You are on page 1of 13

บทที่ 3

วิธกี ารดาเนินงานโครงงาน

ในการทาโครงงาน การพัฒนาสถานีวัดสภาพอากาศ เก็บข้อมูลบนGoogle Sheetเป็นการ


เก็บข้อมูลจาก การวัดสภาพอากาศประกอบไปด้วย การวัดอุณหภูมิ , การวัดความชื้น, การวัดความ
เข้มแสง, การวัดปริมาณน ้าฝน, การวัดทิศทางลมและการวัดความเร็วลม มาวิเคราะห์ข้อมูลและ
แสดงผลแบบ Dashboard และการออกแบบสถานีวัดสภาพอากาศ มีขั้นตอนการดาเนินงานโครงงาน
ตาม Flowchart ดังต่อไปนี้
เริ่มต้น

ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ออกแบบโครงสร้างและวงจร PCB สถานีสภาพอากาศ

ออกแบบวิธีการวิเคราะห์ผล
สร้างสถานีวัดสภาพอากาศ
ไม่
ทดสอบเครื่องวัดสภาพอากาศ ปรับปรุง

แสดงผลแบบ
Dashboaed ใช่
เก็บข้อมูลผลการทดลองและสรุปผล

จัดทารูปเล่มปริญญานิพนธ์

สิ้นสุด

รูปที่ 3.1 ผังการดาเนินงาน


30

จากรูปที่ 3.1 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงานสามารถอธิบายได้ดังนี้ ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง


ของเซ็นเซอร์วัดทิศทางลม, เซ็นเซอร์วัดความเร็วลม,เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง,เซ็นเซอร์วัดความดัน
อากาศ,เซ็นเซอร์วัดปริมาณน้าฝน,เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ,เซ็นเซอร์วัดความชื้น,การรายงานสภาพอากาศ
ของกรมอุตุนิยมวิทยาการส่งข้อมูลผ่าน Node MCU esp8266,การใช้โปรแกรม Arduino IDE การ
ออกแบบส่วนของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์จากนั้นออกแบบโครงสร้างสถานีวัดสภาพอากาศเพื่อใช้ใน
การติดตั้งอุปกรณ์เซ็นเซอร์เข้ากับเสาสาเร็จ ออกแบบลายวงจร PCB ของสถานีวัดสภาพอากาศเพื่อ
เชื่อมต่อระหว่างเซ็นเซอร์กับ Arduino Nano และ Node MCU esp8266 ออกแบบวิธีการ จัดเก็บ
ข้อมูลแบบไร้สายเพื่อรั บค่าจากเซ็นเซอร์ไปเก็บที่ Google Sheets ออกแบบวิธีการวิเคราะห์ และ
แสดงผลแบบ Dashboard ผ่านโปรแกรม Power BI การทดสอบของเครื่องวัดสภาพอากาศกับ
สภาพอากาศของกรมอุตุวิทยาและทดสอบกับเครื่องวัดสภาพกาศที่ได้มาตรฐาน หากเกิดข้อผิดพลาด
ทาการปรับปรุงแก้ไข และแสดงผลผ่านโปรแกรม Power Bi สรุปผลการดาเนินงาน

3.1 บล็อกไดอะแกรมโครงสร้างของสถานีวดั สภาพอากาศ

Temperature & Wind Direction

Humidity Sensor DHT22 QS-FX01

Arduino
Pressure Wind Speeds
Nano
Sensor BME280 RS-FS-V05

IIluminance Rain Sensor

Sensor BH1750 MS-WH-SP-RG

Node MCU
Google Sheet
ESP8266

รูปที่ 3.2 บล็อกไดอะแกรมโครงสร้างของสถานีวัดสภาพอากาศ


31

จากรูปที่ 3.2 บล็อกไดอะแกรมสถานีวัดสภาพอากาศ เริ่มต้นจากการนาเซ็นเซอร์วัดความเร็ว


ลม,เซ็นเซอร์วัดทิศทางลม, เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ, เซ็นเซอร์วัดความชื้น, เซ็นเซอร์วัดความดันอากาศ
เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง, เซ็นเซอร์วัดปริมาณน้าฝน, มาเชื่อมต่อกับ Arduino Nano เพื่อรับค่าจาก
เซ็นเซอร์มาประมวลผลจากนั้นส่งข้อมูลไปยัง Node MCU esp8266 เพื่อส่งข้อมูลออกไปเก็บไว้ที่
Google Sheet

3.2 ผังดาเนินงานเครือ่ งวัดสภาพอากาศ

เริ่มต้น

On Power supply 220 VAC

False

Check Connect Wifi Connect


ESP8266 Again

True

Received Data
From Sensor

Send Data to
Google Sheet

END

รูปที่ 3.3 ผังการทางานสถานีวัดสภาพอากาศ


32

จากรูปที่ 3.3 ผังการท างานของสถานีวัดสภาพอากาศโดยมีหลักการท างานดังนี้ จ่ายไฟ


กระแสสลับ 220 VAC ให้กับ เครื ่ องสถานีว ั ดสภาพอากาศและรอการเชื่ อ มต่ อ WiFi ถ้าบอร์ ด
ESP8266 เชื่อมต่อกับ WiFi ไม่ได้จะทาการเชื่อมต่อใหม่อีกครั้งจนกว่าจะเชื่อมต่อพบ หากเชื่อมต่อพบ
เครื่องจะรับข้อมูลสภาพอากาศจากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ เซนเซอร์วัดความชื้น เซนเซอร์วัดความดัน
อากาศ เซนเซอร์วัดความเข้มแสงและเซนเซอร์วัดปริมาณน้าฝน เพื่อที่จะนาข้อมูลไปจัดเก็บไว้บน
Google Sheet

3.3 การต่อวงจรโดยใช้บอร์ด Arduino Nano กับเซ็นเซอร์


3.3.1 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์วดั ปริมาณแสง BH1750 กับ Arduino Nano

รูปที่ 3.4 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ BH1750 กับ Arduino Nano

จากรูปที่ 3.4 การต่อใช้งานการต่อใช้งานเซนเซอร์วัดปริมาณแสง BH1750 กับ Arduino


Nano โดยมีการต่อดังนี้ ขา VCC ของเซนเซอร์ BH1750 เป็นแหล่งจ่ายไฟสาหรับโมดูลรับแหล่งจ่าย
ได้ตั้งแต่ 2.4 VDC ถึง 3.6 VDC ต่อกับขา 3V3 ของ Arduino Nano ขา GND ของเซนเซอร์ BH1750
กราวด์ของโมดูลเชื่อมค่อกราวด์ GND ของ Arduino Nano ขา SCL ของเซนเซอร์ BH1750 คือ
Serial clock line ใช้เพื่อจัดเตรียมพัลส์นาฬิกาสาหรับการสื่อสาร I2c ต่อกับขา A5 ของ Arduino
Nano และขา SDA ของเซนเซอร์ BH1750 คือ Serial Data address ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูลผ่าน
การสื่อสาร I2C ต่อกับขา A4 ของ Arduino Nano
33

3.3.2 การต่อใช้งานเซนเซอร์ความกดอากาศ BME280 กับ Arduino Nano


การต่อใช้งานการต่อใช้งานเซนเซอร์ BME280 กับ Arduino Nano โดยมีการต่อดังนี้
ขา VCC ของเซนเซอร์ BME280 เป็นแหล่งจ่ายไฟสาหรับโมดูลรับแหล่งจ่ายได้ตั้งแต่ 2.4VDC ถึง
3.6VDC ต่อกับขา 3V3 ของ Arduino Nano ขา GND ของเซนเซอร์ BME280 กราวด์ของโมดูล
เชื่อมต่อกราวด์ GND ของ Arduino Nano ขา SCL ของเซนเซอร์ BME280 คือ Serial clock line
ใช้เพื่อจัดเตรียมพัลส์นาฬิกาสาหรับการสื่อสาร I2C ต่อกับขา A5 ของ Arduino Nano และขา SDA
ของเซนเซอร์ BME280 คือ Serial Data address ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูลผ่านการสื่อสาร I2C ต่อกับ
ขา A4 ของ Arduino Nano ดังรูป 3.5

รูปที่ 3.5 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ BME280 กับ Arduino Nano

3.3.3 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ DHT22 กับ Arduino Nano

รูปที่ 3.6 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ DHT22 กับ Arduino Nano


34

จากรูปที่3.6 การต่อใช้งานเซนเซอร์ DHT22 กับ Arduino Nano โดยมีการต่อดังนี้ ขา VCC


ของเซนเซอร์ DHT22 เป็นแหล่งจ่ายไฟสาหรับเซนเซอร์รับแหล่งจ่ายได้ตั้งแต่ 3.3VDC ถึง 6VDC ต่อ
กับขา 3V3 ของ Arduino Nano ขา GND ของเซนเซอร์ DHT22 กราวด์ของโมดูลเชื่อมต่อกับกราวด์
GND ของ Arduino Nano ขา Data pin 2 ของเซนเซอร์ DHT22 คือขาสัญญาณดิจิทัลในการ
เชื่อมต่อแบบบิตอนุกรมสองทิศทาง (Serial data, bi rirectional) ต่อกับขา D5 ของ Arduino Nano

3.3.4 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ DS3231 กับ Arduino Nano

รูปที่ 3.7 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ DS3231 กับ Arduino Nano


จากรูปที่ 3.7 การต่อใช้งานการต่อโมดูลนาฬิกา DS3231 กับ Arduino Nano โดยมีการต่อ
ดังนี้ ขา VCC ของโมดูลนาฬิกา DS3231 เป็นแหล่งจ่ายไฟฟส าหรับโมดูลรับแหล่งจ่ายได้ตั้งแต่
2.4VDC ถึง 5.5 VDC ต่อกับขา 3V3 ของ Arduino Nano ขา GND ของโมดูลนาฬิกา DS3231
กราวด์ของโมดูลเชื่อมต่อกราวด์ GND ของ Arduino Nano SCL ของโมดูลนาฬิกา DS3231 คือ
Serial clock line ใช้เพื่อจัดเตรียมพัลส์นาฬิกาสาหรับการสื่อสาร I2C ต่อกับขา A5 ของ Arduino
Nano ขา SDA ของโมดูลนาฬิกา DS3231 คือ Serial Data address ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูลผ่าน
การสื่อสาร I2C ต่อกับขา A4 ของ Arduino Nano

3.3.5 การต่อใช้งานเซนเซอร์วัดความเร็วลม RS-FS-V05 กับ Arduino Nano


การต่อใช้งานการต่อใช้งานเซนเซอร์วัดความเร็วลม RS-FS-V05 กับ Arduino Nano
โดยมีการต่อดังนี้ ขา VCC หรือ ขา Brown ของเซนเซอร์วัดความเร็วลม RS-FS-V05 เป็นแหล่งจ่ายไฟ
35

สาหรับโมดูลรับแหล่งจ่าย 12 VDC ต่อกับแหล่งจ่ายภายนอก ขา Black ของเซนเซอร์วัดความเร็วลม


RS-FS-V05 กราวด์ของเซนเซอร์ของการเชื่อมต่อกับ GND ของ Arduino Nano ขา Blue คือขาที่ให้
สัญญาณไม่คงที่มีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ มีลักษณะเป็นเส้นโค้งต่อเนื่องกันไปโดยการส่ ง
สัญญาณแบบ Analog จะถูกรบกวนได้ง่าย ต่อกับ ขา A3 ของ Arduino Nano ดังรูปที่ 3.8

รูปที่ 3.8 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ RS–FS–V05 กับ Arduino Nano

3.3.6 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์วดั ปริมาณนา้ ฝน MS-WH-SP-RG กับ Arduino Nano

รูปที่ 3.9 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ RS–FS–V05 กับ Arduino Nano


36

จากรูปที่ 3.9 การต่อใช้งานการต่อใช้งานเซนเซอร์วัดปริมาณน ้าฝน MS-WH-SP-RG กับ


Arduino Nano โดยมีการต่อขาดังนี้ ขา VCC หรือ ขา Red ของเซนเซอร์วัดปริมาณน้าฝน MS-WH-
SP-RG เป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าส าหรับโมดูลรับแหล่งจ่ายตั้งแต่ 3.3 VDC ถึง 5 VDC ต่อกับขา 5V
เชื่อมต่อกับ GND ของ Arduino Nano ขา Green คือขาที่ให้สัญญาณทางเอาต์พุตเป็นสัญญาณ
Digital ต่อกับ ขา D4 ของ Nano

3.3.7 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์ QS–FX01กับ Arduino Nano

รูปที่ 3.10 การต่อใช้งานเซ็นเซอร์วัดทิศทางลม QS–FX01กับ Arduino Nano

จากรูปที่ 3.10 การต่อใช้งานการต่อใช้งานเซนเซอร์วัดทิศทาง QS–FX01กับ Arduino Nano


โดยมีการต่อดังนี้ ขา VCC หรือ ขา Brown ของเซนเซอร์วัดทิศทางลม QS–FX01 เป็นแหล่งจ่ายไฟ
สาหรับโมดูลแหล่งจ่าย 12 VDC ต่อกับแหล่งจ่ายภายนอก ขา Black ของเซนเซอร์วัดทิศทางลม QS-
FX01 กราวด์เซนเซอร์การเชื่อมต่อกับ GND ของ Arduino Nano ขา Blue คือขาที่ให้สัญญาณทาง
เอาต์พุตเป็น สัญญาณ Analog สัญญาณข้อมูล แบบต่อเนื่อง (Continuous data) มีขนาดของ
สัญญาณไม่คงที่ มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณมีลักษณะเป็นเส้นโค้งต่อเนื่องกันไป โดยการส่ง
สัญญาณแบบ Annalog จะถูกรบกวนได้ง่าย ต่อกับขา A2 ของ Arduino Nano
37

รูปที่ 3.11 วงจรสถานีวัดสภาพอากาศ


38

3.4 ผังการทางานของโปรแกรม

Start

False Connect
Check Library from
Arduino Again
True
Red Temperature
& Humidity

Read Pressure

Read Illuminance

Read Wind Speed

Read Wind Direction

Read Rian

Display on Serial Monitor

Of Arduino Nano

Store data sensor of


Arduino Nano

รูปที่ 3.12 ผังการทางานโปรแกรม


A 39

Send data to
ESP8266

False
Check Connect WiFi Connect
ESP8266 Again

True
Received data from
Arduino Nano

Display on Serial Monitor


Of ESP8266

Store data in
Google Sheet

END

รูปที่ 3.12 ผังการทางานโปรแกรม (ต่อ)

จากรูปที่3.12 ขั้นตอนการท างานสามารถอธิบายได้ดังนี้ เมื่อเริ่มต้นการท างานส่วนของ


Arduino Nano ตรวจเช็ค Library ของเซ็นเซอร์ DHT22, BME280 และ BH1750 หากตรวจสอบไม่
พบก็จะทาการตรวจสอบ Library อีกครั้ง หากตรวจสอบ Library จะรับข้อมูลของเซ็นเซอร์ DHT22,
BME280, BH1750, RS-FS-V05, QS-FX01 และ QS-FX01 จากนั้นแสดงข้อมูลบนจอ Serial
Monitor ของ Arduino Nano และเก็บข้อมูลไว้ที่ Arduino Nano และส่งข้อมูลไปยัง Node MCU
40

esp8266 ส่วนของ Node MCU esp8266 ตรวจเช็คการเชื่อมต่อ Wifi หากไม่มีการเชื่อมต่อให้ทา


การเชื่อมต่ออีกครั้ง หากเชื่อมต่อจะรับข้อมูลจาก Arduino Nano แสดงข้อมูลบนจอ Serial Monitor
ของ Node MCU ESP8266 และจะเก็บข้อมูลของเซ็นเซอร์ DHT22, BME280, BH1750, RS-FS-
V05, QS-FX01 และ QS-FX01 ไว้ใน Google Sheet

3.5 การออกแบบลายวงจร PCB ของตูค้ วบคุมสถานีวดั สภาพอากาศ

รูปที่ 3.13 การออกแบบลายวงจร PCB ของสถานีวัดสภาพอากาศ

ตาแหน่งอุปกรณ์
1. เซ็นเซอร์วัดทิศทางลม QS-FX01 2. โมดูลนาฬิกา DS3231
3. เซ็นเซอร์วัดความดันอากาศ BME280 4. เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสง BH1750
5. เซ็นเซอร์วัดความเร็วลม RS-FS-V05 6. Arduino Nano
7. เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น DHT22 8. เซนเซอร์วัดปริมาณน้าฝน MS-WH-SP-RG
9. Node MCU esp8266 10. แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง 12 VDC
11. ตัวเก็บประจุ1000 µF 50 V 12. ตัวเก็บประจุ 1000 µF 50 V
13. IC 7805 14. ตัวต้านทาน 15 KΩ
15. ตัวต้านทาน 15 KΩ
41

จากรูปที่ 3.13 คือการออกแบบลายวงจร PCB ของสถานีวัดสภาพอากาศโดยมีหลักการ


ท างานดังนี้ จ่ายไฟกระแสสลับ 220 VAC ไปยังแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง 12 VDC ได้ไฟฟ้ า
กระแสตรง 12 VDC และจ่ายไฟ 12 VDC ผ่าน IC7805 ไปเก็บประจุที่ตัวเก็บประจุ 1000 µF 50
VCD ได้แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 5 VDC เพื่อจ่ายให้กับเซ็นเซอร์แต่ละตัว โดยเซ็นเซอร์แต่ละตัวจะใช้
แรงดันไฟที่แตกต่างกัน คือ 12 VDC และ 5 VDC โดยเซ็นเซอร์ที่ใช้แรงดันไฟ 12 VDC ได้แก่ เซ็นเซอร์
วัดความเร็วลมและเซ็นเซอร์วัดทิศทางลม เซ็นเซอร์ที่ใช้แรงดันไฟ 5 VDC ได้แก่ เซ็นเซอร์วัด อุณหภูมิ,
เซ็นเซอร์วัดความชื้น, เซ็นเซอร์วัดความดันอากาศ, เซ็นเซอร์วัดความเข้มแสงและเซ็นเซอร์ วัดปริมาณ
น้าฝน

You might also like