You are on page 1of 10

21

2. ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจน (Oxygen Sensor หรือ Lambda Sensor)


ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจนในก๊าซไอเสีย มีรูปทรงคล้ายกับหัวเทียน ทาหน้าที่ตรวจวัดปริมาณ
ออกซิเจนในก๊าซไอเสียแล้วส่งสัญญาณกลับไปให้ ECM เพื่อให้ ECM รู้สภาวะอัตราส่วนผสมนามันกับ
อากาศ ( Air / Fuel Ratio ) ว่าหนาหรือบางเกินไปหรือไม่ เพื่อควบคุมอัตราส่วนผสมระหว่างอากาศ
กับนามันเชือเพลิ งให้เหมาะสม ลดมลพิษทางอากาศ และทาให้แคตตาไลท์ติคคอนเวอร์เตอร์ ทา
หน้าที่ได้สมบูรณ์
ปัจจุบัน ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจนมี2ชนิด คือ
2.1 O2 sensor
2.1.1 Narrowband Lambda sensor สามารถระบุได้ว่ามีสารผสมสามชนิดในก๊าซไอเสีย
เท่านัน ตรวจจับส่วนผสมทัง หนา Rich, หรือ บาง Lean ไม่สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเข้มข้น
หรื อส่ ว นผสมของไอเสีย ที่มีต่อหน่ ว ยควบคุมเครื่องยนต์ (ECM) ในขณะที่ส่ ว นผสมบาง ปริมาณ
ออกซิเจนในไอเสียจะมีมาก ตัวออกซิเจนเซ็นเซอร์จะส่งแรงดันไฟฟ้าสูงไปให้ ECM ในขณะที่ส่วนผสม
หนา ปริมาณออกซิเจนในก๊าซไอเสียจะมีค่าน้อย ตัวออกซิเจนเซ็นเซอร์จะส่งแรงดันไฟฟ้า ต่าไปให้
ECM ตัวรับรู้แบบนีสร้างแรงดันเอาต์พุต DC ระหว่าง 0.2V ถึง 0.8V โดยที่ค่าต่ากว่าหมายถึง
ส่วนผสมบางลงและค่าที่สูงกว่าหมายถึงส่วนผสมที่ หนาขึนจะถูกติดตังไว้ที่หลังแคตตาไลท์ติคคอน
เวอร์เตอร์
2.1.2 Wideband Lambda sensor สามารถให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับส่วนผสมและ
สามารถทาได้ในเวลาจริงตัวรับรู้ปริมาณออกซิเจนนีสามารถให้อัตราส่วนอากาศต่อเชือเพลิงที่แน่นอน
ที่ ในขณะที่ส่วนผสมบาง ปริมาณออกซิเจนในไอเสียจะมีมาก ตัวรับรู้ จะส่งแรงดันไฟฟ้า ต่าไปให้
ECM ในขณะที่ส่วนผสมหนา ปริมาณออกซิเจนในก๊าซไอเสียจะมีค่าน้อย ตัวออกซิเจนเซ็นเซอร์จะส่ง
แรงดันไฟฟ้าสูงไปให้ ECM ตัวรับรู้ปริมาณออกซิเจนแบบนีสร้างแรงดันเอาต์พุต ระหว่าง 0.5V ถึง
4.5V และมีวงสัญญาณที่กว้างกว่าซึ่งแรงดันไฟฟ้าต่ากว่าแสดงถึงอัตราส่วนอากาศต่อเชือเพลิงที่ บาง
ลงและแรงดันไฟฟ้าที่สูงกว่าแสดงถึงอัตราส่วนเชือเพลิงอากาศที่ หนาขึน จะติดตังอยู่หลัง แคต
ตาไลท์ติคคอนเวอร์เตอร์
22

ภาพที่ 4-5 ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจน ชนิด O2 sensor


23

ภาพที่ 4-6 ค่าแรงเคลื่อนวัดปริมาณออกซิเจนชนิด O2 sensor


ที่มา : https://www.discountconverter.com

2.2 Air fuel ratio sensor หรือ A/F sensor ดูคล้ายกับ Narrowband Lambda sensor
แม้ว่ามันจะดูเหมือนกัน แต่มันก็ถูกสร้างขึนแตกต่างกันและมีลักษณะการทางานที่แตกต่างกัน
เซ็นเซอร์ A / F เรียกอีกอย่างว่าเซ็นเซอร์ช่วงกว้างหรืออัตราส่วนกว้างเนื่องจากความสามารถในการ
ตรวจจับอัตราส่วนอากาศ / เชือเพลิงในช่วงกว้าง ข้อดีของการใช้เซ็นเซอร์ A / F คือ ECM สามารถ
วัดการปล่อยเชือเพลิงได้อย่างแม่นยายิ่งขึน ในขณะที่ส่วนผสมบาง ปริมาณออกซิเจนในไอเสียจะมี
มาก ตัวรับรู้ จะส่งแรงดันไฟฟ้าสูงไปให้ ECM ในขณะที่ส่วนผสมหนา ปริมาณออกซิเจนในก๊าซไอเสีย
จะมีค่าน้อย ตัวออกซิเจนเซ็นเซอร์จะส่งแรงดันไฟฟ้าต่าไปให้ ECM ตัวรับรู้ปริมาณออกซิเจนแบบนี
สร้างแรงดันเอาต์พุต ระหว่าง 2.4V ถึง 4.0V และมีวงสัญญาณที่กว้างกว่าซึ่งแรงดันไฟฟ้าต่ากว่าแสดง
ถึงอัตราส่วนอากาศต่อเชือเพลิงที่หนาขึนและแรงดันไฟฟ้าที่สูงกว่าแสดงถึงอัตราส่วนเชือเพลิงอากาศ
ทีบ่ างลง จะติดตังอยู่ก่อน แคตตาไลท์ติคคอนเวอร์เตอร์
24

ภาพที่ 4-7 Air fuel ratio sensor

ภาพที่ 4-8 ค่าแรงเคลื่อนวัดปริมาณออกซิเจนชนิด Air fuel ratio sensor


ที่มา : https://www.discountconverter.com
25

ภาพที่ 4-9 ตาแหน่งติดตังตัวรับรู้ปริมาณออกซิเจน


ที่มา : https://o2sensors.com.au

ภาพที่ 4-9 (ต่อ)


26

ภาพที่ 4-9 (ต่อ)

ภาพที่ 4-9 (ต่อ)

2.3 วงจรไฟฟ้าควบคุมการทางานของ ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจน


ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจนมีการควบคุมการทางานของตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจน มี 2 ตัว
คือ ตัวก่อน แคตตาไลท์ติคคอนเวอร์เตอร์ เรียกว่า B1 S1 (BANK1 SENSOR1)และตัวหลัง แคต
ตาไลท์ติคคอนเวอร์เตอร์ เรียกว่า B1 S2 (BANK1 SENSOR2) มี ขัวสายไฟในการควบคุม ใช้ไฟ+
27

12Vมาจาก EFI relay มาเข้าที่ +B ของ ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจนในขณะที่เครื่องยนต์เย็น ECM


จะปล่อยสัญาณด้านลบ เป็น Duty ชุดทาความร้อน ผ่านขัว HT1A,HT1B
ในขณะที่ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจนจะส่งสัญญาณทางไฟฟ้าเป็นแรงเคลื่อนออกไฟ ยัง ECM
ผ่านขัว OX1S,OX1B ส่วนขัว E2 ก็ต่อลงกราวที่ ECM

ภาพที่ 4-10 โครงสร้างวงจรไฟฟ้าควบคุม ตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจน


ที่มา : คู่มือการซ่อมเครื่องยนต์แก๊สโซลีน บริษัท โตโยต้าจากัด

ภาพที่ 4-10 (ต่อ)


28

ภาพที่ 4-11 วงจรไฟฟ้าควบคุมตัวรับรู้วัดปริมาณออกซิเจน


ที่มา : คู่มือการซ่อมเครื่องยนต์แก๊สโซลีน บริษัท โตโยต้าจากัด
29

ภาพที่ 4-11 (ต่อ)


30

ภาพที่ 4-11 (ต่อ)

You might also like