You are on page 1of 124

โครงการสัมมนา ปนม.ตร.

งานปราบปรามการกระทาผิดเกี่ยวกับนา้ มันเชือ้ เพลิง


สานักงานตารวจแห่ งชาติ
ณ โรงแรมเอเชียพัทยาบีช อ.บางละมุง จว.ชลบุรี
วันที่ ๒๑- ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙
บรรยายโดย
พ.ต.อ.วีระ สุขสมเกษม
วิทยากร ปนม.ตร.
หัวข้ อบรรยาย
หัวข้ อที่ ๑. สื บสวน ตรวจสอบ จับกุมผู้กระทาผิดเกีย่ วกับนา้ มันเชื้อเพลิง
โครงสร้ างกลุ่มผู้กระทาความผิดเกีย่ วกับนา้ มันเชื้อเพลิง
๑. กลุ่มขบวนการโกงภาษีนา้ มันเชื้อเพลิง รัฐบาลเสี ยหายหลายแสนล้ าน
๒. กลุ่มขบวนการปลอมปนนา้ มันเชื้อเพลิงเพือ่ จาหน่ าย ผู้บริโภคและรัฐเสี ยหาย
๓. กลุ่มการควบคุมด้ านความปลอดภัย ผู้ประกอบกิจการไม่ มีอนุญาต หรือมี
ใบอนุญาตแต่ ผดิ เงื่อนไข
๔. กลุ่มขบวนการลักทรัพย์ นายจ้ าง ( คอกนา้ มัน )
๕. กลุ่มผู้กระทาผิดเกีย่ วกับก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
หัวข้ อที่ ๒. วิธีการสืบสวนจับกุมผู้กระทาผิดเกีย่ วกับนา้ มันเชื้อเพลิง และ การขยายผล
หัวข้ อที่ ๓. ปัญหาข้ อขัดข้ องในการปฎิบัติงาน
1
กลุ่มขวนการ
โกงภาษีนา้ มัน
5 เชือ้ เพลิงของรั ฐ 2
กลุ่มผู้กระทาผิด กลุ่มขบวนการ
เกี่ยวกับค้ าก๊ าซ ปลอมปนนา้ มัน
ปิ โตรเลียมเหลว เชือ้ เพลิงเพื่อ
จาหน่ าย
หัวใจ ปนม.ตร.
5 กลุ่ม

4 3
กลุ่มขบวนการ กลุ่มการควบคุม
ลักทรั พย์ นา้ มันเชือ้ เพลิงด้ าน
นายจ้ าง (คอก ความปลอดภัยไม่ มี
นา้ มัน) ใบอนุญาตหรื อมีแต่
ผิดเงื่อนไข
กฎหมาย กฎกระทรวง ประกาศและคาสั่งต่ างๆ
๑. พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.๒๕๔๒
กฎกระทรวงพลังงานลง ๒๗ มี.ค.๒๕๔๖ และ อื่นที่เกี่ยวข้ อง
๒ .พ.ร.บ.การค้ านา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.๒๕๔๓ กฎกระทรวงพลังงาน
และประกาศที่เกี่ยวข้ อง
๓. พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.๒๕๓๕ กฏกระรวงอุตสาหกรรมและ
ประกาศที่เกี่ยวข้ อง
๔. พ.ร.บ.เครื่องหมายการค้ า พ.ศ. ๒๕๓๔
๕ พ.ร.บ.ผลิตภัณฑ์ มาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ.๒๕๑๑ กฏกระทรวง
และประกาศที่เกี่ยวข้ อง
๖. พ.ร.บ.มาตรา ชั่ง ตวงวัด พ.ศ. ๒๕๔๒
๗. พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.๒๕๒๒
๘. พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๒ กฎกระทรวงฯ และ
ประกาศที่เกี่ยวข้ อง
๙. พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.๒๔๖๙ กฎกระทรวงฯ และประกาศที่
เกี่ยวข้ อง
๑๐. พ.ร.บ.การส่ งออกและการนาเข้ ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้ า
พ.ศ.๒๕๒๒
๑๑. พ.ร.บ. การขนส่ งทางบก พ.ศ.๒๕๒๒
๑๒. พ.ร.บ. ทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕
๑๓. พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕
๑๔. พ.ร.บ. การส่ งออกไปนอกและการนาเข้ ามาในราชอาณาจักร
ซึ่งสินค้ า พ.ศ.๒๕๒๒ และประกาศกระทรวงพาณิชย์ ท่ เี กี่ยวข้ อง
พระราชกาหนด
๑. พ.ร.ก.แก้ ใขและป้องกันภาวการณ์ ขาดแคลนนา้ มันเชือ้ เพลิง
พ.ศ. ๒๕๑๖ และคาสั่งนายก รมต.ที่ ๔/๒๕๔๗ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๕๔๗
๒. พ.ร.ก.ควบคุมสินค้ าตามชายแดน พ.ศ.๒๕๓๔ กฎกระทรวงต่ าง ๆ
ที่ ออกตามระเบียบกรมสรรพสามิต ระเบียบกรมศุลกากร และ
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน
ื้ เพลิง
ทางเดินธุรกิจนา้ ม ันเชอ
ม.7 ม.7 ม.1
ม.7 ม.7
2
/
นำเข้ำน้ำมันดิบ โรงกลัน่ น้ำมัน ม.1
ม.7 2 งน้ำมันเชื้อเพลิงหลัก
คลั
นำเข้ำน้ำมันสำเร็จรูป ม.7 ม.7
ส่งออก เครือ่ งบิน สถำนีบริกำรอำกำศยำน

เรือ
รถยนต์ ม.1
2
ป๊ั มน้ำมัน (ทำงบก,ทำง
คลังน้ำมัน
รถจักรยำนยนต์ น้ำ, ป๊ั มหยอดเหรียญ)
ปั้มมือหมุน เชื้อเพลิงย่อย
ม.1
0
ครัวเรือน ร้ำนจำหน่ำยน้ำมัน โรงงำนอ ุตสำหกรรม
หัวข้ อที่ ๑ การตรวจสอบจับกมุ

กลุ่มที่. ๑
ความผิดขบวนการ โกงภาษี ของรัฐ และ
หลีกเลี่ยงภาษีอากรศุลกากร ภาษีสรรพสามิต
สาแดงเท็จ ฉ้ อฉลภาษี
จานวน ๘ รูปแบบ
๑. ลักลอบนาเข้ านา้ มันเชือ้ เพลิงโดยทางบก/ทางทะเล เช่ น นา้ มัน
ดีเซล, เบนซิน , นา้ มันเตา จะได้ กาไรในส่ วนที่ไม่ ได้ เสียภาษีอากร
กรมศุลกากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีเทศบาล ภาษีมูลค่ าเพิ่ม กองทุน
นา้ มัน ฯ กองทุนอนุรักษ์ ฯ กลุ่มลักลอบจะมีความผิด ในข้ อหา
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 มาตรา 161(1)(2) มาตรา
162(1)(2)และมาตรา 147, พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.2469 มาตรา 27
มาตรา 27 ทวิ และมาตรา 99 แล้ วแต่ กรณี และ พ.ร.บ.การส่ งออก
ไปนอกและการนาเข้ ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้ า พ.ศ.2522
มาตรา 20 ผลทาให้ รัฐเสียหายจัดเก็บภาษีไม่ ได้
กำรลักลอบนำเข้ำน้ำมันเชื้อเพลิงเข้ำประเทศ
- ใช้เรือประมงดัดแปลงขนน้ำมันจำนวนมำก
- ทำถังพิเศษด้ำนหลังรถหัวลำก หรือรถบรรท ุก
น้ำมัน ๑๐ ล้อ ๖ ล้อ
- ใช้รถกระบะดัดแปลงทำถังพิเศษให้ใหญ่ข้ ึน
- ใช้รถจักรยำนยนต์บรรท ุก
การลักลอบนาเข้ านา้ มันโดย
- เรือประมงดัดแปลง
- ทางรถ
- รถเล็ก
-รถใหญ่
นานา้ มันเขียวมาใช้ ในทะเลอาณาเขตและบนฝั่ ง
๒. ส่ งออกนา้ มันเชือ้ เพลิงตามด่ านศุลกากร ฉ้ อ
ฉลภาษี เช่ น ไม่ ส่งออกจริงแล้ วขอคืนภาษีสรรพสามิต
ตามภาษีชนิดของนา้ มันเชือ้ เพลิงนัน้ ๆ ส่ วนนา้ มัน
เชือ้ เพลิงนามาขายในประเทศในราคาถูกให้ สถานี
บริการจาหน่ ายนา้ มันเชือ้ เพลิง และ แอบลักลอบเอา
นา้ มันเชือ้ เพลิงหรือก๊ าซปิ โตรเลียมส่ งออกไปตามแนว
ชายแดนให้ กับประเทศเพื่อนบ้ าน ทาให้ รัฐเสียหาย
การสาแดงเท็จฉ้ อฉลภาษี
- ไม่ ส่งออกจริงขอคืนภาษีสรรพสามิต
- ปลอมเอกสารทั้งหมดขอคืนภาษีสรรพสามิตทั้งหมด
- นานา้ มันทีไ่ ม่ ส่งออกมาขายในประเทศราคาถูก
- ปลอมปนนา้ มันเชื้อเพลิงในรถขนส่ งนา้ มันแล้วส่ งออก
- เอกสารส่ งออกไม่ ตรงตามความจริงกับจานวนนา้ มันที่
ส่ งออก
การปฏิบัติตรวจนา้ มันส่ งออกนา้ มันทางบกโดยฉ้ อฉลภาษี (ภารกิจเฝ้ าด่ าน)
วัตถุประสงค์ และความสาคัญของการเฝ้ าด่ าน
๑. ป้องกันมิให้ รัฐสู ญเสี ยรายได้ ภาษีโดยวิธีการฉ้ อฉล คือ
๑.๑ ไม่ มีการส่ งออกจริงแต่ ขอคืนภาษีส่งออก (สิ นค้ าส่ งออกส่ วน
ใหญ่ รัฐจะคืนภาษีให้ เพือ่ ส่ งเสริมการส่ งออกนารายได้ เข้ าประเทศ) ส่ วน
ยอดที่ส่งออก นามาขายในประเทศ
๑.๒ มีการส่ งออกจริง แต่ นากลับเข้ ามาขายในประเทศ และขอคืน
ภาษีส่งออก
๒. เพิม่ รายได้ เข้ ารัฐในการขายนา้ มันภายในประเทศ
ขั้นตอนการปฏิบัติ และ การตรวจสอบเอกสาร
๑. การเฝ้ าจุด แบ่ งกาลังออกเป็ น ๒ ชุ ด
๑.๑ ชุ ดที่ ๑ ประจาจุด ณ ด่ านศุลการกร (ทีท่ าการ)
(๑) ประสานข้ อมูล ขอทราบรายละเอียดการส่ งออกนา้ มันเชื้อเพลิง
โซเว้ นท์ ในแต่ ละวัน (เจ้ าหน้ าทีศ่ ุลการกร/ชิบปิ้ ง) จัดทาบันทึกรายการให้
ละเอียดครบถ้ วน เช่ น วันเวลา ชื่อบริษัทส่ งออก,ผู้ดาเนินการส่ งออก(ชิบ
ปิ้ ง),ชนิดจานวนปริมาณ,สถานทีต่ ้ นทาง,ช่ องทางการส่ งออก,สถานที่รับ
ปลายทาง,ชื่อผู้ขบั ขี,่ ทะเบียนรถ ฯลฯ
(๒) รถบรรทุกนา้ มัน เดินทางถึง ชิบปิ้ งทาพิธีการทางศุลกากรเสร็จ
สิ้น
(๓) ก่ อนรถบรรทุกนา้ มันฯเดินทางออกจากด่ านศุลกากร ไปช่ องทาง
ส่ งออกตรวจสอบเอกสาร เช่ น
- ใบกากับการขนส่ ง
- ใบขนสิ นค้ าออก (กศก.101/1)
- ใบแสดงสิ นค้ าส่ งออกทางบก (ศบ.3)
- เอกสารขอคืนภาษี (ภษ.01 – 28)
- ใบอนุญาตให้ ส่งสิ นค้ าออกจากกรมการค้ าต่ างประเทศ (อ.4)
และร่ วมกับสรรพสามิต/เจ้ าหน้ าทีศ่ ุลกากร เปิ ดสิ นค้ า(นา้ มัน) ตรวจสอบ
ตรงตามรายการ และสารมาร์ คเกอร์
(๔) เสร็จสิ้นแล้ วรถบรรทุกนา้ มันออกเดินทางแจ้ งกาลังชุ ดที่ 2 ทราบ
๑.๒ ชุ ดที่ 2 ประจาจุดช่ องทางส่ งออก จุดผ่ านแดน(ไม้ ก้นั )
(๑) เมื่อรถบรรทุกนา้ มันฯ เดินทางถึงเพือ่ จะผ่ านแดนให้ จัดทา
บันทึกรายการให้ ละเอียดครบถ้ วน เช่ น วัน เวลา ทีผ่ ่ านแดน ชนิด จานวน
ปริมาณ ทะเบียนรถ ฯลฯ ( ในกรณีเฉพาะ จว.จันทบุรี ตราด ) เจ้ าหน้ าที่
กจต.จัดทาการตรวจสอบสิ นค้ า ( นา้ มันฯ ) อีกครั้งหนึ่ง ชป.ปนม.ร่ วม
ตรวจด้ วย
(๒) ในส่ วนของ ศุลกากร จะลงสมุดตรวจ คุมการตรวจปล่ อย
สิ นค้ าอีกครั้งหนึ่ง
(๓) ในส่ วนของ ตม. จะลงสมุดตรวจ คุมการตรวจยานพาหนะ
(ตม.4) และผู้ขบั ขี่ (ตม.2)
(๔) เมือ่ รถบรรทุกนา้ มันฯ(รถเปล่ า) ผ่ านแดนกลับเข้ ามาให้ จด
บันทึก วัน เวลา ทีก่ ลับเข้ ามาไว้ เป็ นหลักฐาน พร้ อมตรวจดูว่าเป็ นรถเปล่ า
จริง (ตามแบบ ศบ.1)
(๕) ตรวจดูลายมือชื่อศุลกากรประเทศคู่ค้า ในใบรับรองการขนขึน้
(CERTIFICATEOF LANDING) และใบ ภษ 01 – 28
๒. รวบรวมเอกสารที่ได้ จากข้ อ 1 จัดทาเป็ นสถิติการส่ งออกแต่ ละวันใน
รอบ 1 เดือน
๓. ทาหนังสื อขอทราบยอดการส่ งออกสิ นค้ า ( เฉพาะนา้ มันฯ ) จากด่ าน
ศุลกากรในรอบเดือนเดียวกัน
๔. ทาหนังสื อ ขอทราบจานวนยานพาหนะ/คนขับ จาก ตม. ในรอบเดือน
เดียวกัน
๕. นาผลที่ได้ จากข้ อ 2,3,4 มากระทบทาตารางตรวจเปรียบเทียบ
วิเคราะห์ ผลรายงานครงกันหรือไม่ เสนอผู้บังคับบัญชา
๖. พบการกระทาความผิด
๖.๑ นาเข้ าของ (สิ นค้ า) ที่ 1) ไม่ เสี ยภาษี 2) ของต้ องกากัด 3)ของ
ต้ องห้ าม 4)มิได้ ผ่านศุลกากรโดยถูกต้ อง เข้ ามาในราชอาณาจักร โดย
หลีกเลีย่ งภาษีศุลกากรแจ้ งข้ อกล่ าวหา นาเข้ าของ (สิ นค้ าอะไร
............................) ซึ่งเป็ นของที่ 1) หรือ 2) หรือ 3) หรือ 4) เข้ ามาใน
ราชอาณาจักร โดยหลีกเลีย่ งภาษีศุลกากร ม.27 โทษ ปรับ 4 เท่ า/10 ปี
๖.๒ ช่ วยซ่ อนเร้ น/รับไว้ ด้วยประการใดๆสิ นค้ าตามข้ อ 6.1 ผิด ม.27
ทวิ โทษ (ปรับ 4 เท่ า/5 ปี )
๖.๓ ส่ งออกของ (สิ นค้ า) ทีม่ ไิ ด้ ผ่านศุลกากรโดยถูกต้ อง แจ้ งข้ อ
กล่ าวหาพาของ (สิ นค้ าอะไร..........................) ด้ วยการขนของโดยพยายาม
หลีกเลีย่ งบทกฎหมาย และหลีกเลีย่ งข้ อห้ าม หรือ ข้ อจากัดใดๆอันเกีย่ วกับ
การส่ งของออกไปนอกราชอาณาจักร ผิด ม.27 (ปรับ 4 เท่ า/10 ปี )
๓. ลักลอบนานา้ มันโครงการนา้ มันเขียวที่
ขายให้ กับเรือประมงในเขตต่ อเนื่องระยะ 12 – 24
ไมล์ ทะเล ซึ่งถูกกว่ านา้ มันบนบกได้ รับการยกเว้ น
ภาษี สรรพสามิต ภาษีเทศบาล ภาษีลูลค่ าเพิ่ม
กองทุนนา้ มันเชือ้ เพลิง และกองทุนอนุรักษ์
พลังงาน ลักลอบนามาขายบนบก ข้ อหา ตาม
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 มาตรา 161(2)
และมาตรา 162(2) แล้ วแต่ กรณี ทาให้ รัฐเสียหาย
• โครงกำรจำหน่ำยน้ำมันดีเซล(น้ำมันเขียว)
สำหรับประมงในเขตต่อเนื่องของรำชอำณำจักร
นำน้ำมันเขียวจำหน่ำยในช่วงระหว่ำง 12 – 24 ไมล์
ทะเล กลับเข้ำมำจำหน่ำยในชำยฝั่ง
นำน้ำมันนอกระบบหรือน้ำมันเถื่อนจำกต่ำงประเทศ
เข้ำมำจำหน่ำยในเขตน้ำมันเขียว หรือน่ำนน้ำชำยฝั่ง
หรือบนบก
กำรจำหน่ำยน้ ำมันดีเซลในเขตต่อเนือ่ ง (นำไปพักไว้ ณ คลังน้ ำมัน)
12-24 ไมล์
12 ไมล์ เขตต่อเนือ่ ง
วิธีกำรปฏิบตั ิและกำรกำรควบคุม

Tanker

โรงกลันน
่ ้ ำมัน คลังน้ ำมัน
- ยื่นคำขอ - ตรวจสอบซีล/ใบกำกับ
กำรขน
- ตรวจวัดปริมำณจ่ำย
- ตรวจวัดปริมำณ
- ซีลพำหนะขนส่ง
- ตรวจสอบหลักฐำนของ
- ใบกำกับกำรขน
ศุลกำกร/ ปนม.
- เติมสีเขียว
เรือประมง
- เติม Marker
กำรจำหน่ำยน้ ำมันดีเซลในเขตต่อเนือ่ ง (โดยตรง)
กำรควบคุมของกรมสรรพสำมิต 12-24 ไมล์
12 ไมล์ เขตต่อเนือ่ ง

โรงอุตสำหกรรม Tanker
- ยืน่ คำขอ
- ตรวจวัดปริมำณ
- เติมสีเขียว
- เติมสำร Marker
- ตรวจสอบหลักฐำน
ของศุลกำกร, ปนม. เรือประมง
๔ . ลักลอบนานา้ มันเชือ้ เพลิงเขตปลอด
อากร( Free Zone Area) ที่อธิบดีกรมศุลกากร
อนุมัตใิ ห้ สินค้ านา้ มันนาเข้ า ได้ รับสิทธิการ
ยกเว้ นภาษีศุลกากรนามาจาหน่ ายให้ กับผู้ใช้
นา้ มันเชือ้ เพลิงในราคาถูก ตาม มาตรา ๑๐
ทวิ และมาตรา ๙๗ ตรี พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.
๒๔๖๙
๕. ลักลอบนานา้ มันเชือ้ เพลิงที่นาเข้ ามาเปลี่ยนถ่ าย
ยานพาหนะหรื อ ถ่ ายลา (Transhipment Cargo)เพื่อส่ งออก
ไปยังต่ างประเทศเพื่อนบ้ าน โดยไม่ ต้องเสียภาษีอากรขาเข้ า
ตาม พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.๒๔๖๙ มาตรา ๕๘ และมาตรา
๑๒๑ แล้ วลักลอบจาหน่ ายในประเทศ ราคาถูก ข้ อหา ตาม
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ๒๕๒๗ มาตรา ๑๖๑(๒) และ
มาตรา ๑๖๒(๒) แล้ วแต่ กรณี
กำรขนน้ำมันผ่ำนแดน (ถ่ำยลำ)
น้ำมันเดินทำงจำกประเทศมำเลเซียผ่ำนไป
ประเทศปลำยทำง ระหว่ำงทำงลักลอบด ูดขำยใน
เมืองไทย หรือสถำนีบริกำรน้ำมันรำยย่อย แล้ว
วิ่งรถยนต์ไปยังด่ำนศ ุลกำกรปลำยทำง
หมำยเหต ุ ตรวจด ูเอกสำรใบขนสินค้ำถ่ำยลำ
ใบขนสินค้ำผ่ำนแดน ซีลดวงตรำตะกัว่ กศก.
กำรขนน้ำมันผ่ำนแดน (ถ่ำยลำ)
กำรนำผ่ำนประเทศ ไม่ถือว่ำเป็นกำรนำเข้ำ
เพื่อผ่ำนแดน (Transit) เฉพำะไปประเทศ สปป.ลำว เท่ำนัน้
เพื่อถ่ำยลำ (Tran Shipment) ยกเว้นประเทศ สปป.ลำว
๖. โรงกลั่น, คลังนา้ มันเชือ้ เพลิง จัดเก็บภาษีไม่
ครบถ้ วน เช่ น ภาษีนา้ มันเบนซิน ลงบัญชี คลัง โรง
กลั่นรายการเสียภาษีเป็ นนา้ มันเตาที่ไม่ ตรงตามความ
จริงจะเสียภาษีท่ ตี ่ากว่ านา้ มันที่จาหน่ ายออกไป
ลักลอบเอานา้ มันเตาออกนอกระบบแจ้ งเป็ นของเสีย
หรือแจ้ งเป็ นสารละลายโซลเว้ นท์ ออกไปเพื่อยกเว้ น
ภาษีแล้ วตบแต่ งบัญชี ทาให้ รัฐเสียหายจัดเก็บภาษี
นา้ มันเชือ้ เพลิงได้ ไม่ ครบถ้ วน
กำรจัดเก็บภำษีหน้ำโรงกลัน่ ไม่ครบถ้วน
ใบกำกับกำรขนเป็นน้ำมันชนิดหนึ่งแต่น้ำมันที่ขน
ออกมำเป็นอีกชนิดหนึ่ง ไม่ตรงกันเพื่อเลี่ยงภำษี
ขนน้ำมันจำกโรงกลัน่ แต่ออกใบกำกับกำรขนโดยไม่มี
ตัวตน(โซลเว้นท์) โรงกลั่น คลัง แจ้ งเสียภาษีเท็จ หรื อ ไม่
แจ้ งตามความเป็ นจริง
๗. สารละลายไฮโดรคาร์ บอน (solvent ) บาง
ประเภท ที่ได้ รับการยกเว้ นภาษี ซึ่งนาไปใช้ ในโรงงาน
อุตสาหกรรม แต่ กลับนาไปใช้ ผสมปลอมปนนา้ มัน
เชือ้ เพลิง แล้ วนามาจาหน่ ายให้ กับผู้ใช้ นา้ มัน หรือ
สถานีบริการจาหน่ ายนา้ มันเชือ้ เพลิง จะได้ กาไรใน
ส่ วนต่ างของสารละลายโซลเว้ นท์ ทาให้ รัฐบาลและ
ประชาชนผู้บริโภคเสียหาย
วัตถุประสงค์ และความสาคัญของการตรวจสอบ
๑. ป้องกันโซลเว้ นท์ ท่ ไี ด้ รับการยกเว้ นภาษีออกนอกระบบไปปลอมปน
นา้ มัน
๒. รั ฐจัดเก็บภาษีนา้ มันเชือ้ เพลิงได้ ตามระบบครบถ้ วน
๓. รั กษาสภาพเครื่องยนต์ และสภาวะสิ่งแวดล้ อมอากาศมีพษิ
๔. ส่ งเสริมการผลิตในภาคอุตสาหกรรม
วิธีการตรวจสอบสารละลาย Solvent
คลัง/โรงกลั่น ต้ นทาง ตัวแทน Jobber ผู้ใช้ ปลายทาง
- สค.01 - สค.02 ก - สค.02, 04ก

ยานพาหนะ ออกนอกระบบ
1.ป้ายแสดง ”สารละลายไฮโดคาร์ บอนด์ ” 1. ปั ้ม
2. ใบอนุญาตขับขี่ ประเภท 4 2. คอก
3. ใบกากับการขนส่ ง นา้ มัน/Solvent 3. โรงงานอุตหกรรม
4. ซีล 4. อื่นๆ
5. สี/กลิ่น
6. ซักถาม สังเกตพฤติการณ์
7. ต้ องสงสัย/ตักตัวอย่ างส่ งพิสูจน์
8. ติดตาม
9. วิเคราะห์ อายัด/จับกุม
ข้อกฏหมาย

๑. พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527
๒. ประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้ นภาษีสาหรับ
สารละลายไฮโดรคาร์ บอน ลง 13 ก.ย. 2543
๓. พ.ร.บ.การค้ านา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.2543 (หมวดคุณภาพ)
การตั้งข้ อกล่ าวหา
กระทาความผิดตาม มาตรา 161 (1) ฐานความผิด
- มีไว้ ในครอบครองซึง่ สินค้ าโดยรู้วา่ เป็ นสินค้ าที่มิได้ เสียภาษี
- มีไว้ ในครอบครองซึง่ สินค้ าโดยรู้วา่ เป็ นสินค้ าที่เสียภาษีไม่ครบถ้ วน
กระทาความผิดตาม มาตรา 161 (2) ฐานความผิด
- มีไว้ ในครอบครองโดยไม่มีสิทธิโดยชอบด้ วยกฎหมายซึง่ สินค้ าที่ได้ รับ
การยกเว้ นภาษีหรื อได้ รับคืนภาษีแล้ ว
บทกาหนดโทษ ต้ องระวางโทษปรับตังแต่ ้ 2 เท่าถึง 10 เท่าของ
ค่าภาษีที่จะต้ องเสีย แต่ต้องไม่ต่ากว่าหนึง่ ร้ อยบาท
หน้ าทีข่ องผู้แทน / ผู้ใช้
1. กรณีผู้ใช้ ทเี่ ป็ นตัวแทนการขนสารละลายฯ ไปยังผู้ใช้ อนื่ หรือสถานทีอ่ นื่ ตั้งแต่
5,000 ลิตรขึน้ ไป ต้ องจัดทา และมีใบกากับการขนส่ งแบบที่ 2 กากับไปด้ วย
และต้ องขนส่ งไปตามเส้ นทางกาหนดในใบขน
2. ในการขนส่ งสารละลายฯ ยานพาหนะที่ใช้ ขนส่ งสารละลายที่ได้ รับการ
ยกเว้ นภาษีต้องแสดงข้ อความ “สารละลายประเภทไฮโดรคาร์ บอน” หรื อ
“Hydrocabon Solvent” โดยใช้ อักษรสีส้มขนาดไม่ น้อยกว่ า 2 * 1
นิว้ พืน้ สีขาว ขนาดไม่ น้อยกว่ า 6 * 31 นิว้ แสดงไว้ ด้านข้ างหรื อด้ านหน้ า
ของยานพาหนะ ตลอดระยะเวลาการขนส่ ง
3. ตัวแทน / ผู้ใช้ ท่ รี ั บสารละลาย ตัง้ แต่ 5,000 ลิตรขึน้ ไป ต้ องแจ้ งการรั บ
สารละลายนัน้ เป็ นหนังสือ หรื อโดยการโทรสาร หรื อ โทรศัพท์ ในเวลาทา
การทางราชการต่ อ ผอ.สานักบริหารการจัดเก็บภาษี หรื อ สส.พท.
หน้ าทีข่ องผู้แทน / ผู้ใช้
4. ผู้ใช้ ต้องจัดทาบัญชีประจาวัน (สค.03) ตามแบบพร้ อมเอกสารประกอบไว้ ท่ ี
สถานประกอบการ หรื อ สถานที่เก็บสารละลายฯ โดยให้ ทาให้ แล้ วเสร็จ
ภายใน 3 วัน นับแต่ วันที่มีเหตุท่ จี ะต้ องลงรายการเกิดขึน้ และให้ เก็บรักษา
ไว้ ไม่ น้อยกว่ า 5 ปี
5. ผู้ใช้ ต้องจัดทางบเดือน (สค. 04, 04ก) ตามแบบพร้ อมส่ ง สานักบริหารการ
จัดเก็บภาษี 2 หรื อ สส.พท. ทราบ ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
๘. โรงงานผลิตนา้ มันเชือ้ เพลิงตามกฎหมายของ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม ประเภททดแทนเชือ้ เพลิง โดย
ผลิตมาจาก นา้ มันหล่ อลื่นเก่ า นา้ มันเครื่ องเก่ า หรื อ นา้ มัน
เสียจากเรื อเดินทะเล (สลักออยล์ ) ผลิตเป็ นนา้ มันใหม่
จาพวกนา้ มันเตา หล่ อลื่นเอาไปทานา้ มันหล่ อลื่น หรื อ
นา้ มันเครื่ องปลอม ไม่ เสียภาษีสรรพสามิต ทาให้ รัฐเสียหาย
ประชาชนผู้บริโภคเสียหายเพราะนา้ มันไม่ ได้ คุณภาพ
กล่ มุ ที่ ๒
การจับกุม ผู้กระทาความผิดขบวนการ ปลอมปนนา้ มันเชื้อเพลิง
ทุกชนิด ไม่ ได้ คุณภาพ ตามทีอ่ ธิบดีกรมธุรกิจพลังงานประกาศ
กาหนด นามาจาหน่ ายโดยหลอกลวงผู้บริโภค ๗ รูปแบบ
คุณภาพนา้ ม ัน

ชนิด ั ษฐาน
ข้อสนนิ ตรวจพบ

น 91 ปนแก๊สโซฮอล์ สส ้ , ตรวจพบเอทานอล
ี ม
ปนโซลเว้นท์ ออกเทน ตา ่ กว่า 90.6 ,
การกลน
่ ั อุณหภูมท ิ ี่ 50% ตา
่ กว่า 70oC
ปนเมทานอล มีเมทานอล , ค่าการกลน
่ ั ที่ 50% ตา
่ กว่า 70oC

ปนดีเซล ออกเทน ตา ่ กว่า 90.6 ,


จุดเดือดสุดท้าย สูงกว่า 200oC
ออกเทน 91 ปนนา้ เอทานอล ตา
่ กว่าร้อยละ 9 โดยปริมาตร

ออกเทน 95 ปนโซลเว้นท์ การกลน


่ ั อุณหภูมท
ิ ี่ 50% ตา
่ กว่า 70oC
๑. การปลอมปนกลุ่มนา้ มันเบนซิน ชนิด 95, 91
โดยใช้ สารละลายไฮโดรคาร์ บอน(โซลเว้ นท์ ) ก๊ าซ
ธรรมชาติเหลว (NGL) เอทานอล และสารอื่น ๆ ผู้
ปลอมปนจะได้ กาไรในส่ วนต่ างของราคา ชนิดสารที่
ปลอมปน ข้ อหา ตาม พ.ร.บ.การค้ านา้ มันเชือ้ เพลิง
มาตรา 25 มาตรา 48 มาตรา 49 และมาตรา 50 เพื่อ
จาหน่ าย
การตรวจสอบปลอมปนนา้ มัน
• การปลอมปนนา้ มัน ผสมโชลเว้ นท์ , NGL,เอทานอล
• วิธีการตรวจสอบให้ ใช้ นา้ ยาวัดนา้ ในขณะนีม้ ีอยู่ 2 ชนิด
• ชนิดที่ 1 เป็ นแบบใช้ กับนา้ มันกลุ่มเบนซิน
• ชนิดที่ 2 เป็ นแบบใช้ กับนา้ มันกลุ่มแก๊ สโซฮอล์
• การหาค่ า API ก็สามารถตรวจสอบได้
• การเก็บนา้ มันใต้ ถังมาตรวจสอบสีกับสีนา้ มันที่อยู่ส่วนบน
ของถังในแต่ ละช่ อง ก็จะพบว่ ามีสีแตกต่ างกัน
การปลอมปนนา้ มันเพื่อจาหน่ ายตาม พ.ร.บ.การค้ านา้ มัน พ.ศ. ๒๕๔๓
มีความผิดตามข้ อหา ดังนี ้
๑. จาหน่ ายหรือครอบครองนา้ มันเชือ้ เพลิงที่มีคุณภาพแตกตางจากที่
อธิบดีกาหนด ม.๒๕ ม.๔๘
๒. ผู้ใดกระทาการปลอมปนนา้ มันเชือ้ เพลิง หรื อกระทาการอย่ างหนึ่ง
อย่ างใด อันทาให้ ลักษณะหรือคุณภาพของนา้ มันแตกต่ างไป
จากที่อธิบดีประกาศกาหนด หรื อให้ ความเห็นชอบ ม.๒๕
วรรคหนึ่ง ม.๔๙
๓. ผู้ใดมีไว้ ในความครอบครองซึ่งนา้ มันเชือ้ เพลิงที่มีคุณภาพหรือ
ลักษณะแตกแตกต่ างจากที่อธิบดีกาหนดมีปริมาณสองร้ อยลิตรขึน้ ไปให้
สันนิษฐานไว้ ก่อนว่ าผู้นัน้ เป็ นผู้กระทาการปลอมนา้ มันเชือ้ เพลิงเพื่อ
จาหน่ าย ม.๒๕ วรรคหนึ่ง ม.๕๐
๒. การปลอมปนนา้ มันเชือ้ เพลิงชนิดแก๊ สโซฮอลล์
ทุกประเภท โดยใช้ สารละลายไฮโดรคาร์ บอน(โซลเว้ นท์ )
, ก๊ าซธรรมชาติเหลว (NGL), เอทานอล และสารอื่น ๆ ผู้
ปลอมปนจะได้ กาไรในส่ วนต่ างของราคา ชนิดสารที่
ปลอมปน ข้ อหา ตามข้ อ ๑
๓. การปลอมปนนา้ มันดีเซล โดยใช้ สารเคมีต่างๆ
เช่ นเดียวกับ ๑ – ๒ ข้ อหา ความผิดตามข้ อ ๑.
๔. การปลอมปนนา้ มันเตา โดยใช้ นา้ มันเครื่องเก่ าที่ใช้ แล้ ว หรือสาร
สลักออยล์ (นา้ มันเรือเดินทะเล) ของเสี ยวัตถุอนั ตรายโซลเว้ น,NGL,เอ
ทานอล,เมทานอล, ข้ อหา ตามข้ อ ๑
๕. การปลอมปนนา้ มันหล่ อลืน่ 4 จังหวะซึ่งใช้ กบั รถยนต์ ชนิด
เบนซีน และชนิดดีเซล (ธพ.) และ การปลอมปนนา้ มันเครื่องชนิด
2 จังหวะ ( มอก.) ซึ่งใช้ กบั รถจักรยานยนต์ โดยใช้ นา้ มันหล่ อลืน่ เก่ า
ซึ่งผ่ านขบวนการรีไซเคิล จากโรงงานอุสาหกรรม มาทาขึน้ ใหม่
จาหน่ ายให้ กบั ผู้บริโภค ตามพ.ร.บ.การค้ านา้ มันเชื้อเพลิง
พ.ศ.2543, พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 47,พ.ร.บ.
ผลิตภัณฑ์ มาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ.2511 และกฎหมายอาญา
มาตรา 271
๖. การปลอมปนก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว LPG เช่ น ใช้ นา้ มันชนิด
ไวไฟน้ อยผสม หรือใช้ นา้ ผสม ทาให้ มีนา้ หนักในถังก๊ าซหุงต้ มเพิม่
มากขึน้ ปริมาณนา้ ก๊ าซเหลือน้ อยลง แล้ วนาไปจาหน่ ายให้ กบั
ผู้บริโภค ทาให้ รัฐ และผู้บริโภคเสี ยหาย
๗. สถานทีเ่ ก็บนา้ มันเชื้อเพลิง โดยไม่ มีใบอนุญาตประกอบกิจการ
ควบคุมประเภทที่ ๓ หรือ ใบรับแจ้ งประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๒
ตาม พ.ร.บ.ควบคุม พ.ศ.๒๕๔๒ มักจะใช้ นา้ มันทีม่ คี ุณภาพตา่ ทุกชนิด
และ สารชนิดต่ างๆ ปลอมปนแล้ วนามาจาหน่ ายให้ กบั ผู้ใช้ นา้ มัน หรือ
สถานีบริการจาหน่ ายนา้ มันเชื้อเพลิง ( ปั้มนา้ มัน ) เป็ นเหตุทาให้ รัฐ และ
ผู้บริโภคได้ รับความเสี ยหาย เช่ น เครื่องยนต์ เครื่องเสี ยหาย ฯลฯ
กลุ่มที่ ๓
การจับกุมผูก้ ระทาความผิดเกี่ยวกับด้านความ
ปลอดภัย สุ ขภาพ และอนามัย ของผูบ้ ริ โภค โดยไม่มี
ใบอนุญาต จากพนักงานเจ้าหน้าที่ ใบจดทะเบียนผูค้ า้
น้ ามันเชื้อเพลิง ใบรับแจ้งผูค้ า้ น้ ามันเชื้อเพลิง และการ
กระทาผิดเงื่อนไข เกี่ยวกับใบอนุญาต ใบจดทะเบียน
และใบรับแจ้ง ๑๑ รู ปแบบ
๑. ใบอนุญาตเกี่ยวกับคลังนา้ มันเชือ้ เพลิง ม.7 (125 ราย โรง
กลั่น 7 แห่ ง) ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา
๑๗ และมาตรา ๖๕ และ กฎกระทรวงพลังงาน พ.ศ.๒๕๕๖ ลงวันที่
๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้ อ ๔๔ จานวน ๒๓ ใบอนุญาต
๒. ใบอนุญาตเกี่ยวกับตัวแทนผู้ค้านา้ มันเชือ้ เพลิง ( Jobber ) ม.10
( คลัง ๕๐ แห่ ง ) ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒
ใบอนุญาต เช่ นเดียวกันกับข้ อ ๑
๓. ใบอนุญาตประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓ ทุกประเภท
ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชื้อเพลิง พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ และ มาตรา
๖๕ และ กฎกระทรวงพลังงาน ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพัน์
พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้ อ ๔๔ (มี ๒๓ข้ อหา )

๔. ใบอนุญาต ใบจดทะเบียน และใบรับแจ้ งสถานีบริการจาหน่ ายนา้ มัน


เชื้อเพลิง ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มัน ฯ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ และ มาตรา
๖๕ และ พ.ร.บ.การค้ านา้ มัน ฯพ.ศ.๒๕๔๓ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๕๘
สถานีบริการจาหน่ ายนา้ มันเชื้อเพลิง ( ปั้ม ) มี 6 ประเภท
๕. ใบอนุญาตเกีย่ วกับนา้ มันหล่ อลืน่ , นา้ มันเครื่อง 4 จังหวะหรือดีเซล,
2 จังหวะ จัดเก็บนา้ มันเชื้อเพลิง ประเภทที่ ๓ และ ประเภท ที่ ๓ ตาม
พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๓ และมาตา ๖๕

๖. ความผิดด้ านฉลาก ( ฉลากไม่ ถูกต้ อง ) พ.ร.บ.คุ้มครอง


ผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๓๐ และมาตรา ๕๒
๗. ใบอนุญาตเกีย่ วกับโรงบรรจุก๊าซ ,สถานีบริการจาหน่ าย
ก๊ าซ,ร้ านค้ าก๊ าซ,สถานที่ใช้ และโรงเก็บก๊ าซ ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มัน
เชื้อเพลิง พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๗ มาตรา ๖๓ และมาตรา ๖๕ และ
กฎกระทรวงพลังาน พ.ศ.๒๕๕๖ ลง ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้ อ
๔๓ ข้ อ ๔๔ ประเภท ๒ และ ประเภท ๓

๘. การผิดเงือ่ นไขเกีย่ วกับใบอนุญาต,ใบรับแจ้ งทุกประเภท ตาม


พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ และ
มาตรา ๖๕ ประเภท ๒ และ ประเภท ๓
๙. ใบอนุญาตเกีย่ วกับวัตถุอนั ตรายประเภทที่ 3 (นา้ มันหล่ อลืน่
ใช้ แล้ ว) และวัตถุอนั ตรายอืน่ ๆ ตาม พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๓ และ มาตรา ๗๒ และผิดเงือ่ นไข

๑๐. ใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพฯ


เกี่ยวกับท้องถิ่น เทศบาล, อบต. ตาม พ.ร.บ.การสาธารสุ ข พ.ศ.๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ และมาตรา ๗๑ และผิดเงื่อนไข
๑๑. ใบอนุญาตเกีย่ วกับ พ.ร.บ.มาตรชั่ง ตวง วัด พ.ศ.๒๕๒๒
มาตรา ๖๒ และ มาตรา ๖๘ ( โกงนา้ หนัก )
๑๒. ใบจดทะเบียนเป็ นผู้ค้านา้ มัน
เชือ้ เพลิง ตาม พ.ร.บ.การค้ านา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.
๒๕๔๓ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๓๘
๑๓. ใบรั บแจ้ งจดทะเบียนเป็ นผู้ขนส่ งตาม พ.ร.บ.
การค้ านา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.๒๕๔๓ มาตรา ๑๒ และมาตรา
๔๑
๑๔. ใบรับแจ้ งประกอบกิจการควบคุมประเภท ๒
ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.๒๕๔๒ และ
กฎกระทรวงพลังงาน ปี ๒๕๕๖ ข้ อ ๔๓ (มี ๘ ข้ อหา)
กลุ่มที.่ ๔
การจับกุมคอกนา้ มัน คือ สถานทีจ่ ดั เก็บนา้ มันเชื้อเพลิงโดยไม่ มใี บอนุญาต,ใบรับแจ้ ง
หรือมีแต่ ผดิ เงือ่ นไข
๑. จับลักทรัพย์ นา้ มันเชื้อเพลิงจาก คลัง โรงกลัน่ คลังเช่ าและ
นา้ มันเชื้อเพลิงของทางราชการ
๒. จับลักทรัพย์ นา้ มันเชื้อเพลิงในรถยนต์ ขนส่ งนา้ มันเชื้อเพลิงของ
ผู้ประกอบการจากคลังนา้ มันเชื้อเพลิง โรงกลัน่ และคลังเช่ า จากต้ นทาง ไป
ส่ งปลายทาง ผู้ขบั รถนา้ มันเชื้อเพลิงจะลักทรัพย์ นา้ มันเชื่อเพลิงโดยวิธีการ
ตัดซีล สู บถ่ ายขายให้ คอกนา้ มันผู้รับซื้อข้ างทางระหว่ างการขนส่ ง
๓. จับลักทรัพย์ นา้ มันเชื้อเพลิงในรถยนต์ บรรทุก ทัว่ ๆ ไป และ
รถยนต์ กระบะปิ คอัพ ของผู้ประกอบการธุรกิจ ลงขายให้ กบั คอกนา้ มัน
๔. จับผู้ขบั ขีร่ ถยนต์ บรรทุกนา้ มัน และรถยนต์ บรรทุกทัว่ ๆ ไป
ปลอมปน นา้ มันเชื้อเพลิงในรถยนต์ บรรทุกนา้ มัน โดยใช้ สารต่ าง ๆ ผสม
เพือ่ ให้ นา้ มันมีปริมาณเท่ าเดิม ส่ วนนา้ มันดีจะนาไปขาย
๕. จับกุมคอกนา้ มัน ตามเส้ นทางถนนทางหลวง ซึ่งจะกระทา
ความผิดเกีย่ วกับกฎหมาย พรบ.ควบคุมนา้ มันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ พรบ.
การสาธารณะสุ ข พ.ศ. ๒๕๓๕ และกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
๖. จับตามกฎหมายท้ องถิน่ อบต.หรือเทศบาล , กฎหมายเกีย่ วกับ
ทางหลวง และกฎหมายเกีย่ วกับ พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชื้อเพลิง พ.ศ.๒๕๔๒
และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
วิธีการตรวจสอบรถยนต์ บรรทุกนา้ มันเชือ้ เพลิง
ขัน้ ตอนการปฏิบัติ การแจ้ งข้ อกล่ าวหาและ
กฎหมาย
1.ตรวจใบอนุญาตขับขี่ประเภทที่ 4 ถ้ าไม่ มี แจ้ งข้ อกล่าวหาไม่มีใบอนุญาตขับขี่
รถยนต์ขนส่งชนิดที่ 4 (วัตถุอนั ตราย) โดยไม่ได้
รับอนุญาต พ.ร.บ.ขนส่งทางบก 2522
2.ตรวจใบอนุญาตการขนส่ง ม.12 ม.93,151

ถ้ าไม่ มี แจ้ งข้ อกล่าวหาประกอบการขนส่งโดย


3.ตรวจใบกากับการขนส่ง ( เงื่อนไข 9 ข้ อ ) ไม่แจ้ งต่ออธิบดี พ.ร.บ.การค้ าน ้ามันเชื ้อเพลิง
2543 ม.12,41

4.ดูซีน/สี/กลิ่น/ ซักถามสังเกตพฤติการณ์ หาก


ถ้ าไม่ มี แจ้ งข้ อกล่าวหาเป็ นผู้ค้าน ้ามันเชื ้อเพลิง
สงสัยส่งตัวอย่างไปตรวจ
ม.7 ม.10 และ ม.11 ไม่ปฏิบตั ิตามวิธีการและ
เงื่อนไขตามที่อธิบดีกาหนด (การขนส่งน ้ามัน
เงื่อนไข 9 ข้ อ) พ.ร.บ.การค้ าน ้ามันเชื ้อเพลิง
5.ติดตามดูและตรวจสอบปลายทาง
2543

6.วิเคราะห์ / อายัด / จับกุม


ถ้ าไม่ มี หลักฐานแจ้ งข้ อกล่าวหามีไว้ ในความ
ครอบครองซึง่ สินค้ า(น ้ามัน)ที่มิได้ เสียภาษี หรื อ
เสียภาษี แต่ไม่ครบถ้ วน พ.ร.บ.ภาษี สรรพสามิตฯ
1.พ.ร.บ.ภาษี สรรพสามิต พ.ศ.2527
มาตรา 161(1)
2.ประกาศกรมทะเบียนการค้ า เรื่ องกาหนเวิธีการและ
เงื่อนไขในการขนส่งน ้ามันเชื ้อเพลิง พ.ศ.2545 ลง 24
มี.ค. 2545
3.พ.ร.บ.การค้ าน ้ามันเชื ้อเพลิง พ.ศ. 2543
ก่ อนการรับหรือสู บถ่ ายนา้ มันเชื้อเพลิงลงสู่ ถงั เก็บนา้ มันเชื้อเพลิงให้
ดาเนินการดังนี้
(1) ตรวจสอบผนึก (SEAL) ที่ฝาท่ อรับและท่ อจ่ ายนา้ มันของ
ยานพาหนะว่ าไม่ มรี ่ องรอยถูกเปิ ดหรือถูกทาลาย
(2) ตรวจสอบค่ าความถ่ วงจาเพาะหรือ ค่ าความถ่ วง API หรือ
ค่ าความหนาแน่ นให้ ตรงกับทีร่ ะบุไว้ ในใบกากับการขนส่ ง
มาตรา 30 การขนส่ งนา้ มันเชื้อเพลิง
• การขนส่งน ้ามันเชื ้อเพลิงของผู้ค้าน ้ามันตามมาตรา 7, 10
หรื อ 11 ต้ องเป็ นไปตามวิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกาหนด
• โทษ (มาตรา 56) ไม่ ปฏิบัติตามวิธีการและเงื่อนไขการขนส่ ง
ผูค้ า้ ม.7
- จาคุก ไม่เกิน 2 ปี และ / หรื อ
- ปรับ ไม่เกิน 200,000 บาท
ผูค้ า้ ม.10 และ 11
- จาคุก ไม่เกิน 1 ปี และ / หรื อ
- ปรับ ไม่เกิน 100,000 บาท
การจาหน่ ายหรือขนถ่ ายนา้ มันของผู้ค้า ตาม ม.7, ม.10 หรือ ม.11 ที่
ต้ องการขนส่ งไม่ ว่าจะ ขนส่ งเอง หรือว่ าจ้ าง ม.12 เป็ นผู้ขนส่ งต้ อง
ปฏิบัติตามเงื่อนไขเกีย่ วกับการขนส่ ง ดังนี้
1. จัดทาใบกากับการขนส่ งนา้ มันมอบให้ ผู้ควบคุม
ยานพาหนะเพือ่ นาติดกากับไปกับยานพาหนะจนถึง สถานที่ส่งมอบ
ปลายทาง
2. รายการในใบกากับการขนส่ งอย่ างน้ อยต้ องมีรายการ
ดังต่ อไปนี้
(1) ชื่อผู้ค้านา้ มันทีจ่ ่ ายนา้ มันและสถานทีจ่ ่ ายนา้ มัน
(2) วันที่และเลขที่ออกใบกากับการขนส่ งนา้ มัน
(3) ชื่อผู้รับนา้ มันเชื้อเพลิงและสถานทีส่ ่ งมอบนา้ มัน
(4) ชื่อและทีอ่ ยู่ของผู้ขนส่ ง
(5) เลขทะเบียนยานพาหนะที่ใช้ ขนส่ ง ในกรณีขนส่ งโดย
ทางเรือ ให้ ระบุชื่อเรือทีข่ นส่ งในแต่ ละเทีย่ ว
(6) วันและเวลาที่ออกเดินทางจากสถานที่จ่ายนา้ มันต้ นทางและ
ประมาณวันและเวลาที่ถึงปลายทาง
(7) ชนิดและปริมาณนา้ มันเชื้อเพลิงที่ขนส่ ง
(8) ระบุหมายเลขประจาตรา (SEAL) หรือ รหัส
ELECTRONIC SEAL หรือระบุว่าใช้ ระบบปิ ดผนึก
อัตโนมัติ (SEALED DELIVERY SYSTEM หรือ ระบบ
SEALED PARCEL DELIVERY) ที่ใช้ ปิดผนึกฝาท่ อรับ
และท่ อจ่ ายนา้ มันเชื้อเพลิงของยานพาหนะที่ขนส่ งใน
แต่ ละเที่ยว
(9) ค่ าความถ่ วงจาเพาะ หรือค่ าความถ่ วง APIหรือค่ า
ความหนาแน่ นของนา้ มันเชื้อเพลิง ให้ เก็บสาเนาใบกากับ
การขนส่ งนา้ มันเชื้อเพลิง ดังกล่าวไว้ เป็ นเวลา ไม่ น้อยกว่ า 60
วัน นับแต่ วนั ที่จ่ายนา้ มันเชื้อเพลิง
- ใช้ ใบกากับสิ นค้าหรือใบกากับภาษีแทนใบกากับการ
ขนส่ งก็ได้ แต่ ต้องมีรายการไม่ น้อยกว่ ารายการที่กาหนดไว้ ใน
ใบกากับการ ขนส่ ง
- กรณีซื้อขาย จาหน่ าย หรือขนถ่ ายนา้ มันที่มีการขนส่ ง
หลายทอด จะออกใบกากับการขนส่ งเพิม่ เติมรายการ หรือสลัก
หลังที่ ใบขนส่ งฉบับเดิมระบุรายการทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง
ก็ได้ โดยต้ องลง ลายมือชื่อกากับไว้ ด้วย
ประกาศกระทรวงพาณิชย์
เรื่อง กาหนดชนิดและปริมาณการขนส่ งนา้ มันเชื้อเพลิงทีผ่ ้ ูขนส่ ง
ต้ องแจ้ งเป็ นผู้ขนส่ งนา้ มันเชื้อเพลิง ตามมาตรา 12 พ.ศ. 2544
ให้ ผู้ขนส่ งนา้ มันเชื้อเพลิง ชนิดก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว นา้ มัน
เบนซิน นา้ มันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องบิน นา้ มันก๊ าด นา้ มัน
ดีเซล นา้ มันเตา และนา้ มันหล่ อลืน่ ที่มีปริมาณการขนส่ ง
นา้ มันแต่ ละชนิด หรือรวมกันทุกชนิด คราวละตั้งแต่ สามพัน
ลิตรขึน้ ไป ต้ องแจ้ งเป็ นผู้ขนส่ งนา้ มันเชื้อเพลิงต่ ออธิบดี
การตรวจสอบรถยนต์ บรรทุกนา้ มัน
เชื้อเพลิง
ผูป้ ระกอบกำรคลังน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว
และผูข้ นย้ำยน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว จะต้อง
ปฏิบตั ิตำมระเบียบดังกล่ำว หำกฝ่ำฝืน
ระเบียบที่อธิบดีกำหนดเกี่ยวกับกำรเก็บ และ
กำรขนย้ำยสินค้ำ จะมีควำมผิดต้องระวำง
โทษปรับไม่เกิน 5,000 บำท
พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527
มาตรา 149 ผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ ปฏิบัตติ ามระเบียบทีอ่ ธิบดีออกตาม
มาตรา 22 (2) (3) หรือ (4) ต้ องระวางโทษปรับไม่ เกินห้ าพันบาท
มาตรา 167 ในกรณีทผี่ ู้กระทาความผิดซึ่งต้ องรับโทษตาม
พระราชบัญญัตนิ ีเ้ ป็ น นิตบิ ุคคล กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือ
ผู้แทนของนิตบิ ุคคลนั้น ต้ องรับโทษตามทีบ่ ัญญัตไิ ว้ สาหรับ
ความผิดนั้นๆด้ วย เว้ นแต่ จะพิสูจน์ ได้ ว่า ตนมิได้ รู้ เห็นหรือยินยอม
ในการกระทาความผิดของบุคคลนั้น
กฤษภาส ศิริปิตุภูมิ (สตป.)
กฤษภาส ศิริปิตุภูมิ (สตป.)
กฤษภาส ศิริปิตุภูมิ (สตป.)
การทุจริตทาลายซีล/แกะซีล/ตียา้ ซีล และลวดซีล
มีความผิดข้ อหา ผู้ค้าตาม ม.๑๐ ม.๑๑ ไม่ ปฏิบัติตาม
เงือ่ นไขตามประกาศกรมทะเบียนการค้ า ลง ๒๔ ม.ค.
๒๕๔๕ ตาม พ.ร.บ.การค้ า ฯ ๒๕๔๓ ม.๑๓,๓๙ จาคุก
ไม่ เกิน ๖ เดือน ปรับไม่ เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท
วงจรชีวต
ิ ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว LPG
ม.7 ม.7
ม.7/
ม.12
ก๊าซ
โรงแยก
ธรรมชาติ ม.7 คลังก๊าซ
กม.7
๊ าซ
ขนส่งทางม.7 หลัก
ทอ่
โรงกลั น

ม.7/
ม.7/
ม.12
น้ามัน รถยนต ์ โรงบรรจุ ม.12
โรงงาน
อุตสาหกรรม
เรือ ม.7/
โรงแร สถานีบริการ ม.12
ม ก๊าซ
โรงพยาบาล คลังบน
สถานทีใ่ ช้ ม.7
บก
ครัวเรือ
น รานจ าหน่าย

รานอาหารที
้ ใ่ ช้ ก๊าซ สถานีบรรจุ
กลุ่มที่. ๕
การจับกุมก๊ าซปิ โตเลียมเหลว ( LPG ) มี ๘ รู ปแบบ
๑. สถานที่บรรจุก๊าซปิ โตเลียมเหลว มี ๒ ประเภท
โรงบรรจุ และห้ องบรรจุ ข้ อหา ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.
๒๕๔๒ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕ และกฎกระทรวงพลังงาน พ.ศ.๒๕๕๖
ข้ อ ๒ ข้ อ ๔๓ และข้ อ ๔๔ พระราชกาหนด แก้ ไขและป้องกันการขาดแคลนนา้ มัน
เชือ้ เพลิง พ.ศ.๒๕๑๖ มาตาม ๘ และคาสั่ง นายกรั ฐมนตรี ท่ ี ๔/๒๕๔๗

๒.สถานที่เก็บรักษาก๊ าซปิ โตเลี่ยมเหลี่ยมเหลว มี ๓ ประเภท


๒.๑ สถานที่ใช้ ก๊าซปิ โตเลียมเหลว
๒.๒ ร้ านจาหน่ ายก๊ าซปิ โลเลียมเหลว
๒.๓ โรงเก็บก๊ าซปิ โตเลียมเหลว
๓ สถานีบริการจาหน่ ายก๊ าซปิ โลเลียมเหลว (ปั ้มก๊ าซ LPG รถยนต์ ) ปั ้มก๊ าซจาหน่ าย
รถยนต์ มักจะลักลอบบรรจุก๊าซลงในถังหุงต้ ม ซึ่งอาจก่ อให้ เกิดอันตราย
๔ .การจับกุมประเภทและลักษณะกิจการควบคุม ประเภทที่
๑ พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๖๒ มี ๒ ข้ อหา
ตามข้ อ ๔๒ แห่ ง กฎกระทรวงพลังงาน พ.ศ.๒๕๕๖ ลง ๑๘ ก.พ. ๕๖
๕ การจับกุมประเภทและลักษณะกิจการควบคุม
ประเภทที่ ๒ ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ.๒๕๔๒
มาตรา ๖๓ มี ๘ ข้ อหา ตามข้ อ ๔๓ แห่ ง กฎกระทรวงพลังงาน
พ.ศ. ๒๕๕๖ ลง ๑๘ ก.พ.๒๕๕๖
๖ การจับกุมประเภทและลักษณะกิจการควบคุม
ประเภทที่ ๓ ตาม พ.ร.บ.ควบคุมนา้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๖๔ และ มาตรา ๖๕ มี ๒๓ ข้ อหา ตามข้ อ ๔๔ แห่ ง
กฎกระทรวงพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๖ ลง ๑๘ ก.พ.๒๕๕๖
๗. การตรวจสอบจับกุม โรงบรรจุก๊าซหุงต้ ม ตาม ข้ อ ๒๙ (๑) ข้ อ
๔๔(๑๒) แห่ ง กฎกระทรวงพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๖ ลง ๑๘ ก.พ. ๕๖

๘. การตรวจสอบจับกุม ก๊ าซปิ โตเลียมเหลว ตาม พรก.ป้องกันและ


ภาวการณ์ ขาดแคลนนา้ มันเชือ้ เพลิง ๒๕๑๖ และคาสั่ง
นายกรัฐมนตรี ที่ ๔/๒๕๔๗ และ ๔/๒๕๕๔ จานวน ๙ ข้ อหา
อันตราย !!!
เมือ
่ เกิดอุบต
ั เิ หตุ
วอดวาย ตายแน่นอน
กฎหมายทีเ่ กีย
่ วของ

 พระราชบัญญัตริ ถยนต ์ พ.ศ. 2522
- มาตรา 5 (8) ให้รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมรั
่ กษาการตาม
พระราชบัญญัตน ิ ี้ และให้มีอานาจแตงตั ่ ง้ นายทะเบียนและผู้ตรวจการ กับ
ออกกฎกระทรวงกาหนดในเรือ ่ งดังตอไปนี่ ้ …. ประเภท ขนาด และน้าหนัก
ของรถทีจ ่ ะไมให
่ ้เดินบนทางทีม ่ ใิ ช่ทางหลวง
- มาตรา 7 รถทีจ ่ ะจดทะเบียนไดต ้ อง

(1) เป็ นรถทีม่ สี ่ วนควบและมีเครือ ่ งอุปกรณส ์ าหรับรถครบถวนถู
้ กตองตามที
้ ่
กาหนดในกฎกระทรวง และ
(2) ผานการตรวจสภาพรถจากนายทะเบี
่ ยน หรือจากสถานตรวจสภาพที่
ไดรั
้ บอนุ ญาตตามกฎหมายวาด ่ วยการขนส
้ ่ งทางบก ในเวลาทีข ่ อจดทะเบียน
แลว...

โทษ มาตรา 58 ผู้ใดฝ่าฝื นหรือไมปฏิ


่ บต
ั ต
ิ ามกฎกระทรวงออกตามมาตรา
5(8) ตองระวางโทษปรั
้ บไมเกิ
่ นหนึ่งพันบาท
กฎหมายทีเ่ กีย
่ วของ

 คาสั่ งนายกรัฐมนตรีท ี่ 4/2547 ออกตามความใน
มาตรา 3 แหงพระราชก
่ าหนดแกไขและป
้ ้ องกัน
ภาวะการขาดแคลนน้ามันเชือ ้ เพลิง พ.ศ. 2516
คาสั่ งนายกฯ ขอ ้ 23 ห้ามมิให้ผู้ใดนาก๊าซทีบ ่ รรจุในถังก๊าซ
หุงตมไปใช
้ ้เป็ นเชือ้ เพลิงสาหรับยานพาหนะหรือถายก ่ ๊ าซออก
จากถังก๊าซหุงตมนอกสถานที
้ บ
่ รรจุก๊าซ ไมว่ าจะกระท
่ าดวย

วิธก
ี ารใดๆ ทัง้ สิ้ น

โทษ พรก. มาตรา 8 ผู้ใดฝ่าฝื นหรือไมปฏิ


่ บตั ต
ิ ามคาสั่ งของ
นายกรัฐมนตรี หรือผู้ทีไ่ ดรั
้ บมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีซงึ่ สั่ ง
ตามมาตรา 3 ตองระวางโทษจ
้ าคุกไมเกิ
่ น 10 ปี หรือปรับ
ไมเกิ
่ น 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ปัญหาเกีย
่ วกับ LPG
การลักลอบส่งออกไปตางประเทศ

 กฎหมายทีเ่ กีย
่ วของ

- พระราชบัญญัตก ิ ารคาน
้ ้ามันเชือ
้ เพลิง พ.ศ. 2543
มาตรา 24 ในกรณีทม ี่ ค
ี วามจาเป็ นเพือ ่ ป้องกันและแกไขปั
้ ญหาการขาดแคลน
น้ามันเชือ้ เพลิง อธิบดีมอ ี านาจสั่ งเป็ นหนังสื อหรือประกาศในราชกิจจานุ เบกษาให้
ผู้ค้าน้ามัน งดจาหน่ายหรือให้จาหน่ายน้ามันเชือ ้ เพลิงชนิดหนึ่งชนิดใด หรือให้
จาหน่ายน้ามันเชือ ้ เพลิงทีต ่ องส
้ ารองไวตามมาตรา
้ 20 ในการนี้ อธิบดีจะกาหนด
เงือ
่ นไขไวด ้ วยก็
้ ได้
- ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรือ
่ ง กาหนดเงือ
่ นไขในการจาหน่าย
ก๊าซปิ โตรเลียมเหลวไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ. 2551
ห้ามผู้ทีม
่ ใิ ช่ผู้คาน
้ ้ามันตามมาตรา 7 ส่งออกก๊าซปิ โตรเลียม และห้ามส่งออกโดย
ไมมี
่ หนังสื อรับรองจากกรมธุรกิจพลังงาน
โทษ มาตรา 47 ผู้ค้าน้ามันผู้ใดไมปฏิ ่ บตั ต
ิ ามคาสั่ งหรือเงือ
่ นไขตามมาตรา 24
ต้องระวางโทษจาคุกไมเกิ ่ นหนึ่งปี หรือปรับไมเกิ
่ นหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ปัญหาเกีย
่ วกับ LPG ราคาก๊าซหุงตม
้ ตางกั
่ บ
ราคาก๊าซรถยนตและภาคอุ
์ ตสาหกรรม

 โรงบรรจุก๊าซ ปั๊มก๊าซ และ โรงงานอุตสาหกรรมชดเชยไมเท


่ ากั
่ น
 กฎหมายทีเ่ กีย
่ วของ

พ.ร.บ.ควบคุมน้ามันเชือ
้ เพลิง พ.ศ.๒๕๔๒ และกฎกระทรวงพลังงาน
ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๖
คาสั่ งนายกฯ ที่ 4/2547 ขอ ้ 21(2) ผู้บรรจุก๊าซตองไม
้ น
่ าก๊าซทีไ่ ดมาจาก

การเป็ นผู้ดาเนินการบรรจุก๊าซแทนผู้คาน
้ ้ามันตามขอ ้ 17 วรรคสองไปขายหรือ
จาหน่าย หรือใช้ในการอืน ่ กอนน
่ าไปบรรจุใส่ถังก๊าซหุงตม

โทษ พรก. มาตรา 8 ผู้ใดฝ่าฝื นหรือไมปฏิ่ บต ั ต


ิ ามคาสั่ งของนายกรัฐมนตรี หรือ
ผู้ทีไ่ ดรั
้ บมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีซงึ่ สั่ งตามมาตรา 3 ต้องระวางโทษจาคุก
ไมเกิ
่ น 10 ปี หรือปรับไมเกิ
่ น 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
หัวข้ อที่ ๒
วิธีการสื บสวนจับกุมผู้กระทาผิดเกีย่ วกับนา้ มันเชื้อเพลิง
และ การขยายผล
- สื บสวนก่ อนเกิดเหตุ จัดทาข้ อมูลท้ องถิน่ เช่ น คอก ปั๊ม ข้ อมูลเก่ าๆ
- สื บสวนหลังเกิดเหตุ ว่ าใครอยู่เบือ้ งหลังมีเครือข่ ายใครบ้ าง
- จ้ างสายลับ สื บสวน เช่ นลักทรัพย์ นายจ้ าง ของหนีภาษี
- ล่ อซื้อ/ทดสอบ ให้ ลูกน้ องล่ อซื้อของถูก
- เฝ้ าจุดสั งเกตการณ์ เช่ น โรงบรรจุก๊าซข้ ามแบน
- สะกดรอยติดตาม รถยนต์ ลงจาหน่ ายทีใ่ ด
- การประสานงานบุคคล เอสาร ข้ อมูลข่ าวสาร หน่ วยงานต่ างๆ
เทคนิคหลักการสื บสวนปราบปราม
- สกัดจับ ตามยุทธวิธีตารวจ
- เข้ าตรวจค้ น+หมายค้ น+ยกเว้ นตาม พ.ร.บ.การค้ า ฯ พ.ร.บ.ควบคุม ฯ
- ตรวจภาคสนามสิ่ งของ+ตรวจเอกสาร+พยานหลักฐาน เช่ น ตรวจปั๊ม ฯ
- วิเคราะห์ +บันทึกตรวจค้ น+บันทึกถ้ อยคา+บันทึกจับกุมส่ งดาเนินคดี
-ร้ องทุกข์ พนักงานสอบสวนดาเนินคดี กรณีไม่ ใช่ ความผิดซึ่งหน้ า
๑. กลุ่มผู้ค้านา้ มันเชือ้ เพลิง
ม.๗ กลุ่มผู้ค้านา้ มันรายใหญ่ ได้ แก่ ผู้ผลิต โรงกลั่นนา้ มัน คลังนา้ มัน
บางแห่ ง มักจะแจ้ งนา้ มันที่จาหน่ ายลูกค้ าเป็ นนา้ มันที่เสียภาษี สรรพสามิตต่ากว่ า
นา้ มันที่ได้ จาหน่ ายออกโดยตบแต่ งบัญชีประจาคลังให้ เสียภาษีน้อยที่สุด
ม.๑๐ ผู้ค้านา้ มันรายย่ อย (คลังนา้ มัน)บางราย ปลอมปนนา้ มันโดยผสม
เอทานอล หรือโซลเว้ นท์ ชนิดเจือจาง เพื่อจาหน่ ายให้ กับลูกค้ า หรื อไม่ เติมสาร
มาร์ กเกอร์ ในนา้ มันดีเซล กรณีส่งออกเพื่อนามาขายในประเทศ
ม.๑๑ ผู้ค้านา้ มันประเภทสถานีบริการ (ปั ้มนา้ มัน ) เฉพาะบางราย
กระทาความผิดจาหน่ ายนา้ มันเชือ้ เพลิงที่ไม่ ได้ คุณภาพ ตามที่กรมธุรกิจพลังงาน
ประกาศ กาหนด จะได้ กาไรมากกว่ าปกติ
ม.๑๒ กลุ่มผู้ขนส่ งนา้ มันเชือ้ เพลิงจากโรงกลั่น คลัง ไปส่ งลูกค้ าประเภท
สถานีบริการ (ปั ้ม) หรือไปส่ งต่ างประเทศ ปลอมปนนา้ มันระหว่ างทางแล้ งส่ งให้
ลูกค้ า
๒. ขยายผลจับกุมการนาเข้ านา้ มันเชือ้ เพลิง ทัง้ ในและจาก
ต่ างประเทศทาง โดยหลบเหลี่ยงภาษีภาษีสรรพสามิต ภาษีอากรศุลกากร เข้ ามา
จาหน่ ายในราคาถูก โดยกลุ่มนายทุน
- ขยายผลจับกุมกลุ่มผู้มีอทิ ธิพลการส่ งออกนา้ มันเชือ้ เพลิงไป
ยังประเทศเพื่อนบ้ าน ซึ่งได้ รับการยกเว้ นภาษี มีการฉ้ อฉลภาษี โดยไม่ มีการ
ส่ งออกไปจริง หรื อ ออกไปจริง แต่ เป็ นนา้ มันเชือ้ เพลิงที่มีคุณภาพต่า หรือนา้
แล้ วเอาหลักฐานการส่ งออกมาขอคืนภาษี
-ขบวนการเติมนา้ มันเชือ้ เพลิงชนิดดีเซลให้ กับเรือประมง ใน
เขตต่ อเนื่อง ๒๔ ไมล์ ทะเล จะได้ รับการยกเว้ นภาษีสรรพสามิต หรือ เรือประมงที่
เต็มนา้ มันในเขตต่ อเนื่อง จะได้ รับการยกเว้ นภาษี สรรพสามิต เช่ นกัน
ผู้ประกอบการประมง จะนานา้ มันที่ได้ รับการยกเว้ นภาษี มาขายทางบก เป็ นเหตุ
ให้ รัฐได้ รับความเสียหาย ไม่ สามารถจัดเก็บภาษีได้
๓. ขบวนการสถานีบริการนา้ มันเชือ้ เพลิง (ปั ้มนา้ มัน)
บางราย ปลอมปนนา้ มันเชือ้ เพลิง การตรวจสอบนา้ มันเชือ้ เพลิง
เบือ้ งต้ น ยังตรวจนา้ มันเชือ้ เพลิงยังไม่ ได้ ทุกชนิด จึงเป็ นช่ องว่ างของ
ผู้ประกอบการนานา้ มันที่ไม่ ได้ คุณภาพไปขายในราถูก การสืบสวน
ตรวจสอบต้ องใช้ เทคนิคทางวิทยาศาสตร์
๔. การปลอมปนนา้ มันหล่ อลื่น ๔ จังหวะ ซึ่งใช้ กับรถยนต์ ดีเซลและเบนซีน และ
นา้ มันเครื่ องรถยนต์ ๒ จังหวะ (รถจักรยานยนต์ )บางราย มีการปลอมปน จานวนมาก
และเจ้ าของผลิตภัณฑ์ มักไม่ ค่อยให้ ความร่ วมมือกับเจ้ าหน้ าที่ ในการจับกุมดาเนินคดี
เพราะเกรงว่ าจะเสียเครดิต ทางการค้ า และอยู่เบือ้ งหลังจับได้ เฉพาะลูกจ้ าง
๕. การจาหน่ าก๊ าซปิ โตเลียมเหลว(LPG)บรรจุข้ามยี่ห้อ บรรจุลงถัง ไม่ ได้ มาตรฐาน
มอก. (ถังขาวคือถังที่ไม่ มีย่ หี ้ อหรื อเครื่ องหมายการค้ า) บรรจุก๊าซที่มีนา้ หนักไม่ ครบ
นามาจาหน่ ายให้ ผ้ ูบริโภค ผู้ค้า ม.๗ มักอยู่เบือ้ งหลังสนับสนุน
๖. สถานีบริการจาหน่ ายก๊ าซปิ โตเลียมเหลว(ปั ้มก๊ าซ LPG) บางรายลักลอบบรรจุก๊าซ
หุงต้ มลงในถัง ( ต้ องการเพิ่มยอดขาย) ลักลอบนานา้ ก๊ าซจากผู้อ่ ืนซึ่งมิใช่ ผ้ ูค้า ม.๗ มา
จาหน่ าย บรรจุก๊าซไม่ ครบจานวน โดยอัดลมเข้ าไปจานวนมาก นา้ ก๊ าซไม่ ครบจานวน
หรื อ หัวจ่ ายตู้จาหน่ ายก๊ าซ ไม่ ลบเลขมิเตอร์ เดิมทิง้ แล้ วกดใหม่ ทนั ที เป็ นเหตุให้ นา้
ก๊ าซไม่ ครบจานวน
หัวข้อที่ 3
ปัญหาข้อขัดข้องในการจับกุมดาเนินคดี
บันทึกจับกุม คืออะไร
บันทึกจับกุม คือ เอกสารซึ่งเจ้ าพนักงานผู้จับได้ จดั ทาขึน้
โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการแจ้ งข้ อกล่ าวหา และรายละเอียดกับ
เหตุแห่ งการจับซึ่งกฏหมายระบุว่าต้ องมอบสาเนาบันทึกการจับแก่ ผ้ ู
ถูกจับ ( ป.วิอาญา ม.๘๔ (๑ ) อย่ างน้ อยต้ องมี ๑๗ ข้ อ เป็ นหัวใจ
ของการทางาน
บันทึกจับกุม มีอะไรบ้าง
• ๑. คาว่ าบันทึกจับกุม
๒. สถานที่จับกุม ( สถานที่เก็บนา้ มันเชือ้ เพลิงชนิด..)
๓. วันเวลาที่บันทึก
๔. ชื่อผู้จบั กุม
๕. ชื่อผู้ถูกจับ อายุ หมายเขบัตร ( กรณีจับตามหมายจับให้ ระบุเลข
บัตรประชาชน ด้ วย )
๖.ของกลาง ( บรรจุภาชนะ ๕ ประเภทเท่ านัน้ ใน ขวด, กระป๋อง, ถัง,
ถังเก็บ และ ถังขนส่ งนา้ มัน ) ต้ องมีนา้ มันของกลางส่ ง พงสฯทุกคดี
๗.ข้ อกล่ าวหา ( ทราบกฎหมาย กฎกระทรวง ประกาศ ระบุด้วย )
๘.พฤติการณ์ ในการจับ ( กรณีมีสายลับขอรั บสินบนระบุไว้ ด้วย )
( ต่อ )
• ๙ . คาให้ การของผู้ถูกจับในชัน้ จับกุม ( รับสารภาพ ภาคเสธ
ปฎิเสธ ) ๑๐. วัน เวลา เกิดเหตุ
๑๑. วัน เวลา สถานที่จับกุมตัว
๑๒. การแจ้ งสิทธิ ( ตาม ป.วิอาญา )
๑๓. ถ้ อยคาระบุว่าการจับกุมเป็ นการจับกุมโดยชอบด้ วย
กฎหมาย ๑๔. ผู้ถูกจับกุมได้ รับสาเนาบันทึกการจับแล้ ว
๑๕ .ลายมือชื่อผู้ถกู จับ
๑๖. ลายมือชื่อผู้จบั และผู้บันทึก
๑๗. ลายมือชื่อผู้เสียหาย หรื อพยาน ( ถ้ ามี ) บันทึกถ้ อย
คาประกอบ
ปัญหาซึ่งมักจะเกิดขึ้นในการจับกุม
• ๑. ในการจับกุมเป็ นเหตุให้ ทรัย์ของผู้ถูกจับหรื อบุคคลอื่นได้ รับ
ความเสียหาย
๒. ในการจับกุมเป็ นเหตุให้ ผ้ ูถูกจับหรื อบุคคลอื่นได้ รับบาดเจ็บ
๓. ในการจับกุมเป็ นเหตุให้ เจ้ าพนักงานในชุดจับกุมต้ องเข้ าไปใน
เคหะ สถานของผู้อ่ ืนโดยไม่ มีหมายค้ น ( ป.วิอาญา ม.๙๒ )
กรณีท่ ี ๑ และที่ ๒ หลังจากจับกุมตัวแล้ วเจ้ าพนักงานในชุด
จับกุมต้ องระบุไปในบันทึกว่ าถึงเหตุท่ ที าให้ ทรัพย์ เสียหายหรือ
เกิดการบาดเจ็บและมีสาเหตุมาจากบุคคลซึ่งจะถูกจับขัดขวาง
หรือจะขัดขวางการจับ หรือหลบหนี หรือ พยายามจะหลบหนี
ซึ่งจะเป็ นเหตุให้ ผ้ ูทาการจับกุม
( ต่อ )
• มีอานาจใช้ วธิ ีหรือการป้องกันทัง้ หลายเท่ าที่เหมาะสมแก่
พฤติการณ์ ในการจับนัน้ ตาม ป.วิอาญา ม.๑๘๓ วรรคท้ าย
กรณีท่ ี ๓. เจ้ าพนักงานฝ่ ายปกครองหรือเจ้ าหน้ าที่ตารวจสามารถ
เข้ าไปในเคหะสถานของผู้อ่ ืนเพื่อจับกุมโดยไม่ มีหมายค้ นได้ ตาม
ป.วิอาญา ม.๙๒(๑)(๒)(๓)และ (๕)
กรณี ผู้จบั กุมถูกฟ้องดาเนินคดี ไม่ มีกองทุนต่ อสู้คดี ไม่ มีเงิน
ประตัวระหว่ างดาเนินคดี ไม่ มีผ้ ูใดมาช่ วยเหลือทางคดี
ตอบขอซั
้ ก ถาม
“ พระต้องสวด ตารวจต้องจับ ”

พ.ต.อ. วีระ สุขสมเกษม


วิทยากร ปนม.ตร.
AIS :081-914-6469
DTAC : 081-4231500

You might also like