You are on page 1of 20

สมการเชิงอนุพนั ธ์ เชิงเส้ นอันดับสู ง

▪ บทนิยามและทฤษฎีบท
บทนิยาม 3.1 (ตัวดำเนินกำรเชิงอนุพนั ธ์)
dy
ถ้ำ y เป็ นฟังก์ชนั ของ ตัวแปรอิสระ x อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั y เทียบกับตัวแปร x เขียนแทนด้วย Dy =
dx
d2 y 2
และอนุพนั ธ์อนั ดับ 2 ของฟังก์ชนั y เทียบกับตัวแปร x เขียนแทนด้วย D y = 2 โดยทัว่ ไปอนุพนั ธ์อนั ดับ n
dx
n
d y
( n = 1, 2, 3, … ) ของฟังก์ชนั y เทียบกับตัวแปร x แทนด้วย D n y = n สัญลักษณ์ D , D 2 ,..., D n
dx
เรี ยกว่ำ ตัวดาเนินการเชิ งอนุพนั ธ์ อนั ดับ 1, 2,…, n ตำมลำดับ

เรำสำมำรถสร้ำงนิพจน์ของตัวดำเนินกำรเชิงอนุพนั ธ์อนั ดับ n ได้ดงั นี้


L( D ) = a0 ( x ) D n + a1 ( x ) D n−1 + ... + an ( x ) ------------(1)
เมื่อนำนิพจน์ของตัวดำเนิ นกำรเชิงอนุพนั ธ์ไปประยุกต์กบั ฟังก์ชนั ได้ผลดังนี้
L( D ) y = [ a0 ( x ) D n + a1 ( x ) D n-1 + ... + an ( x )] y

= a0 ( x ) D n y + a1 ( x ) D n-1 y + ... + an ( x ) y

dny d n−1 y
= a0 ( x ) n + a1 ( x ) n−1 + ... + an ( x ) y
dx dx
สมบัติของนิพจน์ ของตัวดาเนินการเชิงอนุพนธ์
ให้ A( D ) และ B( D ) เป็ นตัวดำเนิ นกำรกระทำกับฟังก์ชนั y
1. A( D ) = B( D ) เมื่อ และต่อเมื่อ A( D ) y = B( D ) y

2. A( D ) B( D ) y = A( D )( B( D ) y )

3. A( D ) B( D ) = B( D ) A( D ) เมื่อของตัวดำเนินกำรเชิงอนุพนั ธ์ A( D ) และ B( D )
มีสัมประสิ ทธิ์ เป็ นค่ำคงตัว
4. A( D )( c1 y1 + c2 y2 ) = c1 A( D ) y1 + c2 A( D ) y2
ตัวอย่าง 3.1 จงหำ A( D ) B( D ) และ B( D ) A( D ) เมื่อ

A( D ) = D − 2 , B( D ) = 2 D + 3
วิธีทา หำ A( D ) B( D )
dy
จำก B( D ) y = ( 2 D + 3 ) y = 2 Dy + 3 y = 2 + 3y
dx
dy d dy dy
A( D )( B( D ) y ) = ( D − 2 ) 2 + 3 y  =  2 + 3 y  − 2  2 + 3 y 
 dx  dx  dx   dx 
d2 y dy dy
= 2 2 + 3 - 4 - 6y
dx dx dx
d 2 y dy
= 2 2 − −6y
dx dx
= ( 2 D2 − D − 6) y

สรุ ปได้วำ่ A( D ) B ( D ) = 2 D 2 − D − 6

บทนิยาม 3.2 (สมการเชิ งอนุพนั ธ์ เชิ งเส้ นอันดับ n )


รู ปทัว่ ไปของสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นอับดับ
( D3 − 2 D 2 − 5D + 6 ) y = 0 y ( 0 ) = 1 , y' ( 0 ) = -7 , y" ( 0 ) = -1 คือ
dn d n−1
a0 ( x ) n y + a1 ( x ) n−1 y + ... + an ( x ) y = R( x ) ------------(2)
dx dx
โดยที่ a0 ( x )  0 และ a0 ( x ), a1 ( x ), ... , an ( x ) เป็ นฟังก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วง I ที่กำหนดให้
ถ้ำ R( x ) = 0 เรี ยกสมกำร (2) ว่ำ สมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นเอกพันธุ์
ถ้ำ R( x )  0 เรี ยกสมกำร (2) ว่ำ สมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นไม่เอกพันธุ์

เรำสำมำรถเขียนสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นเอกพันธุ์อนั ดับ n ในรู ปตัวดำเนิ นกำรเชิงอนุพนั ธ์ได้ดงั นี้

L( D ) y = [ a0 ( x ) D n + a1 ( x ) D n-1 + ... + an ( x )] y = 0 ------------(3)

ตัวอย่าง 3.3 ตัวอย่ำงของสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นเอกพันธุ์ คือ


1. y''' + 2 y'' + y' = 0

หรื อ ( D 3 + 2 D 2 + 1 ) y = 0

2. x 2 y'' + 3 xy' − 2 y = 0

หรื อ ( x 2 D 2 + 3 xD − 2 ) y = 0

ตัวอย่าง 3.4 ตัวอย่ำงของสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นไม่เอกพันธุ์ คือ

1. y'' + 2 y' − 3 y = 3x

หรื อ ( D 2 + 2 D − 3 ) y = 3x
บทนิยาม 3.4 (ผลเฉลยของสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นอันดับ n )
ผลเฉลยของสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นอันดับ n คือฟังก์ชนั y = ∅ ( x ) ที่สอดคล้อง
กับสมกำร L( D ) y = R( x )

ตัวอย่าง 3.5 จงแสดงว่ำ y = sin x - x cos x เป็ นผลเฉลยของสมกำร y" + y = 2 sin x


▪ สมการเชิงอนุพนั ธ์ เชิงเส้ นเอกพันธุ์อนั ดับ n สัมประสิทธิ์เป็ นค่าคงตัว
จำกสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ งที่เป็ นเอกพันธุ์ y' + ay = 0 เมื่อ a เป็ นค่ำคงตัวมี
ผลเฉลยคือ y = ce − ax เป็ นจริ งทุกค่ำของ x บนช่วง ( −,  ) ซึ่ งผลเฉลยที่ได้น้ ีจึงตอบคำถำม
เกี่ยวกับผลเฉลยของสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นเอกพันธุ์ อันดับ n สัมประสิ ทธิ์ เป็ นค่ำคงตัวที่

( a0 D n + a1 D n−1 + ... + an ) y = 0 ------------(10)

เมื่อ a0  0 , a1 , a2 ,...., an เป็ นจำนวนจริ งใด ๆน่ำจะมีผลเฉลยอยูใ่ นรู ปฟังก์ชนั ชี้กำลัง

ดังนั้นให้ฟังก์ชนั y = e mx เป็ นผลเฉลยของ (10)

Dy = me mx , D 2 y = m 2 e mx , . . . , D n y = m n e mx

แทนค่ำ y = e mx ในสมกำร (10) ได้วำ่

a0 m n e mx + a1m n−1e mx + ... + an e mx = 0 ------------(11)

เพรำะ e mx  0 ทุกค่ำของ x( − ,  ) จึงนำมำหำรสมกำร (11) ตลอดได้วำ่

a0 m n + a1m n−1 + ... + an = 0 ------------(12)

เรี ยกสมกำร (12) ว่ำ สมการช่ วย ซึ่งเป็ นสมกำรพหุนำมดีกรี n ในตัวแปร m โดยที่รำกของสมกำรช่วย


จะแบ่งได้เป็ น 3 กรณี

กรณี 1 รำกของสมกำรช่วยเป็ นจำนวนจริ งแตกต่ำงกัน

กรณี 2 รำกของสมกำรช่วยเป็ นรำกซ้ ำ

กรณี 3 รำกของสมกำรเป็ นจำนวนเชิงซ้อน


กรณี 1 รากของสมการช่ วยเป็ นจานวนจริงแตกต่ างกัน
กำหนดสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิ งเส้นเอกพันธุ์อบั ดับ n สัมประสิ ทธิ์ คงที่

 a0 D n + a1 D n−1 + ... + an  y = 0

มีสมกำรช่วย a0 m n + a1m n−1 + ... + an = 0 ที่มีรำกเป็ นจำนวนจริ งแตกต่ำงกัน n รำก

m1 , m2 , m3 ,..., mn

ดังนั้นผลเฉลย n ผลเฉลยที่เป็ นอิสระเชิงเส้นต่อกัน คือ


m x m x m x
y1 = e 1 , y 2 = e 2 , ... , y n = e n
ผลเฉลยทัว่ ไปของสมกำร คือ
m x m x m x
y = c1 e 1 + c 2 e 2 +... + c n e n
ตัวอย่าง 3.9 จงหำผลเฉลยทัว่ ไปของสมกำร

( D 4 − 5D 2 − 2 D ) y = 0
ตัวอย่าง 3.10 จงหำผลเฉลยทัว่ ไปของสมกำร

d 3 y d 2 y dy
+ 4 + -6y = 0
dx 3 dx 2 dx
ตัวอย่าง 3.11 จงแก้ปัญหำค่ำเริ่ มต้น

( D3 − 2 D 2 − 5D + 6 ) y = 0
เมื่อ y ( 0 ) = 1 , y' ( 0 ) = -7 , y" ( 0 ) = -1
กรณี 2 สมการช่ วยมีรากซ้า
จำกสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นเอกพันธุ์สัมประสิ ทธิ์ เป็ นจำนวนจริ ง

( a0 D n + a1 D n−1 + ... + an ) y = 0 ------------(18)

สมกำรช่วย คือ a0 m n + a1m n−1 + ... + an = 0 ------------(19)


ถ้ำรำกของสมกำรช่วย n ตัว มีค่ำเท่ำกัน คือ
m = m1 = m2 = ... = mn = b
สมกำรช่วย (19) เขียนใหม่ได้ในรู ป
( m − b )n = 0 ------------(20)
และสมกำรช่วย (18) สำมำรถเขียนใหม่เป็ น
( D − b )n y = 0 ------------(21)

พิจำรณำว่ำ y = x k e bx โดยที่ k = 0, 1, 2,…, n −1 เป็ นผลเฉลยของสมกำร


( D − b )n y =0

เมื่อ k=0 , (
( D − b )n e bx = ( D − b )n−1 ( D − b ) e bx )
= ( D − b )n−1 ( be bx − be bx )

= ( D − b )n−1 ( 0 ) = 0

k=1 , ( ) = ( D − b )n−1 ( D − b ) xe bx
( D − b )n xe bx

= ( D − b )n−1 ( xe bx + e bx − bxe bx )

= ( D − b )n−1 ( e bx )

= ( D − b )n−2 ( D − b ) e bx
= ( D − b ) n−2 ( 0 ) = 0
k=2 , (
( D − b )n x 2 e bx ) = ( D − b )n−1 ( D − b ) x 2 e bx
= ( D − b )n−1 ( 2 xe bx )

= 2 ( D − b )n−2 ( D − b ) ( xe bx )

= 2 ( D − b )n−2 ( e bx )

= 2 ( D − b )n−3 ( D − b ) e bx
= 2 ( D − b )n−3 ( 0 ) = 0
ในทำนองเดียวกัน เมื่อ k = n −1 ,

( D − b )n x n−1e bx = ( n − 1 )!( D − b )n−( n−1) ( e )bx

สรุ ปได้วำ่ ในกรณี รำกซ้ ำ n ตัว


m = m1 = m2 = ... = mn = b
เรำสำมำรถหำผลเฉลย n ตัว ที่เป็ นอิสระต่อกัน คือ

y1 = e bx , y 2 = xe bx , ..., y n = x n−1e
ดังนั้นผลเฉลยทัว่ ไปของสมกำร คือ

y = c1e bx + c2 xe bx +... + cn x n−1e bx = ( c1 + c2 x +... + cn x n−1 ) e bx


ตัวอย่าง 3.12 จงหำผลเฉลยทัว่ ไปของสมกำร

y ( 4 ) + 3 y"' − 6 y" − 28 y' − 24 y = 0


ตัวอย่าง 3.13 จงหำผลเฉลยของปั ญหำค่ำเริ่ มต้น

( D3 + 2 D2 ) y = 0 เมื่อ y ( 0 ) = -3 , y' ( 0 ) = 0 และ y'' ( 0 ) = 12


กรณี 3 สมการช่ วยมีรากเป็ นจานวนเชิงซ้ อน
พิจำรณำสมกำรเชิงอนุพนั ธ์เชิงเส้นเอกพันธุ์ที่มีสัมประสิ ทธิ์ ที่เป็ นจำนวนจริ ง

( a0 D n + a1 D n−1 + ... + an ) y =0 ------------(25)

สมกำรช่วย คือ a0 m n + a1m n−1 + ... + an = 0 ------------(26)

ถ้ำสมกำรช่วยมีรำกหนึ่งเป็ นรำกเชิงซ้อน m = a + bi จะต้องมีรำกเชิงซ้อนอีกตัวหนึ่งซึ่ งเป็ นสังยุคกัน


คือ m2 = a + bi ดังนั้นผลเฉลยคู่หนึ่งของสมกำรเชิงอนุพนั ธ์ (25) คือ

y1 = e ( a+bi )x , y 2 = e ( a+bi )x

ผลบวกเชิงเส้นของ y1 และ y 2 คือ

A e ( a+bi )x + Be ( a−bi )x = Ae ax • e ibx + Be ax • e −ibx


= Aax  A( cos bx + i sin bx ) + B ( cos bx − i sin bx )

= e ax ( A + B ) cos bx + i ( A - B ) sin bx 

= e ax ( c1 cos bx + c2 sin bx )

เมื่อ c1 = A + B และ c2 = i ( A − B ) เป็ นค่ำคงที่ใด ๆ


ตัวอย่าง 3.14 จงหำผลเฉลยทัว่ ไปของสมกำร

( D 4 + 2 D3 + 8 D + 16 ) y = 0
ตัวอย่าง 3.15 จงหำผลเฉลยทัว่ ไปของสมกำร

( D 4 + 18 D 2 + 81) y = 0
ตัวอย่าง 3.16 จงแก้ปัญหำค่ำเริ่ มต้น ( D3 + D2 + 4 D + 4 ) y = 0

เมื่อ y ( 0 ) = 0 , y' ( 0 ) = -1 , y"( 0 ) = 5


บทนิยาม 3.5 (ควำมเป็ นอิสระเชิงเส้นของฟังก์ชนั )
ให้ฟังก์ชนั f1 ( x ) , f2 ( x ) ,..., fn ( x ) เป็ นฟังก์ชนั บนช่วง I ที่กำหนดให้
กล่ำวว่ำ f1 ( x ) , f2 ( x ) ,..., fn ( x ) เป็ นอิสระเชิงเส้ นต่ อกันบนช่วง I ถ้ำมีค่ำคงตัว
c1 = c2 = ... = cn = 0 เพียงชุดเดียวที่สอดคล้องตำมเงื่อนไข
c1 f1 ( x ) + c2 f2 ( x ) + ... + cn fn ( x ) = 0
แต่ถำ้ มีค่ำคงตัว c1 , c2 , ..., cn ชุดหนึ่งที่ไม่เป็ นศูนย์พร้อมกันจะกล่ำวว่ำ
f1 ( x ) , f2 ( x ) ,..., fn ( x ) ไม่ เป็ นอิสระเชิงเส้ นต่ อกันบนช่วง I

ตัวอย่าง 3.6 จงตรวจสอบฟังก์ชนั f1 ( x ) = cos 2 x , f2 ( x ) = sin 2 x , f3 ( x ) = sec 2 x , f4 ( x ) = tan 2 x

 
ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้นต่อกันบนช่วง  − , 
 2 2
วิธีทา เรำใช้วธิ ีกำรตรวจพินิจโดยพิจำรณำเงื่อนไข

c1 cos 2 x + c2 sin 2 x + c3 sec 2 x + c4 tan 2 x = 0 ------------(4)

เมื่อกำหนดค่ำ c1 = c2 = c3 = 1 และ c4 = -1 จะทำให้เงื่อนไข (4) กลำยเป็ น

(1 ) cos 2 x + (1 ) sin 2 x + (1 ) sec 2 x + ( −1 ) tan 2 x = ( cos2 x + sin2 x ) + ( sec 2 x + tan2 x )


= 1 + (-1)
= 0
ทฤษฎีบท 3.1 ให้ฟังก์ชนั f1 ( x ) , f2 ( x ) ,..., fn ( x ) เป็ นฟังก์ชนั ที่หำอนุพนั ธ์ได้ทุกอันดับ
บนช่วง I ที่กำหนดให้ ค่ าวรอนสเกียนของ f1 ( x ) , f2 ( x ) ,..., fn ( x ) กำหนดโดย
f1 ( x ) f2 ( x ) ... fn ( x )
f1 ' ( x ) f2 ' ( x ) ... fn ' ( x )
W (x) =

f1( n−1) ( x ) f2( n−1) ( x ) ... fn( n−1) ( x )

สำหรับ x0  I ถ้ำ W ( x0 )  0 แล้วฟังก์ชนั f1 ( x ) , f2 ( x ) ,..., fn ( x ) เป็ นอิสระเชิงเส้น


บนช่วง I

ตัวอย่าง : f1 = sin ( x ) , f2 = cos ( x )

You might also like