกว่า 5 ปี จึงจะเผาทำลายได้
3. บรรดาสำนวนในคดีแพ่ง ที่มิใช่คดีมโนสาเร่หรือคดีไม่มีข้อยุ่งยากอัน
ถึงที่สุดเกินกว่า 10 ปี ให้จัดการปลดทำลายเสียทัง้ สิน
้ เว้นแต่สิ่งใดบ้าง
ตอบ 1) สำนวนคดีที่พิพาทกันเรื่องที่ดิน ให้เก็บรักษาไว้แต่พยาน
เอกสาร แผนที่คำพิพากษาหรือคำสั่ง และคำบังคับ
2) สำนวนคดีที่มีคำขอให้ศาลออกคำบังคับ ตาม ป.วิ แพ่ง
มาตรา 309 ตรี แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 22 ) พ.ศ.2548 ให้เก็บรักษาไว้
แต่คำบังคับ
4. สำนวนความคดีมโนสาเร่อน
ั ถึงที่สุดเกินกว่า 10 ปี ให้ดำเนินการ
อย่างไร
ตอบทำลายเสียทัง้ สำนวน
5. แสตมป์ ฤชากร ที่ติดอยู่บนเอกสารที่จะต้องทำลายให้ทำลายด้วย
หรือไม่
ตอบ ให้ทำลายเสีย
6. บรรดาสารบบความ บัญชีนัดพิจารณา บัญชีรับส่งสำนวน บัญชี
หมายต่างๆ และต้นขัว้ ใบเสร็จรับเงิน ซี่งได้ผา่ นการตรวจของเจ้าหน้าที่
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินแล้ว ให้ดำเนินการอย่างไร
ตอบเมื่ออายุเกิน 10 ปี ให้ทำลายเสีย
7. สารบบคำพิพากษา คำพิพากษา หรือคำสัง่ ให้เก็บรักษาไว้อย่างไร
ตอบ ให้เก็บรักษาไว้ตลอดไป เว้นแต่การจัดเก็บรักษาไว้ตลอดไป
นัน
้ จะสามารถกระทำได้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีอ่ น
ื ใดตามที่
สำนักงานศาลยุตธิ รรมกำหนด ก็ให้เก็บรักษาเอกสารดังกล่าวไว้เพียง
10 ปี แล้วทำลายเสีย
สำนวนในคดีอาญา
8. บรรดา สำนวนความในคดีอาญา อันถึงที่สุดเกินกว่า 10 ปี ให้
จัดการปลดทำลายเสียทัง้ สิน
้ เว้นแต่สิ่งใด
ตอบ 8.1 สำนวนความเรื่องบุกรุกที่ดิน ให้เก็บรักษาไว้แต่
พยานเอกสาร แผนที่ คำพิพากษาหรือคำสั่ง และในกรณีที่มีการถอน
ฟ้ อง ให้เก็บรักษาใบถอนฟ้ องไว้ดว้ ย นอกนัน
้ ให้ทำลายเสีย
8.2 สำนวนความที่ศาลพิพากษาลงโทษจำเลยและปรากฏ
ตามฟ้ องว่าจำเลยร่วมกับบุคคลอื่นกระทำความผิด ซึ่งคดียังอยู่ในอายุ
ความ แต่ยังจับตัวผู้ร่วมกระทำความผิดไม่ได้ และสำนวนความที่
จำเลยหลบหนีระหว่างพิจารณาก็ดี หรือไม่ได้ตวั จำเลยมาศาลก็ดี ให้
เก็บรักษาไว้ทงั ้ สำนวนจนกว่าคดีจะขาดอายุความ
8.3 สำนวนคดีเรื่องเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ พระบรม
วงศานุวงศ์ และคดีสำคัญที่ประชาชนสนใจ ให้ข้าราชการศาลยุตธิ รรม
รายงานหัวหน้าส่วนราชการศาลยุตธิ รรมเพื่อมีคำสั่งเกี่ยวกับการเก็บ
รักษาตามที่เห็นสมควร
8.4 สำนวนคดีที่มีการถอนฟ้ องให้เก็บรักษาคำสั่งศาลที่
อนุญาตให้ถอนฟ้ องไว้
8.5 สำนวนคดีที่จำเลยต้องโทษจำคุกหรือประหารชีวิต ให้
เก็บรักษาหมายแจ้งโทษไว้
9. สำนวนคดีเรื่องการบังคับคดีนายประกัน ที่มีอายุกี่ปีจึงจะทำลายได้
ตอบเกินกว่า 10 ปี นับแต่วน
ั ที่ศาลมีคำสั่งปรับนายประกัน ห
ทำลายเสีย เว้นแต่หมายบังคับคดี ให้เก็บรักษาไว้ต่อไปอีก 10 ปี แล้ว
ทำลายเสียทัง้ สิน

10.สำนวนคดีเรื่องการขอหมายจับ หรือหมายค้น หรือสำนวนไต่สวน
คำสัง่ หรือการดำเนินการตามกฎหมายอื่น ที่มีอายุเกินกว่า 5 ปี เมื่อได
รับรายงานผลการปฏิบัติตามหมายหรือคำสัง่ ศาลหรือกรณีหมายจับที่
พ้นกำหนดอายุความแล้ว ให้ทำลายเสียทัง้ สำนวน เว้นแต่คดีอยู่
ระหว่างการพิจารณาของศาล
11.สำนวนฝากขังผู้ต้องหาระหว่างสอบสวนทีทไม่มีการฟ้ องคดี เมื่อ
มีอายุเกินกี่ปี จึงจะทำลายได้
ตอบ เกินกว่า 5 ปี ให้ทำลายเสียทัง้ สำนวน
12. สำนวนคดีประเด็นที่ศาลอื่นส่งมาขอให้จัดการสืบพยานให้ และ
ได้สืบพยานเสร็จ ส่งประเด็นคืนแล้ว เมื่อมีอายุกี่ปี จึงจะทำลายเสียได้
ตอบเกิน 5 ปี ให้ทำลายเสีย
13. สำนวนคดีไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทของส่วนหรือกลุ่มงาน
ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทประจำศาล หากไม่อาจยุติได้โดย
กระบวนการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทให้เก็บรักษากี่ปีจึงจะ
ทำลายได้
ตอบ 1 ปี แล้วทำลายเสีย
14. สารบบคำพิพากษา คำพิพากษา หรือคำสัง่ ให้เก็บรักษาไว้อย่างไร
ตอบ ให้เก็บรักษาไว้ตลอดไป เว้นแต่การจัดเก็บรักษาไว้ตลอดไป
นัน
้ จะสามารถกระทำได้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีอ่ น
ื ใดตามที่
สำนักงานศาลยุตธิ รรมกำหนด ก็ให้เก็บรักษาเอกสารดังกล่าวไว้เพียง
10 ปี แล้วทำลายเสีย
15. สารบบความคือ อะไร
ตอบ ทะเบียนคดีของศาลที่มีไว้เพื่อลงลำดับที่คดีรับไว้

อื่นๆ ที่ออกข้อสอบบ่อยๆ

1. ขังแทนค่าปรับวันละเท่าใด
ตอบ 500 บาท
2. จำเลยจะร้องขอทำงานบริการสังคมแทนค่าปรับได้กรณีใด
ตอบ ถ้ามีโทษปรับแล้วจำเลย(ไม่รวมนิติบุคคล) ไม่มีเงินชำระ
3. คดีลหุโทษ คือ
ตอบ คดีที่มีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท
4.ค่าธรรมเนียมศาลใหม่มีดังนี ้
4.1.คดีมีทุนทรัพย์อันอาจคำนวณเป็ นเงินได้ ไม่เกิน 300,000 บาท ต้องเสีย
ค่าขึน
้ ศาลในอัตราเท่าใด
ตอบ ร้อยละ 2 แต่ไม่เกิน 1,000 บาท(คดีศาลแขวง)
4.2 คดีที่มีทุนทรัพย์ที่เรียกร้อง เกิน 300,000 แต่ไม่เกิน 50 ล้านบาท
ต้องเสียค่าขึน
้ ศาลในอัตราเท่าใด
ตอบ ร้อยละ 2 บาท แต่เสียไม่เกิน 200,000 บาท ส่วนทุน
ทรัพย์ที่เรียกร้องในส่วนที่เกิน 50 ล้านบาทแรก ให้เสียในอัตราร้อยละ
0.1 บาท
4.3.คำร้องขอให้ศาลบังคับตามคำชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการใน
ประเทศหรือคำร้องขอขอให้เพิกถอนคำชีข
้ าดอนุญาโตตุลาการใน
ประเทศให้เสียค่าขึน
้ ศาลในอัตราเท่าใด
ตอบทุนทรัพย์ไม่เกิน 50 ล้านบาท ร้อยละ 0.5 บาท แต่ไม่เกิน
50,000 บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาท ร้อยละ 0.1
4.4.คำร้องขอให้บังคับตามคำชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ
หรือให้เพิกถอนคำชีข
้ าดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ เสียค่าขึน

ศาลอย่างไร
ตอบ ทุนทรัพย์ไม่เกิน 50 ล้านบาท ร้อยละ 1 แต่ไม่เกิน
100,000 บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาท ร้อยละ 0.1
4.5.ฟ้ องขอให้บังคับจำนองหรือบังคับเอาทรัพย์สินจำนองหลุด ให้เสีย
ค่าขึน
้ ศาลอย่างไร
ตอบ ทุนทรัพย์ไม่เกิน 50 ล้านบาท ร้อยละ 1 แต่ไม่เกิน 100,000
บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาทขึน
้ ไป ร้อยละ 0.1
4.6.คดีขอให้ปลดเปลื้องทุกข์ทไ่ี ม่อาจคำนวณเป็ นเงินได้ รวมทัง้ คดีไม่มข
ี อ

พิพาท ให้เสียค่าขึน
้ ศาลในอัตราเท่าใด
ตอบ200 บาท
5.คดีขอให้ชำระค่าเสียหาย ค่าอุปการะเลีย
้ งดู ค่าเลีย
้ งชีพ เงินปี เงิน
เดือน หรือที่จ่ายมีกำหนดระยะเวลาในอนาคต นอกจากดอกเบีย
้ ค่า
เช่า (ค่าขึน
้ ศาลในอนาคต) เสียค่าขึน
้ ศาลในอัตราเท่าใด
ตอบ 100 บาท
6. ค่าคำร้องขอให้สืบพยานล่วงหน้าในกรณียงั ไม่มีคดีอยู่ในศาล เสียใน
อัตราเท่าใด
ตอบ 100 บาท
7.ค่ารับรองเอกสาร โดยเจ้าพนักงานศาล(ทุกชัน
้ ศาล) หรือเจ้า
พนักงานบังคับคดี ฉบับละเท่าใด
ตอบ 50 บาท(แต่ถา้ ฟ้ องก่อนวันที่ 11 พ.ค. 2551 ฉบับละ 20
บาท)
8.ใบสำคัญเพื่อแสดงว่าคดีถึงที่สุด ฉบับละเท่าใด
ตอบ 50 บาท(ทุกชัน
้ ศาล) (แต่ถา้ ฟ้ องก่อนวันที่ 11 พ.ค.2551
ฉบับละ 15 บาท)
9.คำร้องอื่นๆ ค่าคำขอ ค่าเอกเอกสารเป็ นพยาน ค่าใบแต่ง
ทนายความ(กฎหมายไม่กล่าวถึง) จึงได้รับการยกเลิก คือไม่ต้องเสีย
10. คดีความผิดอาญาที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน 6 เดือน หรือ
ปรับเกินกว่า 500 หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ ศาลมีอำนาจขังได้เท่าใด
ตอบได้ครัง้ เดียว มีกำหนดไม่เกิน 7 วัน
11. คดีความผิดอาญาที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงเกิน 6 เดือน หรือ
ปรับเกินกว่า 500 หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ ศาลมีอำนาจขังได้เท่าใด
ตอบได้หลายๆครัง้ ติดต่อกัน และรวมกันแล้วไม่เกิน 48 ชั่วโมง
12. คดีความผิดอาญาที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตัง้ แต่ 10 ปี ขึน
้ ไป จะ
มีโทษปรับหรือไม่ก็ตาม ศาลมีอำนาจขังได้เท่าใด
ตอบได้หลายๆครัง้ ติดต่อกัน และรวมกันแล้วไม่เกิน 84 ชั่วโมง
13. คดีอาญาที่อยูใ่ นอำนาจศาลแขวง เมื่อจับตัวผู้ตอ
้ งหาแล้ว ให้
พนักงานสอบสวนส่งตัวพร้อมสำนวนให้อย
ั การยื่นฟ้ องต่อศาลใน
กำหนดเท่าใด
ตอบ 48 ชั่วโมง
14. คดีอาญาที่อยูใ่ นอำนาจศาลแขวง หากไม่สามารถฟ้ องผู้ต้องหาต่อ
ศาลได้ทันภายในกำหนด พนักงานสอบสวนขอผัดฟ้ องต่อไปได้กี่วัน
ตอบ คราวละไม่เกิน 6 วัน ไม่เกิน 5 คราว
15. การยื่นอุทธรณ์ ต้องยื่นภายในกำหนดเท่าใด
ตอบ 1 เดือน นับแต่วันที่ศาลอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่ง
16. การส่งคำคู่ความและเอกสารทางคดี ให้คู่ความวางเงินเป็ นค่าใช้
จ่ายครัง้ ละเท่าใด
ตอบ 500 บาท
17. กรณีที่ศาลสั่งให้พนักงานคุมประพฤติสืบเสาะและพินิจจำเลย ใช้
แบบพิมพ์ใด
ตอบ. คป.1
18. กรณีศาลมีคำพิพากษาที่กำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติ
จำเลย ให้ใช้แบบพิมพ์ใดแจ้งแก่พนักงานคุมประพฤติ
ตอบ คป.4
19. หนังสือแจ้งแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาหรือคำสั่งไปยังพนักงาน
คุมประพฤติใช้แบบพิมพ์ใด
ตอบ คป.5
20. การเรียงสำนวนฟ้ องคดีแพ่ง ให้เรียงอย่างไร
ตอบ ปกหน้า ปกใน บัญชีค่าฤชาธรรมเนียม สารบัญ

************************************************

You might also like