You are on page 1of 84

คํานํา

พระที่นั่งราเชนทรยาน เปนพระราชยานสําหรับพระมหากษัตริยทรงในเวลาเสด็จพระราชดําเนิน
โดยขบวนแหอยางใหญที่เรียกวา ขบวนพยุหายาตราสี่สาย หรือขบวนสี่สาย เชน เสด็จพระราชดําเนินจากพระ
ราชมณเฑียรไปถวายสักการะพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระราชพิธีบรม
ราชาภิเษก เปนตน นอกจากใชในการเสด็จพระราชดําเนินแลว ยังใชในการเชิญพระบรมโกศพระบรมอั ฐิ
พระมหากษัตริย และสมเด็จพระบรมราชินีจากพระเมรุมาศทองสนามหลวงเขาสูพระบรมมหาราชวังดวย มี
การใชในงานพระราชพิธีหลายครั้ง ในการบูรปฏิสังขรณที่ผานมาหลายครั้ง มีการทารักปดทอง ทาสีปดทอง
และประดับกระจกในรองลวดลาย จนกระจกที่ประดับไวลนขึ้นมาจากรองลวดลาย สวนลวดลายที่ปดทองทับ
ซอนกันหลายชั้นก็ดูเลือน ไมชัดเจน ปดบังลวดลายไมแกะสลักที่สวยงามของครูชางโบราณอีกทั้งไมโครงสราง
บางสวนก็ผุกรอนตามกาลเวลา
ในปพุทธศักราช ๒๕๕๙ กรมศิลปากร มอบหมายใหสํานักชางสิบหมู ดําเนินการบูรณปฏิสังขรณ
ราชรถ ราชยาน และเครื่องประกอบในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุล ยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อ ใชในพระราชพิธีถ วายพระเพลิงพระบรมศพในป
พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๐ เพื่ อ ถื อ เป น การถวายพระเกี ย รติ ย ศสู ง สุ ด ภายหลั ง จากการสํ า รวจเพื่ อ ทํ า การ
บู ร ณปฏิสั ง ขรณเ พื่ อเตรีย มใชใ นงานพระราชพิธี ถวายพระเพลิ งพระบรมศพ สํา นัก ชา งสิบ หมู พิจ ารณา
เห็นสมควรใหบูรณปฏิสังขรณพระที่นั่งราเชนทรยาน ในดานโครงสรางใหแข็งแรงมั่นคงยิ่งขึ้น ทําการปดทอง
ใหมทั้งหมด และจัดสรางชุดเฟองระยาชุดใหมเพื่อประดับตกแตงใหงดงามสมพระเกียรติ
ในการนี้ ศูนยศิลปะและการชางไทย สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร จึงดําเนินการบันทึกขอมูล
รายละเอียดในการบูรณะซอมแซม พระที่นั่งราเชนทรยาน เปนกรณีศึกษา ในดานการปดทองและประดั บ
กระจก เพื่อ รวบรวมไว เปน เอกสารองคความรูดา นศิล ปกรรมในป ง บประมาณ ๒๕๖๕ สํา หรับ ผูที่ส นใจ
นักเรียน นักศึกษา ไดนําประโยชนไปพัฒนาตอยอดงานศิลปกรรม และเพื่อสืบทอดกรรมวิธีของครูชางโบราณ
ใหคงอยูกับงานศิลปกรรมไทยสืบไป

ศูนยศิลปะและการชางไทย
สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร

สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา

บทที่ ๑ ความหมายและความสําคัญของราชรถ ราชยาน....................................................................

: เครื่องประกอบพระราชอิสสริยยศ...............................................................................................
: ราชรถ................................................................................................................................ ๑
: ราชรถสําหรับงานพระราชพิธีบรมศพของไทย............................................................................

: ราชยาน................................................................................................................................ ๕
: ราชยานสําหรับงานพระราชพิธีบรมศพของไทย............................................................................

บทที่ ๒ประวัติและความสําคัญในการบูรณะซอมแซมพระที่นั่งราเชนทรยาน.....................................
๑๑
: พระที่นั่งราเชนทรยาน...................................................................................................... ๑๑
: ความสําคัญในการบูรณะซอมแซมพระที่นั่งราเชนทรยาน............................................... ๑๙
บทที่ ๓ ขั้นตอนการบูรณปฏิสังขรณพระที่นั่งราเชนทรยาน........................................................ ๒๑
: การอัญเชิญพระที่นั่งราเชนทรยานมาบูรณปฏิสังขรณ...........................................................๒๑
: การถอดสวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยานเพื่อซอมปรับโครงสรางและลวดลายที่ชํารุด.......๒๓
: การคัดลอกแบบและเขียนแบบ......................................................................................... ๒๘
: การกะเทาะกระจกและขัดลอกผิวทองเดิมออก……………………………………………………….. ๓๑
: การปดทองและประดับกระจก......................................................................................... ๔๐
: การประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน................................................................................ ๕๔
: การจัดทําเครื่องประกอบ................................................................................................ ๕๖
บทที่ ๔ ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไข............................................................................................
๕๙
: ปญหาและอุปสรรค.......................................................................................................... ๕๙
บรรณานุกรม..................................................................................................................................... ๖๓
ภาคผนวก............................................................................................................................................๖๔

_

บทที่ ๑
ความหมายและความสําคัญของราชรถ ราชยาน

เครื่องประกอบพระอิสริยยศ คือเครื่องประกอบที่ใชสําหรับพระมหากษัตริยและพระบรม
ราชวงศชั้นสูงตั้งแตพ ระราชโอรสธิดาขึ้นไป เครื่องเบญจราชกกุธ ภัณฑ จึง ถือเปนเครื่องใชสิ่งของอันเปน
เครื่ องหมายแสดงความเป นพระราชาอั นเปนเครื่องพระราชอิสริ ยยศพระมหากษัตริยโ ดยเฉพาะ เครื่อ ง
ประกอบพระราชอิสริยยศอื่น ๆ ที่นอกไปจากเบญจราชกกุธภัณฑ จึงเปนเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศพระ
บรมวงศชั้นสูง โดยมีความแตกตางลดหลั่นกันไปตามพระราชอิสริยยศของพระบรมราชวงศ ซึ่งจําแนกประเภท
ของเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศเปนหมวดหมูเชนเดียวกับเครื่องยศ ดังนี้เครื่องสิริมงคล เครื่องศิราภรณ
เครื่องศัสตราวุธ เครื่องราชูปโภค เครื่องสูง ยานพาหนะ เครื่องประโคม และพระโกศในการพระราชพิธีออก
พระเมรุหรือพระราชพิธีพ ระบรมศพมีเ ครื่อ งประกอบพระราชอิส ริยยศที่สําคัญ อยา งหนึ่ง คือ ราชรถและ
ราชยานตาง ๆ ที่จัดอยูในหมวดยานพาหนะเพื่อใชในขบวนแหเชิญพระบรมศพไปยังพระเมรุมาศเพื่อประกอบ
พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ พระเมรุมาศ ที่กอสรางขึ้นบริเวณปริมณฑลพิธีทองสนามหลวง

ราชรถ ราชยานจึ ง ถื อ เป น ยานพาหนะที่ เ ป น เครื่ อ งประกอบพระราชอิ ส ริ ย ยศของ


พระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ ในการพระราชพิธีตาง ๆ มาแตครั้งโบราณกาล โดยปรากฏหลักฐาน
ชัดเจนในสมัยกรุงศรีอยุธยาสืบมาจนปจจุบัน โดยเรียกแยกประเภทยานพาหนะที่มีคานหาม เคลื่อนที่โดยมีเจา
พนั ก งานแบกหามวา พระราชยานมี ลักษณะตา ง ๆ ทั้ง ชนิดประทับ ราบ และพระทับ ห อยพระบาทและ
ยานพาหนะประเภทมีลอ เคลื่อนที่โดยเจาพนักงานฉุดชักหนาหลัง เรียกวา ราชรถ

ราชรถ
ราชรถ จากหนังสือพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ไดใหความหมายไววา
ราชรถ[ราดชะรด] น. ยานพาหนะชนิ ด ล อ เลื่ อ น มี บุ ษ บกเป น เครื่ อ งประกอบพระราชอิ ส ริ ย ยศของ
พระมหากษัตริย ในปจจุบันมีอยู ๒ คัน คือ พระมหาพิชัยราชรถ และเวชยันตราชรถ ใชประดิษฐานพระบรม
โกศและพระโกศ1


ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒, (กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่น, ๒๕๔๖), ๙๕๐

ราชรถ จึงมาจากคําวา ราชา และ รถ หมายถึง พาหนะแหงองคพระราชา ในสมัยโบราณ


นาจะพัฒนามาจากเกวียนขนาดเล็กที่นั่งไดเพียงคนเดียว และเทียมดวยมา หรือสัตวอื่น เชน วัว ลา หรือ ลอ
หรือแมแตคน ตัวรถ ทําดวยไมที่แกะสลักลวดลายอยางสวยงาม เพื่อใหมีความสงางามสมกับที่ใชเปนพาหนะ
แหงองคพระราชา ไดมีการตกแตงเพิ่มความสวยงามดวยการปดทองประดับกระจกและอัญมณี หรือมีการหุม
ดวยแผนทองดุนลายดอกไมประดิษฐรูปแบบตาง ๆ แทนการแกะสลักลงในเนื้อไมโดยตรง

ราชรถในสมัยโบราณนั้น นอกจากจะเปนพาหนะในการใชเพื่อเดินทาง ยังแสดงถึงตําแหนง


ทางราชการของผูเปนเจาของดวย ซึ่งมีทั้งราชรถที่เทียมดวยมา และลากดวยกําลังคน ราชรถที่เทียมดวยมามัก
เปนรถศึก และรถที่พระราชาทรงใชเมื่อเสด็จประพาสในที่ตาง ๆ นอกพระราชวัง สําหรับราชรถที่ลากดวย
กําลังคนนั้นจะมีขนาดใหญ และใชในการพระราชพิธีที่สําคัญ คือ พระราชพิธีพระบรมศพ

ราชรถสําหรับงานพระราชพิธีพระบรมศพของไทย

ราชรถที่ใชสําหรับงานพระราชพิธีพระบรมศพจะมีขนาดตาง ๆ ตามฐานันดรของเจานายแต
ละองค หากเปนองคพระมหากษัตริย พระมเหสี และเจาฟา จะใชราชรถที่มีขนาดใหญตระการตา มีบุษบก
พิมานประดิษฐานเพื่อเปนที่อัญเชิญพระบรมศพ ราชรถนี้มีการแกะสลักลงรักปดทองประดับกระจกสีตาง ๆ
อยางงดงาม เปนการจําลองเขาพระสุเมรุอันเปนที่สถิตแหงเทพเจาทั้งหลาย และตามชั้นของราชรถไดสลักเปน
รูปเทพนม และพญานาค ซึ่งแสดงใหเห็นถึงเทพเจาชั้นรองที่อยูรอบเชิงเขาพระสุเมรุ และพระบรมศพนั้ น
เปรียบไดดจุ เทพองคหนึ่ง จึงประดิษฐานไวบนบุษบกพิมาน

สําหรับพระบรมราชวงศหรือเจานายที่มีฐานันดรลดหลั่นลงมา ราชรถจะมีขนาดที่เล็กลง
และมีความงามที่ลดนอยลง เชน รถจัตุรมุขและรถโถง เปนรูปคลายประทุน มีลอ ๔ ลอ สะดวกตอการอัญเชิญ
พระศพดวยพระโกศและโลง ตามลําดับ จากหลักฐานที่ปรากฏทําใหทราบวาราชรถที่ใชในการพระราชพิธีพระ
บรมศพของไทย ไดจัดสรางขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โดยใชในการพระ
ศพสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระราชบิดาในพระองค ราชรถที่ทรงโปรดใหสรางรวม ๕ องค คือ พระมหา
พิชัยราชรถ ราชรถนอย ๓ องค และเวชยันตราชรถ

ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถวัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ตอนกระบวนอัญเชิญพระบรมศพสมเด็จพระนเรศวลมหาราชกลับสูก รุงศรีอยุธยา

ไดมีการกลาวถึงพระมหาพิชัยราชรถครั้งแรก ในพระ
ราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลก
มหาราช โดยเจาพระยาอรรคมหาเสนา สมุหกลาโหม กราบทูลวา “ขอ
เดชะฝาละอองธุลีพระบาท ปกเกลาปกกระหมอม ขาพระพุทธเจาขอ
พระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอมถวายพระมหาพิชัยราชรถ เรือพระที่
นั่งศรีสมรรถไชย เรือพระที่นั่งไกรสรมุข เรือกระบวนใหญนอย และ
เครื่องสรรพยุทธทั้งปวง เมืองเอก โท ตรี จัตวา ทั้งไพรพลฝายทหาร
แดพระบาทสมเด็จบรมนารถบรมบพิตรพระเจาอยูหัว ขอเดชะ”2และ
ยั ง ปรากฏในพระราชวิ จ ารณ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า
เจาอยูหัว ดวยเรื่องจดหมายเหตุความทรงจําของกรมหลวงนรินทรเทวี
บันทึกขอ ๑๗๖ ไดกลาวไววา ปเถาะสัพศก พระโองการรับสั่งใหชาง
ทําพิไชยราชรถขึ้นจะทรงพระโกษฐพระอัฐิ ๗ รถ ใหตัดเสาพระเมรุ พระมหาพิชัยราชรถ สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๑
เพื่ออัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐสิ มเด็จพระปฐมบรมมหาชนก
ตั้งทรง ประดับเครื่องใหเสร็จแลวแตในปเถาะ3

2
โรม บุนนาค, พระเมรุมาศ พระโกศ และราชรถ สมัยกรุงรัตนโกสินทร, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสยามบันทึก, ๒๕๔๑), ๑๑๑
3
พระราชวิจารณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั ดวยเรื่องจดหมายเหตุความทรงจําของกรมหลวงนรินทรเทวี, พิมพครั้งที๒่ (โรง
พิมพไทย ณสพานยศเส, ๒๔๕๙),พิมพแจกในงานพระราชทานเพลิงพระศพ จอมพล พระเจาพี่ยาเธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ราชองครักษ,
๒๒๒

สําหรับพระเวชยันตราชรถถูกสรางขึ้นเมื่อคราวทีส่ มเด็จพระพี่นางเธอ เจาฟากรมพระศรีสุดา


รักษ และสมเด็จพระพี่นางเธอ เจาฟากรมพระเทพสุดาวดีทรงสิ้นพระชนมในระยะเวลาใกลเคียงกัน ในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช และใชเปนราชรถองครองจากพระมหาพิชัยราชรถ แตเรียก
ในหมายรับสั่งวา “พระมหาพิชัยราชรถ” สวนราชรถนอยก็ถูกสรางขึ้นในสมัยเดียวกัน ใชเปนราชรถพระนํา
สําหรับพระราชาคณะนั่งอานพระอภิธรรม นําพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกออกถวายพระเพลิง ณ
พระเมรุมาศทองสนามหลวง เปนคราวแรก

พระมหาพิชยั ราชรถ เวชยันตราชรถ

ราชรถนอย ราชรถนอย ราชรถนอย


หมายเลข ๙๗๘๓ หมายเลข ๙๗๘๓ หมายเลข ๙๗๘๔

ราชยาน

ราชยาน [ราดชะยาน] น. ยานชนิดคามหามของหลวง, เรียกวา พระยาน ก็มี เชน พระยานมาศ,


เรียกวาพระราชยาน ก็มี เชน พระราชยานกง พระราชยานถม, เรียกวา พระที่นั่งราชยานก็มี คือ พระที่นั่ง
ราเชนทรยาน4

พระราชยาน หรือราชยาน เปนเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริยและพระราชวงศ


แสดงถึ ง ฐานะและอํ า นาจอั น แตกต า งจากสามั ญ ชนทั่ ว ไป เป น ยานพาหนะประเภทมี ค านหามสํ า หรั บ
พระมหากษัตริยทรงประทับ ลักษณะเปนแทนเรียบสําหรับประทับราบหรือแทนฐานสําหรับประทับหอยพระ
บาท มีทั้งที่มีหลังคาและไมมีหลังคา สวนใหญมักทําดวยไม ประดับตกแตงใหงดงามดวยการแกะสลัก ลงรักปด
ทองประดับกระจกถมหรือลงยา เปนตน พระราชยานเคลื่อนที่โดยมีเจาพนักงานแบกหาม ใชในการเสด็จพระ
ราชดําเนินโดยกระบวนแหและในการเชิญพระโกศพระบรมศพ พระราชยานบางองคปรกติเปนพระที่นั่งซึ่งใช
เปนพระราชบัลลังก แตมีหวงและคานสําหรับใชเปนพระราชยานดวย เชน พระที่นั่งราชยานพุดตานทอง

หลักฐานซึ่งแสดงวาพระราชยานมีใชมาตั้งแตสมัยลพบุรีเห็นไดจากภาศิลาจําหลักบนทับหลังของ
ปราสาทหินพิมาย ในสมัยอยุธยาปรากฏหลักฐานในกฎมณเฑียรบาล พระไอยการตําแหนงนาพลเรือน พระ
ราชพงศาวดาร ตลอดจนจดหมายเหตุซึ่งชาวตางประเทศเขียนไว เชน มองซิเออร เดอลาลูแบร ที่กลาวถึงเรื่อง
พระราชยานคานหามไวดวย สรุปไดวา พระราชยานมีใชในงานพระราชพิธีและในการเสด็จพระราชดําเนิน มี
การแบงชั้นและประเภทของพระราชยานสําหรับพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ ในสมัยรัตนโกสินทร
มีการสรา งพระราชยานขึ้นใชห ลายองค เขา ใจวา สรางตามแบบแผนพระราชประเพณีสมัยอยุธ ยา แตได
ดัดแปลงและปรับปรุงใหเหมาะสมกับการใชสอย เชน พระยานมาศสามลําคาน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธ
เลิศหลานภาลัยโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เพื่อใชอัญเชิญพระโกศพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด
ฟาจุฬาโลกมหาราชเปนครั้งแรก และยังใชเปนพระราชยานมาจนถึงปจจุบัน ลักษณะของราชยานในสมัย
รัตนโกสินทร ยังคงมีลักษณะอยูในเครื่องคานหาม ๔ ประเภท ไดแก

ยานมาศ - ราชยานประเภทแบกสองลําคานขึ้นบา
เสลี่ยง - ราชยานประเภทที่นั่งโถงหามดวยสาแหรกผูกคาน
วอ - ราชยานประเภทที่มีลักษณะอยางเสลี่ยงแตมีหลังคา
คานหาม - ราชยานประเภทมีคานเดียวหาม ๒ คน

พระราชยานที่ยังปรากฏอยูในปจจุบัน
จากหลักฐานเรื่องการจัดสรางพระราชยานตาง ๆ สมัยกรุงรัตนโกสินทรที่ยังคงปรากฏอยูในปจจุบันมี
จํา นวนประมาณ ๓๐ องค สวนหนึ่งถูกเก็บรักษาอยูในพระบรมมหาราชวัง และอาคารตาง ๆ ของสํานัก
พระราชวัง สวนหนึ่งจัดแสดงใหประชาชนทั่วไปเขาชม ณ พระตําหนักสวนฝรั่งกังไส และพระที่นั่งวิมานเมฆ
พระราชวั ง ดุ สิ ต และบางส ว นถู ก จั ด แสดงให ป ระชาชนชม ณ พระที่ นั่ ง ภิ มุ ข มณเฑี ย ร และโรงราชรถ
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร โดยราชรถที่ปรากฏอยูในปจจุบันมีลักษณะและการใชงานที่ตางกันออกไป
ซึ่งไมไดกําหนดเปนเกณฑแนนอนวาใชเฉพาะในงานมงคลหรืออวมงคล สวนใหญปกติมักใชไดทั้ง ๒ ประเภท
เขาใจวาพิจารณาตามความเหมาะสมของลักษณะการใชสอย และลําดับความสําคัญของงานพระราชพิธีเปน
หลัก

รายชื่อพระราชยานที่ยังปรากฏในปจจุบัน
๑. พระที่นั่งราเชนทรยาน
๒. พระยานมาศ
๓. พระยานมาศสามลําคาน
๔. พระราชยานกง
๕. พระราชยานถม
๖. พระราชยานงา
๗. พระราชยานทองลงยา
๘. พระที่นั่งราชยานพุดตาลถม
๙. พระที่นั่งราชยานพุดตาลทอง
๑๐. พระเสลี่ยงกง
๑๑. พระเสลี่ย ง (พระเสลี่ย งกลีบ บัว / พระเสลี่ยงแวนฟา / พระเสลี่ยงแปลง / พระเสลี่ย งหิ้ว /
พระเสลี่ยงนอย / พระเสลี่ยงปา)
๑๒. พระวอประเวศวัง
๑๓. พระวอสีวิกากาญจน
พระราชยานสําหรับงานพระราชพิธีพระบรมศพของไทย

ในพระราชพิธีพระบรมศพของไทย มีการใชพระราชยานรวมในริ้วขบวนพระราชอิสริยยศตั้งแตการ
เชิญพระโกศพระบรมศพจนเสร็จสิ้นพระราชพิธีถวายพระเพลิง ตลอดจนการอัญเชิญพระบรมอัฐิและพระบรม
ราชสรีรางคารประดิษฐานจนแลวเสร็จ นับตั้งแตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
รัชกาลที่ ๑ มีการใชพระราชยานเพียงไมกี่องคในการพระราชพิธีพระบรมศพของไทย ดังหลักฐานที่ไดปรากฏ
ในจดหมายเหตุพระบรมศพฯ ของเจานายที่มีการบันทึกไว มีรายละเอียดและลักษณะการใชงาน ดังนี้

พระเสลี่ยงแวนฟา ใชสําหรับอัญเชิญพระโกศพระบรมศพ
จากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
ไปยังเกยเทียบพระยานมาศสามลําคาน
พระยานมาศสามลําคาน ใชสําหรับอัญเชิญพระโกศพระบรมศพขึ้นประดิษฐานบนพระมหา
พิชัยราชรถ และใชสําหรับเชิญพระโกศพระบรมศพเวียนอุตราวัฏ
๓ รอบ กอนขึ้นสูพระเมรุมาศ
พระเสลี่ยงกลีบบัว ใชสําหรับสมเด็จพระสังฆราช หรือสมเด็จพระราชาคณะ
ประทับอานพระอภิธรรมนําพระโกศพระบรมศพ
พระเสลี่ยงกง ใชสําหรับอัญเชิญพระโกศหรือพระสรีรางคารพระบรมวงศานุวงศ
ตั้งแตระดับหมอมเจาจนถึงพระองคเจา
พระเสลี่ยงหิ้ว ใชสําหรับทรงพระโกศพระบรมศพ
พระที่นั่งราเชนทรยาน ใชสําหรับอัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิ
พระที่นั่งราเชนทรยานนอย ใชสําหรับอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร
พระวอประเวศวัง ใชสําหรับอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร
พระวอสีวิกากาญจน ใชสําหรับอัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร

ทหารเรือเชิญพระราชยานคานหามประดิษฐานพระบรมศพ
ออกจากประตูศรีสุนทร พระบรมมหาราชวัง

พระยานมาศสามลําคาน
โรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร

พระเสลี่ยงแวนฟา พระตําหนักสวนฝรั่งกังไส พระราชวังดุสิต


(ที่มาภาพ : หนังสือเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพระเมรุมาศ)

พระเสลี่ยงกลีบบัว พระตําหนักสวนฝรั่งกังไส พระราชวังดุสิต


(ที่มาภาพ : หนังสือเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพระเมรุมาศ)

พระหอประเวศวัง พระตําหนักสวนฝรั่งกังไส พระราชวังดุสิต


(ที่มาภาพ : หนังสือเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพระเมรุมาศ)

พระวอสีวิกากาญจน พระตําหนักสวนฝรั่งกังไส พระราชวังดุสิต


(ที่มาภาพ : หนังสือเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพระเมรุมาศ)
๑๐

พระที่นั่งราเชนทรยาน และพระทีน่ ั่งราเชนทรยานนอย


โรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร
๑๑

บทที่ ๒
ประวัติและความสําคัญในการการบูรณะซอมแซม
พระที่นั่งราเชนทรยาน

พระที่นั่งราเชนทรยาน
ขนาด กวาง ๑.๐๓
๐๓ เมตร ยาว ๕.๔๘ เมตร(พรอมคานหาม) สูง ๔.๒๓
๒๓ เมตร
จํานวนพล พลแบกหาม ๕๖ นาย ผูควบคุม ๑ นาย
๑๒

พระที่นั่งราเชนทรยาน จัดสรางขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรม
นาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เปนพระราชยานสําหรับพระมหากษัตริยทรงในเวลาเสด็จพระราช
ดําเนินโดยขบวนแหอยางใหญที่เรียกวา ขบวนพยุหายาตราสี่สาย หรือขบวนสี่สาย เชน เสด็จพระราชดําเนิน
จากพระราชมณเฑียรไปถวายสักการะพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระราช
พิธีบรมราชาภิเษก เปนตน เนื่องจากพระราชยานองคนี้มีขนาดใหญและน้ําหนักมากจึงไมนิยมใชสําหรับเสด็จ
พระราชดําเนินทางไกลไปนอกพระบรมมหาราชวัง นอกจากใชในการเสด็จพระราชดําเนินแลว ยังใชในการ
เชิญพระบรมโกศพระบรมอัฐิพระมหากษัตริย และสมเด็จพระบรมราชินีจากพระเมรุมาศทองสนามหลวงเขาสู
พระบรมมหาราชวังดวย

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ประทับพระที่นั่งราเชนทรยานเสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ
จากเกยหลังวัดพระศรีรตั นศาสดารามไปประทับพระราชยานที่เกยพระที่นั่งอาภรณพิโมกขปราสาท
ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภช วันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๔
๑๓

พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห ัว ประทับพระที่นั่งราเชนทรยาน
เพื่อไปนมัสการพระพุทธมหามณีรัตนปฎิมากร ทีว่ ดั พระศรีรตั นศาสดาราม เมือ่ เสด็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกทีพ่ ระที่นั่งภัทรบิฐ
๑๔

ขบวนเชิญพระบรมอัฐแิ ละพระบรมราชสรีรางคาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕


ที่มาภาพ : สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ
๑๕

กระบวนอัญเชิญพระบรมอัฐิ และพระบรมราชสรีรางคาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั กลับจากพระเมรุมาศ


เชิญพระบรมอัฐิขึ้นประดิษฐานบนพระที่นั่งราเชนทรยาน เชิญพระบรมราชสรีรางคารประดิษฐานบนพระที่นั่งราเชนทรยานนอย
แหโดยขบวน ๔ สาย กลับพระบรมมหาราชวัง

พระโกศพระบรมอัฐิประดิษฐานบนพระที่นั่งราเชนทรยาน
กระบวนเชิญพระที่นั่งราเชนทรยานทรงพระบรมอัฐไิ ปยังพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
งานพระบรมศพ สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗
๑๖

พระที่นั่งราเชนทรยานเปนพระที่นั่งทรงบุษบก สรางดวยไมแกะสลักลงรักปดทองประดับกระจก
ทั้งองค และมีคานหาม ๔ คาน ดานลางสุดเปนชั้นคานหามทําดวยไมเปนแครทึบรองรับพระราชยาน มีคาน
หามประจํา ๔ คาน ทาสีแดงเรียบ ลําคานกลึงกลมมีปลายกลึงเปนหัวเม็ดทรงมัณฑปดทองประดับกระจกสี
องคบุษบกประกอบดวยฐาน ๒ ชั้น หนากระดานเชิงฐานดานลางเรียบเกลี้ยงไมมีลวดลาย ตอนบนประดับดวย
เสนลวดเหนือขึ้นไปประดับดวยกระจังตาออยปดทองประดับกระจก ชั้นฐานสิงหมีลายแกะสลักที่กาบเทา ปาก
และจมูกสิงห บัวหลังสิงหเรียบไมสลักลาย ประดับกระจังตาออยตอนบน ทองไมประดับกระจกสีเขียวและขาว
เปนลายประจํายาม ตอนบนประดับกระจังตาออยหอยลงโดยรอบ เหนือกระจังตาออยเปนบัวหงาย แกะสลัก
ลายปดทองประดับกระจกและเสนลวดปดทอง ตอขึ้นมาเปนฐานหนากระดานซึ่งขยายสวนทองไมใหสูงขึ้ น
สวนหนากระดานลางของชวงนี้สลักลายลูกฟกกามปูใบเทศปดทอง ประดับกระจกสีประกอบ ตอนบนประดับ
กระจัง ๒ ชั้น ชั้นนอกเปนกระจังตาออยชั้นในเปนกระจังเจิม ทองไมแกะสลักเปนลายหนาสิงหและลายกานขด
อยูในกรอบอยางงดงาม มีเครื่องประดับอันเปนองคประกอบสําคัญแสดงถึงพระราชอํานาจคือ ครุฑยุดนาค
จํานวน ๑๔ ตัว ประดับโดยรอบ

ไมแกะสลักรูปครุฑยุดนาค ๑๔ ตัว ประดับโดยรอบทองไม

เหนือทองไมเปนกระจังรวนทั้งซายและขวาประกอบเสนลวดเล็ก ๆ เหนือเสนลวดเปนบัวหงาย
ถัดขึ้ น ไปเปน หนากระดานบนแกะสลักลวดลายลูกฟกกา มปูใบเทศประดับ กระจกสี ตอนบนหนา กระดาน
ประดับกระจัง ๒ ชั้น ชั้นในเปนกระจังเจิม ชั้นนอกเปนกระจังตาออย ชั้นถัดขึ้นไปประดับดวยกระจังปฏิญาณ
ขนาดใหญเรียง ๓ ดาน เวนดานหนา กระจังนี้มีความงดงามเปนพิเศษดวยความละเอียดประณีตคมชัดของ
ฝมือชาง ที่สามารถแกะสลักเปนลักษณะซอนกันเปนชั้น ๔ – ๕ ชั้น ไดอยางออนไหว และยังมีรูปเทพนมอยู
กลางกระจังทุกตัว ขอบฐานตอนบนสุดซึ่งบางสาวถูกบดบังดวยกระจังนั้นแกะสลักเปนลายบัวเกสรหรือบัวปาก
ปลิง มีพนักพิงหลังเชนเดียวกับพระราชยานอื่น ๆ พนักพิงเปนทรงกลีบขนุน ดานหนาเรียบ ดานหลังแกะสลัก
เปนลายกานขดแวดลอมเทพนมตรงกลาง
๑๗

กระจังปฏิญาณขนาดใหญเรียง ๓ ดาน เวนดานหนา แกะสลักเปนลักษณะซอนกันเปนชั้น ๔ – ๕ ชั้น


และมีรูปเทพนมอยูกลางกระจังทุกตัว

โคนเสาประดับกาบพรหมศร พนักพิงเปนทรงกลีบขนุน ดานหนาเรียบ


และประดับกระจังปฏิญาณขนาดใหญแกะสลักเปน ดานหลังแกะสลักเปนลายกานขดแวดลอมเทพนมตรงกลาง
ลักษณะซอนกัน และมีรปู เทพนมอยูกลางกระจัง
หลั ง คาพระราชยานเป น ทรงจอมแห
รองรับดวยเสา ๔ ตน ลักษณะเปนเสายอมุมไมสิบสอง โคนเสาประดับดวยกาบพรหมศร มีลายเนื่องประกอบ
๑๘

ขอบเสาและประดับกระจกเปนลายดอกพิกุล มีความละเอียดสวยงามมาก กลางเสามีลายประจํายามรัดอกอยู


กลางเสาทั้ง ๔ เสา ที่หัวเสามีคันทวยรองรับชายคารวม ๑๒ คัน หลังคายอเก็จประดับเครื่องยอดทั้ง ๕ ชั้น
ประกอบดวยชอฟา บราลี นาคปก ซุมรังไกหรือบันแถลง องคระฆังลงรักปดทองประดับกระจก เหมแกะสลัก
ยอมุมไมสิบสองลงรักปดทองประดับกระจก บัวกลุมแกะสลักลายลงรักปดทองประดับกระจก ปลียอดปดทอง
เรียบ บัวลูกแกวแกะสลักลายลงรักปดทองประดับกระจก ยอดประดับดวยเม็ดน้ําคาง รอบเชิงชายประดับดวย
เฟองอุบะโดยรอบ เพดานบุษบกทาสีแดงประดับดวยดาวเพดานซึ่งปดทองประดับกระจก ดานหนาและหลัง
องคบุษบกมีเตียงลายื่นออกไปเปนแทนสําหรับเจาพนักงานภูษามาลานั่งประคองพระโกศพระบรมอัฐิ ลักษณะ
การประดับตกแตงเชนเดียวกับฐาน5

สวนยอดบุษบกพระที่นั่งราเชนทรยาน

5
กรมศิลปากร, เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพระเมรุมาศ,พิมพครั้งที่ ๑ (กรุงเทพฯ : อัมรินทรพริ้นติ้งแอนด
พับลิชชิ่ง จํากัด(มหาชน), ๒๕๓๙), หนา ๘๑
๑๙

ความสําคัญในการบูรณะซอมแซมพระที่นั่งราเชนทรยาน
พระที่นั่งราเชนทรยาน เปนพระราชยานที่ใชสําหรับเชิญพระโกศพระบรมอัฐิพระมหากษัตริย จาก
พระเมรุม าศท อ งสนามหลวงเข า สูพ ระบรมมหาราชวั ง มี ก ารใช ใ นงานพระราชพิ ธีห ลายครั้ ง ในการบู ร
ปฏิสังขรณที่ผานมาหลายครั้ง มีการทารักปดทอง ทาสีปดทอง และประดับกระจกในรองลวดลาย จนกระจกที่
ประดับไวลนขึ้นมาจากรองลวดลาย สวนลวดลายที่ปดทองทับซอนกันหลายชั้นก็ดูเลือน ไมชัดเจน ปดบั ง
ลวดลายไมแกะสลักที่สวยงามของครูชางโบราณ อีกทั้งไมโครงสรางบางสวนก็ผุกรอนตามกาลเวลา ภายหลัง
จากการสํ า รวจเพื่ อ ทํ า การบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ เ พื่ อ เตรี ย มใชใ นงานพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในปพุทธศักราช ๒๕๖๐
สํานักชางสิบหมู พิจารณาเห็นสมควรใหบูรณปฏิสังขรณดานโครงสรางใหแข็งแรงมั่นคงยิ่งขึ้น ดําเนินการปด
ทองใหมทั้งหมด และจัดสรางชุดเฟองระยาชุดใหมเพื่อประดับตกแตงใหงดงามสมพระเกียรติ

พระที่นั่งราเชนทรยาน ณ โรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร


๒๐

การบูรณปฏิสังขรณพระที่นั่งราเชนทรยานเพื่อเตรียมใชในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในปพุทธศักราช ๒๕๖๐
ในสวนความรับผิดชอบของสํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร มีรายละเอียด ดังนี้
- ซอมปรับโครงสรางพื้นไม และลวดลายที่ชํารุด
- ซอมปดทองใหม ๑๐๐%
- เช็ดทําความสะอาดซอมประดับกระจกโดยรวม ๗๐%
- จัดทําพระวิสูตรตาดทองแท(เงินกะไหลทอง) จํานวน ๔ ผืน
- จัดสรางชุดเฟองระยาโลหะเงิน และประดับกระจก

แบงการดําเนินงานออกเปนขั้นตอน ดังนี้

๑. อัญเชิญพระที่นั่งราเชนทรยานมาบูรณปฏิสังขรณ
๒. ถอดสวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยานเพื่อซอมปรับโครงสรางและลวดลายที่ชํารุด
๓. การคัดลอกแบบและเขียนแบบ
๔. การกะเทาะกระจกและขัดลอกผิวทองเดิมออก
๕. การปดทองและประดับกระจกใหม
๖. การประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน
๗. การจัดทําเครื่องประกอบ
๒๑

บทที่ ๓
ขั้นตอนการบูรณปฏิสังขรณพระที่นั่งราเชนทรยาน

การอัญเชิญพระที่นั่งราเชนทรยานมาบูรณปฏิสังขรณ

วันที่ ๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๐ เจาหนาที่สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร รวมกับเจาหนาที่จาก


กรมสรรพาวุธทหารบก ไดอัญเชิญพระที่นั่งราเชนทรยาน จากโรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร มา
บูรณปฏิสังขรณยังสํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม โดยทําการถอดพระ
วิสูตร(ผามาน) ชุดเฟองระยาที่แขวนประดับรอบเชิงชาย และถอดชั้นหลังคาออก เพื่อสะดวกตอการขนยาย

การอัญเชิญพระทีน่ ั่งราเชนทรยาน ณ โรงราชรถ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนคร


๒๒

การอัญเชิญพระที่นั่งราเชนทรยานมาบูรณปฏิสังขรณ ณ สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร


๒๓

การถอดสวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยานเพื่อซอมปรับโครงสรางและลวดลายที่ชํารุด
คณะเจาหนาที่กลุมชางแกะสลักและชางไมประณีต สํารวจและถอดสวนประกอบที่ชํารุด
เสียหายออกเพื่อซอมแซมและจัดสรางใหม การถอดสวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยานในครั้งนี้ ทําใหชางได
มีโอกาสศึกษารูปแบบ รายละเอียดโครงสรางและกรรมวิธีการเขาไมแบบโบราณของพระที่นั่งราเชนทรยาน
เพื่อนํามาเปนตนแบบในการจัดสรางพระราเชนทรยานนอย สําหรับเชิญพระบรมราชสรีรางคาร ในพระราชพิธี
ถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร
การถอดสวนประกอบโครงสราง ดําเนินการถอดสว นประกอบหลักออก เพื่อใหงา ยและ
สะดวกต อ การบู รณะซอ มแซม โดยถอดส ว นชั้น หลัง คาทั้ ง ๕ ชั้ น ถอดส ว นกง พนัก พิ งหลั ง แล ว จึง ถอด
สวนประกอบลวดลายไมแกะสลัก เชน กระจังปฏิญาณ กาบพรหมศร กระจังตาออย กระจังเจิม ครุฑยุดนาค
รวมถึงชุดเฟองและอุบะ เพื่อนําไปซอมแซมและจัดสรางใหมตามความเหมาะสม ยกเวนโครงสรางหลัก เชน
ชั้นฐานสิงห สวนทองไม เนื่องจากยังมีสภาพดี รวมถึงเสาบุษบกและชั้นเชิงกลอนชั้นลางสุดที่มีไวสําหรับยึดเสา
ใหมั่นคง

เจาหนาที่กลุม ชางแกะสลักและชางไมประณีต สํารวจและประเมินความเสียหาย


แลวจึงดําเนินการถอดสวนประกอบโครงสรางที่ชํารุดเสียหายเพื่อศึกษารูปแบบและบูรณะซอมแซม
๒๔

ดําเนินการถอดสวนโครงสรางและลวดลายประกอบบุษบก
๒๕

ซอมแซมสวนโครงสรางบุษบก
๒๖

สวนประกอบตาง ๆ ของพระที่นั่งราเชนทรยานกอนดําเนินการบูรณะซอมแซม
๒๗
๒๘

การคัดลอกแบบและเขียนแบบ
เมื่อถอดสวนประกอบโครงสรางหลักออกแลว เจาหนาที่กลุมชางเขียนและชางลายรดน้ําจึง
ดําเนินการคัดลอกและเขียนแบบสวนลวดลายตาง ๆ เพื่อศึกษารูปแบบลวดลายอยางโบราณ และเขียนแบบ
เพื่อจัดสรางสวนที่ชํารุดขึ้นใหม โดยสงแบบลวดลายที่เขียนแลวเสร็จใหเจาหนาที่กลุมชางแกะสลักและชางไม
ประณีตซอมสรางตอไป
๒๙

การเขียนแบบลวดลายสวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน

โดย นายยิ่งพันธ ปยเลธนะกาญจน นายชางศิลปกรรมชํานาญงาน


กลุมงานชางเขียนและลายรดน้ํา สํานักชางสิบหมู
๓๐

แบบโครงสรางพระที่นั่งราเชนทรยาน คัดลอกและเขียนแบบ
โดย นายสุเพล ศาสตรเสริม นายชางศิลปกรรมชํานาญงาน กลุมงานชางเขียนและลายรดน้ํา สํานักชางสิบหมู
๓๑

การกะเทาะกระจก และขัดลอกผิวทองเดิมออก
จากการสํารวจและประเมินแนวทางการซอมบูรณะพระที่นั่งราเชนทรยาน ในเบื้องตนไดขอ
สรุปวาควรทําการบูรณะซอมแซมขัดแตงผิวทองเดิมบางสวน แลวจึงดําเนินการทารักปดทอง แตเนื่องจากทอง
และวัสดุยึดติดเดิมที่ไดรับการบูรณะผานมาหลายครั้ง ทําใหลวดลายแกะสลักเลือนรางไมคมชัด คณะชางจึง
ตองดําเนินการขัดลอกทองและวัสดุยึดติดในแตละชั้นออกทั้งหมด เพื่อเผยใหเห็นความงดงามของลวดลาย
แกะสลัก ทําใหคณะชางไดมีโอกาสเห็นความสวยงามของฝมือการแกะสลักของชางรุนครู ลวดลายแกะสลัก
ประกอบพระที่นั่งราเชนทรยานองคนี้ นับวามีความประณีตและงดงามมาก

เมื่อถอดสวนประกอบและโครงสรางที่ชํารุดเสียหายออกแลว จึงขัดลอกผิวทองออกทั้งหมด
ดวยการใชเครื่องเปารอน โดยใหความรอนไปยังบริเวณที่ตองการขัดลอกผิวทองออก เนื่องจากรักและสีที่เปน
วัสดุยึดติดทองกับลวดลายที่ไดบูรณะซอมแซมที่ผานมาหลายครั้ง ทับถมกันจนทําใหลวดลายไมแกะสลักเลือน
รางไมชัดเจน เมื่อทองและวัสดุยึดติดโดนความรอนก็จะออนตัวลงจากนั้นใชแปรงทองเหลืองขัดผิวทองออก
โดยระมัด ระวั งไม ใหถึง เนื้อ ไม แลว จึง ใชน้ํา ยาขจัดคราบมันลา งทํา ความสะอาด ทิ้งไวให แหง และกอ น
ดําเนินงานขั้นตอไปชางจะใชแอลกอฮอลลเช็ดทําความสะอาดที่ผิวงานอีกครั้ง
ขั้ นตอนการลอกผิ ว ทองออกเป น ขั้ น ตอนที่ สํ า คัญ อี ก ขั้ น ตอนหนึ่ ง และเป น ขั้ น ตอนที่ ใ ช
ระยะเวลาคอนขางมากเพื่อไมใหเกิดความเสียหายกับเนื้อไม และยังคงไวซึ่งรอยสิ่วฝมือของครูชางรุนกอนเพื่อ
คงหลักฐานไวใหอนุชนไดศึกษาตอไป


๓๒

การใชเครื่องเปารอน แปรงทองเหลือง และสิ่วหนาตางๆ ขัดลอกผิวทองสวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน


๓๓

เริ่มขัดลอกผิวทองในสวนของชั้นฐาน เสา ชั้นหลังคา และสวนประกอบของพระที่นั่งฯ สวน


ตาง ๆ เมื่อขัดลอกผิวทองออกแลวจึงทําความสะอาดดวยการขัดลางดวยน้ํายาทําความสะอาดอีกครั้ง คราบรัก
หรือคราบสีที่ติดแนนอยูกับลวดลายสวนที่ไมสามารถขัดลอกได จะใชเครื่องเจียสายออนสิ่วหรือเครื่องมือที่มี
ปลายแหลมคมขนาดตาง ๆ ชวยสกัดคราบรักที่ฝงแนนในรองลวดลายหลุดรอน แลวจึงทําความสะอาดอีกครั้ง

การใชเครื่องเครื่องมือตางๆ ขัดลอกผิวทองสวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน
๓๔

การกะเทาะกระจก เจาหนาที่กลุมงานชางปด
ทองและประดับกระจกสํารวจสภาพความเสียหายของ
กระจก พบวากระจกบางสวนยังคงมีความสมบูรณจึง
อนุ รักษไวเชนเดิม ในสว นกระจกที่ชํารุด จะกะเทาะ
ออกและเก็บตัวอยางไวเพื่อตัดและประดับ กระจกใหม
แทนที่ การกะเทาะกระจกสวนที่ชํารุดและเสื่อมสภาพ
ใช สิ่ ว และค อ นไม หรื อ เครื่ อ งมื อ ต า ง ๆ กะเทาะให
กระจกหลุ ด ร อ นจากวั ส ดุ ยึ ด ติ ด กระจก แล ว จึ ง ใช
กระจกที่ประดับสวนยอมุมทั้ง ๔ ดาน ของพระที่นั่งราเชนทรยาน
เครื่ องเจี ยสายออนขัด แตงพื้น รัก หรือ วัสดุยึดติดเดิ ม
ออกใหคงเหลือแคเนื้อไม สําหรับการประดับกระจกใหม

การกะเทาะกระจกที่ประดับบนลวดลายแกะสลัก พระที่นั่งราเชนทรยาน
๓๕

ในสวนลวดลายที่ชํารุดเสียหาย หรือที่ขาดหายไมสมบูรณ ทําการซอมแซมและซอมสรางสวน


ที่ชํารุดเสียหาย จากนั้นทําการเก็บรายละเอียดลวดลายสวนตางๆ เพื่อความสวยงาม สําหรับการเตรียมปดทอง
และประดับกระจกในขั้นตอนตอไป
การซอมแซมและซอมสรางลวดลายที่ชํารุดขนาดเล็ก ชางจะรางแบบลวดลายที่ชํารุดลงบน
กระดาษ นําไปผนึกลงบนชิ้นไมเพื่อโกรกฉลุ โกลนหุนและแกะสลักตามรูปแบบเดิม จากนั้นนําสวนที่แกะสลัก
แลวเสร็จมาติดลงบนชิ้นงาน ในสวนของลวดลายชํารุดที่มีขนาดใหญ ชางแกะสลักจะรางแบบสวนที่ตองการ
แกะสลักใหม จากนั้นเตรียมไมโกรกฉลุและทําการโกลนหุนใหไดรูปทรงตามแบบ แลวจึงแกะสลักรายละเอียด
ตามแบบจนแลวเสร็จ และนําไปประกอบติดตั้งแทนสวนที่ชํารุดเสียหายใหสมบูรณ

การซอมแซมลวดลายสวนกระจังปฏิญาณที่ชํารุดเสียหาย

สําหรับสวนพื้นที่มีรอยแตก หรือสวนลวดลายที่หักชํารุด ชางจะ


ใชสมุกกะลาผสมกับยางรักไทยในอัตราสวน ๑ : ๑ และผสมผงชันลงไปเล็กนอย
นวดสวนผสมทั้งหมดใหเขาจนเปนเนื้อเดียวกัน โดยสังเกตวา หากรักสมุกมีลักษณะ
คลายดินน้ํามัน คือ จับตัวเปนกอน มีความเหนียว และไมติดถุงมือที่ใสตอนนวด ก็
สามารถนําไปใชได โดยเรียกรักสมุกที่ผสมกันในขั้นตอนนี้วา “สมุกปน” นําสมุก
ปนอุดตามรองพื้นที่แตก ตัวสมุกปนจะชวยประสานพื้นที่แตกใหเรียบเสมอกัน และ
สามารถปนเสริมสวนที่ชํารุดเสียหายไดกอนลงรักและปดทอง
๓๖

เมื่อขัดลอกผิวทองและกะเทาะกระจกออกแลว ลวดลายบางสวนอาจเกิดความเสียหายจาก
เครื่ องมือขณะทํา การขัดลอกทองและกะเทาะกระจก ชา งจึงตอ งตรวจดูความเรียบรอยของลวดลายกอ น
ดําเนินการทารักปดทอง ในสวนลวดลายที่ไมสมบูรณหรือไมคมชัด จะทําการเก็บรายละเอียด ขัดแตงลวดลาย
ดวยวัสดุและอุปกรณตางๆ ใหลวดลายเกิดความคมชัดมากยิ่งขึ้น
๓๗

สวนประกอบตางๆ ของพระที่นั่งราเชนทรยาน ที่ขัดลอกผิวทองและกะเทาะกระจกแลวเสร็จ

ชั้นหลังคาชั้น ๑ – ๔ ที่ลอกผิวทองและกะเทาะกระจกแลวเสร็จ

ยอดบุษบก บันแถลงแบบตาง ๆ
๓๘

สวนประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน ที่ขัดลอกผิวทองและกะเทาะกระจกแลวเสร็จ
๓๙

ในสวนของดาวเพดานที่ป ระดับ อยู บ ริเวณกลาง


เพดานดานในบุษบก จัดสรางดวยวัสดุโลหะตะกั่วมีลักษณะ
เปนกลีบจงกลซอนกัน ๓ ชั้น ปดทองประดับกระจก(สวนใจ
กลางของดาวเพดาน) ถอดสว นประกอบของดาวเพดาน
ออก เริ่มขัดลอกผิวทองในแตละชั้น ใชน้ํายาที่มีคุณสมบัติ
ในการกัดผิว ทาลงบนพื้นผิวเพื่อใหน้ํายาทําปฏิกิริยากับผิว
ทองและวัสดุยึดติดใหยอยสลาย แลวจึงใชแปรงทองเหลือง
ขนาดเล็กขัดลูบผิวทองออกดวยความระมัดระวัง ไมใหเกิดรอยขูดขีดบนพื้นผิวโลหะ เมื่อขัดลอกทองออกแลว
ทําความสะอาดดวยน้ํายาขจัดคราบมันและทําความสะอาดดวยน้ําสะอาด กอนดําเนินการปดทองในสวนของ
ดาวเพดาน ทาแอลกอฮอลลเพื่อทําความสะอาดพื้นผิวกอน แลวจึงดําเนินการทารักปดทองและประดับกระจก
ใหสมบูรณ
๔๐

การปดทองและประดับกระจก
เมื่ อ ขั ด ลอกผิ ว ทองและกะเทาะกระจกแล ว จึ ง ทํ า ความสะอาดเตรี ย มพื้ น ผิ ว เพื่ อ ป ด
ทองคําเปลวและประดับกระจกดวยการทาแอลกอฮอล เนื่องจากเปนสารที่ระเหยไดงายจึงไมทิ้งคราบและ
ความชื้นไวในเนื้อไมเหมือนการทําความสะอาดดวยน้ํา เมื่อทําความสะอาดแลวเสร็จจึงทาดวยยางรักจีนในครั้ง
แรก ทิ้งไวจนรักแหงสนิทโดยอาจใชเวลา ๑ คืน เพราะยางรักจีนมีคุณสมบัติแหงเร็วกวารักไทย แลวจึงทายาง
รักจีนทีผ่ สมยางรักไทยในอัตราสวนเทากันในครั้งที่ ๒ และ ๓ โดยปลอยใหยางรักแหงสนิทกอนทาชั้นตอไปทุก
ครั้ง เมื่อรักไทยจีนชั้นสุดทายแหงสนิทใชกระดาษทรายผิวละเอียดขัดลูบเล็กนอยโดยไมตองใหถึงเนื้อไม เพื่อ
ปรับใหพื้นผิวมีความเรียบเนียนแลวจึงทายางรักไทยสําหรับปดทองคําเปลว ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่สําคัญอีก
ขั้นตอนหนึ่ง เพราะหากยางรักมีความแหงตัวจนเกินไปเมื่อปดทองอาจทําใหทองไมติดกับผิวยางรัก หรือหาก
ยางรักยังไมแหงดีเมื่อปดทองอาจทําใหทองหมนไมเงางาม ภาษาชางเรียก “ทองจม” ดังนั้นชางจึงตองมีความ
ชํานาญในการตรวจสอบลักษณะของยางรักในการปดทองแตละครั้ง
ยางรักที่ใชในการบูรณะซอมแซมพระที่นั่งราเชนทรยาน
๑. ยางรักจีน
จากการทดสอบยางรักเพื่อนํามาใชในการบูรณะซอมแซมพระที่นั่งราเชนทรยานในครั้งนี้
พบวายางรักจีน มีคุณสมบัติในการแหงตัวไวกวารักชนิดอื่น เมื่อทาลงบนผิวไมในชั้นแรก ทําใหยางรักแหงได
ตามระยะเวลาที่ตั้งไว เนื่องจากยางรักจีนไมมีเนื้อยางมากเทายางรักไทย จึงไมมีตัวยึดเกาะกับผิวงาน ทําใหไม
แข็งแรง จึงเหมาะกับการทาเพื่อเตรียมพื้นในชั้นแรก และยังมีคุณสมบัติสามารถทนกรดจากสารเคมีได ในสวน
ที่เปนพื้นที่เรียบ เชน ฐานเขียง ใชพูกันทายางรักจีนโดยทาใหเสมอทั่วกันในปริมาณที่เหมาะสมไมบางเกินไป
และไมหนาเกินไป ในสวนลวดลายใชพูกันทารักจีนในรองลวดลายยีพูกันทาเกลี่ยรักใหทั่วเสมอกัน ไมใหยางรัก
ขังในรองลวดลาย เพราะจะทําใหยางรักแหงตัวไมเสมอกัน ผิวดานหนาจะแหงแตดานในไมแหงจะทําใหเกิด
ปญหาเวลาปดทอง จากนั้นรอจนยางรักแหงสนิท

รักจีน
๔๑

๒. ยางรักไทย
ยางรักไทยมีคุณสมบัติแ หงชากวา รักจีน และมีเนื้อยางที่ยึดเกาะไดดีกวา มีความทึบ แสง
มากกวารักจีน และมีความมัน วาว จึงนํามาใชในขั้นตอนสุดทายเพื่อเตรียมปดทองคําเปลว ถาพื้นที่ทาดวยรัก
ไทยมีความตึงผิว มัน วาว จะทําใหทองคําเปลวที่ปดสวยเงางาม เหตุที่ไมใชรักจีนในการปดทอง เนื่องจากยาก
รักจีนมีคุณสมบัติที่ไมแข็งแรงพอ และไมมีความมันวาวจึงไมเหมาะกับการนําไปทาเพื่อปดทองคําเปลว ทั้งนี้
การจะทายางรักในแตละชั้น ตองทิ้งใหยางรักแหงสนิทแลวจึงทาชั้นตอไปได เพราะถาหากยางรักยังไมแหง
สนิทแลวทาซ้ํา ยางรักทีอ่ ยูชั้นในอาจปะทุออกมาทําใหเกิดฟองอากาศ และสรางความเสียหายกับพื้นที่ทารักไว
จึงอาจตองเสียเวลาในการลางและทารักใหม

รักไทย

๓. ยางรักจีนผสมยางรักไทย
ยางรักจีนมีคุณสมบัติแหงไวและไมคอยมีเนื้อยางจึงไมมีตัวยึดเกาะกับผิวงาน ทําใหไมแข็งแรง จึงตอง
ผสมกับยางรักไทยในอัตราสวนเทากัน เพื่อใหไดยางรักที่มีความแข็งแรงมากขึ้น เพราะถาใชรักจีนเพียงอยาง
เดียวจะไมมีเนื้อยางสําหรับยึดเกาะผิวงาน จะเปนเพียงแคฟลมใสสามารถมองทะลุผานได ตางจากยางรักไทย
ทีมีความทึบแสงมากกวา แตขอดีของยางรักจีน เมื่อนํามาผสมกับผงชาดจะไมทําใหชาดเปลี่ยนสี เนื่องจากรัก
จีนมีความใส สวนยางรักไทยที่มีความเขมมากกวาเมื่อผสมกับผงชาดจะใหสีที่เขมขึ้น ในการทําพื้นเพื่อเตรียม
ปดทองในชั้นที่ ๒ และ ๓ จึงเลือกใชรักจีนผสมกับรักไทย เพราะเมื่อยางทั้งสองชนิดผสมกัน จะไดคุณสมบัติที่
เหมาะสม เพราะยางรักจีนชวยใหรักแหงเร็ว และยางรักไทยมีเนื้อยางรักเหมาะกับการยึดเกาะพื้นผิว เมื่อผสม
ยางทั้งสิงชนิดในปริมาณที่เทากันแลว ทาลงพื้นผิวงานที่ตองการปดทอง ทิ้งไวจนยางรักแหงสนิท แลวจึงทาซ้ํา
อีกครั้ง โดยทุกครั้งที่ทารักชั้นตอไป จะตองรอใหยางรักแหงสนิทเสียกอน

รักจีนผสมรักไทย
๔๒

สมุก คือ ถานที่ไดจากการเผาวัสดุตาง ๆ บดหรือโขลกจนเปนผงละเอียดเพื่อนํามาผสมกับยางรัก ใช


สําหรับทําพื้นทํารักกระแหนะ ปนเสริมลวดลาย ติดประดับในงานศิลปกรรม ในการทําพื้นเพื่อเตรียมปดทอง
พระที่นั่งราเชนทรยาน เลือกใชสมุกกะลา โดยนํากะลามะพราวมาเผาใหไหมเกรียมเปนถาน แลวนําไปตําและ
บดจนเปนผงละเอียด กรองดวยผาซิลคสกรีนอีกครั้งจนไดผงที่ละเอียดมาก นําผงสมุกกะลามาผสมกับยางรัก
ใหมีลักษณะเหลว เพื่อเตรียมพื้นผิวในชั้นแรก เพราะสมุกกะลาเมื่อแหงแลวตัวสมุกกะลาจะระเหยน้ําไดดี ผิว
งานจะไมอุมน้ํา ไมขังน้ํา เวลาทําความสะอาด ทําใหทํางานไดสะดวกขึ้นไมเสียเวลาในการรอใหพื้นแหง

การกรองสมุกกะลา

การกรองยางรัก
การบูรณะซอมแซมพระที่นั่งราเชนทรยาน เปนการบูรณะพระราชยานที่มีขนาดใหญ การใชยางรักใน
การทําพื้นสําหรับปดทองใหมทั้งองค จึงตองใชยางรักในปริมาณมากและมีเวลาจํากัดในการดําเนินงาน ชางจึง
ตองจัดเตรียมยางรักใหพรอมในขั้นตอนการทําพื้นและปดทอง ยางรักที่จะนําไปใชในการทําพื้นหรือปดทอง
ตองนํามากรองเพื่อเอาสิ่งสกปรกเศษใบไม ฝุนละออง และขี้รักที่ตกตะกอนหรือจับตัวกันเปนกอนออกเสียกอน
เพื่อปองกันไมใหสิ่งสกปรกติดไปกับยางรักในการนําไปใชงาน การกรองยางรักจึงถือเปนขั้นตอนสําคัญขั้นตอน
หนึ่งที่ชางตองใหความสําคัญ เพราะถายางรักไมสะอาดมีฝุนผงหรือสิ่งสกปรกตางๆ ติดไป พื้นที่ทาดวยยางรัก
จะไมเรียบ เมื่อปดทองก็จะไมมันเงา ขาดความสวยงาม
ขัน้ ตอนการกรองยางรัก
ในการกรองยางรักครั้งแรก เตรียมผาแกวสําหรับกรองยางรัก ๑ ผืน วางบนภาชนะที่จะรองรับยางรัก
เทยางรัก(แยกชนิด) ลงบนผาแกว ใหยางรักไหลผานผาแกวลงไปในภาชนะ สามารถบีบผาเพื่อชวยใหยางรัก
ไหลผานผากรองไดเร็วขึ้น ยางรักที่กรองแลวจะอยูในภาชนะสามารถตักแบงไปใชงานไดทันที การเก็บรักษา
ยางรักที่กรองแลวแตยังไมไดใชงาน ใชแผนพลาสติกอยางบางวางปดหนายางรักในภาชนะ เทน้ําลงบนแผน
พลาสติกเล็กนอยพอทวม เพื่อใหน้ําหนักของน้ําทําใหแผนพลาสติกแนบไปกับผิวหนายางรัก เพื่อปองกันฝุน
๔๓

ละออง และชวยรักษาผิวหนายางรักไมใหแหงแข็ง เมื่อจะนํามาใชงานก็เปดแผนพลาสติกดานบนออก และตัก


แบงยางรักสําหรับนําไปใชงานในแตละครั้ง
สําหรับขั้นตอนการทารักไทยเพื่อปดทองในชั้นสุดทาย ตองใชยางรักไทยที่สะอาดมาก ไมมีเศษฝุน
หรือขี้รักหลงเหลือ จึงตองทํา การกรองรัก อีก ครั้งดว ยการใชผาแกว ซอนกัน ๒-๓ ผืน และเทยางรัก ไทยที่
ตองการกรองลักษณะเดียวกับการกรองในครั้งแรก หรืออาจทิ้งไวใหยางรักไหลลงไปในภาชนะโดยไมตองบีบผา
ชวย การกรองดวยผาแกวในขั้นตอนนี้จะทําใหไดยางรักที่สะอาดเหมาะกับการทําไปทาเพื่อเตรียมปดทอง

การกรองยางรักดวยผาแกว
๔๔

ยางรักที่ผานการกรองดวยผาแกว

การเก็บรักษายางรักกรองแลวที่ยงั ไมไดใชงาน
๔๕

การทายางรักเพื่อเตรียมพื้นสําหรับการปดทอง
การทารักจีน ครั้งที่ ๑
นํารักจีนที่กรองแลวแบงใสภาชนะเพื่องายตอการใชงาน ใชพูกันขนออนจุมยางรักจีนทาบนผิวชิ้นงาน
สวนที่ตองการทําพื้นหรือปดทอง ในสวนที่เปนพื้นที่เรียบ เชน สวนฐานเขียง นํายางรักจีนทาเพื่ออุดรองผิวที่ไม
เรียบหรือเปนเสี้ยนไม ไมควรทายางรักในปริมาณที่มากเกินไป เพราะจะทําใหยางรักไหลยอยและทําใหยางรัก
แหงตัวไมเสมอกัน จากนั้นรอจนยางรักแหงสนิท ในสวนลวดลายแกะสลักที่มีขนาดเล็กใชพูกันขนาดเล็กทา
เพื่อใหยางรักเขา ไปไดทั่ว ถึงในรองลวดลายแกะสลัก ควรระมัดระวังไมใหยางรักไหลมากองหรือขังในรอง
ลวดลายเพราะจะทําให ผิวยางรักในสวนนั้นแหง แตดานในไมแหง เมื่อทายางรักครั้งตอไปจะทําใหพื้นผิว
บริเวณนั้นยนไมสวยงาม เมื่อทารักจีนในชั้นที่ ๑ จนทั่วแลวรอจนรักแหงสนิท แลวจึงทารักจีนผสมรักไทยในชั้น
ตอไป

ทายางรักจีน ครั้งที่ ๑ เพื่อเตรียมพื้นผิวในสวนที่ตองการปดทอง


๔๖

ขัดลูบดวยกระดาษทรายเพื่อปรับพื้นผิวใหเรียบในสวนฐานเขียง

การทายางรักจีนผสมรักไทย ในชั้นที่ ๒ และ ๓


เมื่อ รั ก จีน ที่ท าไวใ นชั้น แรกแห ง สนิ ทแล ว นํ า ยางรัก จีน และยางรั กไทยที่ กรองแลว มาผสมกัน ใน
อัตราสวน ๑ :๑ เมื่อยางรักทั้ง ๒ ชนิดผสมจนเขากันดีแลว นํามาทาในชั้นที่ ๒ เชนเดียวกับการทารักจีน ทิ้งไว
จนแหงสนิท ซึ่งอาจใชเวลาหลายวัน เนื่องจากรักไทยมีความแหงตัวชากวารักจีน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพอากาศ
และความชื้นในขณะนั้น เมื่อแหงสนิทแลวจึงทารักจีนผสมรักไทยอีกครั้งในชั้นที่ ๓
๔๗

สําหรับ ชิ้น งานที่ทายางรักแลว ตองการควบคุม อุณหภูมิใหคงที่โดยการบม ดว ยความชื้น


เพื่อใหชิ้นงานแหงเร็วขึ้น ชิ้นงานที่มีขนาดไมใหญมากสามารถนําชิ้นงานมาวางในพื้นที่ที่สรางขึ้นเพื่อบมดวย
ความชื้น อาจเปนตูวางของที่มมีีบานปดสนิท หรือสามารถสรางหองสําหรับบมชิ้นงานขึ้นอยางงาย ดวยการทํา
โครงไมห รือโครงเหล็ก ขึงดวยแผนพลาสติกโดยรอบ เพื่อปองกันฝุนละอองและเพื่อกักเก็บความชื้นใหอยู
ภายในหองบม นําภาชนะใสน้ําตั้งไวดานในเพื่อชวยเพิ่มความชื้นทําใหชิ้นงานที่ทารักไวแหงเร็วขึ้น และเปน
การประหยัดเวลาในชวงเวลาที่มีจํากัด การทําหองบมดวยแผนพลาสติกมีขอดีกวาการใชผาคลุม เพราะการใช
ผาอาจมีฝุนละอองที่เกิดจากผาตกลงบนชิ้นงาน ซึ่งทําใหชิ้นงานที่ทารักมีคราบฝุนเกาะเมื่อปดทองจะไมเรียบ
เงางาม
ในสวนโครงสรางบุษบกหรือ ชิ้นงา งานที
นที่มีขนาดใหญ ไมสามารถเก็บ ไวในหองบมได จึงต อง
ปลอยใหยางรักแหงตามธรรมชาติ ทั้งนี้ชางจะเลือกใชยางรักที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับชิ้นงานในสวนตางๆ

ตูหรือหองสําหรับบมชิ้นงานดวยความชื้น
๔๘

การทายางรักไทยเพื่อปดทอง
เมื่อยางรักจีนผสมรักไทยที่ทาไวในชั้นที่ ๓ แหงสนิทแลว นํายางรักไทยที่กรองแลวมาทาบริเวณที่
ตองการปดทอง การทารักไทยเพื่อปดทอง ตองทายางรักใหมีความหนาเสมอกันโดยทั่ว ไมควรทานอยหรือมาก
เกินไป เพราะจะทําใหยางรักแหงตัวไมสม่ําเสมอกันทําใหควบคุมเวลาในการปดทองไดยาก รอใหยางรักแหงตัว
โดยชางตองคํานวณเวลาในการทายางรักและการปดทองใหเหมาะสม โดยตรวจสอบจากการสัมผัสยางรัก เมื่อ
รักไทยที่ทาไวในครั้งสุดทายสําหรับการปดทองมีความเหมาะสม จึงสามารถดําเนินการปดทองได สังเกตไดดวย
การใชหลังมือสัมผัสยางรักที่ทาไว โดยยางรักจะไมเปอนติดมือแตยังคงมีความเหนียวและมีความหนืด เมื่อยาง
รักมีลักษณะพอเหมาะก็สามารถปดทองคําเปลวไดทันที หากปลอยใหยางรักแหงเกินไป เมื่อสัมผัสแลวยางรัก
ไมมีความเหนียว จะไมสามารถปดทองไดตองทําการทาใหมอีกครั้งทําใหเสียเวลาในการดําเนินงาน ดังนั้นชาง
จึงตองมีความชํานาญในการตรวจสอบยางรักเพื่อปดทองคําเปลว

ทายางรักไทยเพื่อเตรียมปดทองคําเปลว
๔๙

การปดทอง ชางเตรียมแผนทองคําเปลวปดลงบนชิ้นงาน โดยปดเรียงตอกันไปในทางเดียวกัน ใหขอบ


ของแผนทองคําเปลวแตละแผนเกยทับกันเล็กนอย เรียกวิธีนี้วา การปูทอง เมื่อปูทองจนทั่ว ใชพูกันขนออนหุม
ดวยแผนพลาสติกชนิดบาง กดแนบใหแผนทองคําเปลวติดกับพื้นผิวชิ้นงานที่ทารักไวจนเรียบเกิดความเงางาม
ใชพูกันตักแผนทองคําเปลวและยีลงไปตามรองลวดลายแกะสลักจนทั่ว ตรวจสอบดูใหทั่วหากมีสวนใดที่ยัง
ปรากฏยางรักใหเห็น ก็ปดทองคําเปลวเพิ่มบริเวณนั้นจนทองติดทั่วกัน เรียกวิธีนี้วา การกวดทองทั้งนี้การปด
ทองคําเปลวแตละครั้งควรมีภาชนะหรือแผนสําหรับรองรับเศษทองคําเปลวที่รวงหลนจากการปดทอง เพื่อ
ไมใหเศษทองกระจัดกระจาย
ขั้นตอนการปดทองคําเปลว (คันทวย)

เตรียมชิ้นงานที่ทายางรักแลว ปดทองคําเปลวลงบนชิ้นงาน

ปูแผนทองคําเปลวใหทั่วบริเวณ ใชพูกันขนออนยีทองคําเปลวเขาไปตามรองลวดลาย

กวดใหแผนทองคําเปลวแนบลงไปบนชิ้นงานใหทั่ว ตรวจสอบสวนที่ปดทองคําเปลวไมติด
๕๐

การปดทองสวนประกอบตาง ๆ ของพระที่นั่งราเชนทรยาน
๕๑

การประดับกระจก
การประดับกระจกเพื่อบูรณปฏิสังขรณพระที่นั่งราเชนทรยานในครั้งนี้ เปนการบูรณะเชิงอนุรักษ โดย
ยังคงสืบทอดกรรมวิธีและวัสดุแบบโบราณ คือการใชยางรักในการปดทองและใชเปนวัสดุยึดติดกระจก เรียกวา
รักสมุก(ยางรักผสมผงสมุกกะลาบดละเอียด) แทนการใชวัสดุทดแทนที่ใชในปจจุบัน
สวนประกอบบางสวนตองปดทองกอนจึงจะประดับกระจกได แตในบางสวนก็สามารถประดับกระจก
และดําเนินการปดทองไดในภายหลัง ดังนั้นการปดทองและประดับกระจกจึงสามารถทําควบคูกันไปไดแตควร
ระมัดระวังสวนที่ดําเนินการแลวไมใหเสียหาย เชน ชั้นหลังคา สามารถประดับกระจกไดกอนแลวจึงปดทอง
สวนลวดลายในภายหลัง แตการทารักเพื่อปดทองตองระมัดระวังไมใหเลอะเปอนแผนกระจกที่ประดับไวแลว
กระจกที่ใชในการบูรณะซอมแซม พระที่นั่งราเชนทรยานในครั้งนี้ ใชกระจก ๒ แบบ คือ กระจกแกว
ที่มีลักษณะคลายกระจกรูปแบบเดิมกอนการบูรณะ และกระจกทดแทน มีขนาดบางกวากระจกแกว แตมี
ขนาดใกลเคียงกับกระจกเดิมในสวนที่เปนสวนรายละเอียด
ในสวนที่ตองประดับกระจกภายหลังการปดทอง เมื่อดําเนินการปดทองแลวเสร็จ ชางตัดกระจกตาม
ขนาดและรูปแบบเดิมที่กะเทาะออกในขั้นตอนแรก ตัดกระจกเตรียมไวในปริมาณที่ตองการใช จากนั้นผสม
สมุกกะลาเพื่อเปนวัสดุยึดติดกระจกในอัตราสวน ๑ : ๑ ผสมชันลงไปเล็กนอย เพื่อใหเกิดความเหนียว นวดให
เนื้อสมุกกะลาเขากันและมีความเหนียวคลายอิพอกซี่ ใชเกรียงขนาดเล็กปาดสมุกกะลาลงบนพื้นที่ที่ตองการ
ประดับกระจก แลวใชเครื่องมือหยิบจับกระจก หรือไมปลายแหลมหุมขี้ผึ้ง แตะกระจกที่จัดไวไปประดับบน
ลวดลายที่ทารักสมุกไว สวนลวดลายประกอบใชกระจกทดแทน ที่มีลักษณะบางกวากระจกแกวโดยใชรักสมุก
เปนตัวยึดติดกระจกเชนเดียวกัน
๕๒

ประดับกระจกสวนตางๆ ของพระที่นั่งราเชนทรยาน
สวนกระจกที่ไมชํา รุดเสียหาย ชางจะทําความสะอาดและคงไวดังเดิม หากมีกระจกหลุดรอนไป
บางสวนก็ทําการประดับเพิ่มเติมจนสมบูรณ เชน ในสวนขาครุฑ กระจังปฏิญาณ กาบพรหมศร สวนสมุกเดิมที่
เสื่อมสภาพหลุดรอนไมสวยงาม ใชเครื่องเจียสายออนเจียรักสมุกเดิมออกใหหมด และทําการประดับกระจก
ใหมทดแทนใหกลมกลืนกับของเดิมใหมากที่สุด
๕๓

เริ่มประดับ กระจกที่สวนประกอบลวดลาย ในสวนพื้นที่


ใหญบริเวณหลังคาบุษบก ประดับดวยกระจกแกวสีขาว ในสวนที่
เปน ลวดลายขนาดเล็ก ใชกระจกทดแทน ในสว นของเสาบุษ บก
กระจกเดิมยังคงมีสภาพคอนขางสมบูรณจึงไมไดทําการกะเทาะ
ออกเพื่อ เปลี่ย นใหม เหมือ นสว นอื่ น จึ ง ใชวิธี ทํา ความสะอาดผิ ว
กระจกใหสะอาดเงางามขึ้น ดวยการใชน้ําสมสายชูผสมน้ําสะอาด
ใชสําลีพันปลายไมจุมน้ําที่ผสมน้ําสมสายชูเช็ดบริเวณกระจกเดิม
เพื่อทําความสะอาดคราบฝุน คราบรักและสิ่งสกปรกออกใหมาก
ที่สุด เช็ดจนสําลีสะอาดไมมีคราบดําหลงเหลือ จากนั้นใชพูกันแตะ
ยางรักน้ําเกลี้ยงบางๆ มาทาบริเวณกระจกเสาที่ทําความสะอาด
เรียบรอยแลวใหทั่ว ทิ้งไว ๑-๒นาที ใหรักซึมไปในบริเวณที่เปน
ชองไฟของกระจกแตละชิ้นยางรักน้ําเกลี้ยงไหลจะซึมเขาไปในชองระหวางกระจก เพื่อยึดกระจกกับวัสดุยึดติด
เดิมใหแข็งแรง เปนการเพิ่มความแข็งแรงในการยึดเกาะกระจก รอจนยางรักแหงสนิท ใชสําลีสะอาดเช็ดถอน
ยางรักบริเวณผิวกระจกใหสะอาด เช็ดซ้ําบริเวณที่ทารักไวจนสําลีหมดคราบดําของยางรัก ทิ้งใหแหงสนิทแลว
จึงทายางรักซ้ํา เช็ดทําความสะอาดดวยสําลีพันปลายไม ทิ้งใหแหงสนิท ทําเชนนี้ประมาณ ๒-๓ รอบ

กระจกบริเวณเสาบุษบก กอนการบูรณะซอมแซม
๕๔

การประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน
เมื่อปดทองและประดับกระจกในสวนตาง ๆ แลวเสร็จ จึงประกอบพระที่นั่งราเชนทรยาน
ดวยการติดตั้งชั้นหลังคาทั้ง ๔ ชั้นเริ่มจากชั้นที่ ๑ จนถึงชั้นที่ ๔ โดยชั้นหลังคาแตละชั้นไดติดลวดลายบันแถลง
และบราลีแลวเสร็จ จึงติดตั้งตอดวยชั้นองคระฆัง เหม บัวกลุม และปลียอด จากนั้นติดตั้งสวนคันทวยเพื่อยึด
เสากับชั้นเชิงกลอนชั้นที่ ๑ เปนการเพิ่มความแข็งแรงในการรับน้ําหนักของชั้นหลังคา จากนั้นยึดดวยสลิงโดย
ติดตั้งสลิงบริเวณลูกแกวของสวนยอดบุษบกจํานวน ๔ เสน แลวยึดตรึงสลิงแตละเสนไวที่ชั้นหลังคาชั้นที่ ๑ ทั้ง
๔ มุมจึงติดประกอบลวดลายสวนตาง ๆ เชน กาบพรหมศร กระจังปฏิญาณ กระจังเจิม กระจังตาออย และ
ครุฑยุดนาคประดับทองไม แลวจึงติดตั้งสวนกง พนักพิงหลัง และแทนฐานสําหรับวางพระบรมอัฐิ
๕๕

การประกอบพระที่นั่งราเชรทรยาน
๕๖

การจัดทําเครื่องประกอบ
๑. การจัดสรางชุดเฟองระยาโลหะเงิน
จัดสรา งชุดเฟองระยาขึ้นใหม ทั้งหมดดวยโลหะเงิน จํ านวน ๑๒ ชุด ๑ ชุด ประกอบดว ย
เฟอง ๑ ชิ้น อุบะ ๑ ชิ้น จัดสรางโดยกลุมงานชางบุและชางศิราภรณ กลุมประณีตศิลป โดยดําเนินการคัดลอก
แบบจากชุดเฟออุบะเดิม นําโลหะเงินมาหลอมและรีดเปนแผน จากนั้นนํามาบุดุนตามรูปแบบเดิม ประดับดวย
กระจกสีขาวเพิ่มความสวยงามสวนชุดเฟองระยาและอุบะชุดเดิมเก็บรักษาไว ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระ
นคร

๒.

การจัดทําชุดเฟองระยาโลหะเงิน

การประกอบติดตั้งชุดเฟองระยาโลหะเงิน
๕๗

๒. การจัดสรางพระวิสูตรและการติดตั้งดาวเพดาน
จัดสรา งพระวิสู ตรผา ตาดทองแทเ งินกะไหล ทอง ขนาดกวา ง ๖๐ เซนติเ มตร สูง ๑๓๕
เซนติเมตร จํานวน ๔ ผืน ติดตั้งบริเวณดานในเสาบุษบกทั้ง ๔ ตน และรัดดวยสายรัดพระวิสูตรเพื่อความ
สวยงาม จากนั้นติดตั้งดาวเพดานที่ปดทองประดับกระจกแลวเสร็จบริเวณกึ่งกลางเพดานบุษบก

การติดตั้งพระวิสตู รพระที่นั่งราเชนทรยาน
๕๘

พระที่นั่งราเชนทรยาน ภายหลังการบูรณปฏิสังขรณแลวเสร็จ
๕๙

บทที่ ๔

ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไข

ในการบูรณะซอมแซมพระที่นั่งราเชนทรยาน เพื่อจัดเก็บรวบรวมไวเปนเอกสารองคความรูดาน
ศิลปกรรมในปงบประมาณ ๒๕๖๕ คณะทํางานไดรวบรวมขอมูลที่เปนประโยชนในดานการบูรณะซอมแซม
โดยบันทึกขอมูล รูปภาพ รายละเอียด รวมถึงการสัมภาษณผูปฏิบัติงานในกระบวนการซอมบูรณะ และเรียบ
เรีย งออกมาเป น บทความให ผู ส นใจได ศึ ก ษาถึ ง ความสํ า คั ญ และรายละเอี ย ดในการซอ มบู ร ณะพระที่ นั่ ง
ราเชนทรยาน ทั้งนี้ระหวางการปฏิบัติงานทั้งในเชิงชางและเชิงวิชาการ ทําใหพบเจอปญหาอุปสรรคในการ
ดําเนินงาน จึงไดบันทึกขอมูลของปญหาตางๆ เก็บไวเปนเอกสาร และรวมกันหาแนวทางแกไขปญหาเพื่อเปน
ประโยชนในการดําเนินงานในครั้งตอไป โดยแบงเปนปญหา อุปสรรค และขอคิดเห็นในการหาแนวทางแกไข
ปญหาที่เกิดขึ้น ดังนี้

ปญหาและอุปสรรค

๑. ปญหาดานระยะเวลา เนื่องจากการดําเนินการซอมบูรณะพระที่นั่งราเชนทรยาน เปนงาน


ที่มีระยะเวลาจํากัด เพราะจะตองดําเนินการใหแลวเสร็จทันกําหนดการ เพื่อใชในพระราชพิธีถวายพระเพลิง
พระบรมศพ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเ บศร มหาภูมิพ ลอดุล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ตร ซึ่ง มี
ระยะเวลาการดําเนินงาน ๑ ป จึงตองวางแผนการดําเนินงานใหรัดกุมเพื่อใหเสร็จตามกําหนดการ

แนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรค

คณะทํางานรวมกันประเมินรายละเอียดของงานแตละขั้นตอนและวางแผนการดําเนินงาน
โดยแบงขั้นตอนสําคัญตามลําดับ เพื่อใหอยูในระยะเวลาดําเนินการ ควรตั้งเปาหมายใหงานแลวเสร็จลวงหนา
อยางนอย ๒ สัปดาห เพื่อ ตรวจสอบความเรียบรอยของงานไมใหมีขอบกพรอง กําหนดขั้นตอนที่สามารถ
ดําเนินการไปพรอมกันไดเปนการชวยลดระยะเวลาการดําเนินการ โดยมีผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญคอยให
คําปรึกษาและแนะแนวทางในการดําเนินงานใหแลวเสร็จตามวัตถุประสงค
๖๐

๒. ปญหาดานวัสดุ เนื่องจากการซอมบูรณะพระที่นั่งราเชนทรยาน เปนการซอมบูรณะเชิง


อนุ รัก ษ โ ดยการศึก ษารู ป แบบจากครู ช า งสมั ย โบราณ ทํา การคั ด ลอกรู ป แบบเดิ ม ทั้ ง ในด า นรู ป แบบงาน
ศิลปกรรมและวัสดุ โดยใชวัสดุที่เปนวัสดุเดิม เชน การใชยางรักในการทําพื้นและปดทอง แทนการใชวัสดุ
ทดแทนที่ใชในปจจุบัน จึงทําใหมีปญหาในการจัดหายางรักเพื่อนํามาใชงาน เนื่องจากการจัดซื้อยางรักใน
ปจจุบัน หาซื้อไดคอนขางยากและมีคุณภาพที่แตกตางกันตามแหลงกําเนิดของยางรัก ซึ่งยางรักแตละชนิดมี
คุณสมบัติและขอจํากัดที่แตกตางกัน จึงตองใชเวลาในการทดสอบเพื่อนํามาใชงานไดอยางเหมาะสม ในสวน
ของกระจกที่ใชในการประดับลวดลายแกะสลักปดทอง ในสวนพื้นที่กวางใชกระจกแววที่มีความหนาเทียบเทา
กระจกของเดิม ในสวนของลวดลายขนาดเล็กตองใชกระจกที่มีขนาดบางกวา ซึ่งกระจกที่มีขายในปจจุบันไมมี
กระจกที่มีขนาดบางจําหนาย

แนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรค

คณะทํ า งานจั ดหาและรวบรวมวั ส ดุเ พื่อ ใช ใ นการดํา เนิน งานจากแหล งต างๆ เพื่อ นํา มา
ทดสอบเพื่อใหเหมาะสมกับการนําไปใชงานในแตละสวน และการจัดหาวัสดุทดแทนเพื่อทดแทนวัสดุเดิมที่หา
ไมได โดยตองนํามาทดลองใชเพื่อดูความเหมาะสมและมีสิทธิภาพในการนําไปใชงาน

กระจกสีตางๆ

วัสดุทดแทนกระจกที่มีขนาดบาง
๖๑

๓. ปญหาดานสภาพอากาศ เนื่องจากยางรักเปนวัสดุสําคัญในการใชเพื่อซอมบูรณะพระที่นั่ง
ราเชนทรยาน ซึ่งเปนวัสดุจากธรรมชาติ ยางรักแตละชนิดมีคุณสมบัติการแหงตัวแตกตางกัน จึงทําใหการ
กําหนดระยะเวลาการดําเนินงานเปนไปไดยาก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพอากาศและตัวแปรอื่นๆ เชน ความชื้นและ
ความรอนในอาคารปฏิบัติงาน

แนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรค

จัดสรางพื้นที่สําหรับบมความชื้นเพื่อควบคุมอุณหภูมิ (หองบม) สําหรับทําใหยางรักแหงตัว


โดยนํ าชิ้นงานที่ทายางรักมาวางไวในหองบมนี้ เพื่อควบคุมอุณหภูมิใหคงที่โ ดยการบมดวยความชื้น เพื่อให
ชิ้นงานแหงเร็วขึ้น ชิ้นงานที่มีขนาดไมใหญมากสามารถนําชิ้นงานมาวางในพื้นที่ที่สรางขึ้นเพื่อบมดวยความชื้น
อาจเปนตูวางของที่มีบานปดสนิท หรือสามารถสรางหองสําหรับ บมชิ้นงานขึ้นอยางงาย ดวยการทําโครงไม
หรือโครงเหล็ก ขึงดวยแผนพลาสติกโดยรอบ เพื่อป
อปองกันฝุนละอองและเพื่อกักเก็บความชื้นใหอยูภายในหอง
บ ม นํ า ภาชนะใส น้ํ า ตั้ ง ไว ดา นในเพื่ อ ช ว ยเพิ่ ม ความชื้ น ทํา ให ชิ้ น งานที่ท ารั ก ไว แ ห ง เร็ ว ขึ้ น และเป น การ
ประหยัดเวลาในชวงเวลาที่มีจํากัด การทําหองบมดวยแผนพลาสติกมีขอดีกวาการใชผาคลุม เพราะการใชผา
อาจมีฝฝุุนละอองที่เกิดจากผาตกลงบนชิ้นงาน ซึ่งทําใหชิ้นงานที่ทารักมีคราบฝุนเกาะเมื่อปดทองจะไมเรียบเงา
งาม

ตูหรือหองสําหรับบมชิ้นงานดวยความชื้น
๖๒

๔. ปญหาดานสุขภาพ ยางรักคือวัสดุสําคัญในการซอมบูรณะพระที่นั่งราเชนทรยาน ทําให


ผูปฏิบัติงานตองทํางานเกี่ยวของกับยางรักเกือบทุกขั้นตอน ทั้งนี้ผูปฏิบัติงานบางรายมีอาการไวตอยางรักหรือ
ไอระเหยที่เกิดจากยางรัก ทําใหเกิดอาการแพ มีผื่นคัน บางรายมีอาการรุนแรงถึงขั้นเปนแผลพุพอง โดยเฉพาะ
ยางรักจีน มีคุณสมบัติที่ทําใหเกิดอาการแพรุนแรงมากที่สุด ทําใหเปนอุปสรรคในการปฏิบัติงาน

แนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรค

สําหรับผูที่มีอาการแพยางรักภายหลังจากการดําเนินงาน รักษาโดยการรับประทานยาแกแพ
หลังจากมีอาการ ในสวนของผูที่มีอาการแพอยางรุนแรง มีอาการผื่นคันจนเกิดแผลพลุพอง อาจตองพบแพทย
เพื่อรักษาอาการใหดีขึ้น โดยอาจใชเวลาเปนเดือน ในสวนของการปองกันทําไดโดยการไมสัมผัสยางรักโดยตรง
ควรใสหนากากอนามัย สวมถุงมือ เสื้อแขนยาว หรือแตงกายใหมิดชิด เพื่อปองกันไอระเหยของยางรักสัมผัส
โดนผิวโดยตรง แตก็เปนเพียงวิธีปองกันเบื้องตน ซึ่งอาจเปนแคการชวยลดใหอาการใหนอยลงเทานั้น

ผื่นแดงจากการแพยางรัก รอยแผลเปนจากผื่นแดงที่หายจากการรักษา
๖๓

บรรณานุกรม

กรมศิลปากร. คําศัพทเกี่ยวเนื่องกับงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ


ดุลยเดช, กรุงเทพฯ: บริษัท สุวรรณภูมิ เฮอริเทจ จํากัด, ๒๕๕๙.
กรมศิลปากร. ราชรถ ราชยาน ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ, กรุงเทพฯ: บริษัท สุวรรณภูมิ
เฮอริเทจ จํากัด, ๒๕๕๙.
กรมศิลปากร. เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพระเมรุมาศ,กรุงเทพฯ: บริษัท
อมรินทร พริ้นติ้งแอนด พับลิชชิ่ง จํากัด(มหาชน), ๒๕๓๙.
กรมศิลปากร.จดหมายเหตุงานพระบรมศพสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗,
กรุงเทพฯ : หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิชย, ๒๕๒๙.
ราชบัณฑิตยสถาน.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒,กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่น,
๒๕๔๖.
โรม บุนนาค.พระเมรุมาศ พระโกศ และราชรถ สมัยกรุงรัตนโกสินทร, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสยามบันทึก,
๒๕๔๑.
วิทย พิณคันเงิน. เครื่องราชภัณฑ : ศิลปะวิจิตรแหงเครื่องประกอบพระอิสริยยศ, กรุงเทพฯ : อมรินทร,
๒๕๕๑.
๖๔

ภาคผนวก
๖๕
๖๖
๖๗
๖๘

โครงการศึกษา รวบรวม ขอมูลเพื่อจัดทําองคความรูดานศิลปกรรม ประจําป ๒๕๖๕


สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร

โครงการศึกษา รวบรวม ขอมูล เพื่อจัดทําองคความรูดานศิลปกรรม การซอมบูรณะงานศิลปกรรม


แบบสํานักชางสิบหมู (การปดทอง ประดับกระจก) ดําเนินการขึ้นภายใตกระบวนการจัดการความรู๗
ขั้นตอน ที่กพร.กําหนดไว ซึ่งแบงเปน ๗ ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ ๑ การบงชี้ความรู
ขั้นตอนที่ ๒ การสรางและแสวงหาความรู
ขั้นตอนที่ ๓ การจัดความรูใหเปนระบบ
ขั้นตอนที่ ๔ การประมวลและกลั่นกรองความรู
ขั้นตอนที่ ๕ การเขาถึงความรู
ขั้นตอนที่ ๖ การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู
ขั้นตอนที่ ๗ การเรียนรู

ขั้นตอนที่ ๑ การบงชี้ความรู คณะทํางานดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อรวมกันระดมความ


คิดเห็นในการกําหนดแนวทางการจัดทําองคความรู กําหนดแนวทางเนื้อหาการจัดทําเอกสารองคความรู และ
กําหนดขอบเขต ระยะเวลาการดําเนินงาน

 ดําเนินการขออนุมัติดําเนินการ แตงตั้งคณะทํางาน
 รวบรวมเอกสารความรูที่เกี่ยวของ
 รวมกันกําหนดขอบเขต การดําเนินงาน แนวเนื้อหาใน เอกสารองคความรู
 รวมกันพิจารณา กําหนดบทของเนื้อหาภายในเอกสารองคความรู
 แลกเปลี่ยนความรูประสบการณการทํางาน เพื่อรวบรวม ขอมูลในการจัดทําเอกสาร

การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ ๑ (วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๕)

นางประภาพร ตราชูชาติ ผูอํานวยการศูนยศิลปะและการชางไทย สํานักชางสิบหมู ประธานในที่


ประชุม แจงที่ประชุมทราบ เรื่อง โครงการศึกษา รวบรวม ขอมูลเพื่อจัดทําองคความรูดานศิลปกรรม เรื่อง
การซ อมบูร ณะงานปดทองประดับกระจก และบรรยายขอ มูล ๘ ขั้นตอน ในการจัดทําองคความรูในงาน
ศิลปกรรม และรวมกันเสนอรายชื่อคณะทํางานและแนวทางการดําเนินงาน
๖๙

การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ ครังที ๑ ณ ห้องประชุมอาคารศูนย์ศิลปะและการช่างไทย สํานักช่างสิบหมู่


๗๐

รูปแบบและรายละเอียดเพือเสนอเป็ นแนวทางการดําเนินงาน
๗๑

ขั้นตอนที่ ๒ การสรางและแสวงหาความรู

 สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ
 จากขอมูลการปฏิบัติงานที่ผานมา
 ศึกษาดูงาน จากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของ
 ศึกษาเอกสารความรูหนังสือ จากแหลงตาง ๆ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ ๒ (วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๕)

จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการศึกษา รวมรวบ ขอมูลเพื่อจัดทําองคความรูดานศิลปกรรม


ประจําป ๒๕๖๕ ดานการซอมบูรณะงานศิลปกรรมแบบสํานักชางสิบหมู ดานงานปดทอง งานประดับกระจก
ณ อาคารศูนยศิลปะและการชางไทย สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร

โดยไดรับ เกียรติจ าก รศ.ดร.กมลพรรณเพ็งพัด ภาควิชาฟสิกสแ ละวัสดุศาสตร คณะวิทยาศาสตร


มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใหเกียรติบรรยายความรู เรื่อง กระจกโบราณดาดดวยโลหะผสมที่มีตะกั่วเปนหลักเพื่อ
เปน ขอ มูล ในการดํ าเนิ นงานของคณะทํา งาน โดยมีน ายสมชาย ศุ ภ ลั กษณอํ า ไพพร ที่ ป รึ กษาโครงการฯ
นางประภาพร ตราชูชาติ ผูอํานวยการศูนยศิลปะและการชางไทย พรอมเจาหนาที่และคณะทํางาน เขารวม
ประชุมรับฟง แลกเปลี่ยนความรู เพื่อนํามาในใชในการจัดทําองคความรู
๗๒

การนํา ข อ มู ล การซ อ มกรณี ศึก ษาการซอ มบู ร ณะเรือ พระที่นั่ ง สุ พ รรณหงส ในพระราชพิ ธี บ รม
ราชาภิเษก สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ มารวบรวมเรียบเรียง
จัดทําเอกสารองคความรู โดยการสัมภาษณ เก็บขอมูลจากการปฏิบัติงานที่ผานมา
๗๓

การศึกษาดูงาน

คณะทํ า งานได มี โ อกาสรั บ ฟ ง บรรยาย การวิ จั ย และผลิ ต กระจกเกรี ย บโบราณ และเยี่ ย มชม
หองปฏิบัติการแสงสยาม ทั้งในสวนของโถงทดลอง บูสเตอร และหอ งควบคุม ณ สถาบันวิจั ยแสงซินโคร
ตรอน(องคการมหาชน) SLRI จังหวัดนครราชสีมา
๗๔

ขั้นตอนที่ ๓ การจัดความรูใหเปนระบบ

 รวบรวมองคความรูใหเปนระบบ
 จัดทําเอกสารองคความรู

รวบรวมขอมูลจากการสรางสรรคชิ้นงานศิลปกรรม จากการบันทึกขอมูลระหวางปฏิบัติงาน การ


สัมภาษณประสบการณการปฏิบัติงาน ปญหาอุปสรรคในการทํางาน การแกปญหาในการทํางาน รวบรวม
นํามาเรียบเรียงจัดทําเปนเอกสารองคความรู และจัดทําเปนคูมือเพื่อจัดทําตนฉบับเอกสาร เพื่อสงตอให
คณะทํางานรวมกันพิจารณาตรวจทานแกไข
๗๕

การนําขอมูลการซอมกรณีศึกษาการซอมบูรณะพระแทนบรรทม มารวบรวมเรียบเรียงจัดทําเอกสาร
องคความรู โดยการสัมภาษณ เก็บขอมูลจากการปฏิบัติงานที่ผานมา ในการซอมบูรณะพระแทนบรรทม
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ หนึ่งในศิลปะไทยที่สําคัญศิลปะรัตนโกสินทรตอนตน เปน
ไมแกะสลักลงรักปดทองประดับกระจก พระแทนบรรทมองคนี้เปนของคูพระราชวังจันทรเกษมมาแตเดิม และ
ยังเปนโบราณวัตถุที่สําคัญยิ่งที่ทรงคุณคาของพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ในการปฏิบัติการในการซอมบูรณะชิ้นงานศิลปกรรม เปนการถายทอดความรูจากรุนพี่ สูรุนนอง


แลกเปลี่ยนเรียนรูจากการปฏิบัติงานจริง เมื่อเจอปญหา รวมกันปรึกษาหาแนวทางแกไข สัมภาษณหาความรู
เพิ่ม เติม พรอมทั้งเก็บขอมูล ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวในแตละขั้นตอนเพื่อรวบรวม นํามาเรียบเรียงเปน
เอกสารตนฉบับเอกสารองคความ เพื่อจัดสงใหคณะทํางานตรวจทานเนื้อหา และจัดทําสื่อความรูเพื่อเผยแพร
ตอไป
๗๖

ขั้นตอนที่ ๔ การประมวลและกลั่นกรองความรู

 ประชุมกลั่นกรองความรู ตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสมของเนื้อหาโดยคณะทํางาน และ


ผูมีความรูเฉพาะดาน
 ตรวจ แกไขเพื่อใหขอมูลมีความถูกตองสมบูรณ เพื่อจัดพิมพเปนตนฉบับเอกสารองคความรู จัดพิมพ
รูปเลมสง กพร. เพื่อดําเนินการตอไป
๗๗

ขั้นตอนที่ ๕ การเขาถึงความรู

 จัดทําเอกสารองคความรูฉบับสมบูรณ เปนรูปเลมนําสง กพร. เพื่อพิจารณา นําสงตรวจขอมูล สํานวน


ความถูกตองของภาษาในลําดับตอไป
๗๘
๗๙

ขั้นตอนที่ ๖ การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู

วันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๕ จัดงานเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการ ศึกษา รวบรวมขอมูลเพื่อจัดทํา


องค ความรู ดา นศิ ลปกรรม ประจํา ป ๒๕๖๕ เรื่อ งการซอ มบู รณะงานปด ทอง งานประดับ กระจก โดยมี
คณะทํ างาน บุ คลากรสํ านั ก ช า งสิ บ หมู คณะอาจ ารย และนั กศึ ก ษาจา ก วิ ท ยาลั ย เพา ะช า ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยขอนแกน เขารวมรับฟงเสวนาและแลกเปลี่ยนความรูดานงานปดทอง
ประดับกระจก ณ อาคารศูนยศลิ ปะและการชางไทย สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร
๘๐

ในกิ จ กรรมการเสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ได รั บ เกี ย รติ จ ากคณะอาจารย แ ละนั ก ศึ ก ษาจาก
มหาวิทยาลัยเชียงใหมภาควิชาฟสิกสและวัสดุศาสตร คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสินทร วิทยาลัยเพาะชาง คณะศิลปะประจําชาติ แผนกหัตถศิลป และมหาวิทยาลัยขอนแกน เขารวมรับ
ฟงเสวนาและแลกเปลี่ยนความรูดานงานปดทอง งานประดับกระจก

ขั้นตอนที่ ๗ การเรียนรู

 บุคลากรภายในสํานักชางสิบหมู มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู จากการปฏิบัติงานการสรางสรรคผลงานที่


มีรุนพี่สูรุนนองจากการปฏิบัติงานรวมกัน รุนพี่คอยกํากับควบคุม แนะนําใหคําปรึกษา แกไขปญหา
การประชุมพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ ในระหวางโครงการเปนระยะๆ
 นําขอมูลความรู ลงในฐานขอมูล ในรูปแบบเอกสารองคความรูในรูปแบบE-book (ตองไดรับการ
ตรวจเนื้อหาจากทางสํานักวรรณกรรมเรียบรอยและทําการแกไขเนื้อหาภาษากอนจึงจะนําลงเผยแพร)
 ในสวนคลิปวิดิโอ องคความรูไ ดนําลงระบบเพื่อเผยแพรขอมูลใน ระบบศูนยขอมูลงานศิลปกรรม
สํานักชางสิบหมู กรมศิลปากร https://datasipmu.finearts.go.th/knowledge ในลําดับตอไป
๘๑

You might also like