You are on page 1of 16

วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 29

การบูรณาการใช้สอ่ื ประสมและสือ่ หลายมิตเิ พือ่ การสอนและการเรียนรู้


Integrating Multimedia and Hypermedia for
Teaching and Learning

ดุสติ ขาวเหลือง*

Article: Integrating Multimedia and Hypermedia for Teaching and Learning

Abstract
This article explains about the context of enhance learning environment, support students-
multimedia and hypermedia which including the center, and coach them in the construction process.
ways how to integrating multimedia and Therefore, we should think about some idea
hypermedia for teaching and learning. As we “integrating educational technology” which refers
advance towards a digital age, today’s technologies to the process of determining which electronic tools
allow educators and students to integrate, combine, such as multimedia and hypermedia or which
and interact with media far beyond what was methods for implementing them are appropriate
previous possible. As the computer and the internet for given classroom situations and problems.
are very strongly integrated into every life and in The concept of multimedia refers to a
education especially as well as in school education. combination of multiple media combined into a
A new method to teach for example teachers single whole. Indeed multimedia today is
facilitate learning by encouraging active learning, synonymous with a computer-based format that
guide learners to question their tacit assumptions, combines text, graphics, audio, and even video into

*นิสติ ปริญญาเอก สาขา Vocational Education and Training Dresden University of Technology
หน้า 30 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

single coherent, digital presentation. Hypermedia ตนเอง ตามความถนั ด และความสนใจ ซึ ่ ง


refers to linked media. Furthermore multimedia สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ (Paradigm) ทีม่ งุ่ เน้น
software is typically arranged in a hypermedia ให้ผเู้ รียนรูจ้ กั คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้
format that follows the learner to jump among these ด้วยตนเอง การใช้เทคโนโลยีการศึกษาในยุค
elements to follow his or her own learning style ของเทคโนโลยีดิจิทัลทำให้มีแนวโน้มของการ
and personal curiosity. Multimedia and เปลีย่ นแปลงรูปแบบการเรียนการสอนไปจากเดิม
Hypermedia: How do they differ? Multimedia/ มาเป็นการเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ การเรียนการสอน
hypermedia makes one’s experience as realistic as ยุคใหม่จะเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแทนผู้สอน
possible without actually being there. Multimedia/ เป็นเหตุให้ผู้สอนมีบทบาทที่ท้าทายมากขึ้น
hypermedia encourages students to take ด้วยการเปลีย่ นจาก “ผูร้ อบรูห้ น้าชัน้ เรียน” ทีม่ คี วาม
responsibility for their own learning and support เชี่ยวชาญ เป็นแหล่งสารสนเทศและคำตอบ
them to learn at their own pace. Multimedia/ ทัง้ มวลทีผ่ เู้ รียนต้องฟังแต่เพียงอย่างเดียว มาเป็น
hypermedia provides for students participation in ผูส้ ง่ เสริม ผูส้ นับสนุน ผูม้ สี ว่ นร่วม ผูร้ ว่ มเรียน
the learning experience, and allow the teacher to ผู้กำกับ (การสอน) ผู้ฝึก ผู้อำนวยความสะดวก
play more of a coaching role, moving around the ผู ้ อ อกแบบและเป็ น สะพานการสื ่ อ สารเพื ่ อ
classroom and supporting individual help to เชื่อมโยงผู้เรียนกับโลกภายนอก (กิดานันท์
students. In this article we will explore the following มลิทอง, 2548, หน้า 342) ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า
types of multimedia/hypermedia: Multimedia kits, เป็นแนวคิด “การปรับการเรียน เปลีย่ นการสอน”
Interactive media, and Virtual reality. Because of หรือการเปลี่ยนบทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
some advantages as mentioned above we hope that กล่าวคือ ผูส้ อนมีความจำเป็นต้องสอนให้ผเู้ รียน
the approach which integrating multimedia/ สามารถสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ ตามความสนใจ
hypermedia for teaching and learning will be applied ด้วยตนเอง สอนผูเ้ รียนให้เรียนรูก้ ารใช้โปรแกรม
into efficient instruction. ที ่ ห ลากหลาย สอนให้ ผ ู ้ เ รี ย นคิ ด วิ เ คราะห์
สังเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดอย่าง
บทนำ สร้างสรรค์ แนวทางหนึ่งของการปรับเปลี่ยน
เนื่องจากพัฒนาการและความก้าวหน้า กระบวนการในการจัดสภาพแวดล้อมของการ
อย่างต่อเนือ่ งของเทคโนโลยีสมัยใหม่ในยุคของ เรียนรู้ดังกล่าวได้แก่ การบูรณาการเทคโนโลยี
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ที่นำมาประยุกต์ใช้เพือ่ การศึกษา การศึกษาในการสอนและการเรียนรู้ ซึง่ หมายถึง
ส่ ง ผลให้ ก ารเรี ย นการสอนจำเป็ น ต้ อ งปรั บ กระบวนการกำหนดวิธกี ารใช้อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
เปลีย่ นกระบวนการในการจัดสภาพแวดล้อมของ และเทคนิควิธกี ารต่างๆเพือ่ นำมาใช้การแก้ไขปัญหา
การเรี ย นรู ้ (Learning Environment) ให้ ม ี และสถานการณ์การเรียนการสอนในห้องเรียนได้
ลักษณะหรือบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี อย่างเหมาะสม (Roblyer, 2003, p.8) ซึง่ สอดคล้อง
ส่ ว นร่ ว ม (Require Learner Participation) กับความคิดเห็นของไมเคิล ดี วิลเลียมส์ (Michael D.
ในกิจกรรมการเรียนการสอน สนับสนุนให้ผเู้ รียน Williams, 2000, p. 12) ทีอ่ ธิบายความหมายของการ
ได้มโี อกาสเรียนรูไ้ ด้ตามอัตราความก้าวหน้าของ บูรณาการเทคโนโลยีเพือ่ การสอนและการเรียนรู้
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 31

ว่าหมายถึง การใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้เพื่อ ปรากฎการณ์ตา่ งๆทีผ่ เู้ รียนสัมผัสได้ในทางกายภาพ


นำเสนอสารสนเทศ กระตุ้นความสนใจ และ ซึง่ สือ่ ต่างๆเหล่านีอ้ าจเป็นแนวทางหนึง่ ทีจ่ ะช่วย
สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ ให้ทา่ นสามารถนำไปประยุกต์ปรับใช้ในการเรียน
เพิม่ มากขึน้ การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้สื่อประสมในการเรียนการสอน
และการทำงานมีมานานแล้ว แต่เดิมเป็นการนำสือ่ ความหมายของสื่อประสม(Multimedia) และ
หลายอย่างมาใช้รว่ มกันเพือ่ ช่วยในการสือ่ ความหมาย สือ่ หลายมิติ (Hypermedia)
อย่างเรียงลำดับขั้นตอน แต่ในปัจจุบันมีการนำ คำว่า สื่อประสม (Multimedia) มีผู้ให้
คอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมและผลิตชิน้ งาน ความหมายในทำนองเดียวกันหลายท่าน กล่าวคือ
สื่อประสม รวมทั้งพัฒนาการของเทคโนโลยี ราชบัณฑิตยสถาน (2542, หน้า 66)
คอมพิวเตอร์ทำให้ปัจจุบันมีการใช้สื่อประสม ได้บญั ญัตศิ พั ท์คำว่า “multimedia” เป็นศัพท์บญั ญัติ
ในลักษณะที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยใช้กันมา เทคโนโลยีสารสนเทศไว้ว่า 1. สื่อประสม 2.
เช่นบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (Computer- สือ่ หลายแบบ
Assisted Instruction: CAI) การนำสื่อประสม กิดานันท์ มลิทอง (2544, หน้า 6-7)
ไปใช้ในการสอนบนเว็บ (Web-based Instruction) อธิบายว่าสือ่ ประสม หมายถึง การนำสือ่ หลายๆ
เป็นต้น นอกจากนี้เรายังสามารถนำสื่อประสม ประเภทมาใช้รว่ มกันทัง้ วัสดุ อุปกรณ์และวิธกี าร
มาใช้ในงานลักษณะของสือ่ หลายมิติ (hypermedia) เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดใน
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ นำเสนอเนื้อหา การเรียนการสอน โดยการใช้สอ่ื แต่ละอย่างตาม
และค้นคว้าสิง่ ทีต่ อ้ งการศึกษาได้หลากหลายรูปแบบ ลำดับขัน้ ตอนของเนือ้ หา และในปัจจุบนั มีการนำ
สื่อประสมยังเป็นองค์ประกอบสำคัญในการ คอมพิวเตอร์มาใช้รว่ มด้วยเพือ่ การผลิตหรือการควบคุม
ศึกษาทางไกล รวมทัง้ ยังมีสอ่ื ประสมรูปแบบอืน่ ๆ การทำงานของอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการเสนอข้อมูล
ทีส่ ามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ทัง้ ตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพถ่าย ภาพเคลือ่ นไหว
ดังนัน้ จึงเป็นเรือ่ งสำคัญอย่างยิง่ ทีผ่ สู้ อน ผูเ้ รียน แบบวิดที ศั น์และเสียง
และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ กีย่ วข้องจำเป็นต้อง คำ “สื ่ อ ประสม” (Multimedia) มี
ทราบถึ ง รายละเอี ย ดของสื ่ อ ประสมและสื ่ อ ความหมาย ในลักษณะวิธกี ารทีเ่ รียกว่า “วิธกี าร
หลายมิตใิ นส่วนของเนือ้ หาและการนำไปบูรณาการ สือ่ ประสม” (Multimedia approach) หรือ “วิธกี าร
ใช้เพือ่ การสอนและการเรียนรู้ เช่น ชุดสือ่ ประสม ใช้สอ่ื ข้ามกัน” (Cross-media approach) ซึง่ ขึน้ อยู่
(Multimedia Kits) ซึ่งหมายถึงสื่อชนิดต่างๆ กับหลักการนำสื่อโสตทัศน์และประสบการณ์
หลายอย่างที่นำมาจัดการใช้ร่วมกันบนเนื้อหา หลากหลายมาใช้ร่วมกับสื่อการสอนอื่นๆเพื่อ
หัวข้อเดียวกัน สือ่ ประสมปฏิสมั พันธ์ (Interactive ซ้อนเสริมค่าซึ่งกันและกัน โดยสามารถแบ่ง
media) หรือสือ่ ทีต่ อ้ งการเน้นให้ผเู้ รียนได้มที กั ษะ ลักษณะการใช้สอ่ื ประสมออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่
การฝึกปฏิบตั แิ ละโต้ตอบกับผูเ้ รียนโดยการได้รบั ข้อมูล (กิดานันท์ มลิทอง, 2548, หน้า 191-193)
ย้อนกลับ และความเป็นจริงเสมือน (Virtual reality) สือ่ ประสม I (Multimedia I) เป็นสือ่ ทีใ่ ช้
หรือสือ่ ทีใ่ ช้ประสบการณ์ของผูเ้ รียนฝังในประสาท โดยการนำสื่อหลายประเภทมาใช้ร่วมกันใน
สัมผัสส่วนต่างๆและมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับ ลักษณะสื่อประสมแบบดั้งเดิม เช่น นำวิดีทัศน์
หน้า 32 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

มาสอนประกอบการบรรยายของผู้สอนโดยมี (Image) ภาพเคลื ่ อ นไหวหรื อ แอนิ เ มชั ่ น


สื่อสิ่งพิมพ์ประกอบด้วย นำแผ่นวีซีดีมาฉาย (Animation) เสียง (Sound) และวีดทิ ศั น์ (Video)
ภาพยนตร์ให้ชมภายหลังการบรรยายเนื้อหา โดยผ่านกระบวนการทางคอมพิวเตอร์เพื่อสื่อ
บทเรียน การใช้วัสดุภาพติดกระดานแม่เหล็ก ความหมายกับผูใ้ ช้อย่างมีปฏิสมั พันธ์ (Interactive
ประกอบการเล่านิทานหรือให้ผู้เรียนเล่นเกม Multimedia) และได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
เพื ่ อ ฝึ ก ทั ก ษะภายหลั ง การอ่ า นเนื ้ อ หาจาก การใช้งาน
หนังสือเรียน เป็นต้น สือ่ ประสม (Multimedia) หมายถึงการ
สือ่ ประสม II (Multimedia II) เป็นสือ่ ใช้สอ่ื หลายอย่างร่วมกัน เช่น ข้อความ รูปภาพ
ประสมที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการ ภาพกราฟิก เสียงและวีดิทัศน์ ตามลำดับการ
นำเสนอสารสนเทศหรือการผลิตสารสนเทศใน นำเสนอเนื้อหาโดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพื่อ
รูปแบบของข้อความ ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหวแบบ ใช้ในการนำเสนอหรือการศึกษารายบุคคล การใช้
วีดิทัศน์ ภาพกราฟิก ภาพแอนิเมชั่น และเสียง คำว่า “multimedia” ได้เริม่ มีขน้ึ ในช่วงทศวรรษ
โดยทีผ่ ใู้ ช้มกี ารโต้ตอบกับสือ่ โดยตรง 1950 เพือ่ อธิบายถึงการใช้รว่ มกันของสือ่ ลักษณะ
ความหมายของสื่อประสมดังกล่าว ต่ า งๆเช่ น ภาพนิ ่ ง และภาพเคลื ่ อ นไหว เพื ่ อ
สอดคล้องกับแนวคิดของสมสิทธิ์ จิตรสถาพร สร้างเสริมประสิทธิภาพทางการศึกษา ตัวอย่างของ
(2547) ทีก่ ล่าวเสริมว่า สือ่ ประสม (multimedia) มัลติมเี ดียในการศึกษาและการฝึกอบรมในปัจจุบนั
หมายถึ ง การใช้ ส ื ่ อ หลายอย่ า งประกอบกั น ได้แก่ สไลด์มลั ติวชิ น่ั , วีดทิ ศั น์, ซีดรี อม, ดีวดี ,ี เวิลด์
อย่างเป็นระบบ ในอดีตใช้สอ่ื ทีห่ ลากหลายด้วยกัน ไวด์ เว็บ, และความเป็นจริงเสมือน (Heinich and
แต่ปจั จุบนั ใช้คอมพิวเตอร์ทำหน้าทีน่ ำเสนอสือ่ others, 2002, p.242) สื่อประสม หมายถึง สื่อ
ได้หลากหลายเหมือนกับในอดีต หลายอย่าง หรือการรวมกันของสื่อ สื่อเหล่านี้
นอกจากนี้ยังมีผู้นิยมเรียกสื่อประสม อาจได้แก่ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหวแบบ
ในแบบทับศัพท์ว่ามัลติมีเดีย เช่น กรมวิชาการ วีดิทัศน์ ภาพแอนิเมชั่น และ/หรือ ข้อความ
(2544, หน้า 1-2) ทีอ่ ธิบายว่าสืบเนือ่ งจากในยุค ทีน่ ำมาใช้รว่ มกันโดยมีวตั ถุประสงค์ในการสือ่ สาร
ปัจจุบนั ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ข้อมูลสารสนเทศ (Roblyer, 2003, p.164) สือ่ ประสม
เอือ้ ให้นกั ออกแบบสือ่ มัลติมเี ดียสามารถประยุกต์ คือการรวมกันของข้อความ ภาพศิลปะ เสียง
สื ่ อ ประเภทต่ า งๆมาใช้ ร ่ ว มกั น ได้ บ นระบบ ภาพแอนิเมชั่นและวีด ิท ัศน์ ที่ถูกส่งไปโดย
คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างสือ่ เหล่านีไ้ ด้แก่ เสียง วีดทิ ศั น์ คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
กราฟิ ก ภาพนิ ่ ง และภาพเคลื ่ อ นไหวต่ า งๆ เพือ่ ใช้ในการนำเสนอเรือ่ งราวทีส่ ร้างความตืน่ เต้น
การนำสือ่ เหล่านีม้ าใช้รว่ มกันอย่างมีประสิทธิภาพ กระตุ ้ น ความคิ ด และการกระทำของมนุ ษ ย์
เรารวมเรี ย กสื ่ อ ประเภทนี ้ ว ่ า มั ล ติ ม ี เ ดี ย (Vaughan, 2004, chapter1) มโนทัศน์ของสื่อ
(Multimedia) ซึ่งคล้ายคลึงกับความคิดเห็น ประสมคือ การบูรณาการใช้สอ่ื หลายอย่างร่วมกัน
ของทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ (2546, หน้า 2-3) เช่น ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง หรือแม้กระทัง่
ทีก่ ล่าวว่ามัลติมเี ดีย (Multimedia) หมายถึงการ วีดิทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการ
นำองค์ประกอบของสื่อชนิดต่างๆมาสมผสาน นำเสนอเรื ่ อ งราว ยิ ่ ง ไปกว่ า นั ้ น ซอฟต์ แ วร์
เข้าด้วยกันซึง่ ประกอบด้วย ข้อความ (Text) ภาพนิง่ มัลติมเี ดียคือ สือ่ หลายมิตทิ น่ี ำมาใช้เพือ่ ให้ผเู้ รียน
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 33

สามารถกระโดดข้ามไปยังองค์ประกอบส่วนต่างๆ เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ดังนัน้ สือ่ ประสมทีใ่ ช้ควรเป็น


ของบทเรียนได้อย่างอิสระเพื่อตอบสนองต่อ สื่อที่มีการเสริมแรง ให้กำลังใจ และให้ผู้เรียน
รูปแบบการเรียนและ ความอยากรู้อยากเห็น ทราบถึง ความก้าวหน้าของตนเองเป็นระยะๆ โดยมี
ของแต่ละบุคคล (Lever-Duffy and others, 2003, สื่อใดสื่อหนึ่งเป็นสื่อหลักและมีสื่อชนิดอื่น
p.300) เป็นสือ่ เสริม (กิดานันท์ มลิทอง, 2548, หน้า 291)
กล่าวโดยสรุป สื่อประสม หมายถึง กล่าวสำหรับสือ่ หลายมิติ (Hypermedia)
การใช้สื่อหลายอย่างร่วมกันได้แก่ ตัวอักษร ซึ่งมีผู้กล่าวถึงความหมายไว้หลายท่านดังนี้
ข้อความ ภาพถ่าย ภาพกราฟิก ภาพเคลือ่ นไหวแบบ กรมวิชาการ (2544, หน้า 6) อธิบายความหมาย
วี ด ิ ท ั ศ น์ ภาพแอนิ เ มชั ่ น และเสี ย ง โดยใช้ ไว้ ว ่ า หมายถึ ง การออกแบบสื ่ อ มั ล ติ ม ี เ ดี ย ที ่
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการนำเสนอควบคุม ผู้ออกแบบจะต้องพยายามหาเทคนิควิธีในการ
โปรแกรมมัลติมเี ดียหรือแฟ้มสือ่ ประสม และใช้ นำเสนอข้อมูลซึง่ มีทง้ั ภาพ เสียง ข้อความ ภาพ
ในลักษณะ “สือ่ ประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive เคลือ่ นไหวให้คำแนะนำวิธใี ช้และวิธกี ารควบคุม
multimedia) ทีผ่ ใู้ ช้สามารถมีปฏิสมั พันธ์โต้ตอบ เส้นทางเดินของโปรแกรมผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์
กั บ สื ่ อ เพื ่ อ ใช้ ป ระกอบการเรี ย นการสอน ปัจจุบนั การออกแบบหน้าจอเป็นมาตรฐานสำคัญ
การนำเสนอ สนับสนุนการเรียนรูแ้ ละการศึกษา ของสื่อประสมเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้สำรวจ
รายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ ซึง่ ช่วย และสืบค้น ศึกษาค้นคว้าข้อมูล หรือเลือกใช้ขอ้ มูล
ส่งเสริมการเรียนการสอนทีม่ งุ่ เน้นให้ผเู้ รียนรูจ้ กั ต่างๆจากภาพเคลือ่ นไหว กราฟิก และข้อความได้
คิดวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง ผูอ้ อกแบบจะออกแบบปุม่ หรือข้อความให้เชือ่ มโยง
เป้าหมายของสื่อประสมในการศึกษา ไปยังข้อมูลต่างๆได้หลากหลายรูปแบบ ช่วยให้
และการฝึกอบรมคือการฝังประสบการณ์ลงใน ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ข้อมูล เลือกเส้นทางเดิน
ประสาทสัมผัสของผูเ้ รียนเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อการศึกษาและสืบค้นข้อมูลในบทเรียนได้
ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน สื่อประสมช่วยให้ผู้เรียน ตามต้องการ การออกแบบสื่อลักษณะนี้เรียกว่า
มีประสบการณ์และสามารถเข้าใจเรือ่ งราวต่างๆ สือ่ หลายมิติ (Hypermedia)
จากการได้ยนิ เสียง มองเห็นภาพ มีปฏิกริ ยิ าโต้ตอบ คำว่ า ไฮเปอร์ ม ี เ ดี ย (Hypermedia)
และเรียนรูจ้ ากภาพเคลือ่ นไหวของวีดทิ ศั น์ซง่ึ เป็น เป็นศัพท์ที่ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติไว้ว่า “สื่อ
ประสบการณ์ทเ่ี หมือนจริง ช่วยให้มองเห็นภาพ หลายมิติ” ซึ่งพัฒนามาจากข้อความหลายมิติ
บรรยากาศและเข้าใจเนือ้ หาได้เป็นอย่างดี สือ่ ประสม (Hypertext) สื่อหลายมิติมีการเสนอข้อมูลใน
ช่วยทำให้ประสบการณ์ดังกล่าวเป็นจริงได้โดย ลักษณะไม่เป็นเส้นตรงและเพิม่ ความสามารถในการ
จำลองภาพมาฉายให้ผู้เรียนชมได้โดยไม่ต้อง บรรจุขอ้ มูลในลักษณะของภาพกราฟิกทัง้ ภาพถ่าย
ไปอยูท่ น่ี น่ั (Heinich and others, 2002, p.242) ดังนัน้ ภาพวาดลายเส้นทั้งภาพนิ่งและภาพแอนิเมชัน
หลักการสำคัญของสือ่ ประสมคือ เป็นสือ่ ทีค่ ำนึงถึง ภาพ 3 มิติ ภาพเคลือ่ นไหวแบบวีดทิ ศั น์ เสียงพูด
หลักการด้านจิตวิทยาทีว่ า่ ถ้าผูเ้ รียนต้องมีปฏิสมั พันธ์ เสียงดนตรีและเสียงเอ็ฟเฟ็กต์ต่างๆเข้าไว้ใน
กับสือ่ เป็นเวลานานๆ อาจเกิดความรูส้ กึ เบือ่ หน่าย เนื้อหาด้วยเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเนื้อหาใน
ยิ่งถ้าหากเป็นสื่อที่มีความยุ่งยากซับซ้อนทำให้ ลักษณะต่างๆได้หลายรูปแบบมากขึน้ กว่าแต่กอ่ น
ไม่สนุกแล้ว ผู้เรียนก็ยิ่งจะหมดกำลังใจในการ รวมถึงการโต้ตอบระหว่างสือ่ กับผูใ้ ช้ดว้ ยการคลิกที่
หน้า 34 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

“จุดเชือ่ มโยงหลายมิต”ิ (Hyperlink) (กิดานันท์ หรือฟังเสียง เป็นการใช้ในลักษณะเชิงเส้นตรง


มลิทอง, 2548, หน้า 200) โดยไม่มกี ารเชือ่ มโยงไปยังเนือ้ หาอืน่ ๆ ไม่วา่ จะ
สื ่ อ หลายมิ ต ิ หมายถึ ง ซอฟต์ แ วร์ ในไฟล์เดียวกันนัน้ หรือไฟล์อน่ื เปรียบเหมือนการ
คอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้องค์ประกอบของข้อความ กราฟิก อ่านหนังสือทีผ่ อู้ า่ นพลิกอ่านข้อความไปทีละหน้า
ภาพเคลือ่ นไหวแบบวีดทิ ศั น์และเสียง เชือ่ มโยง ส่วนสือ่ หลายมิตมิ ใิ ช่เป็นเพียงการรวบรวมข้อมูล
เข้าด้วยกันในวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ รูปแบบต่างๆเข้าไว้ด้วยกันเท่านั้น แต่เป็นการ
เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้โดยง่ายโดยทีผ่ ใู้ ช้เลือก นำไปสู่การเข้าถึงข้อมูลในที่ต่างๆที่เชื่อมโยง
ทางเดินตามแ นวทางของตนเองซึง่ เป็นลักษณะ ถึ ง กั น โดยการใช้ “จุ ด เชื ่ อ มโยงหลายมิ ต ิ ”
พิเศษเฉพาะของรูปแบบการคิดและการจัดการ (Hyperlink) และใช้ข้อมูลเหล่านั้นสลับกัน
ข้อมูลข่าวสาร สื่อหลายมิติช่วยจัดเตรียมสภาพ ไปมาได้ดว้ ย คุณสมบัตขิ องสือ่ หลายมิตชิ ว่ ยให้
แวดล้อมของการเรียนรู้ที่มีการโต้ตอบแบบมี ผูใ้ ช้ได้รบั ประสบการณ์หลากหลายรูปแบบและ
ปฏิสัมพันธ์และมีการสำรวจวินิจฉัยสอบสวน สามารถสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ของตนเองได้
(Heinich and others, 2002, p.244) นอกจากนี้รูปแบบของข้อมูลในสื่อหลายมิติยัง
มีนักวิชาการได้อธิบายความแตกต่าง ถูกแบ่งออกเป็น “ก้อน” (chunk) ซึง่ เป็นการแบ่ง
ระหว่างสือ่ ประสมและสือ่ หลายมิตใิ นเรือ่ งของ ข้อมูลออกเป็นบล็อกหรือส่วนย่อยเล็กๆ ที่มี
ความหมายไว้วา่ สือ่ ประสม หมายถึง สือ่ หลายอย่าง ความหมายในตัวเองโดยอาจเป็นข้อความสั้นๆ
(Multiple media) หรือ การรวมกันของสื่อ ภาพหรือเสียงโดยที่บล็อกที่มีส่วนสัมพันธ์กัน
หลายอย่าง ซึง่ ได้แก่ ภาพนิง่ เสียง ภาพเคลือ่ นไหว จะเชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นจึงสามารถสรุปความ
แบบวีดทิ ศั น์ ภาพแอนิเมชัน่ และ/หรือข้อความ แตกต่างได้วา่ สือ่ ประสมเป็นการนำเสนอเนือ้ หา
ทีน่ ำมาใช้รว่ มกัน โดยมีวตั ถุประสงค์ในการสือ่ สาร ทัง้ หมดแบบเรียงลำดับเป็นเส้นตรง แต่สอ่ื หลาย
ข้อมูลสารสนเทศ แต่สอ่ื หลายมิตหิ มายถึง สือ่ ที่ มิติจะตรงข้ามกล่าวคือ มีการแบ่งเนื้อหาออก
เชือ่ มโยง (linked media) (Roblyer, 2003, p.164, เป็นส่วนย่อยและผู้ใช้สามารถข้ามไปใช้ข้อมูล
และ กิดานันท์ มลิทอง, 2548, หน้า 201) ในส่วนอื่นๆที่เชื่อมโยงถึงกันด้วยจุดเชื่อมโยง
กิดานันท์ มลิทอง (2548, หน้า 201) หลายมิตไิ ด้ทนั ที หรืออาจกล่าวได้วา่ สือ่ หลายมิติ =
อธิบายเพิม่ เติมว่า สือ่ ประสมหมายถึงรูปแบบต่างๆ สือ่ ประสม+ จุดเชือ่ มโยงหลายมิติ (Chee and Wong;
ประกอบด้วยข้อความตัวอักขระ ภาพนิ่ง ภาพ eds., 2003, 217 อ้างถึงใน กิดานันท์ มลิทอง, 2548,
แอนิเมชัน่ ภาพเคลือ่ นไหวแบบวีดทิ ศั น์ และเสียง หน้า 201)
เพื ่ อ การสื ่ อ สารสารสนเทศที ่ น ำเสนอด้ ว ย
คอมพิวเตอร์ ดังนั้นคุณลักษณะสำคัญของสื่อ อิทธิพลในปัจบุ นั และอนาคตของสือ่ ประสมและ
ประสมคือ การให้ผใู้ ช้สามารถรับรูไ้ ด้หลากหลาย สือ่ หลายมิตติ อ่ การศึกษา
แบบวิธีจากสารสนเทศที่นำเสนอซอฟต์แวร์ที่ ปัจจุบนั การใช้สอ่ื ประสมและสือ่ หลาย
ใช้สร้างไฟล์สอ่ื ประสมเป็นเพียงเครือ่ งมือในการ มิติเพื่อการศึกษาได้แผ่ขยายวงกว้างออกไปซึ่ง
รวบรวมข้ อ มู ล ตั ว อั ก ขระ ภาพ และเสี ย งที ่ แสดงให้เห็นว่ามีแนวโน้มทีจ่ ะได้รบั ความไว้วางใจ
จัดรูปแบบแล้วรวมเข้าด้วยกันเป็นไฟล์เดียวเพือ่ เมื่อนำสื่อต่าง ๆ เหล่านี้มาใช้ในห้องเรียนของ
ให้ผใู้ ช้อา่ นข้อความ คลิกปุม่ เพือ่ ดูภาพเคลือ่ นไหว อนาคต นั ก การศึ ก ษายอมรั บ และใช้ ร ะบบ
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 35

เหล่านีเ้ มือ่ พวกเขาเห็นพลังอันมหาศาลทีจ่ ะช่วยใน ที่จะมองและเข้าใจได้อย่างชัดเจนเพื่อนำไปสู่


การสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้ (Roblyer, 2003, การเขียน แทนที่จะมองเห็นการเขียนข้อความ
p.165) ของนักเรียนไหลเสมือนกับกระแสน้ำแต่เราจะได้
การจูงใจ (Motivation) สือ่ ประสมและ เห็นก้อนของข้อมูลข่าวสารที่สามารถเชื่อมโยง
สือ่ หลายมิตเิ สนอทางเลือกทีห่ ลากหลายซึง่ ผูค้ น ไปถึงได้
ส่วนใหญ่ดูเหมือนจะสนุกสนานเพลิดเพลิน ปัจจุบนั สือ่ ประสมและสือ่ หลายมิติ ได้รบั
ในการใช้สื่อเหล่านี้ซึ่งแมคคาร์ธี่ (McCarthy, ความไว้วางใจให้นำมาใช้ในการสื่อสารข้อมูล
1989) กล่าวว่าคุณลักษณะประการสำคัญของ สารสนเทศและดูเหมือนจะแผ่ขยายออกไปมากขึน้
สื่อหลายมิติคือ การสนับสนุนผู้เรียนให้มีความ ในอนาคต จำนวนเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web)
สามารถในการควบคุมเหตุการณ์ทค่ ี าดว่าจะเกิดขึน้ ได้ ทีม่ มี ากขึน้ บนอินเทอร์เน็ตเป็นหลักฐานทีแ่ สดง
ความยืดหยุ่น (Flexibility) สื่อประสม การเชื่อมโยงข้อมูลด้วยข้อความหลายมิติและ
และสือ่ หลายมิตสิ ามารถดึงเครือ่ งมือต่าง ๆ นานา สือ่ หลายมิตอิ ย่างมีประสิทธิภาพในการนำเสนอ
มาใช้ในการนำเสนอบางสิง่ บางอย่างสำหรับผูเ้ รียน และเพิ่มข้อมูล ผู้คนจำนวนเป็นล้านคนผลิต
ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนผู้ซึ่งอาจจะไม่ถนัดในการ เอกสารสือ่ หลายมิตบิ นทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ
เขียนการแสดงความคิดเห็นเป็นคำพูด แต่มคี วาม ด้วยความหวังว่าจะสามารถดึงดูดความสนใจของ
ถนัดด้านทัศนะสามารถทำให้เข้าใจเนือ้ หาบทเรียน ผูช้ ม ผูอ้ า่ นและผูฟ้ งั จากการศึกษาค้นคว้าพบว่ามีงาน
ได้ดว้ ยการใช้เสียงหรือรูปภาพ วิจยั หลายชิน้ ทีก่ ล่าวถึงผลกระทบของสือ่ ประสม
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และ ทักษะ และสือ่ หลายมิติเช่น งานวิจยั ของ รอบเลอร์ (Roblyer,
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Development of 1999) ทีค่ น้ พบว่าประโยชน์ประการสำคัญของสือ่
creative and critical thinking skills) เครือ่ งมือ ประสมดูเหมือนจะเป็นศูนย์กลางการส่งเสริมให้
ในการสืบค้นข้อมูลทีม่ จี ำนวนมหึมาของข้อความ นักเรียนมีความสามารถในการเลือกช่องทางทีจ่ ะ
หลายมิ ต ิ (Hypertext) และสื ่ อ หลายมิ ต ิ จัดการกับข้อมูลข่าวสารอย่างไรก็ตามนักวิจยั ควร
(Hypermedia) ช่วยก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ระวังเกีย่ วกับคำแนะนำหรือคำรับรองว่าสือ่ ประสม
หลายอย่างแก่ผู้เรียนและผู้สอน มาร์ชิโอนีนี ช่วยสนับสนุน ส่งเสริมการเรียนรูช้ นิดพิเศษบางอย่าง
(Marchionini, 1988) กล่าวว่าสือ่ หลายมิตเิ สมือน ผลการตรวจสอบเกีย่ วกับประสิทธิภาพ
กับเป็นสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ ของสื่อหลายมิติต่อการสอนและการเพิ่มทักษะ
ซึง่ ต้องการให้ผเู้ รียนตัดสินใจและประเมินความ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณในการอ่านและวิชาภาษา
ก้าวหน้าอยูเ่ สมอ พบว่า มีวรรณกรรมเกีย่ วกับสือ่ หลายมิตสิ นับสนุน
การปรับปรุงทักษะการเขียนและทักษะ ให้นำสือ่ หลายมิตไิ ปใช้ในการเรียนการสอนและ
ในการจัดการ (Improved writing and process skills) การเรียนรู้ เช่น กิจกรรมการเรียนการสอนซึ่ง
เทินเนอร์และดิพนิ โต (Turner and Dipinto, 1992) ตัง้ คำถามไว้ให้ผเู้ รียนเพือ่ สนับสนุนส่งเสริมการ
อธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับสือ่ หลายมิตวิ า่ เครือ่ งมือ เรียนรู้ในการค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาซึ่ง
ในการสร้างโปรแกรมสือ่ หลายมิตชิ ว่ ยให้ผเู้ รียน เป็นการสนับสนุนให้เกิดทักษะการคิดอย่าง
เห็นมุมมองใหม่ทแ่ี ตกต่างออกไปในการจัดการ มีวิจารณญาณได้ รวมทั้งยังมีผลการประเมิน
และนำเสนอข้อมูลข่าวสารและเกิดความสามารถ โปรแกรมสือ่ หลายมิตจิ ำนวน 45 โปรแกรมโดยการ
หน้า 36 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

ใช้เกณฑ์การประเมินในด้านเทคนิค ด้านการ รูปแบบรวมถึงการมีปฏิสมั พันธ์โต้ตอบกับผูใ้ ช้


ตอบสนองต่อข้อมูลและด้านการใช้ในห้องเรียน ในทันที ทำให้การใช้สอ่ื ประสมด้วยคอมพิวเตอร์
พบว่า สื่อหลายมิติส่วนใหญ่ใน 45 โปรแกรม เป็นที่แพร่หลายและนำมาใช้ประโยชน์เพื่อ
ใช้ในรูปแบบซีดีรอม แต่ 10 ในจำนวนนั้นใช้ การเรียนการสอน ส่วนการใช้สื่อหลายมิติใน
สื่อร่วมกันระหว่างซีดีรอมและวีดีโอดิสต์และ การเรียนการสอนช่วยให้ผเู้ รียนมีความกระตือรือร้น
มีจำนวนสี่โปรแกรมใช้ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ รูจ้ กั การจัดลำดับความคิดทีเ่ ชือ่ มโยง มีความยืดหยุน่
นอกจากนีย้ งั มีการค้นพบว่าสือ่ หลายมิตสิ ว่ นใหญ่ ในการเรียน สามารถอ่านและสืบค้นเนื้อหา
ใช้เทคนิคด้านเสียงและเชือ่ มโยงกับประเด็นทีใ่ ช้ หลากหลายรูปแบบในลักษณะสื่อประสมได้
ในห้องเรียนได้ดี แต่ส่วนน้อยใช้การออกแบบ สะดวกรวดเร็ว มีปฏิสมั พันธ์โต้ตอบกับสือ่ และ
ในการสนับสนุนการเรียนการสอนแบบแก้ปญ ั หา สามารถเรียนรูไ้ ด้ตามอัตราความสามารถของตน
ซึง่ ช่วยเพิม่ ทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และ โดยไม่ตอ้ งเรียนตามลำดับเนือ้ หาเหมือนการเรียน
โปรแกรมสือ่ หลายมิตทิ ถ่ี กู ออกแบบให้นำมาใช้ จากหนังสือ (กิดานันท์ มลิทอง, 2548, หน้า 196,
สำหรับเพิ่มทักษะการอ่านของนักเรียนระดับ 204)
ประถมศึกษามีอตั ราอยูใ่ นระดับทีไ่ ม่แตกต่างจาก
นักเรียนระดับมัธยมศึกษา เมื่อนำมาใช้ร่วมกับ การบูรณาการใช้สอ่ื ประสมและสือ่ หลายมิตเิ พือ่
การเรียนแบบดั้งเดิมซึ่งการค้นพบนี้ชี้ให้เห็นว่า การสอนและการเรียนรู้
ผูส้ อนทีต่ อ้ งการนำสือ่ ประสมสือ่ หลายมิตมิ าใช้ นักออกแบบการเรียนการสอนมีความ
ในการเพิม่ ทักษะพิเศษบางอย่างในระดับทีส่ งู ขึน้ เข้าใจในเรือ่ งของความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็น
จำเป็นต้องระมัดระวังในการเลือกใช้โปรแกรม อย่างดีซง่ึ กล่าวถึงการตอบสนองของผูเ้ รียนต่อแหล่ง
และควรเลือกโปรแกรมทีไ่ ด้รบั การทดสอบมาเป็น ทรัพยากรการเรียนรู้และวิธีการสอนในอัตรา
อย่างดี (Swan and Meskill, 1996) รวมทั้งยังมี ความเร็วที่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้สอนจึงจำเป็น
งานวิจยั ของสือ่ หลายมิตทิ ม่ี ผี ลต่อความเข้าใจและ ต้องใช้สอ่ื หลายอย่างร่วมกันเพือ่ ให้ผเู้ รียนเหล่านัน้
อัตราการควบคุมของผูเ้ รียนซึง่ สะท้อนให้เห็นว่า มีโอกาสทีม่ ากขึน้ ในการเข้าถึงข้อมูลการเรียนรู้
ประโยชน์ของสือ่ หลายมิตจิ ะทวีมากขึน้ อย่างรวดเร็ว ของแต่ละบุคคล สือ่ ประสมได้พยายามทีจ่ ะจำลอง
สำหรับผูเ้ รียนทีม่ ที กั ษะการค้นหาได้ยาวนานและใช้ สภาพการเรียนรูใ้ นโลกแห่งความเป็นจริงให้ใกล้เคียง
แหล่งทรัพยากรการเรียนรูห้ ลายช่องทาง ผูเ้ รียน กับประสบการณ์การเรียนรู้โดยผ่านประสาท
ทีม่ คี วามสามารถในการควบคุมการเรียนในระดับ สัมผัสทัง้ ห้า สือ่ ประสมช่วยตอบสนองต่อรูปแบบ
สูง จะสามารถใช้ประโยชน์จากสื่อหลายมิติได้ การเรียนรูท้ แ่ี ตกต่างกัน การมีสอ่ื การเรียนการสอน
ดีกว่าผู้เรียนที่มีความสามารถ ในการควบคุม หลายๆอย่างใช้ร่วมกัน เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ เสียง
การเรียนต่ำและสือ่ หลายมิตสิ ามารถใช้กบั ผูเ้ รียน รูปภาพ ภาพเคลือ่ นไหวจะช่วยให้ผเู้ รียนเลือกได้
ที่มีรูปแบบการเรียนแตกต่างกันได้เป็นอย่างดี ว่ า ตั ว ของพวกเขาใช้ ป ระสาทสั ม ผั ส แบบใด
(Dilton and Gabbard, 1998) เมือ่ ใดทีผ่ สู้ อนได้กำหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
กล่าวโดยสรุปสื่อประสมและสื่อหลาย ที่ชัดเจนและจำเป ็นต้องให้ผู้เรียนได้มีการฝึก
มิติมีคุณค่า บทบาทสำคัญต่อการศึกษา เพราะ ปฏิบตั แิ ล้วเมือ่ นัน้ จึงจะสามารถตัดสินใจเลือกสือ่
คุณสมบัตขิ องสือ่ ประสมทีน่ ำเสนอสือ่ หลากหลาย ทีช่ ว่ ยอำนวยความสะดวกในการเรียนรูไ้ ด้ดที ส่ี ดุ
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 37

และทำอย่างไรจึงจะถ่ายทอดเนือ้ หาไปยังผูเ้ รียนได้ดี เป็นกลุม่ กิจกรรมการเรียนรูก้ ารทำงานแบบร่วมมือ


ทีส่ ดุ (Heinich and others, 2002, p.242) สามารถกำหนดให้มกี ารคิดพิจารณาในการทดลอง
ในบทความนี ้ ข อเสนอสื ่ อ ประสม การแก้ปญ ั หา การแสดงบทบาทสมมติ และการฝึก
ชนิดต่างๆ ดังต่อไปนี้ ปฏิบตั ชิ นิดอืน่ ๆ
ชุดสือ่ ประสม (Multimedia Kits) สะดวกในการเคลื่อนย้าย (Logistics)
ชุดสื่อประสมคือการรวมสื่อการเรียน ชุดสื่อประสมมีประโยชน์ในด้านความสะดวก
การสอนมากกว่าหนึ่งชนิดเพื่อใช้ในการเรียนรู้ ในการเคลือ่ นย้ายอย่างชัดเจนด้วยการจัดเป็นชุด
เนื้อหาในหัวข้อเดียวกัน สื่อภายในชุดดังกล่าว ซึง่ สามารถขนส่งและนำไปใช้ภายนอกห้องเรียน
อาจได้แก่ ซีดรี อม, ฟิลม์ สตริป, สไลด์, เทปเสียง, ได้อย่างสะดวกราวกับว่าใช้ในศูนย์สอ่ ื หรือทีบ่ า้ น
วี ด ิ ท ั ศ น์ , ภาพนิ ่ ง , เอกสารสิ ่ ง พิ ม พ์ ป ระกอบ ข้อจำกัด
การสอน, แผ่นโปร่งใส, แผนที,่ แผนภูม,ิ กราฟ, ราคาแพง (Expense) ใช้เวลาในการเรียนรู้
หนังสือ, ของจริง, ของจำลอง ชุดสื่อประสม นาน (Time consuming) และหาสิ่งมาทดแทน
บางชุดถูกออกแบบสำหรับครูใช้ในการนำเสนอ ไม่ได้หากมีบางส่วนขาดหายไป (Replacement)
ในห้องเรียน บางชุดถูกออกแบบสำหรับเรียน การบูรณาการใช้ชดุ สือ่ ประสม
รายบุคคลหรือ เรียนกลุ่มย่อย ชุดสื่อประสม ชุดสื่อประสมเป็นส่วนประกอบที่ดี
เพื่อการค้าถูก พัฒนาขึ้นในวิชาต่างๆมากมาย ในการใช้รว่ มกับการสอนทีใ่ ช้การเรียนรูแ้ บบค้นหา
ชุดสื่อเพื่อการ เรียนรู้เหล่านี้อาจประกอบด้วย ผูส้ อนสามารถตัง้ คำถามเพือ่ ให้ผเู้ รียนค้นหาคำตอบ
วีดทิ ศั น์, แถบบันทึก เสียง, เกม, ภาพโปสเตอร์, และข้อสรุป การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่
ภาพถ่าย, บัตรกิจกรรม, ภาพติดผนัง, แผนภูมิ, เหมาะสมกับการใช้สื่อประเภทนี้ เช่น ชุดสื่อ
รู ป ทรงเรขาคณิ ต , วั ส ดุ ท ี ่ ใ ช้ ใ นการทดลอง ประสมวิชาแม่เหล็กทีม่ รี ายละเอียดของแม่เหล็ก
วิทยาศาสตร์ และ หุ่นกระบอก สำหรับแสดง ชนิดต่างๆ หรือในวิชาคณิตศาสตร์ ชุดสือ่ ประสม
ประกอบเรื่องราวต่างๆ ซึ่งโดยปกติแล้วจะมี เรือ่ งการวัดอาจรวมไม้วดั แบบพับได้และคำแนะนำ
แบบฝึกหัดของนักเรียน และคูม่ อื ครูรวมอยูด่ ว้ ย ในการวัดความสูงของวัตถุต่างๆภายนอกบ้าน
วัตถุประสงค์หลักของ สือ่ ชุดนีค้ อื การให้ผเู้ รียน หรือโรงเรียน
ได้มโี อกาสการเรียนรู้ โดยตรง ได้สมั ผัส ได้สงั เกต สือ่ หลายมิติ (Hypermedia)
ได้ ท ดลอง ได้ ส งสั ย อยากรู ้ อ ยากเห็ น สือ่ หลายมิตคิ อื สือ่ ทีใ่ ช้ทฤษฎีการเรียนร ู้
และได้ตดั สินใจ แบบพุทธินิยมเป็นฐาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการ
ข้อดี ทำอย่างไรทีจ่ ะช่วยให้ผเู้ รียนสร้างองค์ความรูแ้ ละ
น่าสนใจ (Interest) ชุดสือ่ ประสมกระตุน้ เกิดการเรียนรูส้ อ่ื หลายมิตใิ ช้การเชือ่ มต่อเพือ่ ช่วย
ความสนใจและตอบสนอง ต่อประสาทสัมผัส ในการจัดระบบข้อมูลข่าวสารด้วยมโนทัศน์ของ
ทุกส่วน หลายคนชอบสัมผัสและจัดกระทำกับ สิง่ ทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั สิง่ ทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกัน
ของจริง ตรวจสอบของตัวอย่างที่มีความแปลก คือสิง่ ทีช่ ว่ ยให้เกิดความคิด ตัวอย่างเช่น เมือ่ กำลัง
อย่างใกล้ชดิ คิดถึงเรื่องที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยาน สิ่งหนึ่งที่
ความร่วมมือ (Cooperation) ชุดสื่อ เชือ่ มโยงความคิดไปถึงก็คอื การขนส่งและการ
ประสมช่วยกระตุ้นกลไกสำหรับการทำงาน พักผ่อนหย่อนใจ แต่ในสื่อหลายมิติซึ่งสามารถ
หน้า 38 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

เชือ่ มโยงแหล่งข้อมูลทีไ่ ม่ประสานเวลาได้โดยตรง - เป็นวิธีการในการค้นหาและค้นคว้า


และแสดงข้ อ มู ล ที ่ ไ ม่ จ ำเป็ น ต้ อ งเรี ย งลำดั บ แบบใหม่ และหากเป็นการใช้บนเว็บไซต์จะ
เนื ้ อ หาซึ่งได้แก่ ข้อความ เสียง และรูปภาพ สามารถเชือ่ มโยงการค้นหาได้อย่างไม่มจี ดุ สิน้ สุด
ซึง่ ไม่มกี ารไหลข้อมูลอย่างต่อเนือ่ งของข้อความ - กระตุ้นผู้เรียนให้อยากเรียนรู้และ
เหมือนในหนังสือหรือบทกลอน ข้อมูลดังกล่าว ค้นหาสิง่ ใหม่ได้ตลอดเวลา
จะถูกแบ่งเป็นหน่วยย่อยๆ ซึง่ ช่วยให้ผเู้ ขียนและ - เหมาะสมกับทุกรูปแบบการเรียนรู้ เพือ่
ผู ้ ใ ช้ ส ามารถใช้ ว ิ ธ ี ก ารต่ า งๆได้ ห ลายทาง ผูเ้ รียนทีม่ รี ปู แบบการเรียนรูท้ แ่ี ตกต่างกัน
ตัวอย่างเช่นในกรณีของรถจักรยานผูเ้ รียน สามารถ - การค้นหาแบบเชื่อมโยงโดยไม่ต้อง
เชื่อมโยงคำว่า “รถจักรยาน” ด้วยรูปถ่ายของ เรียงลำดับเนื้อ หาเชิงเส้นตรงทำให้สามารถ
เด็ ก ผู ้ ห ญิ ง ที ่ ก ำลั ง ขี ่ ร ถจั ก รยานอยู ่ ใ นสนาม ข้ามสิ่งที่ไม่ต้องการไปได้ ช่วยให้ไม่เสียเวลา
และคลิ ป วี ด ิ ท ั ศ น์ ข องชายหนุ ่ ม ชาวฮ่ อ งกง ในการเรียนการสอน
ที่กำลังขี่รถจักรยานบรรทุกเป็ดไปส่งที่ตลาด - เพิม่ ประสิทธิภาพการเรียนรูเ้ นือ่ งจาก
จุดประสงค์ของสื่อหลายมิติคือการจัดเตรียม มนุษย ส์ ามารถรับสารสนเทศด้วยประสาทสัมผัส
ข้อมูลข่าว สารหรือนำเสนอเนือ้ หาทีไ่ ม่มโี ครงสร้าง ทัง้ ห้าได้พร้อมกันหลายทาง
หรือไม่เรียงลำดับให้ผใู้ ช้ “ก้อน” (chunks) ของ - เร้าความสนใจของผูเ้ รียนได้มากกว่า
ข้อมูลหลายก้อนมีลักษณะคล้ายกับข้อมูลที่เก็บ การเรียนในสภาพแวดล้อมแบบเดิมด้วยการใช้
บันทึกในบัตร แต่ละบัตรบรรจุขอ้ มูลแต่ละส่วนที่ สือ่ หลากหลายรูปแบบ
แบ่งเป็นหน่วยย่อยๆ จำนวนบัตรมีหลายแผ่น - การเชื่อมโยงแบบไม่เป็นเส้นตรงจะ
วางเรียงซ้อนกันเป็นชัน้ ๆ อย่างเป็นระเบียบ (stacks) ช่วยส่งเสริมทักษะการคิดลำดับขัน้ สูงของผูเ้ รียน
โดยที่แผ่นแรกจะเป็นข้อมูลเริ่มต้นเพื่อให้อ่าน ได้เป็นอย่างดี เพราะผูเ้ รียนต้องมีการวิเคราะห์สง่ิ ที่
และมีจุดเชื่อมต่อที่ใช้ค้นหาข้อมูลในแผ่นอื่นๆ เรียนไปแล้วและต้องตัดสินใจว่าจะเรียนต่อไปอย่างไร
ต่อไป ข้อมูลเพิม่ เติมย่อยๆทีจ่ ดุ เชือ่ มต่อจะปรากฏ - เอือ้ ในการเรียนรูใ้ นการศึกษาทางไกล
เป็นกรอบเล็กๆ หรือหน้าต่างเพื่ออธิบายข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากสามารถสร้าง
ให้มคี วามชัดเจนมากยิง่ ขึน้ และสามารถดึงออกมา บทเรี ย นที ่ ม ี เ นื ้ อ หาสมบู ร ณ์ เ พื ่ อ ให้ ผ ู ้ เ รี ย น
ได้ตามความต้องการของผู้เรียน และผู้เรียน ศึกษาค้นคว้าได้เอง
สามารถข้ามไปอ่านข้อมูลเนือ้ หาตามความสนใจ นอกจากนีส้ อ่ื หลายมิตยิ งั ช่วยดึงดูดความ
ต่อไปได้โดยไม่ตอ้ งเรียงลำดับเนือ้ หาและสามารถ สนใจของผู้เรียนอย่างมาก ช่วยตอบสนองต่อ
ใช้ได้ทุกเวลาตามความต้องการ (Heinich and การศึกษารายบุคคล และช่วยส่งเสริมความคิด
others, 2002, p.244-245 และกิดานันท์ มลิทอง, สร้างสรรค์ของผูเ้ รียนและผูส้ อนด้วยการทำโครงงาน
2548, หน้า 198-199) ไฟล์สอ่ื หลายมิตซิ ง่ึ ช่วยส่งเสริมให้มกี ารทำงาน
ข้อดี ร่วมกันเป็นกลุม่ ได้อกี ทางหนึง่ ด้วย (Heinich and
กิดานันท์ มลิทอง (2548, หน้า 205) others, 2002, p.248)
กล่าวว่าการใช้สอ่ื หลายมิตใิ นการเรียนการสอน ข้อจำกัด
สามารถเอือ้ ต่อการเรียนรูไ้ ด้ดเี นือ่ งจากคุณสมบัติ ผูใ้ ช้อาจเกิดความสับสนได้ (Getting lost)
หลายประการ อาทิเช่น ในข้อมูลบางอย่างทีย่ งั ไม่มหี ลักฐาน
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 39

การไม่มโี ครงสร้าง (Lack of structure) หลักสูตรต่างๆ และจะติดตามผลแบบใดจึงจะถือว่า


ผู้เรียนบางคนที่มีรูปแบบการเรียนที่ต้องการ เป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสม นักเรียนมีโอกาส
เนื้อหาที่เรียงลำดับอย่างมีโครงสร้างอาจรู้สึก ใช้สอ่ ื หลายมิตใิ นการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม
อึดอัดได้ สอดคล้องกับระดับการเรียนรูข้ องตนเองหรือไม่
การไม่มีปฏิสัมพันธ์ (Noninteractive) และทุกคนรูส้ กึ สนุกสนานกับประสบการณ์การ
โปรแกรมสามารถนำเสนอข้อมูลโดยใช้การสือ่ สาร เรียนรูเ้ พียงใด ครูสามารถปรับใช้วสั ดุสอ่ื การเรียน
ทางเดียวซึ่งไม่ได้เปิดโอกาสให้มีการโต้ตอบ การสอนทีม่ อี ยูห่ รือสร้างสรรค์สอ่ื การเรียนการสอน
หรือได้รบั ข้อมูลย้อนกลับ อันใหม่เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของ
ความยุ ่ ง ยากซั บ ซ้ อ น (Complex) นักเรียนเมื่อครูและนักเรียนกำลังจะสร้างสื่อ
โปรแกรมขัน้ สูงมีความยุง่ ยากในการใช้ ประสมใดๆ ก็ตามขึน้ มา โปรดระวังเรือ่ งลิขสิทธิ์
ใช้ เ วลาในการเรี ย นรู ้ น าน (Time สื่อหลายมิติยกระดับบทบาทของครูและผู้เรียน
consuming) เพราะว่าสือ่ หลายมิตไิ ม่ได้เรียงลำดับ ในห้องเรียน โดยครูทำหน้าทีเ่ ป็นแหล่งการเรียนรู้
เนื้อหาและเชิญชวนให้สำรวจวินิจฉัยสืบสวน หรือสื่อบุคคล สำหรับนักเรียน และผู้เรียน
โปรแกรมสือ่ หลายมิตมิ เี จตนาทีต่ อ้ งการใช้เวลา สามารถสร้างโปรแกรมด้วยตัวเองเพราะสื่อ
นานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ และสื่อหลายมิติ หลายมิตงิ า่ ยต่อการพัฒนา และเป็นการเพิม่ คุณค่า
ต้องการเวลาให้ผส้ ู อนและผูเ้ รียนเรียนรูก้ ารใช้โปรแกรม ของการเรียนรู้ ทีส่ ร้างสรรค์ได้อกี ทางหนึง่
การบูรณาการใช้สอ่ื หลายมิติ สิ ่ ง สำคั ญ ที ่ ส ุ ด ในการเรี ย นการสอน
สื่อหลายมิติสามารถพัฒนาและใช้ได้ ด้วยสือ่ หลายมิตคิ อื การช่วยเตรียมผูเ้ รียนให้พร้อม
บนคอมพิวเตอร์ซง่ึ พบได้โดยทัว่ ไปในโรงเรียน ในโลกที่เปี่ยมล้นด้วยข้อมูลสารสนเทศ ผู้เรียน
สามารถประยุกต์ใช้ได้ในหลักสูตรต่างๆทัง้ หมด ต้องเรียนรู้การเชื่อมโยงความคิดและรู้จักการ
เหมาะสมกับการเรียนรูท้ กุ แบบในการเรียนรายบุคคล คัดสรรกลัน่ กรองข้อมูล การใช้สอ่ื หลายมิตจิ ะช่วย
หรื อ การค้ น หาข้ อ มู ล สารสนเทศในลั ก ษณะ พัฒนาความเชี่ยวชาญในการสื่อสารของผู้เรียน
กลุ่มย่อย สื่อหลายมิติมีเนื้อหาที่พร้อมสำหรับ ทีม่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อมรอบตัวได้เป็นอย่างดี
การใช้งาน ผู้สอนสามารถพัฒนาให้สอดคล้อง สื่อประสมปฏิสัมพันธ์ (Interactive
กับความต้องการ หรือผูเ้ รียนสามารถสร้างเองได้ media)
ตามความต้องการและสังเคราะห์งานวิจัยได้ใน กรมวิชาการ (2544, หน้า 4-6) อธิบาย
หัวข้อทีส่ นใจ เนือ้ หาสือ่ หลายมิตทิ ท่ี ำสำเร็จแล้ว เกี่ยวกับสื่อประสมปฏิสัมพันธ์ว่า สื่อประสม
ได้กลายเป็นสือ่ สำหรับผูส้ อนทีส่ ามารถนำมาใช้ ปฏิสมั พันธ์เป็นสือ่ ประสมทีเ่ น้นการให้ผใู้ ช้เป็น
ในห้องเรียน หลายๆเรื่องได้รับการพัฒนาขึ้น ผู้ควบคุมการนำเสนอ การเลือกเส้นทางเดิน
สำหรับใช้สอนเพื่อการศึกษา เช่น ระบบการ (Navigator) การโต้ตอบ การให้ความรู้ และกิจกรรม
ย่อยอาหาร ทีอ่ อกแบบสำหรับใช้กบั นักเรียนระดับ ที่มีในบทเรียน การใช้สื่อประสมโดยทั่วไปจะ
มัธยมศึกษาเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ซง่ึ มีเนือ้ หายุง่ ยาก พิจารณาคุณสมบัตหิ ลัก 2 ประการ คือ การควบคุม
ซับซ้อนแต่มแี ผนภาพแสดงอย่างถูกต้องเหมาะสม การใช้งาน และความสามารถในการมีปฏิสมั พันธ์
อย่างไรก็ตามมีความจำเป็นต้องพิจารณาว่าจะทำอย่างไร กับผูใ้ ช้
ที่จะแนะนำการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ
หน้า 40 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

การควบคุมการใช้งานเป็นคุณสมบัติ ข้อดี
พืน้ ฐานของระบบสือ่ ประสม คือ ผูใ้ ช้ตอ้ งสามารถ สือ่ หลายอย่าง (Multiple media) ข้อความ,
ควบคุมระบบและขัน้ ตอนการนำเสนอได้งา่ ย และ เสี ย ง, ภาพลายเส้ น , ภาพนิ ่ ง , และวี ด ิ ท ั ศ น์
ไม่ซบั ซ้อน สามารถนำมาผสมผสานเพื ่ อ ให้ ง ่ า ยต่ อ การ
ความสามารถในการมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูใ้ ช้ ใช้รว่ มกันในระบบเดียว
เป็นคุณสมบัตทิ เ่ี พิม่ ขึน้ มาพร้อมๆกับพัฒนาการ การมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Learner
ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งช่วยให้ผู้เรียน participation) ตัว R ของ ASSURE model
สามารถตอบโต้กบั คอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่างๆ คือสัมฤทธิผลของการมีปฏิสัมพันธ์กับวีดิทัศน์
โดยคอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลจากผูใ้ ช้ไปประมวลผล เพราะว่าพวกเขาต้องการให้ผู้เรียนได้รับการ
เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลในการโต้ตอบหรือการประเมิน สนับสนุนในกิจกรรมการเรียนการสอน สือ่ เหล่านี้
ซึง่ จะช่วยให้การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองมีประสิทธิภาพ ช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน และช่วยให้
และน่าสนใจขึน้ ผูเ้ รียนได้มสี ว่ นร่วมมากกว่าการได้ดวู ดี ทิ ศั น์แต่เพียง
วัตถุประสงค์ของสือ่ ประสมปฏิสมั พันธ์ อย่างเดียว (Heinich and the others, 2002, p. 251)
คือเพือ่ ใช้ในการเรียนการสอนและการฝึกอบรม ทำให้เป็นเฉพาะบุคคล (Individualiza-
เป็นหลักหรือสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา tion) เป็นการพัฒนาให้เหมาะสมกับการศึกษา
การเรียนการสอนทัง้ ในและนอกระบบโรงเรียน รายบุคคล
สำหรับการออกแบบโปรแกรม ผูอ้ อกแบบต้อง ยืดหยุน่ (Flexibility) ผูเ้ รียนสามารถเลือก
นำความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์บรู ณาการ หัวข้อทีจ่ ะเรียนได้ตามต้องการจากเมนู
เข้ากับแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยา การจำลองสถานการณ์ (Simulations)
การเรียนรูเ้ พือ่ ถ่ายทอดไปยังผูเ้ รียนโดยผูเ้ รียนสามารถ วีดทิ ศั น์ปฏิสมั พันธ์อาจจะใช้ในการจัดสถานการณ์
ควบคุมลำดับขั้นตอนการเรียนรู้ เลือกเนื้อหา จำลอง ในวิชาการแพทย์ ปฏิบตั กิ ารใช้เครือ่ งจักร
การเรียน กิจกรรมการเรียนตรวจสอบความ และการฝึกทักษะส่วนบุคคลที่มีลักษณะพิเศษ
ก้าวหน้า และทดสอบความรูด้ ว้ ยตนเอง ซึง่ เมือ่ โดยเฉพาะ การฝึกทักษะในการทำงานร่วมกับ
เปรียบเทียบกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน เด็ ก ในห้ อ งเรี ย น หรื อ อี ก นั ย หนึ ่ ง คื อ การใช้
ปกติท ี่ม ีครูเป็นศูนย์กลางและเป็นผู้ควบคุม การแสดงบทบาทสมมุติหรือการมีปฏิสัมพันธ์
กิจกรรมการเรียนการสอนจะเห็นได้วา่ การเรียน แบบสด สามารถจัดให้ตอบสนองต่อการเรียน
การสอนโดยใช้สื่อประสมปฏิสัมพันธ์มีจุดเด่น รายบุคคล การจำลองสถานการณ์แบบฝึกหัด
อยูท่ ก่ ี ารควบคุมกิจกรรมการเรียนการควบคุมเวลาเรียน ในการเรียนทีผ่ เู้ รียนเป็นผูก้ ำหนดจังหวะการเรียน
และการได้มปี ฏิสมั พันธ์กบั บทเรียน ซึง่ จะส่งผล ด้วยตนเอง
ดีต่อการเรียนเป็นรายบุคคลและสอดคล้องกับ ข้อจำกัด
ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู ้ ท ี ่ เ น้ น ผู ้ เ รี ย นเป็ น สำคั ญ ค่าใช้จา่ ย (Cost) ข้อจำกัดของสือ่ ประสม
ในวงการศึ ก ษาทั ่ ว ไปเรี ย กสื ่ อ ประเภทนี ้ ว ่ า ปฏิสมั พันธ์คอื เรือ่ งค่าใช้จา่ ย แม้วา่ ในปัจจุบนั นี้
สื่อประสมปฏิสัมพันธ์เพื่อการเรียนการสอน ราคาของแผ่นดิสต์และอุปกรณ์ทใ่ี ช้ผลิตจะถูกลง
(Interactive Multimedia Instruction: IMI) แล้วก็ตาม
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 41

การผลิ ต ใช้ ต ้ น ทุ น สู ง (Production ครูสามารถใช้สอ่ื ในลักษณะเรียงลำดับเนือ้ หาซึง่


expense) การลงทุนผลิตซีดรี อมและดีวดี ี ใช้ตน้ ทุน จะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้และหยุดเมื่อมีการ
การผลิตทีม่ รี าคาแพงซึง่ จำเป็นต้องผลิตเพือ่ การค้า อภิปราย ก่อนทีจ่ ะเริม่ ต้นกระโดดไปทีส่ อ่ื ชิน้ ใหม่
ถ้าผลิตจำนวนน้อยก็ไม่คมุ้ ทุน หรือใช้ทบทวนเมื่อมีความจำเป็น วิธีการหยุด
การไม่เปลีย่ นแปลงของข้อมูล (Rigidity) ชัว่ คราวและอภิปรายอาจจะใช้งานได้ดเี มือ่ ต้องการ
แผ่นดิสต์ไม่สามารถเปลีย่ นแปลงข้อมูลได้ดงั นัน้ ทบทวนเนือ้ หา สือ่ ประสมปฏิสมั พันธ์ทถ่ี กู นำมา
สือ่ อาจล้าสมัยได้ ใช้ใ นโรงเรี ย น ได้แก่ใ นสาขาแพทย์ ศ าสตร์
การบูรณาการใช้สอ่ื ประสมปฏิสมั พันธ์ ช่างยนต์ ระบบการเผาไหม้อเิ ล็กทรอนิกส์ ทักษะ
สื่อประสมปฏิสัมพันธ์คือระบบการ การสื่อสาร รวมทั้งใช้สื่อประสมปฏิสัมพันธ์
เรียนรูท้ ม่ี คี ณ
ุ ค่าสำหรับภารกิจทีใ่ ช้การฝึกปฏิบตั ิ รูปแบบต่างๆในการฝึกอบรมเพือ่ ปรับปรุงการทำงาน
การเรียนการสอนบางลักษณะไม่เหมาะสมทีจ่ ะ ให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ อีกด้วย
นำเสนอด้วยวัสดุสง่ิ พิมพ์ ถ้าผูเ้ รียนมีความจำเป็น ความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality)
ต้องมีปฏิสัมพันธ์หรือมีส่วนร่วมกับการเรียน ความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality:
การสอน สื่อประสมปฏิสัมพันธ์คือทางเลือกที่ VR) คือโปรแกรมประยุกต์สอ่ื ประสมชนิดใหม่
เหมาะสม ระบบการใช้สื่อประสมปฏิสัมพันธ์ ทีใ่ ช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นฐาน ความเป็นจริง
เป็นสิ่งที่นำไปประยุกต์ใช้กันอย่างหลากหลาย เสมือนเป็นการใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาภาพ
เช่น ในการสอนปรากฏการณ์ด้านวิทยาศาสตร์ สภาพแวดล้อมในลักษณะสามมิตทิ ผ่ี ใู้ ช้สามารถ
การสอนนักเรียนพิเศษในการบอกเวลา หรือจัด ปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่าง
เป็นโปรแกรมการสอนสำหรับกลุ่มย่อยของ กระตือรือร้น ผู้ใช้สวมใส่เครื่องหูฟังซึ่งบรรจุ
นักเรียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ หรือจัดหาสือ่ ที่ จอภาพวีดทิ ศั น์แบบสามมิตแิ ละหูฟงั การมีสว่ นร่วม
ปรับปรุงแก้ไขแล้วสำหรับนักเรียนผูซ้ ง่ึ อาจจะมี ของผูใ้ ช้กบั โลกแห่งภาพสามมิตเิ กิดขึน้ โดยการใช้
ความยุง่ ยากในการเรียนความคิดรวบยอดบางอย่าง คันบังคับหรือถุงมือพิเศษสวมใส่มอื ถุงมือข้อมูล
โดยเฉพาะ อาจจะใช้ในการชี้ ถือและเคลือ่ นย้ายวัตถุและส่ง
โปรแกรมสือ่ ประสมปฏิสมั พันธ์สามารถ ต่อไปทีก่ ารเคลือ่ นย้ายของผูใ้ ช้ภายในโลกเสมือนจริง
ใช้กับการเรียนการสอนรายบุคคลและกลุ่มย่อย สิง่ สำคัญอย่างยิง่ ของความเป็นจริงเสมือนได้แก่
และมีแน้วโน้มเติบโตขึน้ เรือ่ ยๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขยายประสบการณ์ให้กบั ผูเ้ รียน เนือ่ งจากความ
ในโรงเรียนประถมศึกษา ซึง่ เหมาะสมทีจ่ ะประยุกต์ เป็นจริงเสมือนได้จัดสถานที่ที่ผู้ใช้ได้เข้าไปใน
ใช้กับการเรียนกลุ่มย่อยที่เปิดโอกาสสำหรับ สภาพแวดล้อมนั้นๆ ซึ่งจัดให้ผู้ใช้ได้มีโอกาส
สนับสนุนส่งเสริมให้นกั เรียนได้เรียนแบบร่วมมือ สัมผัสกับสภาพแวดล้อมนัน้ อย่างมีลกั ษณะพิเศษ
และทำกิจกรรมทีช่ ว่ ยในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน เฉพาะตัวทีไ่ ม่เหมือนใคร
สื่อประสมปฏิสัมพันธ์อาจจะใช้ได้กับนักเรียน ข้อดี
กลุม่ ใหญ่ได้เช่นกันโดยครูอาจจะใช้โปรแกรมการเรียน ปลอดภัย (Safety) ความเป็นจริงเสมือน
การสอนผ่านทางเครื่องฉายแอลซีดีฉายภาพ สร้างโลกแห่งความเป็นจริงโดยปราศจากเรือ่ งจริง
ขึ้นจอฉายให้นักเรียนทั้งหมดในห้องเรียนชม
หรือจินตนาการที่อันตรายหรือภาวะที่เสี่ยงต่อ
อันตราย
หน้า 42 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

ให้รายละเอียดทีก่ ว้างขวาง (Expansive) เดินทางไปในทุกส่วนของร่างกายจนทัว่ อวัยวะทุกระบบ


จัดเตรียมให้นักเรียนได้มีโอกาสค้นหาสถานที่ ของมนุษย์ หรือสามารถท่องเทีย่ วชมอารยธรรม
ทีไ่ ม่มที างจะเป็นไปได้ในโลกแห่งความเป็นจริง เก่าของชนเผ่ามายา ความเป็นจริงเสมือนยังช่วย
เช่น ภายนอกอวกาศ หรือภายในภูเขาไฟ เป็นต้น ในการค้นหาวิธกี ารอย่างมีประสิทธิภาพของการ
โอกาสในการค้นหา (Opportunities to ดู แ ลสุ ข ภาพ สถาปั ต ยกรรม การออกแบบ
explore) ความเป็นจริงเสมือน ยินยอมให้ผเู้ รียน ตกแต่งภายใน การวางผังเมือง การออกแบบ
ทดลองกับสภาพแวดล้อมสถานการณ์จำลอง ผลิตภัณฑ์ และกิจกรรมชนิดต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับ
ข้อจำกัด การทำให้เกิดการจินตนาการ นอกจากนี้ความ
ค่าใช้จา่ ย (Cost) อุปกรณ์มรี าคาแพงมาก เป็นจริงเสมือนยังถูกนำไปประยุกต์ใช้ในโรงเรียนได้แก่
ยุง่ ยากซับซ้อน (Complex) เทคโนโลยี การทัศนศึกษาเสมือน (Virtual field trip) ซึง่ เป็น
ยุ่งยากสลับซับซ้อนไม่เหมาะสมให้ยืมใช้ใน เทคโนโลยีทไ่ ี ด้รบั การปรับปรุงสำหรับการศึกษาพิเศษ
ห้องเรียน ขณะนี ้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นาและทดสอบ
หัวข้อจำกัด (Limited titles) ในปัจจุบนั นี้ ความเป็นจริงเสมือนยังคงอยูใ่ นระหว่างการทดลองใช้
มีโปรแกรม “ทีเ่ ป็นไปได้จริง” จำนวนจำกัด ในการศึกษา เสมือนกับอยู่ในวัยทารกเพราะว่า
การบูรณาการใช้ความเป็นจริงเสมือน มีราคาแพงและ ต้องใช้เวลาในการพัฒนาอีก
การควบคุ ม สภาพแวดล้ อ มด้ ว ย ระยะหนึง่ ความเป็นจริง เสมือนต้องการเครือ่ งมือ
คอมพิวเตอร์ ยินยอมให้ผเู้ รียนมีประสบการณ์จาก และอุปกรณ์เสริม ชนิดพิเศษและไม่สามารถใช้
การฝังประสาทสัมผัสและการมีปฏิสัมพันธ์กับ งานได้บนคอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ะที่มีหน่วย
ปรากฎการณ์ที่มีอยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง ความจำจำกัดได้ นวัตกรรมใหม่นไ้ี ด้มกี ารนำมาใช้
การประยุกต์ใช้หลายครัง้ ของความเป็นจริงเสมือน ในการฝึกอบรมบางสาขา เช่น สถาปัตยกรรม
ได้มีการสาธิตอย่างมีประสิทธิภาพ เช่นการ วิทยาศาสตร์ และการดูแล สุขภาพ ในอนาคต
สำรวจในอวกาศ เนือ่ งจากความเป็นจริงเสมือน ถ้าได้รับการพัฒนาและราคา ของอุปรณ์ลดลง
สามารถจำลองสถานการณ์สภาพแวดล้อมภายนอก เชื่อมั่นว่าความเป็นจริงเสมือน จะใช้กันอย่าง
อวกาศ ผูเ้ รียนสามารถฝึกปฏิบตั ใิ นอวกาศได้อย่าง กว้างขวางในวงการศึกษาและการ ฝึกอบรมอย่าง
ปลอดภั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ถ้ า ปราศจาก แน่นอน เพราะความเป็นจริงเสมือน ได้แสดง
เทคโนโลยีชนิดนี้ ประสบการณ์ในลักษณะนีจ้ งึ ให้เห็นถึง ศักยภาพในการเรียนสาขา แพทยศาสตร์
ยากทีจ่ ะเป็นไปได้สำหรับผูเ้ รียนทุกคน โรงพยาบาลเสมือนในต่างประเทศ ได้เตรียมการ
การประยุกต์ใช้ความเป็นจริงเสมือน เช่น ฝึกอบรมและการปรับข้อมูลให้เป็น ปัจจุบนั สำหรับ
การจำลองสถานการณ์การรับส่งคลื่นที่มีเสียง แพทย์ฝึกหัดทั่วทั้งประเทศ การให้เจ้าหน้าที่ใน
ชัดเจนระหว่างการฝึกบินของเครื่องบินและ โรงพยาบาลส่วนใหญ่ที่ไม่สามารถละทิ้งงาน
การฝึกอบรมการบินกระสวยอวกาศและการฝึก ทีไ่ ด้รบั มอบหมายมาเป็นเวลานานได้ มาฝึกอบรม
อบรมในรถถังทีอ่ ยูใ่ นภาวะสงคราม ความเป็นจริง ในบรรยากาศของการจำลองสถานการณ์
เสมือนยินยอมให้ผเู้ รียนได้รบั ประสบการณ์ในสิง่ ที่ บรรยากาศในโรงพยาบาลซึ่งช่วยให้ทีมงาน
เป็นไปไม่ได้ในโลกแห่งความจริง พวกเขาสามารถ พัฒนา ทักษะความสามารถของตนเอง รวมทั้ง
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549 หน้า 43

ยังได้เรียนรู้ ข้อมูลสารสนเทศ เทคนิคใหม่ๆจาก บทสรุป


แหล่งการเรียนรูช้ นิดพิเศษ การบู ร ณาการใช้ ส ื ่ อ ประสมและสื ่ อ
ข้อแนะนำอีกประการหนึ่งของการใช้ หลายมิตเิ พือ่ การสอนและการเรียนรูเ้ ป็นกระบวนการ
ความเป็นจริงเสมือนคือการเข้ามาอยูใ่ นรูปแบบของ ทีม่ คี วามสำคัญและสามารถนำไปประยุกต์ปรับใช้
ห้องสามมิติ หรือถ้ำ ที่ซึ่งผู้ใช้ยืนอยู่ในสภาพ ใน สถาบันการศึกษา ทั้งนี้เพราะสื่อประสม/
แวดล้อมจำลอง มีประสบการณ์อยูก่ บั ภาพสามมิติ สือ่ หลาย มิตมิ คี ณ ุ สมบัตทิ ช่ี ว่ ยเอือ้ ประโยชน์ตอ่
เช่นวิชาชีววิทยาเกี่ยวกับเส้นประสาท และวิชา การเรียนการสอนหลายประการ โดยเฉพาะ
เภสัชวิทยาทีใ่ ช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชนิดนี้ อย่างยิง่ เอือ้ ต่อ การเรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์สามารถเข้าไปในเซลล์และ กล่าวคือผูเ้ รียน สามารถเลือกหรือกำหนดอัตรา
จัดกระทำหรือแทรกโมเลกุลและสังเกตปฏิกริ ยิ า การเรียนของตนเองได้ ผู้เรียนสามารถควบคุม
ตอบสนองเหล่านัน้ ได้ จั ง หวะการเรี ย นของตนเองได้ สื ่ อ ประสม/
ตัวอย่างอีกลักษณะหนึ่งของความเป็น สื ่ อ หลายมิ ต ิ ก ระตุ ้ น ให้ ผ ู ้ เ รี ย นมี ป ฏิ ส ั ม พั น ธ์
จริงเสมือนคือ การใช้โปรแกรมควิกไทม์ วีอาร์ เชิงโต้ตอบกับบทเรียน ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน
(QuickTime VR) โปรแกรมนี ้ ใ ช้ เ ครื ่ อ งมื อ มีส่วนร่วมอย่างกระฉับกระเฉง สนับสนุนให้
หลายอย่าง ทีท่ ำให้ผเู้ รียนสร้างภาพได้อย่างง่ายๆ ผูเ้ รียนมีความกระตือรือร้นในการค้นคว้าหาข้อมูล
กล้องควิกเทค (QuickTake camera) บนขาตัง้ กล้อง สารสนเทศได้หลากหลายรูปแบบ นอกจากนีย้ งั
พิเศษซึง่ จะช่วยให้นกั เรียนถ่ายภาพสภาพแวดล้อม เหมาะสมทีจ่ ะนำไปใช้สร้างเนือ้ หาบทเรียนในการ
ในมุมมองแบบ 360 องศา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ศึกษาทางไกล รวมทั้งศักยภาพที่เป็นไปได้ของ
ตกแต่งยึดให้ภาพติดกันและสร้างภาพยนตร์พเิ ศษ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทน่ ี ำมาใช้เป็นอุปกรณ์ควบคุม
เมื่อต้องการชมภาพยนตร์ผู้ใช้สามารถใช้การ การนำเสนอเป็นสิง่ ทีจ่ ะช่วยจัดเตรียมประสบการณ์
เคลือ่ นทีข่ องเมาส์เคลือ่ นภาพไปในทิศทางต่างๆ การเรียนรู้ซึ่งมีรายละเอียดที่เหมือนมีชีวิตจริง
ตามต้องการ สิง่ นีเ้ องทีท่ ำให้ผใู้ ช้มคี วามรูส้ กึ เหมือน และมีความปลอดภัยอันจะทำให้นกั เรียนเกิดความ
ยืนอยูใ่ นจุดทีห่ มุนได้โดยรอบในการมองภาพจาก มัน่ ใจในการเรียนรูจ้ ากกระบวนการคิดแก้ปญ ั หา
ทิ ศ ทางต่ า งๆ ถ้ า เครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช้ ใ นการสร้ า ง ซึง่ ผูเ้ ขียนมุง่ หวังว่าจากข้อดีดงั ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วนัน้
ความจริงเสมือนได้มกี ารพัฒนาและมีราคาถูกลง จะช่วยทำให้ท่านผู้อ่านได้เกิดแนวคิดที่จะนำ
นักเรียนและครูจะสามารถใช้ในการค้นหาวิธกี ารใช้ ประโยชน์ของสื่อประสม/สื่อหลายมิติเหล่านี้
เทคโนโลยีชนิดนีเ้ พือ่ การเรียนรู้ ซึง่ จะกลายเป็นสิง่ ไปประยุกต์ ใช้ในการเรียนการสอนต่อไป
ทีเ่ ป็นไปได้สำหรับผูเ้ รียนทีจ่ ะสร้างสภาพแวดล้อมที่
มีลกั ษณะเฉพาะของตัวเอง ซึง่ ประสบการณ์เหล่านี้
จะะช่วยเพิม่ มิตขิ องห้องเรียน(อย่างแท้จริงและโดยนัย)
ในแนวทางทีเ่ ต็มไปด้วยความตืน่ เต้น
หน้า 44 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 เดือนมิถนุ ายน 2549-ตุลาคม 2549

เอกสารอ้างอิง

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544) ความรูเ้ กีย่ วกับสือ่ มัลติมเี ดียเพือ่ การศึกษา เยาวลักษณ์ เตียรณบรรจง
นันทวรรณ กฤตวิทย์ บรรณาธิการ, บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, สุกรี รอดโพธิท์ อง น.พ.ชัยเลิศ พิชติ พรชัย,
และโสภาพรรณ แสงศัพท์ ผูเ้ ขียน กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
กิดานันท์ มลิทอง (2544) สือ่ การสอนและฝึกอบรม: จากสือ่ พืน้ ฐานถึงสือ่ ดิจทิ ลั กรุงเทพมหานคร:
ห้างหุน้ ส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์.
กิดานันท์ มลิทอง (2548) เทคโนโลยีและการสือ่ สารเพือ่ การศึกษา กรุงเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์.
ทวีศกั ดิ์ กาญจนสุวรรณ (2546) Multimedia ฉบับพืน้ ฐาน กรุงเทพมหานคร: บริษทั เคทีพคี อมพ์
แอนด์คอนซัลท์ จำกัด.
ราชบัณฑิตยสถาน (2542) ศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน กรุงเทพมหานคร:
ห้างหุน้ ส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์.
สมสิทธิ์ จิตรสถาพร (2547) สือ่ การสอน (Educational Media or Educational Instruction) เข้าถึงได้จาก
http://www.cybergogy.com/somsit/400202EdTechnology/400202ReviewLectureNote.htm
Chee, T.S. and Wong, A.F.L., eds. (2003) Teaching and Learning with Technology: An AsiaPacific
Perspective. Singapore: Prentice-Hall. Dale, E. (1969) Audio-Visual Methods in Teaching.
3rd ed. New York: Holt, Rinehart and Winston.
Dilton, A., & Gabbard, R. (1998) Hypermedia as an educational technology: A review of the quantitative
researchliterature on learner comprehension, control, and style. Review of Educational Research,
68(3), 322-349.
Judy Lever-Duffy, Jean B. McDonald, and Al P. Mizell (2003) Teaching and Learning with Technology
Pearson Education, Inc.
M. D. Roblyer (2003) Integrating Educational Technology into Teaching Third Edition New Jersey Pearson
Education, Inc.
McCarthy, R. (1989) Multimedia: What the excitement’s all about. Electronic Learning, 8(8), 26-31.
Marchionini, M. (1988) Hypermedia and Learning: Freedom and chaos. Educational Technology,
28(11), 8-12.
Michael D. Williams (2000) Integrating Technology into Teaching and Learning Concepts and Applications.
Prentice Hall
Robert Heinich, Michael Molenda, James D. Russell and Sharon E. Smaldino (2002) Instructional media
and technologies for Learning Seventh Edition N.J.: Merrill Prentice Hall., Inc.
Swan, K., & Meskill, C. (1996) Using hypermedia in response-based literature classrooms: A critical review
of commercial applications. Journal of Research on Computing in Education, 29(2),167-192.
Tay Vaughan (2004) MULTIMEDIA MAKING IT WORK Sixth Edition McGraw-Hill Companies, Inc.

You might also like