You are on page 1of 173

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.

com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต


บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
13.1 ประจุไฟฟ้ า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคบ และการต่ อสายดิน
13.1.1 ประจุไฟฟ้า
พิจารณาการทดลองนาแท่งแก้วถูผา้ สักหลาดต่อ แท่งแก้ว
ไปนี้ ปกติแล้วอะตอมในแท่งแก้วและผ้าสักหลาดจะ e
e ++
มีจานวนประจุลบ (อิเล็กตรอน) และประจุบวก (โปร ++
e + e
eน้อย e
ตอน) ในปริ มาณที่เท่ากัน ทาให้ประจุไฟฟ้ ารวมเป็ น eมาก
e e
ศูนย์เรี ยกว่าเป็ นกลางทางไฟฟ้ า เมื่อทาแท่งแก้วถูผา้ ++++
e e ผ้าสักหลาด
สักหลาดจะทาให้อิเล็กตรอนของผ้าสักหลาดและแท่ง
แก้วบางส่ วนหลุดไปมาหากัน แต่เนื่องจากแท่งแก้วมีความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนได้
มากกว่าผ้าสักหลาด ดังนั้นจานวนอิเล็กตรอนที่หลุดจากแท่งแก้วไปหาผ้าสักหลาดจึงมีมาก
กว่าอิเล็กตรอนที่หลุดจากผ้าสักหลาดกลับมาหาแท่งแก้ว เมื่อแยกแท่งแก้วออกจากผ้าสักหลาด
ผ้าสักหลาดจะมีอิเล็กตรอนมากกว่าปกติจึงมีประจุสะสมเป็ นลบ ส่ วนแท่งแก้วเสี ยอิเล็กตรอน
ไปมากจะมีประจุสะสมเป็ นบวก
หมายเหตุ : ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนของวัตถุบางอย่างเรี ยงลาดับจากมากไปน้อยเป็ นดังนี้
แก้ว > เส้นผมคน > เปอร์สเปกซ์ > ไนลอน > ผ้าสักหลาด > ผ้าไหม > ผ้าฝ้ าย > อาพัน > พีวซี ี > เทฟลอน
ในที่น้ ี จะได้วา่ แก้วจ่ายอิเล็กตรอนได้มากที่สุด และเทฟลอนจ่ายอิเล็กตรอนได้นอ้ ยที่สุด
1. เหตุใดเมื่อนาแท่งแก้วไปถูผา้ สักหลาดแล้วแท่งแก้วจึงมีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวก
1. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผา้ สักหลาดฝ่ ายเดียว
2. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากผ้าสักหลาด
3. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากสิ่ งแวดล้อม
4. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผา้ สักหลาดมากกว่าที่รับมา
2. กาหนดให้ผา้ ไหมจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าแท่งพีวซี ี เมื่อนาแท่งพีวซี ีไปถูผา้ ไหมแล้วดึง
แท่งพีวซี ี ออกจากผ้าไหม แท่งพีวซี ี จะมีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกหรื อลบ
1. เป็ นลบ เพราะแท่งพีวซี ี จะรับอิเล็กตรอนจากผ้าไหมมากกว่าที่จ่ายไป
2. เป็ นลบ เพราะแท่งพีวซี ี จะรับอิเล็กตรอนมาจากสิ่ งแวดล้อม
3. เป็ นบวก เพราะแท่งพีวซี ี จะจ่ายอิเล็กตรอนแก่ผา้ ไหมมากกว่ารับมา
4. เป็ นบวก เพราะแท่งพีวซี ี จะจ่ายอิเล็กตรอนให้แก่สิ่งแวดล้อม
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
3. เมื่อนาแท่งพีวซี ี ไปถูผา้ ไหมประจุไฟฟ้ าบวก ( โปรตอน ) จะสามารถหลุดจากแท่งพีวซี ีไปหา
ผ้าไหมได้หรื อไม่
1. ได้ เพราะแรงเสี ยดทานมีมากพอ
2. ได้ เพราะโปรตอนมีขนาดเล็ก
3. ไม่ได้ เพราะโปรตอนอยูใ่ นนิวเคลียส
4. ไม่ได้ เพราะโปรตอนมีมวลมากเคลื่อนย้ายได้ยาก

4(แนว มช) เมื่อนาสาร ก. มาถูกบั สาร ข. พบว่าสาร ก. มีประจุไฟฟ้ าเกิดขึ้น สาร ก. ต้อง
เป็ นสาร
1. ตัวนา 2. ฉนวน 3. กึ่งตัวนา 4. โลหะ

13.1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
ถ้าเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกไปจ่อใกล้ๆ เม็ดโฟมทรงกลมเล็กๆ ปกติ
นั้นในเม็ดโฟมจะมีประจุไฟฟ้ าบวก (โปรตอน) และ
ลบ (อิเล็กตรอน) ในจานวนเท่าๆ กัน กระจายอยู่ แท่งแก้ว
เม็ดโฟม ++
อย่างสม่าเสมอ เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ า
++  +
บวกไปจ่อใกล้ๆ ประจุบวกบนแท่งแก้วจะดึงดูด 
+ 
ประจุลบ (อิเล็กตรอน) บนเม็ดโฟมให้เคลื่อนเข้ามา
อยูด่ า้ นที่ใกล้กบั แท่งแก้ว แล้วประจุลบบนเม็ดโฟมกับประจุบวกบนแท่งแก้วจะเกิดแรงดึงดูดซึ่ ง
กันและกัน ส่ งผลให้เม็ดโฟมเคลื่อนที่เข้ามาติดแท่งแก้วได้ ส่ วนเม็ดโฟมด้านที่อยูไ่ กลจากแท่ง
แก้วจะเหลือประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกดังรู ป การจัดเรี ยงประจุบนวัตถุหลังจากที่มีประจุไฟฟ้ า
อื่นเข้าใกล้ (เช่นที่เกิดบนเม็ดโฟมนี้ ) เราเรี ยกว่าเป็ น การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ า
5. จากรู ปเป็ นการนาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทาง
ไฟฟ้ า (มีประจุไฟฟ้ าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริ เวณที่ 1 และ 2 ในรู ปภาพจะมี
ประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ ตามลาดับ
แท่งแก้ว
1. บวก , ลบ 2. ลบ , บวก เม็ดโฟม ++
3. บวก , บวก 4. ลบ , ลบ +
(1) (2)

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
6. จากรู ปเป็ นการนาแท่งพีวีซีที่มีประจุไฟฟ้ าลบสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทาง
ไฟฟ้ า (มีประจุไฟฟ้ าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริ เวณที่ 1 และ 2 ในรู ปภาพจะมี
ประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ ตามลาดับ
1. บวก , ลบ แท่งพีวซี ี
เม็ดโฟม ––
2. ลบ , บวก

3. บวก , บวก (1) (2)
4. ลบ , ลบ

7. เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยูไ่ ปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า แท่ง


แก้วจะมีแรงดึงดูดเม็ดโฟมได้ หากเปลี่ยนแท่งแก้วเป็ นแท่งพีวซี ีที่มีประจุไฟฟ้ าลบสะสมอยู่
ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมแทน แท่งพีวซี ี จะมีแรงดูดหรื อแรงผลักเม็ดโฟม
1. ดูด 2. ผลัก 3. ดูดแล้วผลัก 4. ผลักแล้วดูด

8. ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกัน โดยยึด


ไว้ดว้ ยฉนวน เมื่อนาแท่งอิโบไนท์ซ่ ึงมีประจุ
ลบเข้าใกล้ทรงกลม A ดังรู ป จะมีประจุไฟฟ้ า
ชนิดใด เกิดขึ้นที่ตวั นาทรงกลมทั้งสอง
1. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
2. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
3. ทรงกลม A จะมีประจุบวกและทรงกลม B มีประจุลบ
4. ทรงกลม A จะมีประจุลบและทรงกลม B มีประจุบวก

9(แนว En) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็ นกลาง


ทางไฟฟ้ าตั้งอยูบ่ นฐานที่เป็ นฉนวน ถ้านาประจุ
บวกขนาดเท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองข้างพร้อมกัน
โดยระยะห่างจากปลายเท่าๆ กัน ตามลาดับ การ
กระจายของประจุส่วน A ส่ วน B และ C ของทรงกระบอกเป็ นอย่างไร
1. A และ C เป็ นลบ แต่ B เป็ นกลาง 2. A และ C เป็ นกลาง แต่ B เป็ นบวก
3. A และ C เป็ นบวก แต่ B เป็ นลบ 4. A และ C เป็ นลบ แต่ B เป็ นบวก
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.1.3 อิเล็กโทรสโคบ
อิเลคโตรสโคป คือเครื่ องมือใช้ตรวจหาประจุ
ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นวัตถุใดๆ ลูกพิธ ++
อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนิด คือ + +  +
+ 
1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ
เป็ นอิเลคโตรสโคปซึ่งทาจากเม็ดโฟม ฉาบผิว ลูกพิธ ––
เอาไว้ดว้ ยอลูมิเนียม เมื่อมีวตั ถุที่มีประจุไฟฟ้ าสะสม – ++ –
– +
อยูเ่ ข้าใกล้ จะเกิดการเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ าทาให้อิเลค- –

โตรสโคปถูกแรงดึงดูดแล้วเอียงเข้าหาวัตถุที่มีประจุน้ ัน
2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ
มีลกั ษณะเป็ นกระป๋ องพลาสติกไสหรื อแก้วมีฝา
ปิ ด ตรงกลางจะมีแกนโลหะเสี ยบลงไปในกล่อง ปลาย
ล่างของแกนจะมีแผ่นโลหะแบนๆ บางๆ ติดอยู่ 2 แผ่น
ปลายแกนด้านบนจะมีจานโลหะวางเชื่อมอยูด่ งั รู ป หาก
ต้องการตรวจสอบว่าวัตถุใดมีประจุไฟฟ้ าสะสมหรื อไม่
ให้นาวัตถุที่ตอ้ งการตรวจสอบไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะ
ด้านบนแล้วสังเกตุผลที่แผ่นโลหะบางๆ 2 แผ่น ด้านล่าง

ปกติแล้วที่จานโลหะ แกนโลหะ และแผ่นโลหะ –


ด้านล่าง จะมีประจุไฟฟ้ าบวกและลบกระจายอยูอ่ ย่าง –
สม่าเสมอ แต่ถา้ เรานาวัตถุที่มีประจุสะสมเป็ นลบไปไว้ + +
ใกล้ๆ จานโลหะด้านบน ประจุไฟฟ้ าลบ ( อิเล็กตรอน )
ของจานโลหะจะถูกผลักลงไปยังแกนโลหะและแผ่นโล –

หะบางๆ 2 แผ่นด้านล่าง ส่ งผลให้แผ่นโลหะ 2 แผ่น –
มีประจุเป็ นลบเหมือนกันและเกิดแรงผลักกันทาให้แผ่น – –
โลหะทั้งสองกางออกดังรู ป

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ถ้านาวัตถุที่มีประจุเป็ นบวกไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะ
+
ด้านบน ประจุไฟฟ้ าลบ ( อิเล็กตรอน ) ของแกนโลหะ +
และแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่าง ถูกดูดขึ้นมาอยูท่ ี่จาน – –
โลหะ ทาให้แผ่นโลหะ 2 แผ่นล่างเหลือประจุเป็ นบวก
เหมือนกันทั้งสองแผ่นและเกิดแรงผลักกันเอง ทาให้ +
แผ่นโลหะทั้งสองกางออกดังรู ปเช่นกัน +
+
ดังนั้นถ้านาวัตถุไปไว้ใกล้จานโลหะด้านบน แล้ว
+ +
สังเกตเห็นแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่างกางออก แสดงว่า
วัตถุที่นามาตรวจสอบนี้ มีประจุไฟฟ้ าสะสมอยู่
10. เมื่อนาแท่งวัตถุที่มีประจุไปวางใกล้อิเล็กโทรสโคบแบบลูกพิธซึ่ งเป็ นกลางทางไฟฟ้ า ลูกพิธ
จะมีการวางตัวอย่างไร
1. โน้มเอียงเข้าหาวัตถุ 2. ถอยห่างออกจากวัตถุ
3. อยูน่ ิ่งๆ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

11. จากรู ปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด


ณ บริ เวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมีประจุชนิด 

ใดตามลาดับ
1. บวก , ลบ , ลบ (1)
2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , บวก , ลบ (2)
(3)
4. บวก , บวก , บวก

12. จากรู ปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด


ณ บริ เวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมีประจุชนิด ++
+
ใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก (1)
2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , บวก , ลบ (2)
(3)
4. ลบ , ลบ , ลบ
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.1.4 การต่ อสายดิน รู ป (1)
พิจารณาการทดลองตามรู ปต่อไปนี้ +
+
รู ปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็ก- 
โทรสโคบแบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของแผ่นโลหะ +
+ +
ด้านล่างจะถูกดึงดูดขึ้นมาอยูท่ ี่จานโลหะด้านบน แผ่นโลหะ +
ด้านล่างจะเหลือประจุเป็ นบวก ทาให้แผ่นโลหะด้านล่างเกิด
รู ป (2)
แรงผลักกันแล้วกางออก +
+

รู ปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ 


ลงสู่ พ้ืนดิน ( เรี ยกว่าเป็ นการต่อสายดิน) ประจุลบจากพื้นดิน + +
จะถูกดูดแล้วเคลื่อนที่ข้ ึนไปอยูก่ บั ประจุบวกที่แผ่นโลหะด้านล่าง  
แล้วทาให้แผ่นโลหะด้านล่างกลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ าแล้วหุบลง
รู ป (3)
รู ปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่ +
+
จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ

ยังคงหุ บเช่นเดิม
+ +
 

รู ปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จอ่ ใกล้จานออกไป ประจุ   


ลบที่จานโลหะบางส่ วน จะเคลื่อนย้ายลงมาสู่ แผ่นโลหะด้านล่าง 
ส่ งผลให้แผ่นโลหะด้านล่างมีประจุไฟฟ้ ารวมเป็ นลบ แผ่นโลหะ +

ด้านล่างจะเกิดแรงผลักกันแล้วกางออก รู ป (4)  +

รู ปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ
ลงสู่ พ้ืนดินอีกครั้ง จะทาให้ประจุลบส่ วนเกินของแผ่นโลหะ
+
ด้านล่างเคลื่อนที่ลงสู่ พ้ืนดิน แล้วแผ่นโลหะกลายเป็ นกลางทาง +

ไฟฟ้ าแล้วหุ บลงอีกครั้ง รู ป (5) 

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13. พิจารณาการต่อสายดินดังรู ป ณ บริ เวณที่ ( 1 )
++
( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก (1)
2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , 0 , 0 (2)
(3)
4. ลบ , บวก , 0

พิจารณาการทดลองตามรู ปต่ อไปนี้ รู ป (1)



รู ปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุลบเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็ก-
โทรสโคบแบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของจานโลหะ ++++++

จะถูกผลักลงไปที่แผ่นโลหะด้านล่าง ทาให้แผ่นโลหะกางออก


รู ปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ รู ป (2)



ลงสู่ พ้ืนดิน ( เรี ยกว่าเป็ นการต่อสายดิน) ประจุลบส่ วนเกินที่
แผ่นโลหะด้านล่างจะวิง่ ลงสู่ พ้ืนดิน ทาให้แผ่นโลหะด้านล่าง ++++++
กลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ าแล้วหุบลง

รู ปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่
รู ป (3)
จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ 
ยังคงหุ บเช่นเดิม
++++++

รู ปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จ่อใกล้จานออกไป ประจุ


+ + + –+
บวกที่จานโลหะจะดึงอิเล็กตรอนที่เหลื อจากแผ่นโลหะด้านล่าง –

ขึ้นไปที่จานโลหะเล็กน้อย ทาให้แผ่นโลหะด้านล่างเหลือประจุ
บวกอยู่ แล้วเกิดแรงผลักทาให้กางออก + +
รู ป (4)

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
รู ปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ + +  + 
ลงสู่ พ้ืนดินอีกครั้ง จะทาให้ประจุเคลื่อนที่จากพื้นดินกลับขึ้น
+
มาที่จานโลหะและแผ่นโลหะ ทาให้กลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ า +
รู ป (5) 
แล้วแผ่นโลหะหุ บลง 

14. พิจารณาการต่อสายดินดังรู ป ณ บริ เวณที่ ( 1 )


( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ 

1. บวก , ลบ , ลบ (1)
2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , 0 , 0 (2)
(3)
4. บวก , 0 , ลบ

13.2 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์


กฏแรงกระทาระหว่ างประจุของคูลอมบ์ กล่าวว่า
“ เมื่อประจุไฟฟ้า 2 ตัว อยู่ห่างกันขนาดหนึ่งจะมีแรงกระทาซึ่งกันและกันเสมอ หาก
เป็ นประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเป็ นประจุต่างชนิดกันจะมีแรงดึงดูดกัน ”
แรงกระทาทีเ่ กิดหาค่ าได้ จาก
KQ1Q2
F =
R2
เมื่อ F คือแรงกระทา (นิวตัน)
K คือค่ าคงทีข่ องคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9 x 109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์ 2 )
Q1 , Q2 คือขนาดของประจุตัวที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลาดับ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่ างระหว่ างประจุท้งั สอง ( เมตร )
หมายเหตุ : การคานวณเกี่ ยวกับแรงกระทาระหว่างประจุ ไม่ตอ้ งนาเครื่ องหมายบวก
หรื อลบของประจุมาคานวณ เพราะเครื่ องหมายบวกและลบจะเพียงเป็ นสิ ่ งบอกทิศทางของแรง
ว่าแรงนั้นจะเป็ นแรงดูดหรื อแรงผลักของประจุไฟฟ้ าเท่านั้น
8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
15. ประจุ +5.0 x 10–5 คูลอมบ์ และ –2.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่างกัน 1 เมตร จะมีแรง
ดูดกันหรื อผลักกันกี่นิวตัน
1. ผลักกัน 9 นิวตัน 2. ผลักกัน 18 นิวตัน
3. ดูดกัน 9 นิวตัน 4. ดูดกัน 18 นิวตัน

16. ประจุขนาด A คูลอมบ์ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่างกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทา
ต่อกัน 1 นิวตัน จงหาว่าประจุ A เป็ นประจุขนาดกี่คูลอมบ์
1. 1 x 10–4 2. 3 x 10–4 3. 6 x 10–4 4. 9 x 10–4

กรณีทโี่ จทย์ ไม่ บอกประจุ ( Q ) มาให้ เราอาจหาขนาดของประจุน้ันๆ ได้ จาก


Q=ne
เมื่อ n = จานวนอนุภาคไฟฟ้า
e = ประจุของอนุภาคไฟฟ้ านั้น 1 ตัว ( คูลอมบ์ )
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
17. ก้อนทองแดง 2 ก้อน วางห่างกัน 3 เมตร แต่ละก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 5 x 1014
ตัว จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหน่วยนิวตัน
( กาหนด อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 1.4 2. 2.4 3. 4.4 4. 6.4

18. ทรงกลมเล็กๆ 2 อัน เป็ นกลางทางไฟฟ้ า และวางอยูห่ ่างกัน 0.5 เมตร สมมติวา่
อิเล็กตรอน 3.0 x 1013 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูท่ ี่อีกทรงกลมหนึ่ง
จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับทรงกลมแต่ละอัน และแรงที่เกิดขึ้นเป็ นแรงดูดหรื อแรงผลัก
1. เป็ นแรงดูด 0.83 นิวตัน 2. เป็ นแรงดูด 1.68 นิวตัน
3. เป็ นแรงผลัก 0.83 นิวตัน 4. เป็ นแรงผลัก 1.68 นิวตัน

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
19. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 0.1 นิวตัน
2. 1.4 นิวตัน A = 6 x 10–5 C B = +1x10–5 C C = 5 x 10–5 C
3. 3.8 นิวตัน
3 ม. 3 ม.
4. 4.4 นิวตัน

20. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B


1. 1.1 นิวตัน –5
A = +6 x 10–5 C B = +1 x 10 C C = 5 x 10–5 C
2. 2.4 นิวตัน
3. 4.8 นิวตัน
3 ม. 3 ม.
4. 6.4 นิวตัน

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
21(แนว มช) สามเหลี่ยมด้านเท่ารู ปหนึ่ งมีความยาวด้านละ 30 เซนติเมตร และที่แต่ละมุมของ
สามเหลี่ยมนี้ มีจุดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ อยากทราบว่าขนาดของ
แรงไฟฟ้ าบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบ์มีค่ากี่นิวตัน ( กาหนด cos 120o = 1/2 )
1. 1 นิวตัน 2. 2 นิวตัน 3. 3 นิวตัน 4. 4 นิวตัน

13.3 สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ
จุดประจุ หมายถึงประจุไฟฟ้ าที่มีขนาดความกว้าง ความยาวน้อยมาก ( เช่นอิเล็กตรอน 1
ตัว ) และปกติน้ นั ประจุไฟฟ้ าใดๆ จะมีแรงทางไฟฟ้ าแผ่ออกมารอบๆ ตัวประจุขนาดหนึ่งเสมอ
เราเรี ยกบริ เวณรอบประจุซ่ ึ งมีแรงทางไฟฟ้ าแผ่ออกมานี้วา่ สนามไฟฟ้า ( E )
หากเรานาประจุขนาดเล็กอีกตัวหนึ่งมาวางในบริ เวณสนามไฟฟ้ า ประจุที่นามาวางนั้นจะ
ถูกแรงที่แผ่ออกมากระทา ทาให้ประจุน้ นั เกิดการ
เคลื่อนที่ ประจุที่ถูกแรงทางไฟฟ้ าทาให้เคลื่อนที่
นี้ เรี ยกเป็ นประจุทดสอบ (q ) ส่ วนประจุที่เป็ นตัว
สร้างสนามไฟฟ้ าจะเรี ยก ประจุต้นเหตุ( Q ) (ประจุทดสอบ)
(ประจุต้นเหตุ)
12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
สนามไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะเป็ น
ปริ มาณที่มีทิศทาง ทิศของสนามไฟฟ้ า กาหนดว่า
สาหรับประจุบวก สนามไฟฟ้ ามีทิศออกตัวประจุ
สาหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟ้ ามีทิศเข้าตัวประจุ
ดังแสดงในรู ป เส้นของแรงที่เขียนแทนแรงทางไฟฟ้ า
ที่แผ่ออกมาเรี ยก เส้ นแรงไฟฟ้ า
สาหรับขนาดความเข้มสนามไฟฟ้ าหาค่าได้จาก
E = KQ2 หรื อ E = Fq
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
22. จากรู ปจงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ +2 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A ในรู ปจะมีความเข้มกี่
นิวตัน/คูลอมบ์ และ มีทิศไปทางซ้ายหรื อขวา
1. 1 x 106 N/C ไปทางขวา Q = +2 x 10–3 C
A
2. 2 x 106 N/C ไปทางขวา *
3. 1 x 106 N/C ไปทางซ้าย 3 ม.
4. 2 x 106 N/C ไปทางซ้าย

23. จากรู ป จงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ –4 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/-


คูลอมบ์ และ มีทิศขึ้นหรื อลง
1. 18 x 106 N/C ทิศขึ้น Q = 4 x 10–3 C
2. 36 x 106 N/C ทิศขึ้น 1 ม.
6
3. 18 x 10 N/C ทิศลง *A
4. 36 x 106 N/C ทิศลง

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
24(แนว มช) ประจุบวก q1= +2 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ์
เป็ นระยะ 6 เมตร สนามไฟฟ้ าที่ตาแหน่ งกึ่งกลางระหว่าง 2 ประจุน้ ี ในหน่ วยของนิ ว-
ตัน/คูลอมบ์ มีค่าเป็ นเท่าใด
1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103

25. ที่ตาแหน่ง ก. , ข. และ ค. มีประจุเป็ น 1.0 x 10–7 1m


–1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ ก ข
จงหาขนาดของสนามไฟฟ้ าตาแหน่ง ค. เนื่องจาก 1m 1m
ประจุที่ตาแหน่ง ก. และ ข. ( ให้ cos 120o = – 1 )
2
1. 300 N/C 2. 300 2 N/C ค
3. 900 N/C 4. 900 2 N/C

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
จุดสะเทิน คือจุดทีม่ ีค่าสนามไฟฟ้าลัพธ์ มีค่าเป็ นศูนย์
โดยทัว่ ไปแล้ว
1. จุดสะเทินจะ เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
Eรวม = 0
2. หากเป็ นจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิด *
ในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุท้ งั สอง +Q1 +Q2
หากประจุท้ งั สองเป็ นประจุชนิดเดียวกัน
จุดสะเทินจะอยูร่ ะหว่างประจุท้ งั สอง Eรวม= 0
หากประจุท้ งั สองเป็ นประจุต่างชนิดกัน *
+Q1 Q 2
จุดสะเทินจะอยูร่ อบนอกประจุท้ งั สอง
3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใ่ กล้ประจุที่มีขนาดเล็กกว่า
26. ประจุไฟฟ้ าขนาด +9 C ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 0 ม. และประจุไฟฟ้ าที่สอง +4 C
ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูห่ ่างจากประจุ +9 C กี่เมตร
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.6 4. 1.0

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
27(แนว มช) วางประจุ +9Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่งจุดกาเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ์
ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร Y = 0 จงหาระยะบนแกน X ที่สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
1. X = 0.4 2. X = 0.6 3. X = 2 4. X = 3

สาหรับแรงที่สนามไฟฟ้ ากระทาต่อประจุทดสอบ จะหาค่าได้จาก


F = qE
เมื่อ F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
28. กาหนดให้จุด A อยูห่ ่างจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร
ก. สนามไฟฟ้ า ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์
ข. หากนาอิเล็กตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทาต่ออิเล็กตรอนนี้
( กาหนด ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว เท่ากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. ก. 5 N/C , ข. 4 x10–19 N 2. ก. 5 N/C , ข. 8 x10–19 N
3. ก. 10 N/C , ข. 4 x10–19 N 4. ก. 10 N/C , ข. 8 x10–19 N

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
29. วางอิเล็กตรอน 1 ตัว ที่จุด A ซึ่ งอยูห่ ่างจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 1 เมตร
จงหาความเร่ งในการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้
(ให้ ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม )
1. 5.80 x 107 m/s2 2. 6.33 x 107 m/s2
3. 5.80 x 1012 m/s2 4. 6.33 x 1012 m/s2

13.4 ศักย์ ไฟฟ้ ารอบจุดประจุ


เมื่อเรานาประจุทดสอบ ( q ) มาวางใน
สนามไฟฟ้ าของประจุตน้ เหตุ ( Q ) ประจุทด
สอบนั้นจะถูกแรงกระทาทาให้เกิดการเคลื่อน
ที่ และการที่ประจุทดสอบสามารถเคลื่อนที่
ได้ แสดงว่าประจุทดสอบนั้นมีพลังงานสะสมอยูภ่ ายในตัว พลังงานที่สะสมในประจุเช่นนี้
เรี ยกว่าพลังงานศักย์ไฟฟ้ า ( Ep ) และขนาดของพลังงานศักย์ไฟฟ้ าของประจุ 1 คูลอมบ์ จะ
เรี ยกว่าศักย์ไฟฟ้ า ( V )
ศักย์ไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ เพราะเป็ นปริ มาณที่ไม่มีทิศทาง เราสามารถคานวณหาค่า
ของศักย์ไฟฟ้ ารอบจุดประจุได้จาก
E
V = qp หรื อ V = KQ R
เมื่อ V คือศักย์ไฟฟ้ า ( โวลต์ )
q คือประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
Ep คือพลังงานศักย์ไฟฟ้ าของประจุทดสอบ ( จูล )
Q คือประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ข้ อควรทราบ
1) การคานวณหาศักย์ไฟฟ้ าต้องแทนเครื่ องหมายบวก และลบ ของประจุดว้ ยเสมอ
2) เมื่อทาการเลื่อนประจุทดสอบ ( q ) จากจุดที่หนึ่งไปสู่ จุดที่สองซึ่ งมีศกั ย์ไฟฟ้ าต่างกัน
เราสามารถคานวณหางานที่ใช้เลื่อนประจุน้ นั ได้จาก
W = q ( V2 – V1 )
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V1 คือศักย์ไฟฟ้ าที่จุดเริ่ มต้น (โวลต์ )
V2 คือศักย์ไฟฟ้ าที่จุดสุ ดท้าย ( โวลต์ )
30. ประจุ Q มีขนาด –1 x 1 0–9 คูลอมบ์ จงหาศักย์ไฟฟ้ า ณ จุดซึ่ งห่ างจากประจุ Q นี้ ออก
ไป 1 เมตร
1. 3 โวลต์ 2. 9 โวลต์ 3. –3 โวลต์ 4. –9 โวลต์

31. จงหางานที่ใช้ในการเลื่อนประจุขนาด – 2 คูลอมบ์ จากจุดซึ่งมีศกั ย์ไฟฟ้ า +10 โวลต์ ไป


ยังจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ า +15 โวลต์
1. 1 จูล 2. 10 จูล 3. –1 จูล 4. –10 จูล

32(แนว En) จุด A และ B เป็ นจุดที่อยูห่ ่างจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ์ เป็ นระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลาดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุ –4 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานใน
หน่วยกิโลจูลเท่าใด
1. 8.75 2. 15 3. –35 4. –60

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
33. มีประจุขนาด –4 x 10–10 คูลอมบ์ จุด A อยูห่ ่างจากประจุน้ ี 1 เมตร จงหางานที่ตอ้ ง
ทาในการพาประจุ 2 x 10–12 คูลอมบ์ จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

34. จากข้อที่ผา่ นมา จงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 คูลอมบ์ จากจุด A ไปวาง ณ จุด


ซึ่งไกลมาก
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

35. จุด A อยูห่ ่างจากประจุ Q เป็ นระยะ r มีศกั ย์ไฟฟ้ า V เมื่อนาประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต์มายังจุด A ต้องเปลืองงานเท่าไร
1. Kqr 2. KQ
r 3. KQq r 4. KQq
r2

36. ในการนาประจุ 2 x 10–4 คูลอมบ์ จาก infinity เข้าหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนึ่งต้องสิ ้ น


เปลืองงาน 5 x 10–2 จูล จุดนั้นมีศกั ย์ไฟฟ้ ากี่โวลต์
1. 2.5 x 102 2. 5.0 x 102 3. –2.5 x 102 4. –5.0 x 102

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
กรณี ที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าย่อยหลายๆ ตัว หากต้องการหาค่าศักย์ไฟฟ้ ารวมให้นาศักย์ไฟฟ้ าย่อย
แต่ละตัวมารวมกันแบบพีชคณิ ตธรรมดา เพราะศักย์ไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ไม่ใช่เวกเตอร์
37. จากรู ป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ตามลาดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ C
BP = 0.1 เมตร ศักย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง P มีค่ากี่โวลต์
1. 1.05 x 105 2. 1.83 x 105
A B
3. 2.10 x 105 4. 3.66 x 105 P

38. จากข้อที่ผา่ นมา หากนาประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด


P จะต้องทางานกี่จูล
1. –2.10 2. –1.05 3. –0.105 4. –10.5

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
39(แนว มช) ที่จุด O และ Q วางประจุ 3 x 10–6 P
และ 1 x 10–6 คูลอมบ์ หากนาประจุ
–2 x 10–6 คูลอมบ์ จากอนันต์มาวาง ณ 0.5 ม. 0.3 ม.
จุด P จะต้องใช้งาน
1. 0.16 จูล 2. –0.16 จูล O Q
3x10–6C 0.4 ม. 1x10–6 C
3. –0.168 จูล 4. –0.20 จูล

40. ประจุ +4.0 คูลอมบ์ และประจุ –2.0 คูลอมบ์ วางห่างกัน 12 เมตร บนแนวเส้นตรงที่
เชื่อมต่อระหว่างประจุ จุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์อยูห่ ่างประจุ 4 คูลอมบ์ กี่เมตร

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
41(แนว มช) จุดประจุ 3 จุด วางอยูท่ ี่มุมของสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ 2 เซนติเมตร ทาให้
จุดที่เส้นมัธยฐานทั้งสามตัดกันมีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ หากจุดประจุ 2 ประจุ มีค่า +2 ไม-
โครคูลอมบ์ และ +4 ไมโครคูลอมบ์ จงหาค่าจุดประจุตวั ที่สามในหน่วยไมโครคูลอมบ์
1. –8 2. –6 3. +6 4. +8

42. กาหนดประจุ ( q ) ขนาด –1 x 10–9 คูลอมบ์ อยูห่ ่างจากประจุ ( Q ) ขนาด 3 x 10–6 คู-
ลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นประจุ q
1. 3 x 10–6 จูล 2. 9 x 10–6 จูล 3. –3 x 10–6 จูล 4. –9 x 10–6 จูล

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.5 สนามไฟฟ้า และศักย์ ไฟฟ้ าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม
ในตอนที่ผา่ นนั้นเป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าของจุดประจุ ( ประจุที่มี
ขนาดเล็ก ) สาหรับในตอนนี้ จะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าของตัวนาไฟฟ้ าที่มี
ประจุไฟฟ้ าสะสมอยูภ่ ายใน เช่นลูกตุม้ เหล็กขนาดเท่ากาปั้ นซึ่ งมีอิเล็กตรอนอยูภ่ ายในมากมาย
เป็ นต้น การคานวณหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ ารอบนาเช่นนี้ ตอ้ งแบ่งเป็ น 2 กรณี ได้แก่
กรณีที่ 1 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายนอก หรื อ
อยูท่ ี่ผวิ วัตถุ ให้ใช้สมการ
E = KQ2 และ V = KQ R
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
V คือศักย์ไฟฟ้ า ( โวลต์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะที่วดั จากจุดศูนย์กลางวัตถุตวั นาไปถึงจุดที่จะคานวณ
กรณีที่ 2 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายในวัตถุ ให้ถือหลักการว่า
Eทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = 0
Vทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = Vที่ผวิ วัตถุน้ นั
43. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9
คูลอมบ์ จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ า ที่ระ
ยะห่าง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ตอบตามลาดับ 2 ม.
1 ม.
1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
44. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลม
1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

45. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่จุดภายในทรงกลม


1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

46(แนว A–net ) ทรงกลมตัวนารัศมี 20 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ าที่


ระยะ 5 เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางภายในทรงกลมเป็ นเท่าใด
1. 0 V 2. 45x103 V 3. 9x104 V 4. 1.8x105 V

47. ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอย่างสม่าเสมอบนผิวตัวนา ถ้าสนาม


ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมมีค่า 5.0 x 106 โวลต์/เมตร จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมนี้
1. 5.0 x106 โวลต์ 2. 2.5 x106 โวลต์ 3. 5.0 x105 โวลต์ 4. 2.5 x105 โวลต์

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
48(แนว En) ทรงกลมโลหะกลวงมี รั ศ มี 10 เซนติ เมตร ท าให้ มี ศ ัก ย์ไ ฟฟ้ า 1000 โวลต์
สนามไฟฟ้ าภายนอกทรงกลมบริ เวณใกล้ผิวจะมีค่าเท่าใดในหน่วยโวลต์ต่อเซนติเมตร

49. ทรงกลมตัวนามีประจุ –200 C รัศมี 50 เซนติมเตร จงหาศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ของทรงกลม


และงานที่ใช้ในการพาประจุ –20 C จาก infinity มาที่ผวิ นี้
1. 3.6 x 106 โวลต์ , 36 จูล 2. –3.6 x 106 โวลต์ , 36 จูล
3. 3.6 x 106 โวลต์ , 72 จูล 4. –3.6 x 106 โวลต์ , 72 จูล

50(แนว มช) ถ้าต้องการเคลื่อนประจุขนาด q คูลอมบ์ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q


อยูภ่ ายในจากตาแหน่งหนึ่งไปสู่ อีกตาแหน่งหนึ่ง งานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุคือ
1. KqQ
2 J 2. KqQ3 J 3. KqQ4 J 4. 0 J

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้าสมา่ เสมอ
ในกรณี ที่เรามีแผ่นโลหะ 2 แผ่นวางขนานกัน
แผ่นหนึ่งมีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยู่ อีกแผ่นหนึ่งนั้น
มีประจุไฟฟ้ าลบสะสม สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นทั้ง
สองจะมีทิศออกจากขั้วบวกเข้าหาขั้วลบดังรู ป และ
ขนาดของสนามไฟฟ้ าทุกๆ จุดระหว่างแผ่นคู่ขนานนี้
จะมีค่าเท่ากับทุกจุด เราจึงเรี ยกสนามไฟฟ้ าระหว่าง
แผ่นโลหะคู่ขนานเช่นนี้วา่ สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
เราสามารถหาค่าความเข้มของสนามสม่าเสมอได้จาก
E = Vd
เมื่อ E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
51. แผ่นโลหะคู่ขนานวางห่ างกัน 1 มิลลิเมตร ต่ออยูก่ บั ขั้วบวก–ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต์
สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นตัวนาคู่ขนานจะมีค่ากี่โวลต์ต่อเมตร
1. 500 2. 1000 3. 1500 4. 2000

52. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 8 โวลต์/เมตร จุด A และ B


อยูห่ ่าง กัน 0.5 เมตร ดังรู ป จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าใน 0.5 ม.
โวลต์ (V ) ระหว่าง A และ B
A B
1. 2 V 2. 4 V 3. 8V 4. 16 V

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
จากสมการ E = Vd
อาจจัดสมการใหม่เป็ น V = Ed
เมื่อ V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
เงื่อนไขการใช้ สูตร V = Ed
1. ทิศของการกระจัด ( d ) และสนามไฟฟ้ า ( E ) ต้องอยูใ่ นแนวขนานกัน
หากทิศของการกระจัด ( d ) ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ตอบ ความต่างศักย์ (V) = 0
หากทิศของการกระจัด ( d ) เอียงทามุมกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ต้องแตกการกระจัด d นั้น
ให้ขนานกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ก่อน แล้วใช้การกระจัดที่อยูใ่ นแนวขนานกับสนามไฟฟ้ า ( E )
มาแทนค่าในสมการ
2. ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศไปทางเดียวกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นลบ
ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศสวนทางกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นบวก
53. จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง A ไป B ( ในหน่วยโวลต์ ) ตามกรณี ต่อไปนี้
ก. ข. ค.
0.5 m A 60o A
0.5 m 2m
B A B B
E=10 V/m E=10 V/m E=10 V/m
1. ก. –5 ข. 0 ค. 10 2. ก. 5 ข. 0 ค. –10
3. ก. 5 ข. 0 ค. 10 4. ก. –5 ข. 0 ค. –10

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
การหางาน ( W ) เนื่องจากการเลื่อนประจุในสนามไฟฟ้ าอาจหาได้จาก
W = q ( V2 – V1 ) ( ค่า V2 – V1 คือความต่างศักย์อาจแทนค่าด้วย V ก็ได้ )
จะได้ W = q V
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ไฟฟ้ า (โวลต์ )
54. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาดเท่ากับ 8 โวลต์/เมตร
0.5 m E
ตาแหน่ง A และ B อยูห่ ่าง กัน 0.5 เมตร ดังรู ป
B A
จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง A ไป B และ
หากเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุด A ไป B จะต้องทางานกี่จูล
1. 2 V , 4 x 10–6 J 2. 4 V , 4 x 10–6 J
3. 2 V , 8 x 10–6 J 4. 4 V , 8 x 10–6 J


55. ถ้า E เป็ นสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอมีขนาด 12 โวลต์/เมตร  B
จงหางานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6 E
5 ซม.
คูลอมบ์ จาก A  B  C
C
1. 1.8 x 10–6 จูล 2. –1.8 x 10–6 จูล 5 ซม.
3. 3.6 x 10–6 จูล 4. –3.6 x 10–6 จูล A

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
56. อนุ ภาคโปรตอนเคลื่ อนที่ในบริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 50,000 นิ วตันต่อ-
คูลอมบ์ จาก A ไป B ถ้าการเคลื่ อนที่ น้ี ทาให้อนุ ภาคโปรตอนมีพลังงานจลน์เปลี่ ยนไป
2 x 10–15 จูล จงหาระยะทางจาก A ไป B ในหน่วยเป็ นเมตร
1. 0.25 2. 0.50 3. 0.75 4. 1.00

หากเรานาประจุทดสอบ ( q ) ไปวางในสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก


แรงกระทาแล้วทาให้เกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่าเสมอนั้น
โดย ประจุไฟฟ้ าบวกจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้ าลบ
และ ประจุไฟฟ้ าลบจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้ าบวก
โปรดสั งเกตว่า
แรงกระทาต่อประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้ า
แรงกระทาต่อประจุลบจะมีทิศตรงกันข้ามกับสนามไฟฟ้ า
และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทานั้น ได้จาก
F = qE หรื อ F = q Vd
เมื่อ F คือ แรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์)
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
57. จากรู ป จงหาแรงไฟฟ้ าที่กระทาต่ออิเล็กตรอนที่อยูใ่ นระหว่างแผ่นโลหะขนาน AB
1. 3.0 x 10 –33 N ทิศขึ้น
2. 5.3 x 10–20 N ทิศขึ้น 
E  13 N/C
3. 5.3 x 10–20 N ทิศลง
4. 4.8 x 10–19 N ทิศขึ้น

58. เมื่อนาประจุ +3.6 x 10–14 คูลอมบ์ วางในสนามไฟฟ้ าของแผ่นโลหะสองแผ่นซึ่งมีทิศ


จากซ้ายไปขวา และมีความต่างศักย์ 100 โวลต์ และอยูห่ ่างกัน 0.3 เมตร จะเกิดแรง
กระทาต่อประจุตามข้อใดต่อไปนี้
1. 1.2 x10–9 N ในทิศจากซ้ายไปขวา 2. 1.2 x 10–9 N ในทิศจากขวาไปซ้าย
3. 1.2 x 10–11 N ในทิศจากซ้ายไปขวา 4. 1.2 x 10–11 N ในทิศจากขวาไปซ้าย

59. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบว่าหยดน้ ามันหยดหนึ่ งลอยนิ่ งได้ระหว่างแผ่น


โลหะขนาน 2 แผ่น ซึ่งห่างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทาให้เกิด
สนาม 12000 โวลต์/เมตร ถ้าหยดน้ ามันมีประจุ 8.0 x 10–19 คูลอมบ์ จะมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 4.8 x 10–16 2. 9.6 x 10–16 3. 10.4 x 10–16 4. 20.8 x 10–16

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
60. ลูกบอลมวล 0.012 กิโลกรัม มีประจุไฟฟ้ า –18 ไมโครคูลอมบ์ จงหาขนาดและทิศทาง
ของสนามไฟฟ้ าที่จะทาให้ลูกบอลนี้ เริ่ มลอยขึ้นจากพื้นดิน
1. 3.4 x 103 N/C , ทิศลง 2. 6.7 x 103 N/C , ทิศลง
3. 3.4 x 103 N/C , ทิศขึ้น 4. 6.7 x 103 N/C , ทิศขึ้น

61. แผ่นตัวนาขนานห่างกัน 0.2 เซนติเมตร ทาให้เกิดสนามสม่าเสมอตามแนวดิ่ง ถ้าต้องการ


ให้อิเล็กตรอนมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม มีประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ลอยอยูน่ ิ่งๆ ได้
ที่ตาแหน่งหนึ่งระหว่างแผ่นตัวนาขนานนี้ ความต่างศักย์ระหว่างตัวนาขนานต้องเป็ นเท่าใด
1. 1.14 x 10–11 โวลต์ 2. 2.28 x 10–11 โวลต์
3. 1.14 x 10–13 โวลต์ 4. 2.28 x 10–13 โวลต์

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
62. หยดน้ ามันหยดหนึ่ งมี ม วล 3.2 x 10–15 กิ โลกรั ม สามารถลอยนิ่ งอยู่ในอากาศภายใน
สนามไฟฟ้ าซึ่ งมีทิศพุง่ ลงในแนวดิ่งขนาด 2 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ แสดงว่าหยดน้ ามันนี้
( กาหนดให้ อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ –1.6x10–19 คูลอมบ์ )
1. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 10 ตัว 2. เสี ยอิเล็กตรอนไป 10 ตัว
3. รับอิเล็กตรอนเพิม่ ขึ้น 20 ตัว 4. เสี ยอิเล็กตรอนไป 20 ตัว

63. แผ่นตัวนาขนานห่ างกัน 10 เซนติเมตร มีความต่างศักย์ 30 โวลต์ ทาให้เกิดสนามสม่า


เสมอใน แนวดิ่งลง เมื่อนาลูกพิธมวล 0.60 กรัม ที่มีประจุ 20 x 10–6 คูลอมบ์ มาแขวน
ไว้ดว้ ยด้ายเบาเส้นเล็กๆ ยาว 5 เซนติเมตร ปลายหนึ่งผูกติดอยูก่ บั โลหะแผ่นบน แรงดึงใน
เส้นด้ายจะมีค่าเท่าใด และถ้าเส้นด้ายขาดลูกพิธจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด
1. T = 0.6 x 10–2 N , a = 10 m/s2 2. T = 0.6 x 10–2 N , a = 20 m/s2
3. T = 1.2 x 10–2 N , a = 10 m/s2 4. T = 1.2 x 10–2 N , a = 20 m/s2

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
64. ชายคนหนึ่งมวล 80 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นห้องที่มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 3000 นิ วตัน/-
คูลอมบ์ มีทิศทางพุง่ ขึ้นสู่ เพดานในแนวดิ่ง ถ้าชายคนนี้ตอ้ งการลอยตัวขึ้นสู่ เพดานด้วยอัตรา
เร่ ง 5 เมตร/วินาที2 เขาจะต้องสร้างประจุไฟฟ้ าขนาดเท่าใดให้กบั ตนเอง
1. ประจุขนาด 0.2 คูลอมบ์ 2. ประจุขนาด 0.4 คูลอมบ์
3. ประจุขนาด 0.6 คูลอมบ์ 4. ประจุขนาด 0.8 คูลอมบ์

65. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ E มีขนาด 1.0 x 104 นิ วตันต่อคูลอมบ์ มีทิศตามแนวดิ่ ง กระทา


กับ ลูกพิธมวล 0.02 กรัม พบว่าลูกพิธเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง 2 เมตรต่อวินาที2 ลูกพิธมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 1.6 x 10–7 2. 8 x 10–7 3. 1.6 x 10–8 4. 8 x 10–8

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
66(แนว En) บริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ า 160 โวลต์/เมตร และมีทิศในแนวดิ่ง ปรากฏว่าละอองน้ า
หยดหนึ่ งซึ่ งมีประจุ –6.4 x10–18 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ลงในแนวดิ่ งด้วยความเร่ ง 2 เมตร/-
วินาที2 มวลของละอองน้ านี้มีค่าเท่าใดในหน่วยของ 10–18 กิโลกรัม
1. 568 2. 145 3. 128 4. 124

67. ทรงกลมขนาดเล็กแขวนอยูใ่ นแนวดิ่งด้วยเชือกเบา


ที่เป็ นฉนวน เมื่อทรงกลมหยุดนิ่งในสนามไฟฟ้ าที่ 45o

สม่าเสมอ และอยูใ่ นแนวระดับดังรู ป ถ้าทรงกลมมี E
ประจุ 2.5 x10–6 คูลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม
จงหาขนาดสนามไฟฟ้ า
1. 30 N/C 2. 60 N/C
3. 90 N/C 4. 120 N/C

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.7.1 ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ คือวัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟ้ าไว้ภายในตัวเองได้
สาหรับจานวนประจุที่ตวั เก็บประจุแต่ละตัวสามารถเก็บไว้ได้จะมากหรื อน้อยนั้น
สามารถดูได้จากค่าความจุของตัวเก็บประจุน้ นั ๆ ( C ) หากตัวเก็บประจุมีค่าความจุสูงก็จะเก็บ
ประจุได้มาก หากมีค่าความจุต่าก็จะเก็บประจุได้นอ้ ย
ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม
ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = ka หรื อ C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
a คือรัศมีทรงกลม ( เมตร )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ = 9 x 109 (นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือประจุที่เก็บสะสม ( คูลอมบ์)
V คือศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ( โวลต์ )
68. ตัวนาทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ความจุประจุของทรงกลมมีค่ากี่ฟารัด
1. 0.7 x 10–11 2. 0.9 x 10–11 3. 1.1 x 10–11 4. 1.3 x 10–11

69. จากโจทย์ที่ผา่ นมา หากศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดที่ผวิ ตัวนามีค่าเท่ากับ 3 x 102 โวลต์ ประจุไฟฟ้ า
สู งสุ ดที่ทรงกลมนี้ สามารถเก็บได้มีค่ากี่ไมโครคูลอมบ์
1. 1.3 x 10–3 2. 2.5 x 10–3 3. 3.3 x 10–3 4. 4.5 x 10–3

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ตัวเก็บประจุ แบบแผ่ นโลหะคู่ขนาน
ตัวเก็บประจุแบบนี้ จะมีแผ่นโลหะแบนๆ 2 แผ่น
วางขนานกันโดยแผ่นหนึ่งจะเก็บสะสมประจุบวก ส่ วน
อีกแผ่นจะเก็นสะสมประจุลบ ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้ า (โวลต์)

70. ตัวเก็บประจุตวั หนึ่ งมี ความจุ 0.2 ไมโครฟารัด ใช้งานกับความต่างศักย์ 250 โวลต์ จะ
เก็บประจุไว้ได้กี่คูลอมบ์
1. 0.5 x 102 2. 1.25 x 102 3. 2.5 x 10–5 4. 5 x10–5

เราสามารถหาพลังงานไฟฟ้ าที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผ่นโลหะคู่ขนานได้จาก
2
U = 12 Q V หรื อ U = 12 QC หรื อ U = 12 C V2
เมื่อ U คือพลังงานที่เก็บสะสม ( จูล )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้ า ( โวลต์ )
C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )

71. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอร์ที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด เมื่อประจุไฟฟ้ าให้คา-


ปาซิ เตอร์ จนมีความต่างศักย์ 2 โวลต์
1. 1 x 10–6 จูล 2. 2 x 10–6 จูล 3. 4 x 10–6 จูล 4. 8 x 10–6 จูล

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
72. ในการเกิดฟ้ าผ่าครั้งหนึ่ง ปรากฏว่ามีประจุถ่ายเทระหว่างเมฆและพื้นดิน 40 คูลอมบ์
และความต่างศักย์ระหว่างเมฆกับพื้นดินมีค่า 8 x 106 โวลต์ จงหาพลังงานที่เกิดขึ้นเนื่อง
จากฟ้ าผ่าครั้งนี้
1. 1.6 x 106 จูล 2. 3.2 x 106 จูล 3. 1.6 x 108 จูล 4. 3.2 x 108 จูล

73(แนว มช) ถ้าใช้ตวั ต้านทาน 10 โอห์ ม ต่อคร่ อมตัวเก็บประจุ ขนาด 2000 ไมโครฟารัด
เพื่อคายประจุจากค่าประจุเริ่ มต้น 2 คูลอมบ์ จนไม่มีประจุเหลืออยู่เลย จะเกิ ดความร้อน
บนตัวต้านทานกี่จูล
1. 100000 2. 5000 3. 2000 4. 1000

74. ตัวเก็บประจุหนึ่งสะสมประจุไว้ 5.3 x 10–5 คูลอมบ์ เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 6 โวลต์


จงหาประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุ ถ้าต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์
1. 53 C 2. 69 C 3. 79 C 4. 85 C

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7.2 การต่ อตัวเก็บประจุ
ปกติแล้วในวงจรไฟฟ้ าหนึ่งๆ นั้น จะต้องใช้ตวั เก็บประจุหลายๆ ตัวเข้ามาต่อร่ วมกัน
ทางาน การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้ าหลายตัวเข้าด้วยกันนั้น โดยทัว่ ไปแล้วจะมี 2 แบบ ได้แก่
การต่อแบบอนุกรม และการต่อแบบขนาน
ก. การต่ อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
การต่อแบบอนุกรมจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวให้อยูใ่ นแนวเส้นเดียวกัน ดังรู ป
การต่อแบบอนุกรมจะมีสิ่งที่ตอ้ งจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้ าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว จะมี
ขนาดเท่ากัน และเท่ากับประจุไฟฟ้ ารวมที่ไหลเข้า
Q1 Q2
วงจร นัน่ คือ Qรวม = Q1 = Q2 = …..
Q Q
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแต่ละ V1= C1 V2= C 2
1 2
ตัวอาจมีค่าไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ V1  V2  ……
3. ความต่างศักย์รวมทั้งวงจร จะเท่ากับความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุแต่ละตัวรวมกัน
นัน่ คือ Vรวม = V1 + V2 + …..
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก C 1 = C1 + C1 + ….
รวม 1 2
C xC
และหากตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกันเพียง 2 ตัว ค่าความจุรวมอาจหาได้จาก Cรวม = C1  C2
1 2
75. จากรู ป ให้หาค่า Cรวม
1. 2 F 2. 4 F C1 = 3 F C2 = 6 F
Qรวม = 18 C
3. 9 F 4. 18 F Q1 Q2
V1 V2

76. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Q1 และ Q2


1. Q1 = 12 C , Q2 = 6 C 2. Q1 = 6 C , Q2 = 12 C
3. Q1 = 12 C , Q2 = 12 C 4. Q1 = 18 C , Q2 = 18 C

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
77. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า V1 และ V2
1. V1 = 12 V , V2 = 6 V 2. V1 = 6 V , V2 = 12 V
3. V1 = 6 V , V2 = 3 V 4. V1 = 3 V , V2 = 6 V

78. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Vรวม


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

79. จากรู ป จงหา Cรวม และ Qรวม


6 F 12 F
1. Cรวม = 4 F , Qรวม = 144 C
2. Cรวม = 4 F , Qรวม = 288 C
3. Cรวม = 8 F , Qรวม = 144 C
4. Cรวม = 8 F , Qรวม = 288 C Vรวม = 36 โวลต์

80. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาประจุและความต่างศักย์ของตัวเก็บ 6 F


1. 72  C , 12 V 2. 72  C , 24 V
3. 144  C , 12 V 4. 144  C , 24 V

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
81. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาประจุและความต่างศักย์ของตัวเก็บ 12 F
1. 72  C , 12 V 2. 72  C , 24 V
3. 144  C , 12 V 4. 144  C , 24 V

82. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาพลังงานไฟฟ้ าของตัวเก็บ 12 F


1. 4.32 x 10–3 จูล 2. 8.64 x 10–3 จูล
3. 4.32 x 10–4 จูล 4. 8.64 x 10–4 จูล

ข. การต่ อตัวเก็บประจุแบบขนาน
การต่อแบบขนานจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวโดยแยกกันอยูค่ นละสาย ดังรู ป
การต่อแบบขนานจะมีสิ่งที่ตอ้ งจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้ าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว อาจมี Q1

ขนาดไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ


Qรวม  Q1  Q2  ….. Q2

2. ประจุไฟฟ้ ารวม จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของประจุไฟฟ้ าในแต่ละตัวเก็บประจุ


Qรวม = Q1 + Q2 + …..
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันและเท่ากับความต่างศักย์
รวมของวงจรด้วย นัน่ คือ Vรวม = V1 = V2 = …
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก Cรวม = C1 + C2 + ...
40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
83(แนว มช) จากรู ป จงหาค่าความจุรวม และประจุไฟฟ้ า
รวมบนตัวเก็บประจุท้ งั สอง 2 pF 5 pF
140 V
1. 7 pF , 0.05 pC 2. 1.4 pF , 196 pC
3. 7 pF , 980 pC 4. 1.4 pF , 1960 pC

84. จากรู ป ให้หาค่า Cรวม C1 = 4 F V1


Q1
1. 2 F 2. 4 F Qรวม = 48 C
3. 8 F 4. 16 F Q2 C2 = 12 F V2

85. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Vรวม


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

86. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า V1 และ V2


1. V1 = 3 V , V2 = 6 V 2. V1 = 6 V , V2 = 3 V
3. V1 = 3 V , V2 = 3 V 4. V1 = 6 V , V2 = 6 V

87. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Q1 และ Q2


1. Q1 = 12 C , Q2 = 36 C 2. Q1 = 36 C , Q2 = 12 C
3. Q1 = 12 C , Q2 = 12 C 4. Q1 = 36 C , Q2 = 36 C

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
88. ตัวเก็บประจุขนาด 4.0 F และ 8.0 F ต่อขนานกัน และต่อเข้ากับความต่างศักย์ 25
โวลต์ จงหาความจุไฟฟ้ ารวม และ ประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุแต่ละตัว ตามลาดับ
1. 12 F , 50 C , 100 C 2. 12 F , 50 C , 200 C
3. 12 F , 100 C , 100 C 4. 12 F , 100 C , 200 C

89. ตัวเก็บประจุ 3 ตัว มีความจุดงั นี้ C1


C1 = 1 ไมโครฟารัด C3
C2 = 2 ไมโครฟารัด
C3 = 3 ไมโครฟารัด C2
ต่อกันอยูด่ งั ในรู ป ความจุรวมจะเท่ากับกี่ไมโครฟารัด
1. 23 2. 23 3. 113 4. 12

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
90. C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด
C1
C3 = 6 ไมโครฟารัด C4 = 6 ไมโครฟารัด
C2 C3 C4
ต่อตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรู ป จงหา
ความจุรวมของทั้งหมดในหน่วยไมโครฟารัด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 6

91. เมื่อสับสวิทซ์ลงในวงจรดังแสดงในรู ปจะมีประจุ C2 = 8 F


ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ์ ไหลจากแบตเตอรี่ ไป C1 = ?
เก็บอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาด C3 = 8 F
ความจุของตัวเก็บประจุที่ไม่ทราบค่า C1 มีค่ากี่
ไมโครฟารัด E=5V
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
92. จากรู ป จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด A กับจุด B
A 2 F B
และ ประจุไฟฟ้ าในตัวเก็บประจุ 2 F * *
1. 36 V , 36 C C* D*
6 F 3 F
2. 18 V , 36 C
3. 36 V , 72 C
4. 18 V , 72 C Vรวม = 36 โวลต์

93. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด C กับ D และ ประจุไฟฟ้ าในตัวเก็บ 6 F


1. 36 V , 36 C 2. 18 V , 36 C 3. 36 V , 72 C 4. 18 V , 72 C

94. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ 6 F


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

95. จากข้อที่ผา่ นมา พลังงานไฟฟ้ าที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 F


1. 4.32 x 10–3 จูล 2. 8.64 x 10–3 จูล
3. 4.32 x 10–4 จูล 4. 8.64 x 10–4 จูล

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
96(แนว En) วงจรไฟฟ้ าประกอบด้วยตัวเก็บประจุสามตัว
ต่ออยูก่ บั ความต่างศักย์ 12 โวลต์ ดังรู ป จงคานวณหา 3 F 6 F
ขนาดของความต่างศักย์ที่คร่ อมตัวเก็บประจุ 3 ไมโคร 2 F
ฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด ตามลาดับ
1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V
12V
3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V

13.7.3 การถ่ ายโอนประจุระหว่ างทรงกลมตัวนา


เมื่อนาตัวเก็บประจุหลาย ตัวมาแตะกัน จะเกิดการถ่ายโอนประจุให้แก่กนั และกัน ซึ่ งการ
ถ่ายโอนประจุน้ นั จะเป็ นไปภายใต้กฎ คือ
1) หลังแตะ ศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุทุกตัวจะเท่ากัน
2) ประจุ ( Q ) รวมก่อนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลังแตะ
97. ตัวนาทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนาทรงกลมรัศมี 2a ที่มีประจุ +4Q
หลังจากแยกออกจากกันแล้วตัวนาทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเท่าใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q2 4. 2Q

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
98. ตัวนาทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนาทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q
หลังจากแยกออกจากกันแล้ว ตัวนาทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเท่าใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q
2 4. 2Q

99. ทรงกลมตัว น าขนาดเท่ ากัน 2 อัน แต่ ล ะอันมี รัศมี 1 ซม. อัน แรกมี ป ระจุ 3 x 10–5
คูลอมบ์ อันหลังมีประจุ –1 x 10– 5 คูลอมบ์ เมื่อให้ทรงกลมทั้งสองแตะกันแล้วแยกนาไป
วางไว้ให้ผวิ ทรงกลมทั้งสองห่างกัน 8 ซม. ขนาดของแรงระหว่างทรงกลมคือ (นิวตัน)
1. 90 2. 270 3. 360 4. 563



46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
เฉลยบทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 1.
18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 1. 21. ตอบข้ อ 1.
22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4. 25. ตอบข้ อ 3.
26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 2. 29. ตอบข้ อ 4.
30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 4. 33. ตอบข้ อ 4.
34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 1. 37. ตอบข้ อ 1.
38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 3. 41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 4.
43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 2. 45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 2.
47. ตอบข้ อ 3. 48. ตอบ 100 49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 4.
51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 4.
55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 3.
59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 2. 61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 1.
63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2. 65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 3.
67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 3. 69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 4.
71. ตอบข้ อ 3. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 3.
75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 4. 77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 2.
79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 4.
83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบข้ อ 4. 85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 3.
87. ตอบข้ อ 1. 88. ตอบข้ อ 4. 89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 4.
91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 3. 93. ตอบข้ อ 3. 94. ตอบข้ อ 3.
95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 4. 97. ตอบข้ อ 2. 98. ตอบข้ อ 4.
99. ตอบข้ อ 1.


47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
13.1 ประจุไฟฟ้ า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคบ และการต่ อสายดิน
13.1.1 ประจุไฟฟ้า
13.1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
1(แนว มช) เมื่อนาแท่งแก้วถูผา้ ไหมจะพบว่าวัตถุท้ งั สองกลายเป็ นวัตถุที่มีประจุ การที่วตั ถุท้ งั
สองมีประจุได้ เนื่องจาก
1. ประจุถูกสร้างขึ้น 2. การแยกของประจุ
3. การเสี ยดสี 4. แรงที่ถู
2. เมื่อถูแท่งแก้วด้วยผ้าไหม แท่งแก้วจะมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกเพราะว่าสาเหตุใด
1. โปรตรอนบางตัวในไหมถ่ายเทไปแท่งแก้ว
2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแท่งแก้วและถ่ายเทไปยังผ้าไหม ทาให้เหลือประจุไฟฟ้ า
บวกบนแท่งแก้วมากกว่าประจุไฟฟ้ าลบ
3. ทั้งข้อ 1. และ 2. ถูกต้อง
4. ผิดหมดทุกข้อ
3(แนว มช) เมื่อนาแท่งพีวซี ี ที่ถูกบั ผ้าสักหลาดแล้วไปวางใกล้ ๆ กับลูกพิธที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า
จะสังเกตเห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นดังนี้
1. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
2. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวซี ี
3. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกห่างจากแท่งพีวซี ี
4. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวซี ี ในตอนแรก แล้วจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง
4(แนว มช) เป็ นที่ ทราบกันแล้วว่าอิเล็กตรอนในโลหะ สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิ สระและ
มักจะพบเสมอว่าอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่มาอยูต่ ามบริ เวณผิวของโลหะ เหตุที่อิเล็กตรอนไม่
เคลื่อนที่ต่อไปในอากาศ เพื่อหนีออกจากโลหะเพราะ
1. อากาศไม่เป็ นตัวนาไฟฟ้ า
2. อิเล็กตรอนมีพลังงานน้อยกว่าพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะ
3. อากาศมีแรงเสี ยดทานมาก
4. อิเล็กตรอนถูกอะตอมของโลหะยึดจับไว้
48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
5(แนว En) ในการทาให้วตั ถุที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบหรื อเป็ นบวก มีสภาพไฟฟ้ าเป็ นกลางนั้ น
จะต้องต่อสายดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะข้อใด
1. โลกมีความต้านทานต่า 2. โลกมีความจุไฟฟ้ ามาก
3. โลกมีสนามไฟฟ้ าต่า 4. โลกมีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นกลาง
13.1.3 อิเล็กโทรสโคบ
13.1.4 การต่ อสายดิน

13.2 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์


6. จากรู ปให้หาแรงกระทาระหว่างประจุท้ งั สองนี้ R = 3 ม.
ว่ามีขนาดกี่นิวตัน
1. 0.01 2. 0.05 + –
3. 0.02 4. 0.15 Q1 = +5 x 10–6 C Q2 = –2 x 10–6 C

7. ลูกพิธสองลูกแต่ละลูกมีประจุ 1.0 ไมโครคูลอมบ์ เมื่อวางห่างกันเป็ นระยะ 50 เซนติเมตร


และถือว่าลูกพิธทั้งสองนี้มีขนาดเล็กมากจนถือได้วา่ เป็ นจุดประจุ แรงระหว่างประจุที่เกิดขึ้น
มีค่าเท่าใด
1. 9.0 x 109 นิวตัน 2. 3.6 x 109 นิวตัน
3. 36 นิวตัน 4. 3.6 x 10–2 นิวตัน
8. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัว ซึ่ งอยูห่ ่างกัน 3.0 x 10–15
เมตร จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับโปรตอนแต่ละตัว
( กาหนด โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 18.8 นิวตัน 2. 20.6 นิวตัน 3. 25.6 นิวตัน 4. 30.5 นิวตัน
9. จงหาระยะห่างในหน่วยเมตรของจุดประจุที่มีขนาด +1.0 และ –1.0 ไมโครคูลอมบ์ ซึ่ง
มีแรงดึงดูดต่อกัน 360 นิวตัน
1. 5 x 10–3 เมตร 2. 6 x 10–3 เมตร
3. 7 x 10–3 เมตร 4. 8 x 10–3 เมตร

49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
10. ประจุขนาดเท่ากันชนิ ดเดี ยวกันอยู่ห่างกัน 3 เมตร แรงผลักระหว่างประจุ 0.4 นิ วตัน
ประจุแต่ละตัวจะมีขนาดเท่ากับกี่คูลอมบ์
1. 1 x 10–5 2. 2 x 10–5 3. 1 x 10–6 4. 2 x 10–6
11. ก้อนโลหะ 2 ก้อน มีระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของโลหะทั้งสองเป็ น 3 เมตร แต่ละ
ก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 1 x 1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิดขึ้นว่ามีกี่นิวตัน
12. ทรงกลมโลหะลูกเล็กๆ เริ่ มแรกไม่มีประจุท้ งั สองลูก จะต้องมีการถ่ายเทอิเล็กตรอนจานวนกี่
ตัว จากลูกหนึ่งไปยังอีกลูกหนึ่ง จึงจะทาให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างทรงกลมทั้งสองเท่ากับ 1.0
นิวตัน ขณะที่อยูห่ ่างกัน 10 เซนติเมตร
1. 6.59 x 1010 ตัว 2. 6.59 x 109 ตัว
3. 6.59 x 108 ตัว 4. 6.59 x 1012 ตัว
13. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุห่างกัน 3.0 เซนติเมตร ปรากฏว่ามีแรงกระทาต่อกัน 8.0 x 10–6
นิว ตัน ถ้าวางลูกพิธทั้งสองห่างกัน 6.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทาระหว่างกันกี่นิวตัน
1. 2 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 2 x 10–6 4. 4 x 10–6
14. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่หนึ่งเป็ น 3.5 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง
ประจุคู่น้ ีวา่ มีค่ากี่นิวตัน ถ้าระยะห่างของประจุเป็ น 5 เท่าของเดิม
15. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่หนึ่งเป็ น 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง
ประจุ คู่ น้ ี ถ้า ระยะห่ า งของประจุ เป็ น 3 เท่ า ของเดิ ม
1. 3 นิวตัน 2. 9 นิวตัน 3. 34 นิวตัน 4. 81 นิวตัน
16. ถ้าระยะห่ างระหว่างประจุ 2 ตัวเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าของของเดิม แรงกระทาระหว่างประจุ
ในตอนหลังจะมีค่าเป็ นกี่เท่าของแรงกระทาระหว่างประจุในตอนแรก
1. 2 เท่า 2. 4 เท่า 3. 12 เท่า 4. 14 เท่า
17. ประจุคู่หนึ่ งวางให้ห่างกันเป็ นครึ่ งหนึ่ งของระยะเดิม แรงกระทาระหว่างประจุจะเพิ่มหรื อ
ลดจากเดิมเท่าไร
1. เพิ่มขึ้น 12 เท่า 2. เพิ่มขึ้น 2 เท่า 3. เพิ่มขึ้น 4 เท่า 4. ลดลง 2 เท่า

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
18. ลูกพิธ 2 ลูก วางห่ างกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันค่าหนึ่ ง ถ้าเพิ่มประจุลูกหนึ่งเป็ น 2
เท่า และอีกลูกหนึ่ งเป็ น 3 เท่า จะต้องวางลูกพิธทั้งสองห่ างกันกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดแรง
กระทาเท่าเดิม
1. 4 2. 4 6 3. 8 4. 8 6
19. ประจุ q1 = +4 x 10–6 คูลอมบ์ , q2 = –5 x 10–6 คูลอมบ์ และ q3 = +6 x 10–6 คูลอมบ์
วางอยูด่ งั รู ป จงหาแรงที่เกิดขึ้นกับประจุ q2 ว่ามีค่ากี่นิวตัน
4 ม.
+-– – –2–ม.– – – – – – – – – – – – – – – –+–
q1 = + 4x10–6 C q2 = –5x10–6 C q3 = +6x10–6 C
1. 0.029 2. 0.05 3. 0.045 4. 0.151
20. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูห่ ่างกัน 20 เซนติเมตร ถ้านาประจุทด
สอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไว้ที่จุดกึ่งกลางระหว่างประจุท้ งั สองขนาด และมีทิศทาง
ของแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบคือ
1. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้ เข้าหาประจุลบ 2. 1.80 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
3. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุลบ 4. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
21(แนว มช) ประจุไฟฟ้ า –3 x10–4 C
+ C = +4 x 10–4 C
+2 x10–3 C และ +4 x 10–4 C
วางอยูท่ ี่จุด A , B และ C ดัง 3 ม.
รู ป จงหาว่าแรงกระทาที่มีต่อประ A = 3 x 10–4 C
– + B = +2 x 10–3 C
จุ +2 x 10–3 C มีขนาดกี่นิวตัน 3 ม.
1. 600 2. 800 3. 1000 4. 1400
22. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 3 นิวตัน C = +3 x 10–5 C
2. 4 นิวตัน 3 ม.
3. 5 นิวตัน A = 4 x 10–5 C
B = +1 x 10–4 C
4. 6 นิวตัน 3 ม.

51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
23. จากรู ป จงหาขนาดของแรงที่กระทาต่อ
+10 C
ประจุ +3 C 
1. 0.068 นิวตัน
2. 13.5 นิวตัน 2 cm 2 cm
3. 22.5 นิวตัน
+3 C  2 cm
 –10 C
4. 675 นิวตัน
24. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ์ , +20 ไมโครคูลอมบ์ +10 C +4 C
และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นตาแหน่งแสดง + 37o80 cm +
ดังรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ์
60 cm
( ให้ cos 53o = 0.6 ) 100 cm
1. 1.4 นิวตัน 2. 3.4 นิวตัน + +20 C
3. 5.4 นิวตัน 4. 6.4 นิวตัน
25. ประจุไฟฟ้ าเท่ากันวางอยูท่ ี่จุด A , B และ C โดยระยะ AB = 2 cm , BC = 1 cm
ถ้าแรงไฟฟ้ าที่กระทาต่อ B เนื่องจาก C เท่ากับ A
2 นิวตัน แรงไฟฟ้ าทั้งหมดที่กระทาต่อ B มี
ขนาดกี่นิวตัน 2 cm
1. 12 2. 25 B C
3. 2 5 4. 5 1 cm

26(แนว En) ตัวนา A และ B มีมวลและประจุเท่ากัน A +q


คือ m และ +q เมื่อวาง B อยูก่ บั พื้น และวาง A r
เหนือ B ปรากฏว่า A ลอยสู งจาก B เป็ นระยะ r
B +q
ดังรู ป จงหาว่า q มีค่าเท่าใด พื้น

1. m2gr 2 2. mKg r 3. mgr 2 2


4. m Kg r
K K

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
27. รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบโปรตรอนในอะตอมธาตุไฮโดรเจน มีคา่ ประมาณ
5.3 x 10–11 เมตร จงหาอัตราส่ วนแรงไฟฟ้ าสถิตกับแรงดึงดูดระหว่างมวล
กาหนด ประจุอิเล็กตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ์
ประจุโปรตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ์
มวลอิเล็กตรอน = 9.1x10–31 กิโลกรัม
มวลโปรตรอน = 1.67x10–27 กิโลกรัม
1. 2.3 x 1039 2. 2.7 x 1039 3. 2.8 x 1039 4. 2.9 x 1039

13.3 สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ
28. จงหาความเข้มสนามไฟฟ้ าที่ระยะ 50 ซม. จากประจุ +10–4 คูลอมบ์ ว่าจะมีความเข้มกี่
นิวตัน/คูลอมบ์
1. 2.3 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 5.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 1.2 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 3.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์
29. ความเข้มสนามไฟฟ้ าที่จุดห่างจากประจุ 0.15 เมตร เป็ น 160 นิวตันต่อคูลอมบ์ ที่จุดห่าง
จากประจุ 0.45 เมตร จะมีความเข้มสนามไฟฟ้ ากี่นิวตัน/คูลอมบ์
30. ที่ตาแหน่งซึ่ งห่างจากประจุหนึ่งเป็ นระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟ้ าเป็ น 10 5
นิวตันต่อคูลอมบ์ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้ าที่ห่างจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร
1. 4 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 2 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 7 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 9 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์
31. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนาม
A = +4 x 10–9 C B = 3 x 10–9 C
ไฟฟ้ าลัพธ์ที่จุด X มีขนาดเท่าใด X
3 ม. *
1. 5 N/C 2. 7 N/C 3 ม.
3. 10 N/C 4. 14 N/C

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
32(แนว มช) วางประจุ 3 x 10–3 คูลอมบ์ , 2 x 10–3
A B C
คูลอมบ์ และ –8 x 10–3 คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง A ,
B และ C ตามลาดับ จงหาสนามไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง
B ในหน่วยของนิ วตัน/ คูลอมบ์ AB = 3 เมตร , BC = 2 เมตร
1. 21 x 106 2. 15 x 106 3. 30 x 106 4. 42 x 106
33. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนามไฟฟ้ าลัพธ์ A = +4 x 10–9 C
ที่จุด X มีขนาดเท่าใด X
3 ม. *
1. 5 N/C
2. 7 N/C 3 ม.
3. 10 N/C
4. 14 N/C B = 3 x 10–9 C

34. จากรู ป ถ้า ABP เป็ นสามเหลี่ยมด้านเท่ามีแต่ละด้านยาว 1.0 เมตร ถ้านาจุดประจุ 1.0
ไมโครคูลอมบ์ วางไว้ที่จุด A และนาจุดประจุ –1.0 ไม โ ค รคู ล อ ม บ์ ว างไ ว้ ที่ จุ ด B
สนามไฟฟ้ าที่จุด P เนื่องจากจุดประจุท้ งั สองมีค่าเท่าใด
1. 90 นิวตันต่อคูลอมบ์ P
2. 900 นิวตันต่อคูลอมบ์
3. 9000 นิวตันต่อคูลอมบ์
4. 90000 นิวตันต่อคูลอมบ์ A B
1 ม.
35. จงหาความเข้มสนามไฟฟ้ าที่จุด B ในหน่วยของ
นิวตัน/คูลอมบ์ ตามรู ปที่กาหนด +5 C –3.6 C
( กาหนด cos 127o = –0.6 ) 8 cm
37o
6
1. 7.00 x10 นิวตันต่อคูลอมบ์
6 cm
2. 7.05 x 106 นิวตันต่อคูลอมบ์ 10 cm
53o
6
3. 7.26 x 10 นิวตันต่อคูลอมบ์
B
6
4. 5.23 x 10 นิวตันต่อคูลอมบ์

54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
36. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเท่ากันอยูห่ ่างกัน 2 เมตร สนามไฟฟ้ า ณ จุดกึ่งกลางระหว่างประจุ
ทั้งสองมีทิศพุง่ เข้าหา q2 และมีขนาด 4.8 x 104 โวลต์/เมตร จงหา q2 ( หน่วย คูลอมบ์ )
1. + 6.67 x 10–9 2. – 6.67 x 10–9 3. +0.27 x 10–5 4. –0.27 x 10–5
37. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ และ –9 x 10–8 คูลอมบ์ วางห่างกัน 0.5 เมตร ดังรู ป จุด P
เป็ นจุดที่สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ ระยะ A มีค่ากี่เมตร

P +4 x 10–8 C –9 x 10–8 C

A
0.5 ม.
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.0
38. จุดประจุ 2 จุด อยูห่ ่ างกัน 0.5 เมตร จุดประจุหนึ่ งมีค่า +4 x 10–8 คูลอมบ์ หากสนาม
ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์อยูร่ ะหว่างประจุท้ งั สอง และห่างจากจุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ เท่ากับ
0.2 เมตร ค่าของอีกจุดประจุหนึ่งมีกี่คูลอมบ์
1. 0.9 x 10–8 2. 3 x 10–8 3. 9 x 10–8 4. 30 x 10–8
39. จุ ด ประจุ +4 x 10–8 คู ล อมบ์ และ +9 x 10–8 คู ล อมบ์ อยู่ห่ า งกัน 0.5 เมตร จงหาว่า
ตาแหน่งตามแนวเส้นตรงระหว่างจุดประจุท้ งั สองที่มีขนาดของสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ อยู่ห่ าง
จากประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ กี่เมตร
40. ประจุสองประจุมีขนาด –16 และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นตาแหน่ งซึ่ งห่ างกัน 3
เมตร จงหาว่าตาแหน่ งที่ อยู่ในแนวระหว่างประจุท้ งั สองที่จะให้เกิ ดสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
อยูห่ ่างประจุ +4 ไมโครคูลอมบ์ กี่เมตร
41. ประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ์ และ –4 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่ างกัน 10 เซนติเมตร จงหา
ตาแหน่งของจุดสะเทินว่าอยูห่ ่างประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ์ กี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 13 4. 15
42. ประจุ ไฟฟ้ าหนึ่ ง (+5 C) ถู ก วางไว้ที่ ต าแหน่ ง X = 0 เมตร และประจุ ไฟฟ้ าที่ ส อง
(+7 C) ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร จะต้องวางประจุไฟฟ้ าที่สามไว้ที่ตาแหน่ง X
เป็ นกี่เมตร จึงจะได้รับแรงสุ ทธิ จากสองประจุแรกเท่ากับศูนย์
1. 0.46 2. 0.79 3. 0.77 4. 0.86
55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
43. จุด A , B และ C เรี ยงลาดับอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน ระยะ AB = ระยะ BC = X เมตร
จุด A และ B มีประจุอยู่ +QA และ –QB ตามลาดับ พบว่าที่จุด C มีสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
ประจุ QA และ QB มีค่าตามข้อใดตอบตามลาดับ
1. 4Q และ –Q 2. 2Q และ –Q 3. Q และ –4Q 4. –2Q และ Q
44. ประจุไฟฟ้ าขนาด +15 และ –30 หน่วย 15 A B –30 C
ประจุวางอยูด่ งั รู ป ตาแหน่งใดควรเป็ นจุดสะเทิน
1. A 2. B 3. C 4. ไม่มีคาตอบถูก
45. ตาแหน่งที่สนามไฟฟ้ ารวมเป็ นศูนย์ซ่ ึ งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ
ก. เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
ข. เกิดอยูใ่ กล้ประจุที่มีค่าน้อย
ค. เกิดในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุท้ งั สอง
1. ข้อ ก , ข , ค 2. ข้อ ก , ข 3. ข้อ ก , ค 4. ข้อ ข , ค
46. ถ้า +Q และ –Q เป็ นประจุตน้ กาเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เป็ นประจุทดสอบ รู ปใด
แสดงทิศของ F และ E ไม่ถูกต้อง

1. +Q 2. –Q
E +q F E –q F

3. –Q 4. +Q
E –q F E –q F
47. จงหาค่าสนามไฟฟ้ าที่เกิ ดจากประจุ 50 x 10–10 คูลอมบ์ ณ จุดที่อยูห่ ่ างออกไป 80 เซน-
ติเมตร และถ้ามีอิเล็กตรอน 2 ตัว อยูท่ ี่จุดนั้น อิเล็กตรอนจะถูกแรงกระทาเท่าใด
( กาหนด e 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 2.25 x 10–17 นิวตัน
2. 75.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 9.25 x 10–17 นิวตัน
3. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 8.25 x 10–17 นิวตัน
4. 76.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 5.25 x 10–17 นิวตัน

56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
48. สนามไฟฟ้ าที่ทาให้โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
เกิดความเร่ ง 2 x 102 เมตรต่อวินาที2 มีค่าเท่าไร
1. 2 x 10–6 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 2 x 10–5 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 2 x 10–4 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 2 x 10–3 นิวตัน/คูลอมบ์
49. ที่จุดห่างจากประจุตน้ เหตุ 1.2 เมตร ประจุขนาด 6 x 10–12 คูลอมบ์ ถูกแรงกระทา
6 x 10–10 นิวตัน จงหาขนาดประจุตน้ เหตุน้ี
1. 1.6 x 10–8 C 2. 1.6 x 10–10 C 3. 3.2 x 10–8 C 4. 3.2 x 10–10 C
50. ที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้ า เกิดแรงกระทาต่ออิเล็กตรอน 4.8 x 10–14 นิวตัน จงหาแรง
ในหน่วยนิวตัน ที่กระทาต่อประจุขนาด 9.0 x 10–7 คูลอมบ์ ที่จุดเดียวกันนั้น
51. อนุ ภาคไฟฟ้ าซึ่ งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ์ ได้รับแรงเนื่ องจากสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน จงหาขนาดและทิศของแรงที่กระทาต่อโปรตอนเมื่ออยูใ่ น สนามนี้
(ให้สนามไฟฟ้ ามีทิศพุง่ ลง)
1. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 2. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
3. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 4. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
52. ถ้าจุ ด A อยู่ห่ า งจากจุ ดประจุ Q เป็ นระยะครึ่ งหนึ่ งของที่ จุด B อยู่ห่ า งจากประจุ Q
ศักย์ไฟฟ้ าที่จุด A จะมีค่าเป็ นกี่เท่าของศักย์ไฟฟ้ าที่จุด B
1. 41 2. 12 3. 2 4. 4

13.4 ศักย์ ไฟฟ้ ารอบจุดประจุ


53. จุด A มีศกั ย์ไฟฟ้ า –2.0 โวลต์ และจุด B มีศกั ย์ไฟฟ้ า +6.0 โวลต์ ถ้าต้องการเคลื่อน
ประจุ +2.0 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุด A ไปจุด B จะต้องใช้งานในการเคลื่อนที่ประจุเท่า
กับกี่จูล
1. –4.0 x 10–6 2. 4.0 x 10–6 3. 1.6 x 10–5 4. –1.6 x 10–5
54(แนว En) A และ B เป็ นจุดที่อยูห่ ่ างจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ์ เป็ นระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลาดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุ +1 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานใน
หน่วยกิโลจูลเท่าใด
1. 8.75 2. 15 3. 35 4. 60
57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
55. จากรู ป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ์ A
หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ์ จาก B ไป
1 ม.
A จะต้องทางานกี่จูล B
Q = –5x10–9 C 3 ม.
1. 45 2. –45 3. 60 4. –60
56. จากรู ป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ์ A
หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ์ จาก B ไป
1ม
A จะต้องทางานกี่จูล B
1. 12 2. 24 3. –12 4. –24 Q = –2x10–9 C 3 ม

57. เมื่อนาประจุ 0.5 คูลอมบ์ จาก A ไป B ต้องใช้งาน 12.5 จูล ศักย์ไฟฟ้ าที่ A และ B
จะต่างกันกี่โวลต์
1. 25 2. 12.5 3. 2.5 4. 0.25
58. ในการเคลื่อนประจุ 5 x 10–2 คูลอมบ์ จาก A ไปยัง B เป็ นระยะ 10 เมตร ต้องใช้แรง
เฉลี่ย 2 นิวตัน ความต่างศักย์ระหว่าง AB มีค่าเท่าไร
1. 4 x 102 V 2. 2.25 x 102 V
3. 4 x 103 V 4. 2.25 x 103 V
59. จุด A อยูห่ ่ างจากประจุ –2 x 10–10 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 1 เมตร จงหางานในหน่วยจูล ที่
ต้องทาในการพาประจุ 3 x 10–12 คูลอมบ์ จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

60. จุด A อยูห่ ่างจากประจุ Q เป็ นระยะ d มีศกั ย์ไฟฟ้ า V เมื่อนาประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต์ (infinity) มายังจุด A จะสิ้ นเปลืองงานไปเท่าใด
1. Kq
d 2. KQd 3. KQ
qd 4. KQd q

61. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่า ศักย์


ไฟฟ้ ารวมที่จุด X มีขนาดกี่โวลต์ A = –1 x 10–9 C B = 5 x 10–9 C
X
1. –18 2. –12 3 ม. * 3 ม.
3. 12 4. 18
58
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
A = +4 x 10–9 C
62. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าศักย์ไฟฟ้ ารวม X
3 ม. *
ที่จุด X มีขนาดกี่โวลต์
1. 3 2. 9 3 ม.
3. –3 4. –9
B = 3 x 10–9 C

63. วางประจุไฟฟ้ า 3 x 10–4 คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง x = –2 เมตร , y = 0 เมตร และประจุลบ


ขนาดเท่ากันที่ตาแหน่ง x = 0 เมตร , y = 3 เมตร ศักย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่งจุดกาเนิด (0 , 0)
จะเป็ นโวลต์
1. 9.5 x 105 2. 8.5 x 105 3. 4.5 x 105 4. 6.5 x 105

64. จากรู ปที่กาหนดให้ ที่ตาแหน่ง A , B และ C มีประจุ 5 x 10–7 , –2 x 10–7 และ


1.5 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ จงหาระยะ BD B
ที่ทาให้ศกั ย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง D เป็ นศูนย์
A D C
1. 0.1 เมตร 2. 0.2 เมตร
3. 0.3 เมตร 4. 0.4 เมตร 0.4 เมตร 0.2 เมตร

65. จากรู ป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ตามลาดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ
C
BP = 0.1 เมตร หากนาประจุ +1.0 x 10–5 คูลอมบ์
จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P ต้องทางานกี่จูล
1. 2.10 2. 1.05 A B
P
3. 0.105 4. 10.5

66(แนว En) ประจุ Q1 = +0.5 คูลอมบ์ ระยะ AB = 10 เซน- A Q1


ติเมตร ระยะ BC = 30 เซนติเมตร มุม ABC = 90o ถ้า
งานที่ใช้ในการนาโปรตอน 1 ตัว จากอนันต์มาจุด B มี Q2
ค่า +28.8 x10–9 จูล จงหาว่า Q2 มีกี่คูลอมบ์ B C

59
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
67. จากรู ป ถ้า O เป็ นจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ และอยูใ่ นระหว่าง A , B แล้ว BO เท่ากับ
A O B แนว AB
  
+2 C –1 C
1. 13 AB 2. 12 AB 3. 23 AB 4. AB
68. กาหนดประจุ ( q ) ขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ อยูห่ ่างจากประจุ ( Q ) ขนาด 3 x 10–6 คู-
ลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นประจุ q
1. 0.010 จูล 2. 0.018 จูล 3. 0.100 จูล 4. 0.180 จูล
69. โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ เริ่ มต้นเคลื่อนที่จาก
หยุดนิ่ งจาก A ไป B ถ้าศักย์ไฟฟ้ าที่ A สู งกว่าที่ B 100 โวลต์ อัตราเร็ วของโปรตอน
ขณะผ่านจุด B คือ
1. 200 km/s 2. 138 km/s 3. 98 km/s 4. 49 km/s
70. จงเติมเครื่ องหมาย + หรื อ – ลงในตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
ประจุตวั สร้างสนามไฟฟ้ า ( Q )
+Q –Q
เครื่ องหมายพลังงานศักย์ในประจุ + q (ก) (ข)
เครื่ องหมายพลังงานศักย์ในประจุ – q (ค) (ง)
1. (ก) + (ข) – (ค) + (ง) – 2. (ก) + (ข) – (ค) – (ง) +
3. (ก) – (ข) + (ค) + (ง) – 4. (ก) – (ข) – (ค) + (ง) +

13.5 สนามไฟฟ้า และศักย์ ไฟฟ้ าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม


71. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –1 x 10–9 คูลอมบ์
จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่
ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม 1 ม. 2 ม.
ข. ผิวทรงกลม
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนย์กลางทรงกลม
60
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
1. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 9 N/ C , –9 โวลต์ ค) 0 N/ C , –9 โวลต์
2. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –7 โวลต์ ค) 2 N/ C , –8 โวลต์
3. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –8 โวลต์ ค) 0 N/ C , –7 โวลต์
4. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 3 N/ C , –6 โวลต์ ค) 1 N/ C , –9 โวลต์
72. ตัวนาทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ าที่ระยะห่ าง 45
เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางของทรงกลมจะมีค่ากี่โวลต์
1. 0 2. 1.0 x 104 3. 2.0 x 104 4. 4.4 x 104
73. ตัวนาทรงกลม A มี O เป็ นจุดศูนย์กลางเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เซนติเมตร เมื่อให้ประจุ
+8.0 x 10–4 C แก่ ท รงกลม ทรงกลม A ขาดอิ เล็ กตรอนไปกี่ อนุ ภ าค และสนามไฟฟ้ า
ภายในทรงกลมมีค่ากี่นิวตันต่อคูลอมบ์ ( ตอบตามลาดับ )
1. 5.0 x 1015 ตัว , 0 2. 2.0 x 1014 ตัว , 0
3. 5.0 x 1023 ตัว , 10 4. 2.0 x 1032 ตัว , 12
74. ตัวนาทรงกลมซึ่ งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง d มีประจุ +Q เกิดศักย์ไฟฟ้ าภายในทรงกลมมีค่าเท่า
กับ V0 ที่ตาแหน่งภายนอกทรงกลมซึ่ งห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมเป็ นระยะ  จะมี
ศักย์ไฟฟ้ าเท่าไร
dV V dV V
1. 0 2. d 0 3. 12 0 4. 12 d 0
 
75. ถ้าต้องการให้สนามไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมตัวนาซึ่งมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีความเข้ม 1.3x10 –3
นิวตัน/คูลอมบ์ มีทิศพุง่ เข้าสู่ จุดศูนย์กลาง จะต้องให้อิเล็กตรอนแก่ทรงกลมกี่อนุภาค
1. 9x103 2. 9x104 3. 1014 4. 1015
76. ศักย์ไฟฟ้ าที่จุดห่างจากประจุหนึ่งเป็ น 600 โวลต์ และสนามไฟฟ้ าเป็ น 200 นิวตัน/คูลอมบ์
จงหาระยะจากจุดนั้นไปยังประจุ และขนาดของประจุ
1. 3 เมตร , 2 x 10–7 คูลอมบ์ 2. 3 เมตร , 4 x 10–7 คูลอมบ์
3. 6 เมตร , 2 x 10–7 คูลอมบ์ 4. 6 เมตร , 4 x 10–7 คูลอมบ์

61
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
77. ตัวนาทรงกลมตัวหนึ่งรัศมี 30 ซม. เมื่อให้ประจุแก่ทรงกลม พบว่าที่จุดห่ างจากผิวทรง
กลม 60 ซม. จะมีค่าสนามไฟฟ้ า 1 x 104 นิ วตัน/คูลอมบ์ จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ า ณ ตาแหน่ง
ห่างจากศูนย์กลางของตัวนานี้ 10 ซม. (หน่วยกิโลโวลต์)
1. 3 2. 9 3. 18 4. 27
78. ถ้าศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดของตัวนาทรงกลมรัศมี 0.30 เมตร มีค่าเท่ากับ 106 โวลต์ จงหาแรงที่
มากที่สุด ที่ตวั นาทรงกลมนี้ จะผลักจุดประจุไฟฟ้ า 3x10–5 คูลอมบ์ ซึ่ งห่างจากผิวทรงกลม
0.2 เมตร ได้
1. 36 นิวตัน 2. 56 นิวตัน 3. 72 นิวตัน 4. 81 นิวตัน
79(แนว มช) หากมีประจุกระจายอยูบ่ นตัวนาทรงกลมกลวงอย่างสม่าเสมอศักย์ไฟฟ้ า และสนาม
ไฟฟ้ าภายในจุดศูนย์กลางทรงกลมกลวงมีค่า
1. ทั้งศักย์ไฟฟ้ า และสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ 2. ศักย์ไฟฟ้ าเท่ากัน สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
3. ศักย์ไฟฟ้ าไม่เท่ากัน และสนามไฟฟ้ าเท่ากัน 4. ศักย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์สนามไฟฟ้ าเท่ากัน

13.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้าสมา่ เสมอ


80(แนว มช) ขนาดของสนามไฟฟ้ าในบริ เวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิ ดกันจะมีค่า
อย่างไร
1. ศูนย์ 2. สม่าเสมอตลอดบริ เวณ
3. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก 4. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ
81. จากรู ป แผ่นโลหะ x , y ขนาดใหญ่ตอ่ อยูก่ บั ขั้ว 2 cm
แบตเตอรี่ ขนาด 120 โวลต์ อยูใ่ นสุ ญญากาศสนาม y
x
ไฟฟ้ าในระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเป็ นเท่าใด
1. 6 V/m 2. 60 V/m + –
3. 600 V/m 4. 6000 V/m 120 V
82. แผ่น โลหะขนานวางห่ า งกัน 2 เซนติ เมตร ต่ อ อยู่ก ับ แบตเตอรี่ ต ัว หนึ่ ง ถ้าความเข้ม
สนามไฟฟ้ าระหว่างโลหะทั้งสองเป็ น E เมื่อเลื่อนแผ่นโลหะให้ห่างกัน 4 เซนติเมตร
ความเข้มของสนาม ไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเป็ นเท่าไร
1. 4 E 2. 2 E 3. E 4. E2
62
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
83. มีแผ่นโลหะสองแผ่นที่ขนานกันและอยูห่ ่ างกัน 3 มิลลิเมตร ถ้าความต่างศักย์ระหว่าง
แผ่นโลหะทั้งสองเท่ากับ 90 โวลต์ สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะคู่น้ ีมีค่ากี่โวลต์/เมตร
1. 3 V/m 2. 30 V/m 3. 300 V/m 4. 3x104 V/m
84. แผ่นตัวนาคู่ขนานเท่ากันวางห่างกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอเข้ม 20 โวลต์/-
เมตร จะมีค่าความต่างศักย์ระหว่างขั้วบวกและลบกี่โวลต์
85. จงหางานในการเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ จาก
จุด A ไป B ซึ่ งอยูภ่ ายใต้สนามไฟฟ้ า 8 โวลต์/เมตร ดังรู ป B
2m o
1. 8 x 10–6 จูล 2. –8 x 10–6 จูล A
60
3. 16 x 10–6 จูล 4. –16 x 10–6 จูล E = 8 V/m
86. ตามรู ป ถ้าสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอในทิศทาง
Y (0.4 , 0.5)
–Y มีขนาด 325 โวลต์ต่อเมตร จงหา B
ความต่างศักย์ระหว่างจุด B กับจุด A
( ให้การกระจัดมีหน่วยเป็ นเมตร )
1. 65 โวลต์ 2. 130 โวลต์ A
(–0.2 , –0.3)
E
3. 195 โวลต์ 4. 260 โวลต์
87. โปรตอนเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ถ้าโปรตอนมีพลังงานจลน์เพิ ม่ ขึ้น 3.2 x 10–18
จูล ภายหลังเคลื่อนที่ไปได้ 2 เมตร ในทิศทางขนานกับเส้นแรงไฟฟ้ า ขนาดของสนามไฟ-
ฟ้ ามีค่ากี่โวลต์ต่อเมตร กาหนดให้ประจุอิเล็กตรอน = –1.6 x 10–19 คูลอมบ์
88. สนามไฟฟ้ าขนาด 280000 นิ วตัน/คูลอมบ์ มีทิศไปทางใต้ จงหาขนาดและทิศทางของ
แรงที่กระทาต่อประจุ –4.0 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นสนามไฟฟ้ านี้
1. 1.12 นิวตัน , ทิศเหนือ 2. 3.12 นิวตัน , ทิศเหนือ
3. 3.12 นิวตัน , ทิศใต้ 4. 1.12 นิวตัน , ทิศใต้
89. ประจุไฟฟ้ าขนาด +1 x 10–6 คูลอมบ์ อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอซึ่ งมีทิศจากซ้ายไปขวา
และมีความเข้ม 8 โวลต์/เมตร จะถูกแรงกระทาเท่าใดและไปทางไหน
1. 4 x 10–6 นิวตัน , ไปทางขวา 2. 8 x 10–6 นิวตัน , ไปทางขวา
3. 4 x 10–6 นิวตัน , ไปทางซ้าย 4. 8 x 10–6 นิวตัน , ไปทางซ้าย

63
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
90(แนว En) เมื่อนาประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ์ เข้าไปวางไว้ ณ จุด ๆ หนึ่ง ปรากฏว่ามีแรง
8 x 10–6 นิวตัน มากระทาต่อประจุน้ ีในทิศจากซ้ายไปขวา สนามไฟฟ้ าตรงจุดนั้น
1. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
2. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
3. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
4. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
91. วัตถุเล็กๆ ชิ้นหนึ่งมีประจุ –5 x 10–9 คูลอมบ์ ถูกนาไปวางที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้ า
ปรากฏว่ามีแรงกระทา 2.0 x 10–9 นิวตัน บนวัตถุน้ นั สนามไฟฟ้ าที่จุดนั้นมีค่าเท่าใด
1. 0.4 N/C ทิศเดียวกับแรง 2. 0.4 N/C ทิศตรงข้ามกับแรง
3. 4.0 N/C ทิศเดียวกับแรง 4. 4.0 N/C ทิศตรงข้ามกับแรง
92. อนุ ภาคไฟฟ้ าซึ่ งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ์ ได้รับแรงเนื่ องจากสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน ถ้าสนามไฟฟ้ ามีทิศพุง่ ลง จงหา
ก. สนามไฟฟ้ า ข. ขนาดและทิศของแรงที่กระทาต่อโปรตอนเมื่ออยูใ่ นสนามนี้
1. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 2.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
2. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 7.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
3. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 6.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
4. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 5.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
93. หยดน้ ามันมวล 2.88 x 10–14 กิ โลกรัม มีประจุไฟฟ้ าทาให้ลอยหยุดนิ่ งในสนามไฟฟ้ า
3 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ ที่มีทิศขึ้นในแนวดิ่ง จงหาค่าประจุบนหยดน้ ามัน
1. 0 2. 1.6x10–19 C 3. 3.2x10–19 C 4. 9.6x10–19 C
94. หยดน้ ามันหยดหนึ่งมวล 0.02 กรัม ประจุ +q อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าความเข้ม 10 นิวตัน/-
คูลอมบ์ ปรากฏว่าหยดน้ ามันหยุดนิ่งโดยสมดุลกับแรงโน้มถ่วงของโลก จงหาค่า q
1. 2 x 10–5 C 2. 2 x 10–4 C 3. 2 x 10–3 C 4. 2 x 10–2 C
95. หยดน้ ามันมวล 9.6 x 10–7 กิโลกรัม ลอยนิ่งในสนามไฟฟ้ าความเข้ม 107 นิวตัน/คูลอมบ์
ถ้าประจุไฟฟ้ าของหยดน้ ามันนี้เกิดจากอิเล็กตรอนมีมากเกินจานวนโปรตรอน จงหา
ก. ทิศของสนามไฟฟ้ า ข. ประจุบนหยดน้ ามัน
64
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
1. ก. ทิศลง , ข. 4.8 x10–13 C 2. ก. ทิศลง , ข. 9.6 x10–13 C
3. ก. ทิศขึ้น , ข. 4.8 x10–13 C 4. ก. ทิศขึ้น , ข. 9.6 x10–13 C
96. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน หยดน้ ามันหยดหนึ่ งลอยนิ่ งได้ระหว่างแผ่นโลหะ
ขนาน 2 แผ่น ซึ่ งห่ างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทาให้เกิดสนาม
12000 โวลต์ต่ อ เมตร ถ้า หยดน้ ามัน มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า 8.0 x 10–19 คู ล อมบ์ จะมี น้ า หนัก
เท่ากับเท่าใด
1 . 7.7 x 10–17 นิวตัน 2 . 6.4 x 10–19 นิวตัน
3. 9.6 x 10–19 นิวตัน 4. 9.6 x 10–15 นิวตัน
97. แผ่นตัวนาขนานที่อยูห่ ่ างกัน 1.0 เซนติเมตร ทาให้เกิดสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอตามแนวดิ่ง
ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอนที่มีมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม และประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์
ลอยอยูร่ ะหว่างแผ่นตัวนาขนานนี้ ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นตัวนาขนานต้องเป็ นกี่โวลต์
1. 1.14 x 10–13 โวลต์ 2. 98 โวลต์
3. 5.67 x 10–13 โวลต์ 4. 78 โวลต์
98. การทดลองหยดน้ ามันของมิลลิแกน พบว่าถ้าต้องการให้หยดน้ ามันซึ่ งมีมวล m และอิเล็ก–
ตรอนเกาะติดอยู่ n ตัว ลอยนิ่งอยูร่ ะหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึ่ งวางขนานห่างกัน เป็ นระยะ
ทาง d และมีความต่างศักย์ V ประจุของอิเล็กตรอนที่คานวณได้ในการทดลองนี้ มีค่าเท่าใด
1. mgd
nV 2. mgV
nd 3. nmgd
V 4. nmgV
d
99. ตัวนาทรงกลมมวล 0.60 กรัม มีประจุขนาด 8 ไมโครคูลอมบ์ ถูกแขวนด้วยเชือกเล็ก
อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าความเข้ม 300 นิวตัน/คูลอมบ์ ทิศลง จงหาความตึงเชือกถ้าประจุน้ ัน
ก. เป็ นประจุบวก ข. เป็ นประจุลบ
1. ก. 4.2x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 2. ก. 4.2x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N
3. ก. 8.4x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 4. ก. 8.4x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N
100(แนว En) ทรงกลมตัวนาลูกหนึ่งมีมวล m แขวนด้วยเชือก
ภายใต้สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 4 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ หาก 30o
ทรงกลมมีประจุอยู่ 2 x 10–6 คูลอมบ์ ทาให้เชือกแขวน
ทามุม 30 องศากับแนวดิ่ง มวลของทรงกลมมีค่าเท่าใด
1. 2.31 x 10–3 kg 2. 4.62 x 10–3 kg 3. 6.93 x 10–3 kg 4. 13.86 x 10–3 kg
65
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
101. ลูกบอลพลาสติกมวล m แขวนด้วยเชือกยาว d และอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ าสม่า
เสมอขนาด E ในแนวระดับดังรู ป ถ้าลูกบอลอยูใ่ น
ตาแหน่งสมดุล เส้นเชือกทามุม  กับแนวดิ่ง จง E
หาขนาดของประจุไฟฟ้ าบนลูกบอลพลาสติก 
d
1. mg mg tan g
E 2. E
mg
3. E cot  mg
4. E cos 
102. ทรงกลมเล็กๆ แขวนแนวดิ่งไว้ดว้ ยเชือกเบาที่เป็ น
ฉนวน จากนั้นค่อยๆ เพิ่มขนาดสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 

ในแนวระดับ ทาให้ทรงกลมเล็กค่อยๆ เคลื่อนที่ไป E
ในทิศทางดังรู ป ถ้าทรงกลมมีประจุ +2.5 x 10–6 คู-
ลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม เชือกเบาสามารถทน
แรงตึงได้สูงสุ ด 0.25 x 10–3 นิวตัน จงหาขนาดของ
สนามไฟฟ้ า พร้อมกับมุม  ที่ทาให้เชือกเบาขาดพอดี ( ให้ sin 53o = 0.8 )
1. 80 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 37o 2. 80 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 53o
3. 40 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 37o 4. 40 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 53o
103. อิ เล็ ก ตรอนมี ค วามเร็ ว ต้ น 5 x 106 เมตร/วิ น าที เคลื่ อ นที่ ใ นทิ ศ เดี ย วกั บ ทิ ศ ของ
สนามไฟฟ้ าที่ มี ขนาด 1 x 104 นิ วตัน/คู ลอมบ์ จงหาว่านานเท่ าไหร่ อิเล็ ก ตรอนจึ งจะมี
ความเร็ วเป็ นศูนย์ และระหว่างนั้นอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปเป็ นระยะทางเท่าไร กาหนดประจุ
ไฟฟ้ าและมวลของอิ เล็ ก ตรอนเป็ น –1.6 x 10–19 คู ล อมบ์ และ 9.1 x 10–31 กิ โลกรั ม
ตามลาดับ
1. 2.8 x 10–9 s , 7.0 x 10–3 m 2. 4.5 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m
3. 4.5 x 10–9 s , 7.0 x 10–3 m 4. 2.8 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m

66
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.7.1 ตัวเก็บประจุ
104. ประจุ 2 ไมโครคู ล อมบ์ กระจายสม่ าเสมอบนตัวนาทรงกลมรั ศมี 10 เซนติ เมตร
ความจุทรงกลมนี้ คือกี่ฟารัด
1. 1.1 x 10–11 2. 0.11 x 10–11 3. 0.22 x 10–11 4. 0.44 x 10–11
105. ถ้าศัก ย์ไ ฟฟ้ าสู งสุ ด ของตัว น าทรงกลมรั ศ มี 30 เซนติ เมตร มี ค่ า 9 x 105 โวลต์ จง
คานวณหาขนาดประจุไฟฟ้ าที่มากที่สุดที่ตวั นาทรงกลมนี้ จะสามารถรับได้
1. 3 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 6 x 10–5 4. 8 x 10–5
106(แนว En) ศักย์ไฟฟ้ าของตัวนาทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 3 x 105 โวลต์
ประจุไฟฟ้ าในข้อใดที่ตวั นา ทรงกลมนี้ สามารถเก็บได้
1. 12 C 2. 18 C 3. 20 C 4. 30 C
107. แผ่นโลหะขนาดห่างกัน 0.1 เมตร ใช้ทาเป็ นตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 9 นาโนฟารัด
ถ้าสนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะมีค่า 3 นิวตัน/คูลอมบ์ อยากทราบว่าตัวเก็บประจุน้ ีมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 2.7 x 10–4 2 . 2.7 x 10–6 3. 2.7 x 10–9 4. 2.7x10–11
108. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิ เตอร์ ที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด เมื่อประจุไฟฟ้ าให้คาปา-
ซิ เตอร์ จนมีความต่างศักย์ 100 โวลต์
1. 10–2 จูล 2. 10–3 จูล 3. 10–4 จูล 4. 10–5 จูล

13.7.2 การต่ อตัวเก็บประจุ


109. ตัวเก็บประจุสามตัวมีความจุ C1 , C2 และ C3 นามาต่ อ เข้าด้วยกันดัง ในรู ป ความจุ
รวมของระบบ จะมี ค่ า เท่ า ใด C2
C C C C .(C  C ) C1
1. C1 (C 2 C 3) 2. C1  C2  C3
1 2 3 1 2 3
(C  C ) C C
3. C1  C2 C 3 4. C1  C 2 C3 C3
2 3 2 3
67
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
110. ตัวเก็บประจุแบบโลหะแผ่นขนาน C1 = 2 F และ C2 = 3F ต่อกันอย่างอนุกรมกับขั้ว
ทั้งสองของแบตเตอรี่ ขนาด 10 โวลต์ จงหา
ก. ประจุไฟฟ้ าบน C1 และ C2 V1 V2
ข. ความต่างศักย์บน C1 และ C2 ( ตอบตามลาดับ ) Q1 Q2
1. ก. 12 C , 12 C , ข. 6 V , 4 V C1 C2
2. ก. 13 C , 10 C , ข. 8 V , 4 V
3. ก. 15 C , 12 C , ข. 9 V , 4 V
4. ก. 18 C , 12 C , ข. 7 V , 4 V Vรวม = 10 V
111. นาตัวเก็บประจุสองตัวที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด และ 4 ไมโครฟารัด มาต่อกันและต่อ
กับความต่างศักย์ 120 โวลต์ จงหาประจุท้ งั หมดและพลังงานทั้งหมดที่สะสมในตัวเก็บ
ประจุเมื่อต่อเก็บประจุ ( ตอบตามลาดับ )
ก. แบบอนุกรม ข. แบบขนาน
1. ก. 9.6 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
2. ก. 5.0 x 10–3 จูล , 1.8 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.92 x 10–2 จูล , 7.80 x 10–4 C
3. ก. 9.6 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
4. ก. 5.0 x 10–3 จูล , 1.7 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.52 x 10–2 จูล , 7.70 x 10–4 C
112(แนว มช) ตัวเก็บประจุ 3 ตัว C1 มีความจุ 6 ไม-
โครฟารัด C2 มีความจุ 12 ไมโครฟารัด และ C1
C3 มีความจุ 8 ไมโครฟารัด เมื่อนามาต่อกับ 100 V C3
ความต่างศักย์ 100 โวลต์ ดังรู ป จงหาพลังงาน C2
สะสมที่ตวั เก็บประจุ C3 ในหน่วยจูล
1. 8 x 10–2 2. 4 x 10–2 3. 8 x 10–4 4. 4 x 10–4
113(แนว En) ตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 มีขนาดความจุ 1 ,
C2 C3
2 และ 3 ไมโครฟารัดตามลาดับ ก่อนนามาต่อกับแบตเตอรี่
ขนาด 2 โวลต์ ดังรู ป ตัวเก็บประจุท้ งั สามยังไม่มีประจุอยู่
C1
ภายในเลย เมื่อปิ ดสวิตซ์ S เป็ นเวลานานพอที่จะทาให้อยู่
ในสภาพสมดุล พลังงานไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C2
2V S
จะมีขนาดเท่าใดในหน่วยไมโครจูล
68
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
114. เมื่อสับสวิทซ์ลงในวงจรดังแสดงในรู ปจะมีประจุ C2 = 8 F
ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ์ ไหลจากแบตเตอรี่ ไป C 1 = ?
เก็บอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาด C3 = 8 F
ความจุของตัวเก็บประจุที่ไม่ทราบค่า C1 มีค่ากี่
ไมโครฟารัด E=5V
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16
13.7.3 การถ่ ายโอนประจุระหว่ างทรงกลมตัวนา
115. ตัวนารู ปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็ น r และ 2 r ตามลาดับ ถ้าตัวนา A
มีประจุ Q และตัวนา B มีประจุ –2Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัว
นา A
1. –Q 2. – Q2 3. – Q3 4. – Q4
116. ถ้านาตัวนาทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ที่มีประจุ –1.0 คูลอมบ์ มาแตะกับตัวนาทรง
กลมรัศมี 20 เซนติเมตร ที่มีประจุ +2.5 คูลอมบ์ หลังจากแยกออกจากกันแล้ว ตัวนาทรง
กลมรัศมี 10 เซนติเมตรจะมีประจุกี่คูลอมบ์



69
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบ 25.6 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบ 0.14 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบ 17.8 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบ 0.2 40. ตอบ 3
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบ 0.27 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 1. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบ 4.5 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 4. 82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบ 1
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบ ข้ อ 4. 87. ตอบ 10 88. ตอบข้ อ 1.
89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 2. 91. ตอบข้ อ 2. 92. ตอบข้ อ 1.
93. ตอบข้ อ 4. 94. ตอบข้ อ 1. 95. ตอบข้ อ 2. 96. ตอบข้ อ 4.
97. ตอบข้ อ 3. 98. ตอบข้ อ 1. 99. ตอบข้ อ 4. 100. ตอบข้ อ 4.
101. ตอบข้ อ 2. 102. ตอบข้ อ 2. 103. ตอบข้ อ 1. 104. ตอบข้ อ 1.
70
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
105. ตอบข้ อ 1. 106. ตอบข้ อ 4. 107. ตอบข้ อ 3. 108. ตอบข้ อ 1.
109. ตอบข้ อ 2. 110. ตอบข้ อ 1. 111. ตอบข้ อ 1. 112. ตอบข้ อ 2.
113. ตอบ 1.44 114. ตอบข้ อ 4. 115. ตอบข้ อ 3. 116. ตอบ 0.5



71
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
บทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส
14.1 กระแสไฟฟ้า
พิจารณาตัวอย่าง สมมุติในรู ปภาพ ขั้วบวก สนามไฟฟ้ า (E) ขั้วลบ
+ –
เมื่อนาเส้นลวดตัวนาแตะเชื่อมตัวเก็บประ-
+ กระแสอิเล็กตรอน –
จุลบและบวกเข้าด้วยกัน อิเล็กตรอนใน + –e –
ตัวเก็บประจุลบ จะเคลื่อนที่ผา่ นเส้นลวด + +Q
กระแสประจุ = กระแสไฟฟ้ า (I) –
ตัวนาไปยังตัวเก็บประจุบวก ทาให้เกิดเป็ น + –
กระแสอิเล็กตรอนขึ้นในเส้นลวดตัวนานั้น +5  0 –5  0
และเมื่ออิเล็กตรอนวิง่ มาถึงตัวเก็บประจุบวกจะเกิดกระแสของประจุบวกไหลย้อนจากขั้วบวก
ไปขั้วลบ กระแสการไหลของประจุตรงนี้ จะเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็ นกระแสไฟฟ้า ( I )
โปรดสังเกตว่า กระแสอิเล็กตรอนและอนุภาคไฟฟ้ าลบจะมีทิศจากขั้วลบไปขั้วบวก แต่
กระแสประจุหรื อกระแสไฟฟ้ า ( I ) จะมีทิศจากขั้วบวกไปขั้วลบ เหมือนทิศของสนามไฟฟ้ า
( E ) และทิศการเคลื่อนที่ของอนุภาคไฟฟ้ าบวกทัว่ ไปซึ่ งจะมีทิจากขั้วบวกไปลบเช่นกัน
1(แนว มช) กาหนดให้สนามไฟฟ้ า ( E ) มีทิ ศทางดังรู ป การเคลื่ อนที่ของอนุ ภาคที่ มี ประจุ
ไฟฟ้ าและทิศทางของกระแสไฟฟ้ า ( I ) ที่เกิดขึ้นจะเป็ นจริ งดังรู ปในข้อใด
I I
1.  2. 
E E
+ + + +
– –
3. I 4. I
 
E E
+ + + +
– –

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
สาหรับปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวนานั้น สามารถคานวณหาขนาดได้จากสมการ
I = Qt
เมื่อ Q คือปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดตัวนา ณ.จุดหนึ่งๆ ( คูลอมบ์ )
t คือเวลาที่ประจุไฟฟ้ าไหลผ่านจุดนั้นๆ (วินาที )
I คือกระแสไฟฟ้ า ( แอมแปร์ , A )
2. ถ้าประจุไฟฟ้ าที่ผา่ นลวดตัวนาหนึ่งภายในเวลา 2 นาที เท่ากับ 600 ไมโครคูลอมบ์ กระ
แสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านลวดตัวนานี้จะมีค่ากี่ไมโครแอมแปร์

3. ถ้ามีประจุไฟฟ้ าลบเคลื่ อนจากขั้วลบไปบวกจานวน –5 คูลอมบ์ พร้อมกันนั้นมีประจุบวก


เคลื่อนจากขั้วบวกไปลบจานวน +3 คูลอมบ์ ภายในเวลา 10 วินาที จงหาปริ มาณกระแส
ไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นในหน่วยแอมแปร์
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.4 4. 0.8

สาหรับขนาดของประจุ ( Q ) ที่ไหลผ่านตัวนา เราสามารถหาได้จากสมการ


Q = ne
เมื่อ Q คือปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดตัวนา ณ จุดหนึ่งๆ ( คูลอมบ์ )
n คือจานวนอนุภาคไฟฟ้ าที่เคลื่อนที่ผา่ นพื้นที่หน้าตัดตัวนา ณ จุดนั้น
e คือประจุไฟฟ้ าของอนุ ภาคแต่ละตัว ( คูลอมบ์ )
2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
4. หากจานวนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนผ่านพื้นที่หน้าตัดเส้นลวดตัวนาหนึ่ งเท่ากับ 5 x 1020 อนุภาค
ภายในเวลา 2 วินาที จงหาปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นในหน่วยแอมแปร์
( กาหนดให้ อิเล็กตรอน 1 ตัวมีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )

5. ถ้าต่อลวดโลหะเส้นหนึ่งกับเซลล์ไฟฟ้ า พบว่ามีกระแสไฟฟ้ าผ่านลวดเส้นนี้ 3.2 แอมแปร์


จง หาจานวนอิเล็กตรอนที่ผา่ นพื้นที่ภาคตัดขวางเส้นลวดนี้ ในเวลา 5.0 วินาที
1. 1 x 1019 2. 1 x 1020 3. 2 x 1019 4. 2 x 1020

การคานวณหาปริ มาณกระแสไฟฟ้ าซึ่ งเกิดในเส้นลวดตัวนานั้น ยังอาจหาได้จากสมการ


I = Nev A
เมื่อ N คือความหนาแน่นอิเล็กตรอน ( เมตร–3 )
e = 1.6 x 10 –19 คูลอมบ์ ( คือประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว )
v คือความเร็ วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอน ( เมตร/วินาที )
( ความเร็ วอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในตัวนา )
A คือพื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2)

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
6. ลวดเส้ นหนึ่ งมี พ้ื นที่ หน้าตัด 5 ตารางมิล ลิ เมตร มี อิเล็กตรอน 1 x 1028 อนุ ภาคต่อลูก -
บาศ์ก เมตร ถ้า อิ เล็ ก ตรอนเคลื่ อนที่ ด้วยความเร็ วลอยเลื่ อน 1 มิ ล ลิ เมตร/วิน าที จงหา
กระแสไฟฟ้ าในหน่วยแอมแปร์ ที่ไหลในเส้นลวดนี้
1. 5.5 2. 6.8 3. 8.0 4. 10.0

7(แนว En) ลวดโลหะเส้นหนึ่งมีพ้ืนที่ภาคตัดขวาง 1 ตารางมิลลิเมตร ถ้ามีกระแสไฟฟ้ าจานวน


หนึ่ งไหลผ่านลวดนี้ ในเวลา 10 วินาที โดยขนาดความเร็ วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนเท่ากับ
0.02 เซนติเมตรต่อวินาที จงหาปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่เคลื่อนที่ผา่ นลวดนี้ ในเวลาดังกล่าว
( ให้ความหนาแน่นอิเล็กตรอนอิสระของโลหะนี้ เท่ากับ 1.0 x 1029 m–3 )
1. 8 C 2. 16 C 3. 32 C 4. 40 C

ควรทราบเพิม่ เติมว่า
พื้นที่ใต้กราฟกระแสไฟฟ้ า ( I ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเท่ากับปริ มาณประจุไฟฟ้ า ( Q )
4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
8(แนว En) กระแสไฟฟ้ า I ที่ผา่ นเส้นลวด I (A)
โลหะเส้นหนึ่งสัมพันธ์กบั เวลา t ดังกราฟ
จงหาปริ มาณประจุไฟฟ้ าทั้งหมดที่ผา่ นพื้น 2.0
ที่หน้าตัดของเส้นลวดโลหะนี้ ในช่วงเวลา 1.0
0 ถึง 6 วินาที t (s)
3 6
1. 5.0 C 2. 6.2 C 3. 7.5 C 4. 9.0 C

14.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างกระแสไฟฟ้าและความต่ างศักย์


14.2.1 กฏของโอห์ มและความต้ านทาน
กฏของโอห์ม กล่าวว่า “ ถ้ าอุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้าทีไ่ หลผ่ านตัวนาจะแปรผันตรง
กับความต่ างศักย์ ระหว่างปลายของตัวนานั้น ”
เขียนความสัมพันธ์จะได้ I  V
I = kV
V = 1k I
( 1k เป็ นค่าคงที่เรี ยกค่าความต้านทาน ใช้สัญลักษณ์ใหม่เป็ น R มีหน่วยเป็ นโอห์ม )
จึงได้วา่ V = IR
เมื่อ V คือความต่างศักย์ ( โวลต์ )
I คือปริ มาณกระแสไฟฟ้ า ( แอมแปร์ )
R คือความต้านทาน ( โอห์ม )

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
9. จะต้องใช้ความต่างศักย์เท่าใดต่อกับตัวต้านทาน 1 เมกะโอห์ม ( 106  ) เพื่อให้มีกระแส
ไฟฟ้ าผ่านตัวต้านทาน 1 มิลลิแอมแปร์
1. 10 โวลต์ 2. 100 โวลต์ 3. 1000 โวลต์ 4. 10000 โวลต์

14.2.2 สภาพต้ านทานไฟฟ้า และสภาพนาไฟฟ้า


โดยทัว่ ไปแล้วความต้านทานของเส้นลวดตัวนาหนึ่งๆ จะแปรผันตรงกับความยาว และ
แปรผกผันกับพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดนั้น เขียนเป็ นความสัมพันธ์จะได้วา่
R  AL
และ R = k AL
สาหรับค่าคงที่ ( k ) ในสมการนี้ เราจะเรี ยก
ว่าค่าสภาพต้ านทานไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ใหม่เป็ น 
จึงได้วา่ R =  AL และ R =  L 2 และ R =  4 L2
r D
เมื่อ R คือความต้านทาน (โอห์ม)
 คือสภาพต้านทาน (โอห์ม . เมตร)
L คือความยาวของตัวนา (เมตร)
A คือพื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2)
r คือรัศมีของตัวนา ( เมตร)
D คือเส้นผ่านศูนย์กลางของตัวนา ( เมตร)
ส่ วนกลับของสภาพต้านทานไฟฟ้ า เรี ยกว่าสภาพนาไฟฟ้า มีหน่ วย (โอห์ม . เมตร)–1
หรื อซีเมนส์ ( siemens )
6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
10. ทรงกระบอกทาจากโลหะที่มีสภาพต้านทาน 4 x 10–7 โอห์ม.เมตร มีพ้ืนที่หน้าตัด 0.04
ตารางเซนติเมตร ช่วง AB ยาว 1.50 เมตร ขณะที่มีกระแสไฟฟ้ า 20 มิลลิแอมแปร์ ไหล
ผ่านทรงกระบอกนี้ ความต่างศักย์ระหว่าง AB มีค่ากี่โวลต์
1. 3 x 10–3 2. 3 x 10–4 3. 3 x 10–5 4. 3 x 10–7

11. สายไฟ 2 เส้น ทาด้วยโลหะ 2 ชนิด เส้นที่ 2 มีสภาพความต้านทานเป็ น 4 เท่าของ


เส้ น แรก พื้ น ที่ ห น้ า ตัด เส้ น แรกมี ข นาด 2 ตารางเซนติ เมตร ถ้าความยาวและความ
ต้านทานเท่ากัน แล้วพื้นที่หน้าตัดของเส้นที่ 2 จะมีขนาดกี่ตารางเซนติเมตร
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

12. เส้นลวด 2 เส้น ทาจากโลหะชนิ ดเดียวกัน เส้นที่สองมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 6 เท่าของเส้น


แรก และมีความยาวเป็ น 3 เท่าของเส้นแรก ถ้าความต้านทานของเส้นแรกมีค่าเป็ น 10
โอห์ม จงหาว่าเส้นลวดเส้นที่สองจะมีความต้านทานกี่โอห์ม
1. 5 2. 10 3. 20 4. 40

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
13. ลวดตัวนาขนาดสม่าเสมอเส้นหนึ่งยาว 8 เมตร วัดความต้านทานได้ 9 โอห์ม ถ้ามีลวด
ตัวนาชนิ ดเดี ยวกัน แต่ขนาดรัศมีเป็ นครึ่ งหนึ่ งของเส้นแรก ต้องการให้มีความต้านทาน
18 โอห์ม จะต้องใช้ลวดยาวกี่เมตร

14(แนว มช) ลวดเหล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ นสองเท่าของลวดทองแดงและมีสภาพต้านทาน


เป็ น 6 เท่ าของลวดทองแดง ถ้าต้องการลวดทองแดงและลวดเหล็ก ที่ มีความต้านทาน
เท่ากัน จะต้องมีอตั ราส่ วนของความยาวของลวดทองแดงต่อลวดเหล็กเท่าใด
1. 3 : 1 2. 1 : 3 3. 3 : 2 4. 2 : 3

15. ลวดเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 6.0 โอห์ม เมื่อนามารี ดให้เส้นลวดมีขนาดเล็กลงจนมีความ


ยาวเป็ นสามเท่าของตอนเริ่ มต้น ถ้าคุณสมบัติต่างๆ ของสารที่ทาเส้นลวดไม่เปลี่ยน ความ
ต้านทานของเส้นลวดตอนสุ ดท้ายจะเป็ นกี่โอห์ม
1. 18 2. 24 3. 36 4. 54

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
16. แท่งเจอร์ มาเนี ยมขนาดพื้นที่หน้าตัด 2 ตารางมิลลิเมตร ยาว 1 เซนติเมตร มีความต้าน
ทาน 10000 โอห์ม เจอร์ มาเนียมจะมีสภาพนาไฟฟ้ าเป็ นเท่าใด
1. 0.5  . m 2. 1.0  . m 3. 0.5 ( . m)–1 4. 1.0 ( . m)–1

14.2.3 ผลของอุณหภูมิทมี่ ีต่อสภาพต้ านทาน


สารแต่ละชนิ ดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปจะส่ งผลให้สภาพต้านทานของสารเปลี่ยนแปลงใน
ลักษณะที่แตกต่างกัน
ฉนวน (insulator) ฉนวนเป็ นสารที่ มีสภาพต้านทานสู ง เช่ นแก้ว พี วีซี ยาง กระเบื้ อง
เป็ นต้น ที่อุณหภูมิสูงๆ สภาพต้านทานจะลดลงเล็กน้อย
สารกึง่ ตัวนา (semiconductor) สารกึ่งตัวนามีสภาพต้านทานอยูร่ ะหว่างตัวนา และฉนวน
แต่มีค่าสู งกว่าสภาพต้านทานของตัวนามาก เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้ นพบว่า สภาพต้านทานจะลดลง
อย่างรวดเร็ ว แสดงว่าการนาไฟฟ้ าจะดี ข้ ึ น ดังนั้นเครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ มีอุปกรณ์ ประเภทสารกึ่ ง
ตัวนาประกอบอยูใ่ นวงจร จึงทางานเป็ นปกติเฉพาะในช่วงอุณหภูมิที่กาหนดไว้
ตัวนา (conductor) ตัวนาเป็ นสารที่ มีสภาพต้านทานต่ า เช่ น แพลทินัม ทองแดง เงิ น
เป็ นต้น ที่ อุณหภูมิต่าง ๆ พบว่าโดยประมาณแล้ว ความต้านทานจะแปรผันตรงกับอุณ หภูมิ
สัมบูรณ์ ส่ วนโลหะผสมบางชนิดพบว่าเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนความต้านทานจะเปลี่ยนน้อยมาก
ตัวนายวดยิ่ง ( superconductor ) สารบางชนิ ดเมื่อลดอุณหภูมิต่าลงถึงจุดๆ หนึ่ ง ความ
ต้านทานของสารนี้ จะมี ค่าเป็ นศูนย์ เช่ นปรอท เมื่อลดอุณหภูมิลงไปถึ ง 4.15 เคลวิน ความ
ต้านทานของปรอทจะมีค่าเป็ นศูนย์ อุณหภูมิน้ ี เรี ยกอุณหภูมิวิกฤต ( critical temperature , Tc)
ในสภาวะนี้ปรอทจะนาไฟฟ้ าได้ดีที่สุดเรี ยกว่าสภาพนายวดยิง่ ( superconductivity )

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.3 พลังงานไฟฟ้า และกาลังไฟฟ้า
14.3.1 พลังงานไฟฟ้า
เมื่อปล่อยให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้านทาน พลังงาน
ขนาดหนึ่งๆ พลังงานไฟฟ้ าบางส่ วนจะถูกเปลี่ยนไปเป็ น I
พลังงานชนิดอื่นๆ ขนาดหนึ่งเสมอ พลังงานไฟฟ้ าที่ถูก R
ใช้ไปนี้สามารถคานวณหาค่าได้จากสมการต่อไปนี้
2
W = Q V หรื อ W = I t V หรื อ W = I2R t หรื อ W = VR t
เมื่อ W คือพลังงานไฟฟ้ า (จูล) Q คือประจุไฟฟ้ า (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ (โวลต์) I คือกระแสไฟฟ้ า (แอมแปร์)
t คือเวลา (วินาที) R คือความต้านทาน (โอห์ม)
17. ต่อหลอดไฟกับความต่างศักย์ 220 โวลต์ แอมมิเตอร์ อ่านกระแสไฟฟ้ าได้ 0.1 แอมแปร์
จงหาพลัง งานไฟฟ้ าที่สูญเสี ยไป เมื่อเปิ ดหลอดไฟนี้ 1 นาที
1. 660 จูล 2. 1320 จูล 3. 1980 จูล 4. 2640 จูล

18. ปริ มาณความร้อนที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ผ่านความต้านทาน 50  เป็ น


เวลา 10 นาที เท่ากับกี่แคลลอรี ( ให้ 4.2 จูล = 1 แคลลอรี )
1. 112 2. 893 3. 3571 4. 7143

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.3.2 กาลังไฟฟ้า
กาลังไฟฟ้า หมายถึง อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้ า หรื อพลังงานไฟฟ้ าที่ถูกใช้ไปในหนึ่ ง
หน่วยเวลา
นัน่ คือ P = Wt
เมื่อ P คือกาลังไฟฟ้ า ( จูล/วินาที , วัตต์ )
W คือพลังงานไฟฟ้ า (จูล )
t คือเวลา ( วินาที )
กาลังไฟฟ้ าสามารถหาค่าได้จากสมการต่อไปนี้
QV 2
P = t หรื อ P = I V หรื อ P = I2 R หรื อ P = VR
เมื่อ P คือกาลังไฟฟ้ า ( จูล/วินาที , วัตต์ ) Q คือประจุไฟฟ้ า (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ (โวลต์) I คือกระแสไฟฟ้ า (แอมแปร์)
t คือเวลา (วินาที) R คือความต้านทาน (โอห์ม)
19. ต่อหลอดไฟกับความต่างศักย์ 220 โวลต์ แอมมิเตอร์ อ่านกระแสไฟฟ้ าได้ 0.1 แอมแปร์
จงหากาลังไฟฟ้ าของหลอดไฟนี้
1. 11 วัตต์ 2. 22 วัตต์ 3. 33 วัตต์ 4. 44 วัตต์

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
20(แนว En) หลอดไฟฟ้ าหลอดแรกมี ค วามต้านทาน 6 โอห์ ม ต่ อ กับ แบตเตอรี่ 12 โวลต์
หลอดที่ 2 มีความต้านทาน 5 โอห์ม ต่อกับแบตเตอรี่ 15 โวลต์ กาลังไฟฟ้ าที่หลอดทั้ง
สองใช้ต่างกันเท่าใด
1. 3 W 2. 9 W 3. 11 W 4. 21 W

21(แนว En) เตาไฟฟ้ าขนาด 1140 วัตต์ เตาอบไมโครเวฟขนาด 900 วัตต์ และหม้อหุ งข้าว
ไฟฟ้ าขนาด 600 วัตต์ ถ้าใช้ท้ งั สามเครื่ องกับไฟฟ้ า 220 โวลต์ พร้อมกันจะใช้กระแสไฟฟ้ า
เท่าใด
1. 8 A 2. 10 A 3. 12 A 4. 15 A

22. ห้องทางานแห่งหนึ่งใช้ไฟฟ้ าจากแหล่งกาเนิด 220 โวลต์ ภายในห้องมีหลอดไฟขนาด 100


วัตต์ 3 ดวง และพัดลมขนาด 200 วัตต์ 2 เครื่ อง เพื่อป้ องกันความเสี ยหายจากการเกิด
ไฟฟ้ าลัดวงจร ควรจะมีฟิวส์ขนาดเล็กสุ ดเท่าใด
1. 2 A 2. 3 A 3. 4 A 4. 5 A

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
23(แนว มช) จงหาสภาพต้ า นทานไฟฟ้ าในหน่ ว ยโอห์ ม .เมตรของลวดยาว 2 เมตร
พื้นที่ ห น้าตัด 10–6 ตารางเมตร เมื่อมีกระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ไหลผ่าน จะมีอตั ราการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานความร้อน 48 มิลลิวตั ต์
1. 2.4 x 10–2 2. 4.8 x 10–4 3. 4.8 x 10–8 4. 2.4 x 10–8

24(แนว En) เครื่ องใช้ไ ฟฟ้ าในบ้านชนิ ด 40 วัตต์ 220 โวลต์ เมื่ อนามาใช้ขณะที่ ไฟตก
เหลือ 200 โวลต์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ านั้นจะใช้กาลังไฟฟ้ าเท่าใด
1. 13 W 2. 20 W 3. 25 W 4. 33 W

25(แนว En) จะต้องให้ความต่างศักย์ไฟฟ้ ากี่โวลต์ เพื่อจะทาให้เกิดสนามไฟฟ้ าที่สามารถเร่ ง


อิเล็กตรอนจากหยุดนิ่งให้มีความเร็ ว 0.4 x 107 เมตรต่อวินาที
ให้ ประจุอิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
26. จงหาความเร็ วอิเล็กตรอนทิ่วง่ิ จากหยุดนิ่งผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้ า 1500 โวลต์
ให้ ประจุ อิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม
1. 2.3 x 107 m/s 2. 2.3 x 106 m/s 3. 2.3 x 105 m/s 4. 2.3 x 103 m/s

การคานวณหาจานวนหน่วยไฟฟ้ าที่ใช้ไปและเงินค่าไฟฟ้ า สามารถทาได้โดยใช้สมการ


P )t
Unit = ( 1000
P ) t ( ราคาต่อหน่วย )
ค่าไฟฟ้ า = ( Unit ) ( ราคาต่อหน่วย ) = ( 1000
เมื่อ Unit คือจานวนหน่วยไฟฟ้ าที่ใช้ ( kW. Hr หรื อหน่วย )
P คือกาลังไฟฟ้ า ( จูล/วินาที , วัตต์ )
t คือเวลาที่ใช้ไฟฟ้ าในหน่วยชัว่ โมง
27. เมื่อเปิ ดหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ เป็ นเวลานาน 20 ชัว่ โมงต่อเนื่อง จานวนหน่วยไฟฟ้ าที่
ใช้ไปมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 1000 4. 2000

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
28(แนว มช) เครื่ องทาน้ าอุ่นไฟฟ้ าขนาด 3000 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าอาบน้ าอุ่นเป็ นเวลา 30
นาที จะเสี ยค่าไฟฟ้ ากี่บาท ( อัตราค่าไฟฟ้ าเป็ น 3 บาท / หน่วย )

14.4. การต่ อตัวต้ านทาน


การต่ อ ตัวต้า นทานหลายๆ ตัว เข้า ด้วยกัน นั้น โดยพื้ น ฐานแล้ว จะมี รูป แบบการต่ อ 2
รู ปแบบ ได้แก่
14.4.1 การต่ อตัวต้ านทานแบบอนุกรม
การต่อตัวต้านทานแบบอนุ กรม เป็ นการต่อตัวต้านทานหลายๆ ตัวให้อยู่ในแนวเส้น
เดียวกันดังรู ปการต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้ I2 = 10 A
I1 = 10 A
1) กระแสไฟฟ้ ารวมทั้งหมดที่ไหลเข้า
Iรวม = 10 A R1 R2
วงจร และกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน
V1 = I1R1 V2 = I2R2
แต่ละตัว จะมีค่าเท่ากันหมด นัน่ คือ Iรวม = I1 = I2 = …..
2) ความต่างศักย์คร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัว อาจมีค่าไม่เท่ากัน
นัน่ คือ V1  V2  V3  ……
3) ความต่างศักย์รวม ( ความต่างศักย์คร่ อมตัวต้านทานทั้งหมด ) จะเท่ากับความต่าง
ศักย์คร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวบวกกัน
นัน่ คือ Vรวม = V1 + V2 + …..
4) ความต้านทานรวม จะเท่ากับความต้านทานแต่ละตัวบวกกัน
นัน่ คือ Rรวม = R1 + R2 + …..
15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
29. จากรู ปที่กาหนด ความต้านทานรวมมีค่าเท่าใด
I1 I2
1. 5  2. 6 
Iรวม = 5 A R1 = 2  R2 = 3
3. 10  4. 15 
V1 V2

30. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ I1 และ I2 มีคา่ เท่าใด


1. I1 = 5 A และ I2 = 7.5 A 2. I1 = 5 A และ I2 = 10 A
3. I1 = 10 A และ I2 = 5 A 4. I1 = 5 A และ I2 = 5 A

31. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ V1 และ V2 มีคา่ เท่าใด


1. V1 = 15 V และ V2 = 15 V 2. V1 = 10 V และ V2 = 15 V
3. V1 = 4 V และ V2 = 6 V 4. V1 = 10 V และ V2 = 10 V

32. จากข้อที่ผา่ นมา Vรวม มีค่าเท่าใด


1. 10 V 2. 15 V 3. 20 V 4. 25 V

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
33. จากรู ป จงหากระแสไฟฟ้ ารวมของวงจร และกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 1 
1. Iรวม = 3 A และ I1 = 1 A
2. Iรวม = 3 A และ I1 = 3 A 1 2 3
3. Iรวม = 1.5 A และ I1 = 1.5 A V3 = 9 V
4. Iรวม = 6 A และ I1 = 6 A

34. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความต่างศักย์ของตัวต้านทาน 1  และความต่างศักย์รวม


1. V1 = 9 V และ Vรวม = 9 V 2. V1 = 3 V และ Vรวม = 3 V
3. V1 = 3 V และ Vรวม = 9 V 4. V1 = 3 V และ Vรวม = 18 V

35. จากรู ป ความต้านทาน R มีค่าเท่าใด


Iรวม = 3 A 2 R
1. 1  2. 2 
3. 3  4. 4  Vรวม = 18 โวลต์

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
36. จากรู ป ความต่างศักย์ที่คร่ อมตัวต้านทาน
ทาน 4  มีค่าเท่าใด R1 = 2 R2 = 4
1. 2 V 2. 4 V V1= 8 V V2= ?
3. 8 V 4. 16 V

37. จากรู ป ความต่างศักย์รวมของวงจรมีค่าเท่าใด


R1=3 R2 = 8
1. 22 V 2. 33 V
3. 44 V 4. 80 V V2= 24 V

38(แนว มช) ถ้าต้องการแบ่งศักย์ไฟฟ้ า V โดยใช้ความ


ต้านทาน จะต้องใช้ตวั ต้านทาน R1 ขนาดกี่โอห์ม 30 

จึงจะได้ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ B มีค่า V A

เป็ น 13 V R1

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.4.2 การต่ อตัวต้ านทานแบบขนาน
การต่อตัวต้านทานแบบขนาน เป็ นการต่อตัวต้านทานหลายๆ ตัวโดยแยกสายกันอยู่
ดังรู ป การต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้
1) กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัว I1 = 3 A R1 V1 = I1R1
Iรวม = 10 A
ต้านทานแต่ละตัว อาจมีค่าไม่เท่ากันก็ได้
นัน่ คือ I1  I2  ….. I2 = 7 A R2 V2 = I2R2
2) กระแสไฟฟ้ ารวมทั้ง หมดที่ ไ หลเข้าวงจร จะมี ค่ าเท่ า กับ กระแสที่ ไ หลผ่านตัว
ต้านทานแต่ละตัวบวกกัน
นัน่ คือ I รวม = I1 + I2 + …..
3) ความต่างศักย์รวม ( ความต่างศักย์คร่ อมตัวต้านทานทั้งหมด ) และความต่างศักย์
คร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันเสมอ
นัน่ คือ Vรวม = V1 = V2 = ……
4) ความต้านทานรวม จะหาได้จาก
1 1 1
Rรวม = R1 + R 2

39. จากรู ปที่กาหนด ความต้านทานรวมมีค่าเท่าใด I1


1. 2  2. 4  R1 = 3 
3. 9  4. 18  Iรวม = 18 A V1
V2
R2 = 6 
I2

40. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ Vรวม มีค่าเท่าใด


1. 12 V 2. 18 V 3. 36 V 4. 42 V

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
41. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ V1 และ V2 มีค่าเท่าใด
1. V1 = 18 V และ V2 = 36 V 2. V1 = 18 V และ V2 = 18 V
3. V1 = 36 V และ V2 = 18 V 4. V1 = 36 V และ V2 = 36 V

42. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ I1 และ I2 มีค่าเท่าใด


1. I1 = 6 A และ I2 = 6 A 2. I1 = 12 A และ I2 = 12 A
3. I1 = 12 A และ I2 = 6 A 4. I1 = 6 A และ I2 = 12 A

43. จากรู ป จงหาว่าหากกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 3


3  เป็ น 10 แอมแปร์ แล้วกระแสที่ไหลผ่านตัว
ต้านทาน 6  จะมีค่ากี่แอมแปร์ 6
1. 2 2. 5 3. 10 4. 20

44. จากรู ปจงหาว่าหากกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 4


4  เป็ น 15 แอมแปร์ แล้วกระแสรวมที่ไหล
Iรวม = ?
เข้าวงจรทั้งหมดจะมีค่ากี่แอมแปร์ 12 

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
45. ลวดความต้านทาน 2 , 3 และ 4  ต่อกันอย่าง 2
ขนาน ถ้ามีกระแสไหลผ่านลวด 3  เป็ น 4
3
แอมแปร์ กระแสทั้งหมดในวงจรเป็ นเท่าไร
4
1. 8 A 2. 10 A 3. 13 A 4. 18 A

46. กระแสไฟฟ้ า 3.5 แอมแปร์ ไหลผ่านความต้านทาน 3 โอห์ม และ 4 โอห์ม ซึ่ งต่อกัน
แบบขนานกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านความต้านทานแต่ละอันมีค่าเท่าใด
1. 2 A , 1.5 A 2. 3 A , 0.5 A 3. 0.5 A , 3 A 4. 1.8 A , 1.7 A

47. ลวดความต้านทาน 4 เส้น ต่อกันดังรู ป ถ้าความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของความ


7 8
ต้านทาน 4 โอห์ม มีค่า 8 โวลต์ จงหา
A I1 B C
กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 8 โอห์ม I
I2 10 4 I
1. 0.2 A 2. 0.8 A
3. 1.2 A 4. 2.0 A

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
48. จากรู ป ความต้านทานรวมระหว่าง 8
16  20 
จุด X กับจุด Y มีค่ากี่โอห์ม A B
X 16  Y
1. 2 2. 4 9
3. 6 4. 8
C D 6
18 

49. จากรู ป ความต้านทานรวมระหว่าง 1 1


C
จุด A กับจุด B มีค่าเป็ นกี่โอห์ม A
1. 2 2
4
2. 4
3. 6 B
3 D 1
4. 8

22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
50. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 6 C 3 4 B
1. 0.8 2. 1.0 A D
3. 1.3 4. 1.5

51. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง


จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 6 C 3 6 B
A D
1. 2.50 2. 3.00
3. 3.75 4. 4.25 8

52. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง


จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 2 C
A
1. 2.50
2. 3.00 1
3. 3.75 B D
3
4. 5.00

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
53. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 10  20 
1. 25
2. 50 A 100 B
3. 100 100 
50 
4. 200

54. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง


R1 = 1 R2 = 2
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม
1. 1.0 A B
6
2. 2.0
3. 2.5
R3 = 5 R4 = 10
4. 3.5

55. นาความต้านทานขนาด 1 โอห์ม จานวน 20 ตัวมาต่อกัน จะต่อกันได้ความต้านทานรวม


มากที่สุด และน้อยที่สุดกี่โอห์ม
1. 20 , 0.05 2. 15 , 1 3. 10 , 2 4. 5 , 3

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.5 แรงเคลือ่ นไฟฟ้ า และการต่ อแบตเตอรี่
14.5.1 แรงเคลือ่ นไฟฟ้า
แรงเคลื่อนไฟฟ้า ( E ) หมายถึงพลังงานที่ประจุ 1 คูลอมบ์ ใช้ในการเคลื่อนที่จนครบ
วงจร ( คือเคลื่อนที่ออกจากขั้วบวกของแบตเตอรี่ ผา่ นตัวต้านทานภายนอกแบตเตอรี่ แล้ววนจน
กลับมาถึงขั้วบวกของแบตเตอรี่ อีกที ดังรู ป )
เราสามารถหาขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าได้จากสมการ
E = I(R+r)
เมื่อ E คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ า (โวลต์ )
I คือปริ มาณกระแสไฟฟ้ า ( แอมแปร์ )
R คือความต้านทานภายนอกเซลล์ไฟฟ้ า (โอห์ม )
r คือความต้านทานภายในเซลล์ไฟฟ้ า(โอห์ม)
หมายเหตุ ; ปกติแล้วการเขียนแบตเตอรี่ 1 เซลล์ใดๆ เราจะเขียนเป็ นสัญลักษณ์  โดย

เส้นยาวใช้แทนขั้วบวกส่ วนเส้นสั้นใช้แทนขั้วลบ

56. เซลไฟฟ้ าอันหนึ่ งมีความต้านทานภายใน 2 โอห์ม เมื่อต่อกับความต้านทาน 8 โอห์ม


พบว่ามีกระแสไฟฟ้ าไหล 0.15 แอมแปร์ แรงเคลื่อนไฟฟ้ าของเซลไฟฟ้ านี้ มีค่ากี่โวลต์

57(แนว En) จงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน 3 5 1


แอมมิเตอร์ (A) ในวงจร I
1 7 A
1. 0.3 A 2. 0.6 A
3. 1.0 A 4. 1.5 A E = 6V 1

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
58. เซลไฟฟ้ าเซลหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 2 โวลต์ 8
ความต้านทานภายใน 2  ต่อเป็ นวงจรด้วยลวด
ความต้านทาน 8  กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวง
จรมีขนาดเท่ากับกี่แอมแปร์ 2V 2 
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.3 4. 0.4

59. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ที่ข้ วั เซลมีขนาดเท่ากับกี่โวลต์


1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.6

60. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ภายในเซลมีขนาดเท่ากับกี่โวลต์


1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.6

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
61. นาเอาลวดความต้านทาน 6 และ 12  ต่อเข้ากับขั้วแบตเตอรี่ แรงเคลื่อนไฟฟ้ า 18 โวลต์
ความต้านทานภายใน 2  จะเกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลเท่าใด เมื่อลวดต้านทานทั้ง
สองต่อกันแบบอนุกรม
1. 12.0 V 2. 12.4 V 3. 14.8 V 4. 16.2 V

62. จากข้อที่ผ่านมา หากตัวต้านทาน 6 และ 12  เปลี่ยนเป็ นต่อกันแบบขนาน จะเกิ ด


ความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลกี่โวลต์
1. 12.0 V 2. 12.4 V 3. 14.8 V 4. 16.2 V

63(แนว En) เซลไฟฟ้ าหนึ่งเมื่อเอาลวดความต้านทาน 8.5  ต่อระหว่างขั้วของเซลล์จะเกิด


ความต่ า งศัก ย์ที่ ข้ ัว ของเซล 2.125 โวลต์ เมื่ อ ท าให้ ว งจรเปิ ดความต่ า งศัก ย์ที่ ข้ ัว เซล
เปลี่ยนเป็ น 2.5 โวลต์ ความต้านทานภายในเซลมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.0  2. 1.5  3. 2.0  4. 2.5 

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
64. เมื่อต่อความต้านทาน 1  เข้าระหว่างขั้วเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์หนึ่ง วัดกระแสไฟฟ้ าได้ 5
แอมแปร์ เมื่อเปลี่ยนความต้านทานเป็ น 7  วัดกระแสไฟฟ้ าได้ 1 แอมแปร์ เซลล์ไฟฟ้ า
นี้มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากี่โวลต์

65. แบตเตอรี่ ตวั หนึ่ งเมื่อนาไปต่อวงจรไฟฟ้ า ถ้ามีกระแสไหลผ่านแบตเตอรี่ 5.0 แอมแปร์


จะมีความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่ เท่ากับ 50 โวลต์ แต่ถา้ มีกระแสไหลผ่านแบตเตอรี่
1.8 แอมแปร์ จะมี ความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่ เท่ากับ 56.4 โวลต์ แบตเตอรี่ น้ ี มี
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าและความต้านทานภายในเท่าไร
1. 30 V , 2  2. 60 V , 2  3. 30 V , 4  4. 60 V , 4 

28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.5.2 การต่ อแบตเตอรี่
การต่ อ แบตเตอรี่ ห ลายๆ ตัว เข้า ด้ว ยกัน นั้ น โดยพื้ น ฐานแล้ว จะมี รู ป แบบการต่ อ 2
รู ปแบบ ได้แก่
ก. การต่ อแบตเตอรี่ แบบอนุกรม
การต่ อแบตเตอรี่ แ บบอนุ ก รม เป็ นการต่ อแบตเตอรี่ ห ลายๆ ตัว ให้ อ ยู่ในแนวเส้ น
เดียวกันดังรู ป การต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้
1) ถ้าต่อถูกทิศ ( คือหันขั้วบวกของแบตเตอรี่ ไปทางเดียวกัน )
E1 E 2
จะได้วา่ Eรวม = E1 + E2 r1 r2
ถ้าต่อกลับทิศ ( คือหันขั้วบวกของแบตเตอรี่ ไปคนละทาง )
จะได้วา่ Eรวม = E1 – E2
2) ความต้านทานภายในรวม ( rรวม ) E1 E 2
r1 r2
หาค่าได้จาก rรวม = r1 + r2 (ทั้งถูกและกลับทิศ)
ข. การต่ อแบตเตอรี่ แบบขนาน
การต่อแบตเตอรี่ แบบขนาน เป็ นการต่อแบตเตอรี่ หลายๆ ตัวโดยแยกสายกันอยูด่ งั รู ป
การต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้
E r1
1) การต่อแบบนี้ แบตเตอรี่ แต่ละตัวจะมีแรง
เคลื่อนไฟฟ้ าเท่ากัน และหันขั้วบวกไปทางเดียวกัน
E r2
2) Eรวม = Eแบตเตอรี่ ตวั เดียว
และ rรวม 1 = r1 + r1 + ......
1 2
66. จากรู ปจงหากระแสที่ไหลในวงจร 7
1. 2 A
2. 3 A
3. 4 A 20V , 1 30V , 2 
4. 5 A

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
67. จากวงจรที่แสดงตามรู ป จงหากระแสในวงจร
1. 0.25 A 7
2. 0.50 A 10V , 2
3. 1.00 A
4. 1.50 A 20V , 1

68(แนว En) พิจารณาวงจรไฟฟ้ าดังรู ป จง 4V , 1 3


หาค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจร a
1. 0.25 A 2. 0.50 A 12V , 1 2
3. 0.75 A 4. 1.00 A 3
b
1 2V , 1

69. พิจารณาวงจรไฟฟ้ าดังรู ป จงหากระแส


ไฟฟ้ าที่ผา่ นความต้านทาน 2  2
1. 2 A
2. 3 A 10V 4 
3. 4 A 10V 12 
4. 5 A

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
70. กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานในวงจรดังรู ป 1.5 V , 1
มีค่ากี่แอมแปร์ 1.5 V , 0.5
1. 0.25
1.5 V , 1
2. 0.30
3. 0.45
4. 0.50 9

71. จงหา I ที่ผา่ นความต้านทาน 4  จากรู ป 4


1. 1 A
2. 2 A 8V , 1  2V , 1  4V , 2
3. 3 A
4. 4 A
4V , 1 5V , 1 3V , 2

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.6 การวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบือ้ งต้ น
72. จงหากระแสไฟฟ้ าผ่านตัวต้านทาน 4 
ในวงจรไฟฟ้ าดังรู ป 4
7
1. 1.500 A 12 
2. 0.250 A
3. 0.750 A 12V , 1 12V , 1
4. 1.000 A

73. วงจรไฟฟ้ าดังรู ป มีกระแสไฟฟ้ า 4 แอมแปร์ R = 0.5  หลอดไฟ


ผ่านความต้านทาน 0.5 โอห์ม ต่อกับหลอดไฟ
และแบตเตอรี่ 6 โวลต์ ถ้าไม่คิดความต้านทาน I=4A
ภายในแบตเตอรี่ จงหาความต้านทานหลอดไฟ + –
1. 0.5  2. 1.0  E=6V
3. 1.5  4. 2.0 

32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
74. แบตเตอรี่ หม้อหนึ่งประกอบด้วยเซลชนิดเดียวกัน 3 เซลล์ ต่อกันแบบขนาน เมื่อเอาลวด
10  และ 15  ต่อโยงขนานกันกับ ขั้วแบตเตอรี่ จะมีกระแสไฟฟ้ าผ่านลวด 10 
เท่ากับ 0.18 แอมแปร์ ถ้ามีเซลมีความต้านทานเซลละ 2  แรงเคลื่อนไฟฟ้ าของแบตเตอรี่
นี้แต่ ละเซลมีขนาดเท่ากับกี่โวลต์

75. ไดโอดเปล่งแสง (LED) ตัวหนึ่ งจะเปล่ งแสงเมื่อมีกระแสไฟฟ้ า 20 มิลลิ แอมแปร์ ผ่าน


ขณะต่อไบแอสตรง และความต่างศักย์ระหว่างขั้ว 1.7 โวลต์ ถ้านาไดโอดตัวนี้ ไปต่อกับ
แบตเตอรี่ 6 โวลต์ ที่มีความต้านทานภายในน้อยมาก จะต้องนาตัวต้านทานค่าเท่าใดมาต่อ
อย่างไรกับ วงจร เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ไ ดโอดเสี ย หาย ( ถ้าต่ อ เฉพาะไดโอดกับ แบตเตอรี่ ข ณะต่ อ
ไบแอสตรงไดโอดมีความต้านทานน้อย กระแสในวงจรมีค่ามากทาให้ไดโอดเสี ยหายได้ )
1. 215  ต่ออนุกรม 2. 215  ต่อขนาน
3. 430  ต่ออนุกรม 4. 430  ต่อขนาน

33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.7 เครื่องวัดไฟฟ้ า
เครื่ องมือวัดปริ มาณต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระแสไฟฟ้ า โดย
ทัว่ ไปจะถูกดัดแปลงมาจากแกลแวนอมิเตอร์ ( galvanometer )
ซึ่ งประกอบไปด้วยขดลวดติดเข็มชี้ วางตัวอยูร่ ะหว่างขั้วแม่
เหล็กเหนือและใต้ การใช้แกลแวนอมิเตอร์วดั ปริ มาณกระแส
ไฟฟ้ าต้องนาแกลแวนอมิเตอร์ ( G ) ต่ออนุกรมกับวงจรดังรู ป ขดลวด
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านขดลวด จะเกิดแรงผลักทาให้ขด
ลวด เข็มที่ติดขดลวดจะกระดิกชี้ บอกปริ มาณกระแสไฟฟ้ าได้
14.7.1 แอมมิเตอร์
การใช้แกลแวนอมิเตอร์ ต่ออนุกรมกับวงจร บางครั้ง
จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านแกลแวนอมิเตอร์ มากเกินไป อาจ
ทาให้แกลแวนอมิเตอร์ เกิดความเสี ยหาย เพื่อป้ องกันไม่ให้
เกิดความเสี ยหายดังกล่าว จึงต้องนาตัวต้านทานมาต่อขนาน
กับแกลแวนอมิเตอร์ ดงั รู ปเพื่อแบ่งกระแสไฟฟ้ าไปบางส่ วน ทาให้กระแสที่เหลือไหลผ่านแกล
แวนอมิ เตอร์ มีปริ มาณไม่มากเกิ นไป ตัวต้านทานที่ต่อขนานแกลแวนอมิเตอร์ เพิ่มนี้ เรี ยกชั นต์
( shunt ) และแกลแวนอมิเตอร์ รวมกับชันต์จะเรี ยกเป็ นแอมมิเตอร์ ( ammeter ) พิ จ า ร ณ า
วงจรของแอมมิแตอร์ ดังรู ป เนื่องจากชันต์แกลแวนอมิเตอร์ ต่อกันแบบขนาน จึงได้วา่
VS = VG ( แทน V = I R ) IS = Iรวม – IG
IS RS = IG RG ( แทน IG = Iรวม – IS ) RS
จะได้ IS RS = ( Iรวม – IS ) RG I รวม
RG
G
IG = Iรวม – IS
จาก IS RS = IG RG ( แทน IS = Iรวม – IG )
จะได้ (Iรวม – IG) RS = IG RG
เมื่อ RS คือความต้านทานของชันต์ (โอห์ม)
RG คือความต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์ (โอห์ม)
IS คือกระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นชันต์ (แอมแปร์)
IG คือกระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นแกลแวนอมิเตอร์ (แอมแปร์)
Iรวม คือกระแสไฟฟ้ ารวมที่ไหลเข้าแอมมิเตอร์ (แอมแปร์)
34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
76. แกลแวนอมิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งความต้านทาน RG = 100 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าผ่านสู งสุ ด 10
ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการกระแสไฟฟ้ า 210 ไมโครแอมแปร์ ผ่านต้องใช้ความต้านทาน
Rs ขนาดเท่าใดมาต่อขนาน
1. 5  2. 10  3. 15  4. 20 

77(แนว En) แกลแวนอมิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งความต้านทาน RG = 900 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าผ่าน
สู งสุ ด 10 ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการกระแสไฟฟ้ า 100 ไมโครแอมแปร์ ผ่านต้องใช้
ความต้านทาน Rs มีค่าเท่าไรต่ออย่างไร
1. Rs = 100 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
2. Rs = 60 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
3. Rs = 100 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
4. Rs = 90 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
78(แนว En) แอมป์ มิเตอร์ วดั กระแสได้ 1 มิลลิแอมแปร์ ต้องใช้ความต้านทานชันต์ 10 โอห์ม
ต่อขนานแกลแวนอมิเตอร์ ซ่ ึ งมีความไว 100 ไมโครแอมแปร์ ค่าความต้านทานของแกล-
แวนอมิเตอร์ ( RG ) มีค่าเท่าใด
1. 100  2. 90  3. 10  4. 2 

14.7.2 โวลต์ มิเตอร์


การวัดความต่างศักย์ระหว่างตัวต้านทานในวงจรนั้น
สามารถทาได้โดย ต่อ แกลแวนอมิเตอร์ คร่ อมขนานกับตัว
ต้านทานในวงจรนั้น แต่การทาเช่นนี้จะทาให้กระแสไฟ
ฟ้ าในวงจรบางส่ วนแยกไหลไปหาแกลแวนอมิเตอร์ ส่ งผล
ให้กระแสไฟฟ้ าในวงจรมีปริ มาณลดลงทาให้ค่าความต่างศักย์ที่วดั ได้มีค่าลดลงด้วย ดังนั้นจึง
ต้องนาตัวต้านทานที่ มีค่าสู งเรี ยกว่ามัลติพลายเออร์ ( multiplier ) มาต่ออนุ กรมกับแกลแวนอ
มิเตอร์ เพื่อให้กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านแกลแวนอมิเตอร์มาปริ มาณน้อยลง กระแสในวงจรจะมีค่า
ใกล้เคียงกับของเดิม ทาให้ค่าความต่างศักย์ที่วดั ได้มีค่าใกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง
มัลติพลายเออร์ รวมกับแกลแวนอมิเตอร์ ซ่ ึ งต่อ
Iรวม RG Rm
อนุกรมกัน จะรวมเรี ยกเป็ นโวลต์ มิเตอร์ ( voltmeter ) G
เป็ นเครื่ องมือใช้วดั ค่าความต่างศักย์ I G = Iรวม
พิจารณาวงจรโวลต์มิเตอร์ดงั รู ป
จาก Vรวม = Iรวม Rรวม ( แทน IG = Iรวม และ Rรวม = RG + Rm )
จะได้ Vรวม = IG ( RG + Rm )
เมื่อ RG คือความต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์ (โอห์ม)
Rm คือความต้านทานของมัลติพลายเออร์ (โอห์ม)

36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
IG คือกระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นแกลแวนอมิเตอร์ (แอมแปร์ )
Iรวม คือกระแสไฟฟ้ ารวมที่ไหลเข้าโวลต์มิเตอร์ (แอมแปร์ )
Vรวม คือความต่างศักย์รวม (โวลต์)
79(แนว มช) การดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์ เป็ นโวลต์มิเตอร์ จะต้องนาความต้านทานมาต่อร่ วม
แบบใด
1. ชันต์และความต้านทานมีค่าน้อย 2. ชันต์และความต้านทานมีค่ามาก
3. อนุกรมและความต้านทานมีค่าน้อย 4. อนุกรมและความต้านทานมีค่ามาก

80(แนว มช) แกลแวนอมิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 1000 โอห์ม วัดกระแสไฟฟ้ าสู งสุ ด


100 ไมโครแอมแปร์ จงหาขนาดของความต้านทานที่นามาต่อกับแกลแวนอมิเตอร์ น้ ี เพื่อ
ดัดแปลงให้เป็ นโวลต์มิเตอร์ ที่วดั ความต่างศักย์สูงสุ ด 1 โวลต์
1. 90  2. 900  3. 9000  4. 90000 

81(แนว มช) แกลแวนอมิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 0.2 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าสู งสุ ดที่ไหล
ผ่านได้มีค่า 50 มิลลิแอมแปร์ ต้องหาความต้านทานเท่าไร (โอห์ม) มาต่อกับแกลแวนอ–
มิเตอร์ น้ ี เพื่อให้วดั ความต่างศักย์ได้สูงสุ ด 100 มิลลิโวลต์
1. 0.2 2. 1.8 3. 2.0 4. 2.4

37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
82(En47 ต.ค.) กัลวานอมิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 500 โอห์ม วัดความต่างศักย์ไฟฟ้ า
ได้สู ง สุ ดเป็ น 1 โวลต์ ต้ อ งการเปลี่ ย นเครื่ อ งนี้ ให้ เป็ นโวลต์ มิ เตอร์ ที่ ว ัด ความต่ า ง
ศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดได้สูงขึ้นเป็ น 3 โวลต์ จะต้องใช้ความต้านทานกี่โอห์มมาต่ออนุกรม
1. 500 2. 1000 3. 1500 4. 2000

14.7.3 โอห์ มมิเตอร์


โอห์ มมิเตอร์ (Ohmmeter) คือ G
เครื่ องมือที่ใช้วคั วามต้านทาน ส่ วน E
ประกอบที่สาคัญของโอห์มมิเตอร์ คือ R0
แกลแวนอมิเตอร์ ต่อกับตัวต้านทาน
แปรค่า R0 และ เซลล์ไฟฟ้ า E ดังรู ป
y
เมื่อต้องการวัดความต้านทาน Rx x Rx
ใดๆ ให้เอาขั้ว x และ y ไปต่อที่ ปลายตัวต้านทานนั้นซึ่ งจะมีผลให้กระแสไฟฟ้ าผ่านโอห์ ม
มิเตอร์ ถ้า Rx มีค่ามาก กระแสไฟฟ้ าผ่านโอห์มมิเตอร์ มีค่าน้อย เข็มจะเบนน้อย แต่ถา้ Rx
มีค่าน้อย กระแสไฟฟ้ าผ่านโอห์ มมิ เตอร์ มี ค่ามาก เข็มจะเบนมาก แต่ ถ้านาปลาย x และ y
แตะกัน ถื อว่าความต้านทานเป็ นศูนย์ กระแสไฟฟ้ าจะผ่านโอห์ มมิ เตอร์ มากที่ สุด เข็มของ
โอห์ ม มิ เตอร์ จะเบนได้มากที่ สุ ด ตาแหน่ งของเข็มขณะนี้ ต้องชี้ ศูนย์ ดังนั้นสเกลของโอห์ ม
มิเตอร์ จะกลับกับแอมมิเตอร์ และโวลต์มิเตอร์
83. ถ้าจะดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์ ให้เป็ นโอห์มมิเตอร์ จะต้องปฏิบตั ิตามข้อใด
1. นาความต้านทานต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
2. นาความต้านทานและเซลล์ไฟฟ้ าต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
3. นาเซลล์ไฟฟ้ ากับตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
4. นาความต้านทานแบบปรับค่าได้และเซลล์ไฟฟ้ าต่ออนุกรมแกลแวนอมิเตอร์

38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส

เฉลยบทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส


1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบ 5 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบ 40
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบ 4 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบ 45.5 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบ 4.50
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบ 15 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบ 20
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบ 1.5
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบ 7.5
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 1.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบ 2 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 1. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 4. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 2. 82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 4.



39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส
14.1 กระแสไฟฟ้า
1. ถ้าปริ มาณประจุ ไฟฟ้ าที่ ผ่านหลอดไฟใน 1 นาที เท่ากับ 120 ไมโครคูลอมบ์ กระแส
ไฟฟ้ าผ่านหลอดไฟมีค่ากี่ไมโครแอมแปร์
1. 1 x 10–6 2 2 x 10–6 3. 1 4. 2
2. ถ้ามีกระแสไฟ 1.25 แอมแปร์ ในเส้นลวดโลหะเส้นหนึ่ง ประจุไฟฟ้ าทั้งหมดที่ผา่ นพื้นที่
ภาคตัดขวางของเส้นลวดโลหะเส้นนั้นในเวลา 5.0 นาที จะมีค่ากี่คูลอมบ์
1. 175 2. 225 3. 325 4. 375
3. ปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่เกิดจากกระแส 250 มิลลิแอมแปร์ ไหลผ่านตัวนาเป็ นเวลา 1 นาที
มีค่าเท่าไร
1. 1.5 x 104 คูลอมบ์ 2. 1.5 คูลอมบ์
3. 1.5 x 106 ไมโครคูลอมบ์ 4. 1.5 x 107 ไมโครคูลอมบ์
4. แบตเตอรี่ อนั หนึ่งสามารถจ่ายประจุไฟฟ้ าได้ท้ งั หมด 5.0 x 104 คูลอมบ์ ตลอดเวลาที่ใช้งาน
ถ้าแบตเตอรี่ น้ ีจ่ายกระแสไฟฟ้ าสม่าเสมอ 20 มิลลิแอมแปร์ จะใช้งานได้นานกี่ชว่ั โมง
5. ถ้าต่อเส้ นลวดโลหะเส้ นหนึ่ งกับเซลล์ไฟฟ้ า แล้วปรากฏว่ามี กระแสไฟฟ้ าผ่านเส้ นลวดนี้
1.60 แอมแปร์ จงหาจานวนอิเล็กตรอนอิสระที่ผ ่านพื้นที่ภาคตัดขวางของลวดโลหะนั้นใน
เวลา 10.0 วินาที ( อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้ า 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 1 x 1019 2. 1 x 1020 3. 2 x 1019 4. 2 x 1020
6. ลวดเส้ นหนึ่ งมี พ้ื นที่ หน้าตัด 3 ตารางมิล ลิ เมตร มีอิเล็กตรอน 6 x 1028 อนุ ภาคต่อลู ก -
บาศ์กเมตร ถ้าอิ เล็กตรอนเคลื่ อนที่ด้วยความเร็ วลอยเลื่ อน 0.28 มิ ลลิ เมตร/วินาที จงหา
กระแสไฟฟ้ าในหน่วยแอมแปร์ ที่ไหลในเส้นลวดนี้
1. 5.5 2. 6.8 3. 8.1 4. 10.0
7. ลวดตัวนาโลหะขนาดสม่ าเสมอมี ป ริ มาณกระแสต่อหน่ วยพื้นที่ เท่ากับ 1 x 106 แอมแปร์
ต่อตารางเมตร และความหนาแน่นของอิเล็กตรอนอิสระเป็ น 5 x 1028 ต่อลูกบาศก์เมตร จง
หาขนาดของความเร็ วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระในลวด
1. 1.25 x 10–4 m/s 2. 1.50 x 10–4 m/s
3. 1.75 x 10–4 m/s 4. 2.00 x 10–4 m/s
40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
8. ลวดเงินเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตร มีประจุผา่ น 90 คูลอมบ์ ในเวลา 1 ชัว่ โมง 15
นาที และความหนาแน่นอิเล็กตรอนในลวดเงินเท่ากับ 5.8 x 1022 ตัว/ลูกบาศก์เซนติเมตร
จงหาความเร็ วลอยเลื่อนของประจุในลวดในหน่วย เมตร/วินาที
1. 2.74 x 10 –5 2. 2.74 x 10 –6 3. 5.48 x 10 –5 4. 5.48 x 10 –6
9(แนว En) แบตเตอรี่ ซ่ ึงมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า กระแส (A)
20 โวลต์ ลูกหนึ่ง เมื่อต่อจ่ายกระแสให้ 10
แก่ความต้านทานขนาด 1.8 โอห์ม พบว่า 8
6
กระแสไฟฟ้ าเปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังกราฟ 4
ที่แสดง ปริ มาณประจุที่เคลื่อนผ่านวงจร 2
ในเวลา 20 นาทีแรก เท่ากับกี่คูลอมบ์ 0
10 20 เวลา(นาที)
10. จากรู ป เป็ นกราฟแสดงกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน I (A)
ลวดเส้นหนึ่งกับเวลา จงหาว่าสิ้ นสุ ดเวลา t = 5
2
วินาที จะมีประจุไฟฟ้ าผ่านลวดเส้นนี้ แล้วกี่คูลอมบ์
1
1. 1.0 C 2. 2.0 C
3. 5.0 C 4. 6.0 C 0 1 2 3 4 5 t (s)

14.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างกระแสไฟฟ้าและความต่ างศักย์


14.2.1 กฏของโอห์ มและความต้ านทาน
11. จะต้องใช้ความต่างศักย์เท่าไรต่อเข้ากับตัวต้านทาน 1000 โอห์ม เพื่อให้มีกระแสไฟฟ้ า
ผ่านตัวต้านทาน 1.0 มิลลิแอมแปร์
1. 0.5 V 2. 1.0 V 3. 1.5 V 4. 2.0 V
12. ลวดความต้านทานเส้นหนึ่งเมื่อต่อระหว่างความต่างศักย์ 4.0 x 10–3 โวลต์ มี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่ า น 1.0 มิ ล ลิ แ อมแปร์ ถ้าต่ อ ระหว่า งความต่ างศัก ย์ 1.2 โวลต์ จะมี
กระแสไฟฟ้ าผ่านกี่แอมแปร์
1. 0.3 x 10–3 2. 3.3 x 10–3 3. 4.8 x 10–3 4. 0.3

41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.2.2 สภาพต้ านทานไฟฟ้า และสภาพนาไฟฟ้า
13. ลวดโลหะชนิดหนึ่ง มีสภาพต้านทาน 2.0 x 10–8 โอห์ม . เมตร และมีพ้ืนที่หน้าตัด 1.0
ตารางมิลลิเมตร ต้องการให้ลวดโลหะนี้ มีความต้านทาน 1 โอห์ม ต้องใช้ลวดยาวกี่เมตร
1. 5.0 x 10–3 2. 2.0 x 10–2 3. 50 4. 5.0 x 107
14(แนว มช) วัตถุ ท รงลู กบาศก์ซ่ ึ งมี ความกว้าง ยาว และสู ง ด้านละ 1 เมตร พบว่าความ
ต้านทาน ระหว่างด้านตรงข้ามวัดได้ 1.6 x 10–8 โอห์ ม ถามว่าวัตถุ มี ความต้านทาน
จาเพาะเท่าใด
1. 1.60 x 10–8  . m 2. 1.60 x 108  . m
3. 6.25 x 10–7  . m 4. 6.25 x 107  . m
15. ลวดเส้นหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.50 มิลลิเมตร ทาด้วยสารซึ่งมีสภาพต้านทาน
4.8 x 10–7 โอห์ม.เมตร ถ้าจะใช้ลวดเส้นนี้ เป็ นตัวต้านทานที่มีความต้านทาน 2.00 โอห์ม
จะต้องใช้ลวดยาวกี่เมตร
1. 0.64 2. 0.82 3. 1.00 4. 1.24
16. ทรงกระบอกทาจากโลหะที่มีสภาพต้านทาน 4 x 10–7 โอห์ม.เมตร มีพ้ืนที่หน้าตัด 0.04
ตารางเซนติเมตร ช่วง AB ยาว 1.50 เมตร ขณะที่มีกระแสไฟฟ้ า 10 แอมแปร์ไหล ผ่า น
ทรงกระบอกนี้ ความต่างศักย์ระหว่าง AB มีค่ากี่โวลต์
1. 1.0 2. 1.5 3. 3.0 4. 6.0
17(แนว มช) ลวดโลหะเส้นหนึ่งที่มีสภาพต้านทาน 2.0 x 10–8 โอห์ม.เมตร มีพ้ืนที่ภาคตัดขวาง
2.0 ตารางมิ ล ลิ เมตร และยาว 100 เมตร ถู ก น าไปต่ อ กับ ความต่ างศัก ย์ 1.6 โวลต์ ถ้า
อิเล็กตรอนอิ สระในโลหะนี้ เคลื่ อนที่ด้วยขนาดความเร็ วลอยเลื่ อน 0.50 มิลลิ เมตร/วินาที
จานวนอิเล็กตรอนอิสระ/ลูกบาศก์เมตรคือ
1. 1 x 1028 2. 2 x 1028 3. 5 x 1028 4. 10 x 1028
18. หน่วยของความต้านทานจาเพาะ ( สภาพต้านทาน ) คือข้อใดต่อไปนี้
1. โอห์ม . เมตร 2. โอห์ม 3. โอห์มต่อเมตร2 4. โอห์มต่อเมตร

42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
19(แนว มช) สายไฟ 2 เส้น ทาด้วยโลหะ 2 ชนิด เส้นที่สองมีสภาพความต้านทานเป็ น 5 เท่า
ของเส้นแรก ถ้าความยาวและความต้านทานเท่ากัน อัตราส่ วนพื้นที่หน้าตัดของเส้นที่ 2
ต่อเส้นที่ 1 คือ
1. 1 : 3 2. 2 : 1 3. 5 : 1 4. 5 : 2
20. เส้นลวด 2 เส้น ทาจากโลหะชนิดเดียวกัน เส้นแรกมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 4 เท่าของเส้น
ที่สอง และมีความต้านทานเป็ นครึ่ งหนึ่งของเส้นที่สอง หากเส้นแรกมีความยาว 10 เมตร
จงหาว่าเส้นที่สองจะมีความยาวกี่เมตร
21. สายไฟ 2 เส้น ทาจากโลหะชนิ ดเดียวกัน เส้นที่สองมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 6 เท่าของเส้น
แรก และมีความยาวเป็ น 3 เท่าของเส้นแรก จงหาว่าความต้านทานของเส้นแรกว่ามีค่า
เป็ นกี่เท่าของเส้นที่สอง
22. ลวดความต้านทาน A และ B ยาวเท่ากัน ทาด้วยโลหะชนิดเดียวกัน รัศมีของ A เป็ น
ครึ่ งหนึ่งของรัศมีของ B ความต้านทานของ A จะเป็ นกี่เท่าของความต้านทานของ B
1. 14 เท่า 2. 12 เท่า 3. 2 เท่า 4. 4 เท่า
23. เส้นลวดที่มีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ นวงกลม ถ้าความยาวและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นลวด
เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าทั้งสองค่าแล้วความต้านทานของเส้นลวดจะ
1. ลดลงเหลือ 14 2. ลดลงครึ่ งหนึ่ง
3. เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า 4. เพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่า
24. เส้นลวดที่มีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ นวงกลม ถ้าความยาวและเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดลดลงเป็ น
1 เท่าทั้งสองค่าความต้านทานของเส้นลวดจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
2
1. ลดลงเหลือ 12 2. ลดลงเหลือ 41
3. เพิม่ ขึ้นเป็ น 2 เท่า 4. เพิม่ ขึ้นเป็ น 4 เท่า
25(แนว มช) ลวดเส้นหนึ่ งถูกยืดออกห่ างสม่าเสมอจนมีความยาวเป็ น 5 เท่าของความยาวเดิ ม
ค่าความต้านทานของลวดที่ยดื แล้วควรเปลี่ยนแปลงอย่างไร
1. ลดลงเป็ น 5 เท่า 2. ลดลงเป็ น 25 เท่า
3. เพิ่มขึ้นเป็ น 5 เท่า 4. เพิ่มขึ้นเป็ น 25 เท่า

43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
26(แนว En) ลวดตัวนาเส้นหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัด A ยาว L ถ้านามารี ดให้ขนาดพื้นที่หน้าตัด
A ค่าความต้านทานของลวดเส้นใหม่ เมื่อเทียบกับเส้นเดิม
4
1. ความต้านทานเพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่า 2. ความต้านทานลดลงเป็ น 4 เท่า
3. ความต้านทานเพิม่ ขึ้นเป็ น 16 เท่า 4. ความต้านทานลดลงเป็ น 16 เท่า
27. ผลการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง I ( แอมแปร์ )
ความต่างศักย์ ( V ) และกระแสไฟฟ้ า ( I ) 0.4
ที่ไหลผ่านลวดนิโครมเป็ นดังรู ป ถ้าอัตรา 0.3
ส่ วนของพื้นที่ภาคตัดขวางต่อความยาวเส้น 0.2
ลวดมีค่า 2 x 10–6 ม. สภาพต้านทาน () 0.1
ของลวดนิ โครมมีค่ากี่โอห์มเมตร 1 2 3 4 V (โวลต์)
1. 2 x 10–2 2. 2 x 10–4 3. 2 x 10–5 4. 2 x 10–7
28(แนว มช) เตาไฟฟ้ าเตาหนึ่ งประกอบด้วยลวดให้ความร้ อนซึ่ งมีความต้านทาน 48.4 โอห์ม
เมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ า 220 โวลต์ เป็ นเวลา 10 นาที จงหาปริ มาณความร้อนที่
เกิดขึ้น
1. 6 x 105 จูล 2. 6 x 104 จูล 3. 104 จูล 4. 103 จูล

14.2.3 ผลของอุณหภูมิทมี่ ีต่อสภาพต้ านทาน

14.3 พลังงานไฟฟ้า และกาลังไฟฟ้า


14.3.1 พลังงานไฟฟ้า
29. หม้อหุ งข้าวใบหนึ่ งมีความต้านทานเท่ากับ 88 โอห์ ม ต่อเข้ากับแหล่งกาเนิ ดไฟฟ้ า 220
โวลต์ ใช้เวลาในการหุ งข้าวให้สุกเท่ากับครึ่ งชัว่ โมง จงคานวณหาพลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ไป
สาหรับหม้อหุงข้าว
1. 2.75 x 102 J 2. 5.5 x 103 J 3. 1.65 x 104 J 4. 9.9 x 105 J
30. เตารี ดไฟฟ้ ามีความต้านทาน 20 โอห์ม ใช้กระแส 5 แอมแปร์ จงหาความร้อนที่เกิ ดขึ้น
ใน 30 วินาที ( ในหน่วยจูล )
1. 10 x 102 2. 15 x 102 3. 25 x 102 4. 15 x 103
44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
31. กระแสไฟคงที่ 5 แอมแปร์ ไหลผ่านตัว ต้านทานใน 1 นาที ท าให้ พ ลังงานศัก ย์
ไฟฟ้ าถูกเปลี่ยนพลังงานความร้อนเท่ากับ 8 กิโลจูล จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าที่ตกคร่ อม
ตัวต้านทานดังกล่าว
1. 1.6 โวลต์ 2. 27 โวลต์ 3. 0.6 โวลต์ 4. 39 โวลต์
32. เตาไฟฟ้ าเตาหนึ่ งหนึ่ งสร้างด้วยลวดนิ โครมซี่ งมีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางมิลลิเมตร มีค่า
สภาพต้านทาน 9.8 x 10–7 โอห์ม . เมตร และมีความยาว 25 เมตร ถ้านาเตาไฟฟ้ านี้ ไปใช้
กับความต่างศักย์ 220 โวลต์ เป็ นเวลา 24.5 วินาที จงหาปริ มาณความร้อนที่เกิดขึ้น
1. 1.45 x 106 จูล 2. 2.42 x 104 จูล
3. 2.42 x 107 จูล 4. 1.45 x 109 จูล
14.3.2 กาลังไฟฟ้า
33. ลวดตัวนายาว 50 ซม. มีความต้านทาน 44 โอห์ ม นามาขดเป็ นเตาหุ งต้มไฟฟ้ าใช้ก บั
ไฟฟ้ า 220 โวลต์ เตานี้ใช้กาลังไฟฟ้ าเท่าใด
1. 800 วัตต์ 2. 900 วัตต์ 3. 1100 วัตต์ 4. 1000 วัตต์
34. อัดแบตเตอรี่ ซ่ ึงมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 6.4 โวลต์ และความต้านทานภายใน 0.08 โอห์ม ด้วย
กระแส 15 แอมแปร์ กาลังไฟฟ้ าที่เสี ยเป็ นความร้อนภายในแบตเตอรี่ มีค่าเท่าใด (วัตต์)
1. 16 2. 18 3. 20 4. 22
35. ลวดเส้นหนึ่งขนาดพื้นที่หน้าตัด 1 ตารางมิลลิเมตร ยาว 4 เมตร ทาจากสารซึ่งมีสภาพ
นาไฟฟ้ า 2.0 x 106 ซี เมนส์ต่อเมตร ถ้าให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเส้นลวดนี้ 0.5 แอมแปร์
จงหากาลังไฟฟ้ าที่สูญเสี ยในเส้นลวดนี้
1. 0.125 วัตต์ 2. 0.25 วัตต์ 3. 0.50 วัตต์ 4. 1.00 วัตต์
36. เตาปิ้ งขนมปั งอันหนึ่งใช้พลังงานไฟฟ้ า 800 วัตต์ เมื่อใช้กบั ไฟฟ้ า 200 โวลต์ ขดลวด
ความร้อนทาด้วยลวดนิโครมมีพ้ืนที่หน้าตัด 0.2 ตารางมิลลิเมตร และมีสภาพต้านทานไฟ
ฟ้ า 1 x 10–6 โอห์มเมตร จงหาว่าจะต้องใช้ลวดนิโครมยาวกี่เมตร
1. 10 2. 5 3. 1 4. 0.1

45
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
37(แนว มช) บ้านหลังหนึ่ งใช้ไฟฟ้ าความต่างศักย์ 220 V มีเครื่ องใช้ไฟฟ้ าได้แก่ หม้อหุ งข้าว
300 W เตารี ดขนาด 750 W หลอดฟลูออเรสเซนต์ 40 W 2 ดวง ทีวีขนาด 150 W
ควรใช้ฟิวส์รวมเท่าไร
1. 4 A 2. 5.5 A 3. 6.5 A 4. 8 A
38. โดยเปรี ยบเทียบกับสายไฟในบ้านที่ยาวเท่ากันลวดโลหะที่ใช้ทาฟิ วส์ ควรมีลกั ษณะใด
1. ความต้านทานต่า และจุดหลอมเหลวต่า
2. ความต้านทานสู ง และจุดหลอมเหลวสู ง
3. ความต้านทานสู ง และจุดหลอมเหลวต่า
4. ความต้านทานต่า และจุดหลอมเหลวสู ง

39. เตาไฟฟ้ าเครื่ องหนึ่งใช้กบั ไฟฟ้ า 220 โวลต์ ใช้กาลังเป็ น 6 เท่าของกาลังที่ใช้โดยหลอด


ไฟฟ้ าหลอดหนึ่งซึ่ งใช้กบั ไฟฟ้ า 110 โวลต์ ความต้านทานของเตาไฟฟ้ าจะเป็ นกี่เท่าของ
ความต้านทานของหลอดไฟฟ้ า
1. 13 2. 3 3. 23 4. 23
40. เตารี ดไฟฟ้ าขนาด 1000 วัตต์ ใช้กบั ไฟฟ้ า 220 V ถ้านามาต่อกับไฟ 110 V จะได้กาลัง
ไฟฟ้ าเท่าใด
1. 250 W 2. 500 W 3. 700 W 4. 750 W
41. จงหาความเร็ วอิเล็กตรอนที่วิง่ จากหยุดนิ่งผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้ า 1.8 x 105 โวลต์
กาหนด ประจุอิเลคตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม
1. 2.5 x 106 m/s 2. 5.0 x 106 m/s
3. 2.5 x 108 m/s 4. 5.0 x 108 m/s
42. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากหยุดนิ่งตกผ่านความต่างศักย์ที่สูงขึ้น 80 โวลต์
อัตราเร็ วสุ ดท้ายเท่ากับ
1. 7.3 x 103 m/s 2. 5.3 x 106 m/s
3. 1.1 x 107 m/s 4. 1.3 x 107 m/s

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส

43(แนว มช) เครื่ องทาน้ าอุ่นไฟฟ้ าขนาด 3000 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าอาบน้ าอุ่นเป็ นเวลา 15
นาที จะเสี ยค่าไฟฟ้ าประมาณกี่บาท ( อัตราค่าไฟฟ้ าเป็ น 3 บาท/หน่วย )
44. เตารี ดไฟฟ้ าขนาด 1000 วัตต์ ใช้ก บั ไฟฟ้ า 220 โวลต์ ถ้าใช้เฉลี่ยอาทิตย์ละ 10 ชัว่ โมง
เสี ยค่าไฟฟ้ าอาทิตย์ละเท่าใด ถ้าไฟฟ้ าหน่วยละ 5 บาท
1. 5 บาท 2. 10 บาท 3. 11 บาท 4. 50 บาท
45. ครอบครัวหนึ่งใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ าเท่ากันทุกวัน โดยมีรายการดังต่อไปนี้
ใช้หม้อหุงข้าวขนาด 1000 วัตต์ วันละ 1 ชัว่ โมง
ใช้หลอดไฟ 40 วัตต์ 5 ดวง วันละ 4 ชัว่ โมง
ใช้โทรทัศน์ขนาด 150 วัตต์ วันละ 4 ชัว่ โมง
ใช้เตารี ดไฟฟ้ าขนาด 750 วัตต์ วันละ 1 ชัว่ โมง
ถ้าไฟฟ้ าที่ใช้มีความต่างศักย์ 220 โวลต์ และเสี ยค่าไฟยูนิตละ 3.00 บาท ในช่วงเวลา
1 เดือน จะต้องเสี ยค่าไฟฟ้ าเท่าใด
1. 283.50 บาท 2. 141.75 บาท 3. 82.20 บาท 4. 61.65 บาท
14.4. การต่ อตัวต้ านทาน
14.4.1 การต่ อตัวต้ านทานแบบอนุกรม
14.4.2 การต่ อตัวต้ านทานแบบขนาน
5
46. จากรู ป ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด P กับจุด ๐ มีค่าเป็ นกี่โอห์ม
3 P Q 5
1. 2 2. 4
3. 6 4. 8
3
47(แนว มช) วงจรในรู ป จงหาค่ากระแสไฟฟ้ า
2 18 
ที่ไหลผ่านความต้านทาน 18 โอห์ม
1. 3 แอมแปร์
10  5
2. 6 แอมแปร์
3. 9 แอมแปร์
4. 12 แอมแปร์ 60 V
47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
48. จากวงจรที่กาหนดให้ มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
ความต้านทาน 4  , 6  และ 3  6
ตามลาดับดังนี้ 4
1. 2 , 1 , 3 แอมแปร์
3
2. 1 , 2 , 3 แอมแปร์
3. 3 , 1 , 2 แอมแปร์ 18 V
4. 3 , 2 , 1 แอมแปร์
49. กระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นความต้านทาน 8  คือ
1. 7I 2
2. 24I I 4
3. 37I 8
4. 47I
วงจรต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถาม 4 ข้ อถัดไป
16  C 1
A
I = 0.5 A
8 3
B
5 D 4
50. จากรู ปที่กาหนด ความต้านทานรวมระหว่างจุด A กับจุด B มีค่าเป็ นกี่โอห์ม
1. 21.25  2. 22.00  3. 25.00  4. 36.00 
51. จากข้อที่ผา่ นมา กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 1.0  มีค่าเท่าใด
1. 0.3 A 2. 0.25 A 3. 0.28 A 4. 0.4 A
52. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน 4  คือค่าใด
1. 0.5 V 2. 1.0 V 3. 1.5 V 4. 2.0 V
53. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาอัตราพลังงานที่หมดเปลืองไปในความต้านทาน 16 โอห์ม
1. 1 วัตต์ 2. 2 วัตต์ 3. 3 วัตต์ 4. 4 วัตต์
48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
54. จากรู ปวงจรต่อไปนี้ ความต้านทาน
R1 = 100
รวมของวงจรมีค่า
1. 120 
2. 150  360 V R2 = 60 R4 = 60
R3 = 60
3. 185 
4. 260 
55. จากข้อที่ผา่ นมา กระแสไฟฟ้ าใน R1 มีคา่
1. 1.0 A 2. 2.0 A 3. 3.0 A 4. 4.0 A
56. จากข้อที่ผา่ นมา จงหากระแสที่ไหลผ่าน R2 , R3 , R4
1. 0.8 , 1.0 , 1.2 2. 1.0 , 0.5 , 1.5
3. 1.0 , 1.0 , 1.0 4. 1.0 , 1.5 , 0.5
57. วงจรไฟฟ้ าดังรู ป R1 R3
R1 = 20  ; R2 = 30  A B R4 I3
C
R3 = 10  ; R4 = 35 
R5 = 70  I2 R5
R2
I2 = 2 A ; VAC = 95 โวลต์
I3 มีค่ากี่แอมแปร์ VAC
1. 0.5 2. 1.0 3. 3.5 4. 5.5
58. วงจรดังรู ป ความต่างศักย์ระหว่าง
จุด a และ b มีค่ากี่โวลต์ R1=1
1. 3.0 9V a
2. 4.5
R2=2 
3. 6.0
b
4. 9.0

49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
59. วงจรดังรู ป ความต่างศักย์ระหว่าง
จุด a และ b มีค่ากี่โวลต์
R1=1
1. 3.0 a
9V
2. 4.5
3. 6.0 R2=2  R3=2 
4. 9.0 b
60. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 6 C 3 10  B
A D
1. 2.50 2. 3.00
3. 3.75 4. 5.00 8
61. จากรู ปต่อไปนี้ จงหาความต้านทานรวม 4 E 2
A B
ระหว่างจุด A กับจุด B
4 2
1. 1.0 
2. 1.5  3
D C
3. 2.0 
4. 2.5 
62. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง A 1.2  5.6 
C D
จุด A กับจุด B มีค่าเท่ากับข้อใด
12  6
1. 3.0 
4
2. 4.5 
B E
3. 6.0  F
4. 9.0 
63. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง 1 1
1 1 B
จุด A กับจุด B มีค่าเท่ากับข้อใด
b c
1. 1.0  1 1
a
2. 2.5  1 d 1
3. 5.0  f e
A 1
4. 8.0  1 1 1
50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
64. ตัวต้านทานชุดหนึ่งต่อกันดังรู ป ความ
ต้านทานรวมระหว่างจุด A กับ B คือ 1
1. 23 
1 2 1
2. 1  A C D B
3. 23 
1
4. 2 
65. จากรู ป จงหาความต้านทาน 200
500
รวมระหว่างจุด A กับ B 200
1. 100  A B
100 500
2. 200  50
3. 400 
4. 800  500

66. จากวงจรในรู ป โวลต์มิเตอร์ อ่านค่าได้ศูนย์ 20 C R


จงหาตัวต้านทาน R ในวงจรมีค่ากี่โอห์ม
1. 1.0  40 30
A V B
2. 3.0  E D
3. 6.0  10
4. 9.0 

14.5 แรงเคลือ่ นไฟฟ้ า และการต่ อแบตเตอรี่


14.5.1 แรงเคลือ่ นไฟฟ้า
67. แบตเตอรี่ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 24 โวลต์ ความต้านทานภายใน 2 โอห์ม เมื่อนาไปต่อกับ
ตัวต้านทาน 6 โอห์ม จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านตัวต้านทานนี้ กี่แอมแปร์

68(แนว มช) เซลไฟฟ้ าอันหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 50 โวลต์ เมื่อต่อกับความต้านทาน 10 โอห์ม


พบว่ามีกระแสไฟฟ้ าไหล 4.5 แอมแปร์ ความต้านทานภายในของเซลไฟฟ้ าอันนี้ คือ
1. 0  2. 0.50  3. 1.1  4. 5 
51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
69. แบตเตอรี่ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 12 โวลต์ ความต้านทานภายใน 2 โอห์ม ต่อกับตัวต้านทาน
10 โอห์ม จงหากาลังที่เกิดที่ตวั ต้านทานนี้ (วัตต์)
1. 2 2. 5 3. 10 4. 12
70. เมื่อนาเอาลวดความต้านทาน 4  ต่อเข้ากับขั้วแบตเตอรี่ แรงเคลื่อนไฟฟ้ า 18 โวลต์ ความ
ต้านทานภายใน 2  จะเกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลเท่าใด
1. 3 V 2. 6 V 3. 9 V 4. 12 V
71. แบตเตอรี่ รถยนต์อนั หนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 12.0 โวลต์ มีความต้านทานภายในเซลล์
2.0 โอห์ม ต่ออยูก่ บั ตัวต้านทาน 70 โอห์ม จงคานวณหาความต่างศักย์ระหว่างขั้ว
แบตเตอรี่ อนั นี้ในหน่วยโวลต์
1. 10.55 2. 11.67 3. 13.46 4. 15.58
72. กระแสไฟฟ้ า I ในวงจรมีคา่ กี่แอมแปร์
I A B
1. 0.7
2 6
2. 2.0 6V
3
3. 2.4 I 1.5 
4. 4.0 D
73. จากวงจรดังรู ป กระแส I มีค่าเท่าใด
6
1. 23 A
I 4 4
2. 1 A + 4
3 – 12 V
3. 2 A
8 8
4. 2 A
74(แนว En) แบตเตอรี่ ตวั หนึ่ งเมื่อต่ออนุ กรมกับความต้านทาน R = 148 โอห์ม ปรากฏว่ามี
กระแสไฟฟ้ าในวงจรเท่ากับ 0.05 แอมแปร์ แต่เมื่อเพิ่มความต้านทานเป็ น 248 โอห์ม
จะมีกระแสเพียง 0.03 แอมแปร์ แบตเตอรี่ ตวั นี้ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากี่โวลต์
75(แนว มช) เมื่อต่อความต้านทาน 1  เข้าระหว่างขั้วเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์หนึ่ง วัดกระแสไฟฟ้ า
ได้ 2 A เมื่อเปลี่ยนความต้านทานเป็ น 2.5  วัดกระแสไฟฟ้ าได้ 1 A เซลล์ไฟฟ้ านี้ มี
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเท่าไร
1. 1.0 V 2. 1.5 V 3. 2.5 V 4. 3.0 V
52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
76(แนว มช) ความต้านทานตัวหนึ่ งต่อกับ แบตเตอรี่ ทาให้มีก ระแสไฟฟ้ า 0.6 แอมแปร์
ไหลผ่าน เมื่อนาความต้านทาน 4 โอห์ม มาต่ออนุกรมกับความต้านทานตัวแรก จะทา
ให้กระแสไฟฟ้ าลดลงไปจากเดิม 0.1 แอมแปร์ จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้ าของแบตเตอรี่
1. 5 โวลต์ 2. 6 โวลต์ 3. 12 โวลต์ 4. 0.48 โวลต์
77(แนว มช) เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าเครื่ องหนึ่งสามารถส่ งกาลังไฟฟ้ าได้ 345 กิโลวัตต์ ให้หาค่า
พลังงานที่สูญเสี ยไปในรู ปของความร้อนภายในสายไฟ ถ้าส่ งกาลังไฟฟ้ าผ่านสายไฟยาว
500 เมตร ความต้านทาน 0.25 โอห์ม เป็ นเวลา 20 วินาที ด้วยความต่างศักย์ 69 กิโลโวลต์
78(แนว มช) เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าเครื่ องหนึ่ งสามารถส่ งกาลังไฟฟ้ าได้ 10 เมกะวัตต์ ปรากฏว่า
เมื่อส่ งกาลังไฟฟ้ าด้วยความต่างศักย์ 20 กิโลโวลต์ ผ่านสายไฟฟ้ ายาวหนึ่ งกิโลเมตร จะมี
อัตราการสู ญเสี ยพลังงานไปในรู ปความร้อน 1 เมกะวัตต์ ถ้าสายไฟฟ้ านี้ มีพ้ืนที่ภาคตัด
กรวยหนึ่งตารางเซนติเมตร สายไฟฟ้ าจะมีสภาพต้านทานกี่โอห์มเมตร
1. 2 x 10–3 2. 4 x 10–3 3. 2 x 10–7 4. 4 x 10–7

14.5.2 การต่ อแบตเตอรี่


79. จากรู ป จงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจร 20V , 1 10V , 0.5
1. 2 A
2. 4 A
3. 6 A
4. 7 A 7 30V , 1.5

80. วงจรดังรู ป กระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นความต้านทาน 5  คือ


1. 0 A
2. 2.0 A 12 V 12 V
2 2 5
3. 2.5 A
4. 83 A

53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
81. VAB ของวงจรในรู ปมีค่าเท่ากับ
A
1. 0 r r R
2. E
3. 2R2 ER
r E E
2 ER
4. R  2r B

82. เมื่ อใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน ซึ่ งต่อกันอยู่แบบอนุ กรมต่อเข้ากับ ความต้านทาน 5.6 โอห์ ม
กระแสไฟฟ้ าในวงจรจะมีค่ากี่แอมแปร์ ถ้าถ่านไฟฉายแต่ละก้อนมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 1.5
โวลต์ และมีความต้านทานภายใน 0.1 โอห์ม

14.6 การวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบือ้ งต้ น

14.7 เครื่องวัดไฟฟ้ า
14.7.1 แอมมิเตอร์
83(แนว En) แกลแวนอมิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งความต้านทาน RG = 90 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าผ่าน
สู งสุ ด 10 ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการให้กระแสไฟฟ้ า 100 ไมโครแอมแปร์ ผ่านต้องใช้
ความต้านทาน Rs มีค่าเท่าไร และต่ออย่างไรกับแกลแวนอมิเตอร์
1. Rs = 10 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
2. Rs = 9 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
3. Rs = 10 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
4. Rs = 9 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
14.7.2 โวลต์ มิเตอร์
84. แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทาน 25 โอห์ม เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่าน 1 มิลลิแอมแปร์ เข็ม
จะเบนไป 1 ช่องสเกล ถ้าต้องการนาไปใช้เป็ นโวลต์มิเตอร์วดั ความต่างศักย์ได้ 1 โวลต์
ต่อ 1 ช่องสเกล จะต้องนาความต้านทานกี่โอห์มมาต่อ และต่อแบบอะไร
1. 100  ต่อแบบอนุกรม 2. 100  ต่อแบบขนาน
3. 975  ต่อแบบอนุกรม 4. 975  ต่อแบบขนาน
54
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
85. มาตรไฟฟ้ าที่ใช้วดั โวลต์มิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 10000 โอห์ม ใช้วดั ความ ต่ าง
ศักย์ได้สูงสุ ด 100 โวลต์ ถ้าต้องการวัดให้ได้ถึง 400 โวลต์ จะต้องต่อความ ต้ าน ท า น
x อย่างไร และค่า x มีค่าเท่าใด
1. ต่ออนุกรม x = 30000 โอห์ม 2. ต่ออนุกรม x = 40000 โอห์ม
3. ต่อขนาน x = 30000 โอห์ม 4. ต่อขนาน x = 40000 โอห์ม
86. โวลต์มิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งมีความต้านทาน 10000 โอห์ม ปกติใช้วดั ความต่างศักย์ได้สูงสุ ด
10 โวลต์ ถ้าต้องการนาโวลต์มิเตอร์ เครื่ องนี้ ไปใช้วดั ความต่างศักย์ที่มีค่าสู งสุ ด 50 โวลต์
จะต้องทาอย่างไร
1. นาตัวต้านทานขนาด 40000 โอห์มมาต่ออนุกรม
2. นาตัวต้านทานขนาด 40000 โอห์มมาต่อขนาน
3. นาตัวต้านทานขนาด 60000 โอห์มมาต่ออนุกรม
4. นาตัวต้านทานขนาด 60000 โอห์มมาต่อขนาน
87. ความต้านทานไฟฟ้ า R1 และ R2 มีค่า 20000
โอห์ม และ 10000 โอห์มตามลาดับ ต่อในวง R1
จรดังรู ป แบตเตอรี่ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 6 โวลต์
ถ้านาโวลต์มิเตอร์มีความต้านทาน 10000 โอห์ม 6V R2 V
มาวัดคร่ อม R2 โวลต์มิเตอร์ จะอ่านค่าเท่าไร
1. 1.2 V 2. 1.5 V
3. 1.8 V 4. 2.0 V

14.7.3 โอห์ มมิเตอร์



55
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบ 694.44
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบ 10800 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบ 5
21. ตอบ 0.5 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบ 2.25 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบ 3 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบ 7.5 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบ 125 78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบ 1 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 3.
85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 1. 87. ตอบข้ อ 1.



56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
บทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
15.1 แม่ เหล็กและสนามแม่ เหล็ก
6

แม่ เหล็ก ( magnet ) คือวัตถุ ที่ดูดเหล็กได้ และวัตถุ ที่แม่เหล็กส่ งแรงกระทำเรี ยกสาร


แม่ เหล็ก ( magnetic substance )
แท่งแม่เหล็ก 1 แท่ง จะมี 2 ขั้ว คือ
ขั้วเหนื อและขั้วใต้เสมอ ขั้วแม่เหล็กชนิด
เดียวกันจะผลักกัน และขั้วต่ำงกันจะดูดกัน
เสมอ แรงดูด

15.1.1 สนามแม่ เหล็ก


เมื่อวำงแท่งแม่เหล็กลงบนแผ่นกระดำษ
แล้วโปรยผงเหล็กลงไป จะพบว่ำแท่งแม่เหล็ก
จะมีแรงกระทำต่อผงเหล็กเหล่ำนั้น บริ เวณที่มี
แรงกระทำต่อผงเหล็กเรี ยกสนามแม่ เหล็ก (ma-
gnetic field) และแรงกระทำนี้ จะทำให้ผง
เหล็กเรี ยงตัวเป็ นแนวเรี ยกแนวนี้ วำ่ เส้ นสนาม
แม่ เหล็ก (magnetic field line)

สนำมแม่เหล็กเป็ นปริ มำณเวกเตอร์ ซ่ ึง


ภำยนอกแท่งแม่เหล็ก จะมีทิศออกจำกขั้วแม่
เหล็กเหนือเข้ำหำขั้วแม่เหล็กใต้ ส่ วนภำยใน
แท่งแม่เหล็กจะมีทิศจำกขั้วแม่เหล็กใต้ไปหำ
ขั้วแม่เหล็กเหนือ

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
1. ไดอะแกรมต่อไปนี้ รู ปใดไม่สำมำรถใช้แทนสนำมแม่เหล็ก 2 แท่งได้
1. 2.

3. 4.

15.1.2 สนามแม่ เหล็กโลก


โลกของเรำนั้นเป็ นเสมือนแท่งแม่เหล็กขนำด
ใหญ่แท่งหนึ่ง โดยทำงทิศเหนือจะเป็ นขั้วแม่เหล็ก
ใต้ ส่ วนทำงทิศใต้จะเป็ นขั้วแม่เหล็กเหนือดังรู ป
( ขั้วแม่เหล็กจะตรงข้ำมกับชื่ อขั้วโลกที่เรำเรี ยกกัน )
รอบโลกของเรำจึงเต็มไปด้วยสนำมแม่เหล็กเรี ยก
สนามแม่ เหล็กโลก (earth’s manetic field) และ
เนื่องจำกสนำมแม่เหล็กภำยนอกแท่งแม่เหล็ก จะมี
ทิศออกจำกขั้วแม่เหล็กเหนือไปหำขั้วแม่เหล็กใต้
ดังนั้นสนำมแม่เหล็กโลกจึงมีทิศพุง่ ขึ้นดังรู ป
สนำมแม่เหล็กโลกทำหน้ำที่ป้องกันชีวติ จำก
ลมสุ ริยะ (solar wind) จำกดวงอำทิตย์ กล่ำวคือ
กำรระเบิดที่ดวงอำทิตย์จะผลักดันให้มีกระแสของ
อนุภำคที่มีประจุพุง่ ออกมำ ซึ่ งเมื่อมำถึงโลกอนุ -
ภำคเหล่ำนี้จะถูกสนำมแม่เหล็กโลกเบี่ยงเบนให้เคลื่อนไปทำงอื่นไม่สำมำรถเข้ำสู่ โลกได้ และ
ในชั้นบรรยำกำศโลกระดับควำมสู ง 100 – 300 กิ โลเมตร อนุ ภำคเหล่ำนี้ จะชนเข้ำกับอะตอม
ของออกซิ เจนและไนโตรเจน จำกนั้นอะตอมออกซิเจนและไนโตรเจนจะปล่อยแสงในช่วงที่ตำ
มองเห็นออกมำ เรี ยกว่ำออโรรา (aurora)
2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
2(แนว มช) บริ เวณใดบนพื้นโลกที่สนำมแม่เหล็กมีทิศตั้งฉำกกับพื้นโลกมำกที่สุด
1. แถบทวีปยุโรป 2. แถบเส้นศูนย์สูตร
3. แถบขั้วโลกเหนื อและใต้ 4. แถบทวีปแอฟริ กำ

15.1.3 ฟลักซ์ แม่ เหล็ก


ฟลักซ์ แม่ เหล็ก (magnetic flux) คือเส้นแรงแม่เหล็กที่ผำ่ นพื้นที่หนึ่งๆ ขนำดของฟลักซ์
แม่เหล็กมีหน่วยเป็ นเวเบอร์ ( Wb )
เรำสำมำรถคำนวณหำขนำดของ
ฟลักซ์แม่เหล็ก ที่ตกบนพื้นที่รองรับ
หนึ่งๆ ได้จำก
 = B A sin 
เมื่อ  คือขนำดของฟลักซ์แม่เหล็ก ( เวเบอร์ )
A คือพื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก ( เมตร2 )
B คือควำมหนำแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก หรื อขนำดของสนำมแม่เหล็ก
( เวเบอร์ /เมตร2 , เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงทิศของสนำมแม่เหล็กกับระนำบพื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก
3. ขดลวดพื้นที่ 10 x 10–4 ตำรำงเมตร วำงอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ำเสมอ 10
เทสลำ จงหำค่ ำฟลัก ซ์ แม่ เหล็ ก ที่ ผ่ำนขดลวด เมื่ อระนำบของขดลวดท ำมุ ม 90o กับ
สนำมแม่เหล็ก
1. 2.0 x 10–2 2. 1.0 x 10–2 3. 0.5 x 10–2 4. 0

4. จำกข้อที่ผ่ำนมำ จงหำค่ำฟลักซ์แม่เหล็กที่ ผ่ำนขดลวด เมื่อระนำบของขดลวดทำมุม 30o


กับสนำมแม่เหล็ก
1. 2.0 x 10–2 2. 1.0 x 10–2 3. 0.5 x 10–2 4. 0
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
5. จำกข้อที่ผำ่ นมำ จงหำค่ำฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวด เมื่อระนำบของขดลวดทำมุม 0o
กับสนำมแม่เหล็ก
1. 2.0 x 10–2 2. 1.0 x 10–2 3. 0.5 x 10–2 4. 0

15.2.4 การเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคทีม่ ีประจุไฟฟ้าในสนามแม่ เหล็ก


เมื่ออนุภำคไฟฟ้ ำบวกเคลื่อนที่ตดั สนำมแม่เหล็ก จะเกิดแรงของสนำมแม่เหล็กกระทำต่อ
อนุภำคไฟฟ้ ำบวกนั้น ในทิศทำงซึ่งสำมำรถหำได้โดยใช้กฎมือขวำดังนี้
ขั้น 1. แบมือขวำพร้อมกำง
หัวแม่มือออก แล้วชี้ นิ้วทั้งสี่ ไปตำม
แนวกำรเคลื่อนที่ของอนุภำค ( v )
ขั้น 2. หันหน้ำมือแบไป
ตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก ( B )
ขั้น 3. หัวแม่มือที่กำงออก
จะชี้บอกทิศของแรงที่เกิด ( F ) ดังรู ป
ในกรณี ที่อนุ ภำคไฟฟ้ ำลบเคลื่ อนที่ตดั สนำมแม่เหล็ก จะเกิ ดแรงของสนำมแม่เหล็ก
กระทำต่ออนุ ภำคไฟฟ้ ำลบนั้นเช่ นกัน แต่ทิศทำงของแรงที่เกิ ดจะตรงกันข้ำมกับแรงที่กระทำ
ต่ออนุ ภำคไฟฟ้ ำบวก เรำสำมำรถหำทิศของแรงกระทำต่ออนุภำคไฟฟ้ ำลบได้โดยใช้กฎมือซ้ำย
ซึ่ งทำได้ตำมขั้นตอนเดียวกับกำรใช้กฎมือขวำหำทิศของแรงกระทำต่อประจุบวกนัน่ เอง
สำหรับขนำดของแรงที่กระทำต่ออนุภำคไฟฟ้ ำ เรำสำมำรถหำค่ำได้จำกสมกำร
F = q v B sin
เมื่อ F คือแรงกระทำต่ออนุ ภำคที่มีประจุ ( นิวตัน )
q คือขนำดของประจุไฟฟ้ ำ ( คูลอมบ์ )
v คือควำมเร็ วของอนุภำคนั้น ( เมตร/วินำที )
B คือขนำดของสนำมแม่เหล็ก ( เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงทิศของสนำมแม่เหล็กกับทิศควำมเร็ วอนุภำคไฟฟ้ ำ

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
6(แนว มช) ถ้ำมีอิเล็กตรอนวิ่งตำมแนวรำบไปทำงขวำผ่ำนสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ำเสมอซึ่ งมี
ทิศพุง่ ออกมำตั้งฉำกกับระนำบของแผ่นกระดำษ แนวทำงกำรเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนคือ
1. วิง่ ในแนวรำบตำมเดิม
2. เบี่ยงเบนจำกแนวเดิมลงข้ำงล่ำง
3. เบี่ยงเบนพุง่ ออกมำจำกแผ่นกระดำษตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก
4. เบี่ยงเบนจำกแนวเดิมขึ้นข้ำงบน

7(แนว มช) ถ้ายิงโปรตอนไปทางทิศตะวันออก โปรตอนจะถูกเบี่ยงเบนด้วยสนามแม่เหล็ก


โลกไปในทิศใด
1. เหนือ 2. ระหว่ำงทิศเหนือกับทิศตะวันออก
3. เบนขึ้นในแนวดิ่ง 4. ไม่มีขอ้ ถูก

8. ประจุ ไฟฟ้ ำ –3.2 x 10–19 คู ล อมบ์ เคลื่ อนที่ ด้วยควำมเร็ ว 2.5 x 105 เมตรต่ อวิน ำที
ผ่ำนเข้ำไปในบริ เวณที่ มีสนำมแม่เหล็กขนำด 1.2 เทสลำ โดยทิศของควำมเร็ วตั้งฉำกกับ
ทิศของสนำมแม่เหล็ก จงหำขนำดของแรงที่กระทำต่อประจุไฟฟ้ ำนี้
1. 4.8 x 10–13 N 2. 9.6 x 10–13 N
3. 4.8 x 10–14 N 4. 9.6 x 10–14 N

9. โปรตอนตัวหนึ่ งเข้ำมำในสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 2 x 107 เมตร/-


วินำที โปรตอนเป็ นอนุภำคมีประจุไฟฟ้ ำ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ จงคำนวณหำแรงที่สนำม
แม่เหล็กนี้กระทำต่อโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทำมุม 30o กับสนำมแม่เหล็ก
1. 1.2 x 10–14 N 2. 2.4 x 10–14 N
3. 1.2 x 10–12 N 4. 2.4 x 10–12 N

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ข้ อควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับแรงที่สนามแม่ เหล็กกระทาต่ ออนุภาคทีเ่ คลือ่ นทีต่ ัดผ่าน
1. จำกสมกำร F = q v B sin
จะได้วำ่ กรณี ต่อไปนี้ แรงกระทำต่ออนุภำคนั้นมีค่ำเป็ นศูนย์ ( F = 0 ) เสมอ
ก. เมื่ออนุภำคนั้นมีขนำดประจุไฟฟ้ ำเป็ นศูนย์ ( q = 0 ) เช่นอนุภำคนิวตรอน
ข. กรณี ควำมเร็ วอนุภำคมีค่ำเป็ นศูนย์ ( v = 0 ) คืออนุภำคนั้นอยูน่ ิ่งๆ
ค. กรณี ที่ประจุไฟฟ้ ำเคลื่อนขนำนกับทิศสนำมแม่เหล็ก
กรณี น้ ี  = 0o จะได้ sin = sin 0o = 0 จะทำให้แรงกระทำเป็ นศูนย์เช่นกัน

2. เมื่ ออนุ ภ ำคไฟฟ้ ำถู ก แรงกระท ำในสนำมแม่ เหล็ก อนุ ภำคนั้น จะเคลื่ อนที่ เป็ นรู ป
วงกลมซึ่งหำรัศมีได้จำก
R = m vqBsinθ
เมื่อ R คือรัศมีวงโคจรของอนุภำคไฟฟ้ ำในสนำมแม่เหล็ก ( เมตร )
m คือมวลของอนุ ภำคนั้น ( กิโลกรัม )
v คือควำมเร็ วของประจุน้ นั ( เมตร/วินำที )
q คือขนำดของประจุไฟฟ้ ำ ( คูลอมบ์ )
B คือขนำดของสนำมแม่เหล็ก ( เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงทิศของสนำมแม่เหล็กกับทิศควำมเร็ วอนุภำคไฟฟ้ ำ

ในกรณี ที่อนุภำคไฟฟ้ ำเคลื่อนที่ต้ งั ฉำกกับสนำมแม่เหล็ก (  = sin90o )


จะได้ R = m vqsin90 o ( แทนค่ำ sin90o = 1 )
B
นัน่ คือ R = qm Bv
หำกประจุเคลื่อนที่เอียงทำมุม
กับสนำมแม่เหล็ก ประจุน้ นั จะเคลื่อน
เป็ นเกลียวสปริ งดังรู ป

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
10(แนว En) สนำมแม่เหล็กจะไม่ มีผล ต่อ
1. ประจุไฟฟ้ ำที่อยูน่ ิ่ง 2. ประจุไฟฟ้ ำที่เคลื่อนที่
3. แม่เหล็กถำวรที่อยูน่ ิ่ง 4. แม่เหล็กถำวรที่เคลื่อนที่

11(แนว En) เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผำ่ นบริ เวณหนึ่ งซึ่ งมีสนำมแม่เหล็ก กรณี ใดที่อิเล็กตรอน


ไม่เปลี่ยนแปลงแนวทำงกำรเคลื่อนที่
1. ขนำนกับสนำมแม่เหล็ก 2. ทำมุม 30o กับสนำมแม่เหล็ก
3. ทำมุม 45o กับสนำมแม่เหล็ก 4. ตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็ก

12(แนว En) อนุ ภำคแอลฟำและอนุ ภำคบีตำเคลื่อนที่เข้ำไปในแนวขนำนกับสนำมแม่เหล็ก B


ที่มีค่ำสม่ำเสมอดังรู ป กำรเคลื่อนที่ในสนำมแม่เหล็กของอนุภำคทั้งสองจะเป็ นอย่ำงไร
1. เป็ นเส้นตรง 
B
2. เป็ นวงกลม โดยวิง่ วนคนละทำงกัน 
3. เป็ นวงกลม โดยวิง่ วนทำงเดียวกัน

4. เป็ นรู ปเกลียว

13. โปรตอนตัวหนึ่งเข้ำมำในสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 2 x 107 เมตร/-


วิน ำที โปรตอนเป็ นอนุ ภ ำคมี ประจุไ ฟฟ้ ำ 1.6 x 10–19 คู ล อมบ์ มี มวล 1.67 x 10–27
กิโลกรัม จงคำนวณหำรัศมีวงโคจรกำรเคลื่อนที่ของโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทำมุม
30o กับสนำมแม่เหล็ก
1. 3.48 cm 2. 6.96 cm 3. 13.90 cm 4. 20.88 cm

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
14(แนว มช) จงหำรัศมีทำงโคจรของประจุบวก
q = 4 x 10–3 คูลอมบ์ มีมวล 9 x 10–9 กิโลกรัม x x x x x x x x
v
เคลื่อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 8 x 104 เมตร/วินำที ทิศ
+ q
ทิศตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็ก B = 0.3 เทสลำ
1. 0.6 เมตร 2. 60 เมตร x x x x x x x x
3. 96 เมตร 4. 126 เมตร

15. อนุภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 9.6 x 106 เมตรต่อวินำที ในทิศทำงที่ต้ งั ฉำกกับ


สนำมแม่เหล็กที่มีขนำด 0.4 เทสลำ ทำให้อนุภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรัศมี 0.5
เมตร อัตรำส่ วนระหว่ำงประจุต่อมวลของอนุภำคดิวเทอรอนมีค่ำกี่คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
1. 2.1 x 10–8 2. 2.1 x 10–6 3. 4.8 x 105 4. 4.8 x 107

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
16. ในเครื่ องเร่ งอนุภำคบำงแบบอนุภำคจะถูกทำให้วิง่ เป็ นวงกลม โดยใช้สนำมแม่เหล็กที่มี
ทิศทำงตั้งฉำกกับแนวที่อนุภำควิง่ ถ้ำสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอขนำด B เทสลำ และอนุภำค
มีมวล m ประจุ q เวลำที่อนุภำควิง่ แต่ละรอบจะต้องเป็ นกี่วนิ ำที
1. 2mB q 2. 2
qB
m B
3. 3qB 4. 2mqB

17. อนุภำคหนึ่งวิง่ ตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ำเสมอควำมเข้ม 2 x 10–4 เทสลำ ถ้ ำ


อัตรำส่ วนของประจุ ต่ อมวลของอนุ ภ ำคนี้ มีค่ ำเท่ ำกับ 3.14 x 1010 คู ล อมบ์ต่ อกิ โลกรั ม
ควำมถี่ของกำรเคลื่อนที่เป็ นวงกลมของอนุภำคนี้ มีค่ำกี่เมกะเฮิรตซ์

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.2 กระแสไฟฟ้าทาให้ เกิดสนามแม่ เหล็ก
เออร์เสตด นักฟิ สิ กส์ชำวเดนมำร์ คเป็ นผูค้ น้ พบว่ำ
เมื่อปล่อยให้กระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนเส้นลวดตัวนำ จะเกิด
สนำมแม่เหล็กวนรอบๆ เส้นลวดตัวนำนั้น ในทิศทำง
กำรวนซึ่งหำได้จำกกฎมือขวำ โดยใช้มือขวำกำเส้นลวด
ตัวนำและให้หวั แม่มือชี้ไปตำมทิศกำรไหลของกระแสไฟ
ฟ้ ำ สนำมแม่เหล็กที่เกิดจะวนไปตำมทิศของนิ้วทั้งสี่ ที่
กำเส้นลวดนั้น
สำหรับขนำดของสนำมแม่เหล็กที่เกิดหำได้จำก
B = ( 2 x 10–7 ) RI
เมื่อ B คือขนำดของสนำมแม่เหล็กเหนี่ยวนำรอบลวดโลหะตัวนำ ( เทสลำ )
I คือกระแสไฟฟ้ ำ ( แอมแปร์ )
R คือระยะห่ำงจำกตัวนำถึงจุดที่วดั ขนำดสนำมแม่เหล็ก ( เมตร )
โปรดสั งเกต ทิศของสนำมแม่เหล็กจะตั้งฉำกกับทิศของกระแสไฟฟ้ ำเสมอ

หำกเรำปล่อยกระแสไฟฟ้ ำไหลวนในขดลวด
ซึ่ งพันเป็ นเกลียว จะเกิดสนำมแม่เหล็กไหลวนรอบ
เกลียวขดลวดนั้นดังรู ป ทิศกำรไหลวนของสนำม
แม่เหล็กนี้สำมำรถหำได้จำกกฎมือขวำ โดยใช้มือ
ขวำกำขดลวดทั้งเกลียวและให้นิ้วทั้งสี่ วนตำมกระแส
ไฟฟ้ ำ หำกหัวแม่มือชี้ไปทำงทิศใดสนำมแม่เหล็กจะ
วนออกขดลวดทำงด้ำนนั้น ลักษณะนี้ จะทำให้ขดลวดนี้ เป็ นเสมือนแท่งแม่เหล็กแท่งหนึ่ ง โดย
ด้ำนที่หวั แม่มือชี้ไปจะเป็ นขั้วแม่เหล็กเหนือ เพรำะมีสนำมแม่เหล็กพุง่ ออกดังกล่ำว ขดลวดที่มี
กระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนแล้วกลำยเป็ นเสมือนแท่งแม่เหล็กเช่นนี้ เรี ยกขดลวดโซลินอยด์

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
18(แนว En) AB เป็ นส่ วนของลวดตรงยำวมีกระแส I
จำก A ไป B และมีอิเล็กตรอนประจุ –e กำลัง C V
วิง่ ผ่ำนจุด C ด้วยควำมเร็ ว v ซึ่งมีทิศขนำนกับ A B
I
AB ดังรู ป ขณะนั้นอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ตำมข้อใด
1. เบนเข้ำหำเส้นลวด AB 2. เบนออกจำกเส้นลวด AB
3. เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงพุง่ ไปข้ำงหน้ำ 4. เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงย้อนมำข้ำงหลัง

15.3 แรงกระทาต่ อลวดตัวนาทีม่ กี ระแสไฟฟ้าไหลผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก


ในกรณี ที่มีเส้นลวดตัวนำวำงอยูใ่ น
สนำมแม่เหล็ก เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำไหล
ผ่ำนเส้นลวดตัวนำ นั้น จะเกิดแรงกระ
ทำต่อเส้นลวดนั้น เรำสำมำรถหำทิศของ
แรงที่กระทำนั้นได้จำกกฎมือขวำดังนี้
ขั้น 1. แบมือขวำพร้อมกำงหัวแม่
มือออก แล้วชี้นิ้วทั้งสี่ ไปทิศของกระแสไฟฟ้ ำ
ขั้น 2. หันหน้ำมือแบไปตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก
ขั้น 3. หัวแม่มือที่กำงออกจะชี้บอกทิศของแรงกระทำที่เกิดขึ้น
สำหรับขนำดของแรงกระทำนั้น สำมำรถหำได้จำกสมกำร
F = I L B sin
เมื่อ F คือแรงกระทำต่อเส้นลวดนั้น ( นิวตัน )
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำน (แอมแปร์ )
L คือควำมยำวของเส้นลวด ( เมตร )
 คือมุมระหว่ำงทิศกำรไหลกระแสไฟฟ้ ำกับทิศของสนำมแม่เหล็ก

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
19. เส้นลวดตัวนำยำว 60 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน 10 แอมแปร์ และทำมุม
30o กับทิศของสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ จงหำขนำดของแรงที่เกิดในหน่วยนิวตัน
1. 3.0 2. 4.5 3. 6.0 4. 7.5

20. จำกข้อที่ผ่ำนมำ ถ้ำเส้นลวดมีมวล 9 กิโลกรัม จงหำควำมเร่ งของกำรเคลื่อนที่ของเส้น


ลวดนี้ในหน่วยเมตร/วินำที2
1. 0.5 2. 1.0 3. 3.0 4. 6.0

21. จำกข้อที่ ผ่ำนมำ จงหำว่ำถ้ำตอนแรกเส้นลวดอยู่นิ่งๆ ในเวลำ 2 วินำที จะมีควำมเร็ ว


กี่เมตร/วินำที
1. 0.5 2. 1.0 3. 3.0 4. 6.0

22. ถ้ำต้องกำรให้เส้นลวดตัวนำยำว 20 เซนติเมตร มวล 0.1 กิโลกรัม ลอยนิ่งอยูใ่ น


สนำมแม่เหล็กที่มีขนำด 1.0 เทสลำ และมีทิศทำง x x x x
ดังในรู ป จะต้องผ่ำนกระแสไฟฟ้ ำเข้ำไปในเส้น x x x x
ลวดกี่แอมแปร์ และไหลไปทำงทิศใดในรู ปภำพ x x x x
1. 3 A ไปทำงซ้ำย 2. 3 A ไปทำงขวำ x x x x
3. 5 A ไปทำงซ้ำย 4. 5 A ไปทำงขวำ (สนำมแม่เหล็กมีทิศเข้ำกระดำษ)

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.4 แรงระหว่ างลวดตัวนาสองเส้ นทีข่ นานกันและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่ าน
ลวดตัวนำ 2 เส้นที่วำงตัวขนำนกัน เมื่อมีกระ I I I
แสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน เส้นลวดทั้งสองนั้นจะเกิดแรงกระ
ทำซึ่ งกันและกันเสมอ โดยที่ เกิด เกิด
แรงผลัก แรงดูด
หำกกระแสไฟฟ้ ำในเส้นลวดทั้งสองไหลไปใน
ทำงตรงกันข้ำมลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงผลักกัน I
หำกมีกระแสไฟฟ้ ำในเส้นลวดทั้งสองไหลไปทำงเดียวกันลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงดูดกัน
23(แนว En) สำยไฟที่ เดิ น ในอำคำรประกอบขึ้ นด้วยลวดทองแดง 2 เส้ น หุ ้มฉนวนและมี
เปลือกหุม้ ให้ 2 เส้น รวมอยูด่ ว้ ยกันอีกชั้นหนึ่ง เมื่อมีกำรใช้เครื่ องไฟฟ้ ำในบ้ำนลวด 2
เส้นจะมีแรงกระทำต่อกันหรื อไม่และอย่ำงไร
1. ไม่มีแรงกระทำต่อกัน เพรำะมีฉนวนหุม้ แยกจำกกันไม่ได้
2. มีแรงกระทำต่อกัน โดยผลักและดูดสลับกันเพรำะเป็ นไฟฟ้ ำกระแสสลับ
3. มีแรงกระทำต่อกันและเป็ นแรงดูดเข้ำหำกัน
4. มีแรงกระทำต่อกันและเป็ นแรงผลักซึ่ งกันและกัน

15.5 แรงกระทาต่ อขดลวดทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก


หำกเรำนำขดลวดไปไว้ในสนำมแม่เหล็ก แล้ว
ปล่อยกระแสไฟฟ้ ำเข้ำไปไหลวนดังรู ป จะพบว่ำ
แรงกระทำต่อขดลวด 2 ข้ำงจะมีทิศตรงกันข้ำม จะ
ส่ งผลทำให้ขดลวดนั้นเกิดกำรหมุนตัว เรำสำมำรถ
หำโมเมนต์กำรหมุนของขดลวดนี้ ได้จำกสมกำร
M = N I A B cos 
เมื่อ M คือโมเมนต์ของแรงคู่ควบ ( นิวตัน.เมตร )
N คือจำนวนรอบของขดลวด
A คือพื้นที่ของขดลวด ( เมตร2)
B คือขนำดของสนำมแม่เหล็ก ( เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงระนำบพื้นที่ ( A) กับสนำมแม่เหล็ก (B)
13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ควรจำ 1) โมเมนต์สูงสุ ดเกิดเมื่อ A ขนำนกับ B คือ  = 0o
2) โมเมนต์ต่ำสุ ดเกิดเมื่อ A ตั้งฉำกกับ B คือ  = 90o
เพรำะ M = N I A B cos  = N I A B cos 90o = N I A B (0) = 0
24. ขดลวดตัวนำรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้ำพื้นที่ 10 ตำรำงเซนติเมตร วำงอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนำมแม่
เหล็ก 5 เทสลำ ถ้ำจำนวนรอบของขดลวดตัวนำเท่ำกับ 400 รอบ จงหำโมเมนต์ของแรง
คู่ควบที่เกิดขึ้น เมื่อระนำบขดลวดทำมุม 60o กับแนวสนำมแม่เหล็ก ค่ำของกระแสที่ผำ่ น
ขดลวดเท่ำกับ 6 แอมแปร์
1. 2 N.m 2. 3 N.m 3. 6 N.m 4. 9 N.m

25(แนว มช) ขดลวดวงกลมมีพ้ืนที่หน้ำตัด 50 ตำรำงเซนติเมตร มีขดลวดพันอยู่ 1000 รอบ


และมี ก ระแสไหลผ่ำน 1 แอมแปร์ วำงไว้ในสนำมแม่ เหล็ก ที่ มีควำมเข้ม 1 เทสลำ
โมเมนต์สูงสุ ดของขดลวดจะมีค่ำกี่นิวตัน.เมตร

15.6 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง


จำกหลักกำรของขดลวดหมุนตัวในสนำม
แม่เหล็กที่ผำ่ นมำ เรำสำมำรถนำไปสร้ำงเป็ นมอ
เตอร์ กระแสตรงได้ แต่จะมีปัญหำเบื้องต้นและวิธี
แก้ไขดังนี้
ปัญหาที่ 1 เมื่อขดลวดหมุนไปได้ครึ่ งรอบ
สำยไฟที่ต่อกระแสเข้ำจะเกิดกำรไขว้กนั ทำให้กระ
แสไหลกลับด้ำนกับตอนแรกส่ งผลให้ขดลวดหมุน
กลับไปกลับมำดังรู ป
14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
วิธีแก้คือ ใส่ คอมมิวเทเตอร์ วงแหวนผ่ำ
ซีก และแปรงสัมผัสที่ปลำยขดลวดดังรู ป แปรง
กับวงแหวนผ่ำซี กจะเพียงสัมผัสกัน ไม่ได้เชื่อมติด
ดังนั้นเมื่อขดลวดหมุนไป ก็จะไม่ลำกสำยไฟไป
พันกันทำให้ขดลวดหมุนไปในทิศทำงเดียวได้อย่ำง
ต่อเนื่อง วงแหวนครึ่งซีก
ปัญหาที่ 2 เมื่อขดลวดหมุนตัวไป 1/4 รอบ
ระนำบพื้นที่จะตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็ก โมเมนต์
กำรหมุนจะมีค่ำเป็ น 0 ขดลวดจะหยุดหมุน
วิธีแก้คือ ใส่ ขดลวดเพิม่ เข้ำไปอีกในระนำบเอียงทำมุมเหมำะสมกับขดลวดเดิม ดังรู ป

15.7 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาและแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนา


เมื่อมีฟลักซ์แม่เหล็กที่มีขนำดเปลี่ยนแปลงตัดผ่ำนลวดตัวนำ จะทำให้เกิดแรงเคลื่อน
ไฟ ฟ้ ำระหว่ำงปลำยของลวดตัวนำนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำที่เกิดนี้เรี ยกว่ำแรงเคลือ่ นไฟฟ้า
เหนี่ยวนา ( induced electromotive force ) และเมื่อต่อให้ครบวงจรจะเกิดกระแสไฟฟ้ ำ
ไหลในลวดตัวนำนั้น เรี ยกกระบวนกำรเกิดกระแสไฟฟ้ ำลักษณะนี้ วำ่ การเหนี่ยวนา
แม่ เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic induction ) และเรี ยกกระแสไฟฟ้ ำที่เกิดจำกวิธีน้ ีวำ่
กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา ( induce current )
กฎกำรเหนี่ ยวนำของฟำรำเดย์กล่ำวว่ำ " แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นในขดลวด
เป็ นสั ดส่ วนกับอัตราการเปลีย่ นแปลงของฟลักซ์ แม่ เหล็กทีผ่ ่านขดลวดนั้นเมื่อเทียบกับเวลา "
กรณี ที่เรำเคลื่อนเส้นลวดตัวนำตัดสนำมแม่ I
เหล็กด้วยควำมเร็ ว v ดังรู ป จะทำให้เกิดแรง
เคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำ และกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยว I
นำซึ่งหำทิศทำงได้จำกกฎมือขวำ โดยแบมือขวำ
และกำงนิ้วหัวแม่มือออก ให้นิ้วทั้ง 4 ชี้ไปตำม
ทิศของควำมเร็ ว v ของเส้นลวด แบหน้ำมือไป
E
ตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก หัวแม่มือจะชี้ไปตำม
ทิศของกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำทันที
15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
กรณี ที่เรำหมุนขดลวดตัดสนำมแม่เหล็กจะ
ทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดนั้นมีกำรเปลี่ยน
แปลงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำเช่นกัน แต่
กระแสไฟฟ้ ำที่เกิดขึ้นนี้จะมีทิศกลับไปกลับมำจึง
เรี ยกว่ำไฟฟ้ากระแสสลับ
กรณี ที่เรำเคลื่อนสนำมแม่เหล็กผ่ำนขดลวด B
ซึ่งอยูก่ บั ที่จะทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดนั้น
มีกำรเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำ
ซึ่ งหำทิศทำงกำรไหลเวียนได้จำกกฎมือซ้ำยดังนี้
1. กำมือมือซ้ำยแล้วกำงหัวแม่มือออกแล้วชี้นิ้วหัวแม่
มือไปตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก ( ทิศออกไปทำงขั้วเหนือ )
2. หำกฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นพื้นที่ขดลวดมีปริ มำณ
เพิ่มขึ้น ( เช่นกรณี ที่เคลื่อนแท่งแม่เหล็กเข้ำใกล้ขดลวด )
กระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำจะมีทิศวนตำมนิ้วทั้ง 4 ที่เหลือ
แต่ถำ้ ฟลักซ์แม่เหล็กมีปริ มำณลดลง ( เช่นกรณี ที่เคลื่อนแท่งแม่เหล็กถอยห่ำงขดลวด )
กระแสเหนี่ยวนำจะมีทิศวนในทิศตรงกันข้ำมกับนิ้วทั้ง 4
26(แนว มช) ดึงแท่งแม่เหล็กขั้วเหนื อออกจำกห่วง ซึ่งทำด้วย
N
พลำสติกดังรู ป อยำกทรำบว่ำจะเกิดผลอย่ำงไร
1. จะเกิดสนำมไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำในห่วงไปตำมทิศ 
2. จะเกิดสนำมไฟฟ้ ำหนี่ ยวนำในห่วงไปตำมทิศ   
S
3. จะเกิดกระแสเหนี่ยวนำในห่วงไปตำมทิศ 
4. ไม่เกิดอะไรเลยเนื่ องจำกเป็ นฉนวน

27(แนว มช) จำกกฎกำรเหนี่ยวนำทำงแม่เหล็ก ในบริ เวณที่สนำมแม่เหล็กมีกำรเปลี่ยนแปลง จะ


มีกำร เหนี่ ยวนำให้เกิ ดสนำมไฟฟ้ ำขึ้นในบริ เวณนั้นดังแสดงในรู ป ก และ ข ถ้ำ  B ชี้
ทิศเดียวกับ B แสดงว่ำสนำมแม่เหล็กเพิ่มขึ้น และถ้ำ  B ชี้ทิศตรง ข้ำมกับ B แสดงว่ำ
สนำมแม่เหล็กลดลง อยำกทรำบว่ำสนำมไฟฟ้ ำที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นในทิศทำงใด ตำมลำดับ
16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

  
B B B

   
E1 E2 E3 E4

รู ป (ก) รู ป (ข) 
B
       
1. E 1 และ E 3 2. E 1 และ E 4 3. E 2 และ E 3 4. E 2 และ E 4

15.8 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนาในมอเตอร์


15.8.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
หลักกำรทำงำนของเครื่ องกำเนิด
ไฟฟ้ ำโดยพื้นฐำนแล้วจะต้องหมุนขดลวด
ตัดสนำมแม่เหล็ก และจะเกิดแรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวดนั้น ถ้ำสม-
มุติเวลำที่หมุนขดลวด 1 รอบมีค่ำเป็ น T
E
จะพบว่ำช่วงกำรหมุนขดลวดครึ่ งรอบแรก
+ +
( จำก 0 – T2 ) แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำจะมีค่ำ 0 T
2 – T – t
เพิ่มขึ้นแล้วลดลง จำกนั้นครึ่ งรอบหลัง
( จำก T2 – T ) แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำจะมีทิศ
ย้อนกลับ จึงเรี ยกกระแสไฟฟ้ ำลักษณะนี้
ว่ำกระแสสลับ
เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำบำงประเภท
ใช้วธิ ี หมุนแท่งแม่เหล็กให้ฟลักซ์แม่เหล็ก
ตัดขดลวดตัวนำ จะทำให้มีไฟฟ้ ำกระแส
สลับเกิดขึ้นในขดลวดได้เช่นกัน
17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำกระแสสลับ
ที่ใช้ตำมโรงงำนไฟฟ้ ำ มักจะมีขดลวด E
ตัวนำอยู่ 3 ชุด ล้อมรอบแท่งแม่เหล็ก 0 t เฟสที่ 1
ระนำบขดลวดแต่ละขดจะทำมุม 120o E
ต่อกัน ลักษณะนี้จะได้กระแสไฟฟ้ ำ 0 t เฟสที่ 2
สลับถึง 3 กระแสซึ่ งมีเฟสต่ำงกัน 120o
E
จึงเรี ยกเป็ นเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำ 3 เฟส
0 t เฟสที่ 3

15.8.2 แรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนาในมอเตอร์


ในกรณี ของมอเตอร์ น้ นั เรำต้องปล่อยกระแสไฟฟ้ ำให้ไหลเข้ำไปในขดลวดที่อยูใ่ น
สนำมแม่เหล็ก จะทำให้มอเตอร์ เกิดกำรหมุน ขณะ
เดียวกันกำรหมุนนี้จะทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยว
นำ ( e ) ซึ่ งจะมีทิศตรงกันข้ำมกับแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำที่ e
E
เรำใส่ เข้ำไป ( E ) จึงเรี ยกแรงเคลือ่ นไฟฟ้าดันกลับ (e)
ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำลัพธ์ = E – e
กระแสไฟฟ้ ำที่ไหลเข้ำมอเตอร์ จะหำค่ำได้
จำก I = ER  re
เมื่อ I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลเข้ำมอเตอร์ ( แอมแปร์ )
E คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำที่ใส่ เข้ำไป (โวลต์ )
e คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับ (โวลต์ )
r คือควำมต้ำนทำนภำยในของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำ (โอห์ม)
R คือควำมต้ำนทำนภำยนอกแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำ (ควำมต้ำนทำนของมอเตอร์ ) (โอห์ม)
จำกสมกำรนี้ จะเห็ นว่ำถ้ำมอเตอร์ ฝื ดหรื อไฟฟ้ ำตก จะทำให้มอเตอร์ หมุ นช้ำลงทำให้
แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับ ( e ) จะมีค่ำน้อยลง ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำลัพธ์ ( E – e ) จะมีค่ำมำก
ทำให้กระแสไฟฟ้ ำ ( I ) ที่ไหลเข้ำมอเตอร์ มีค่ำมำกกว่ำที่ควร อำจทำให้มอเตอร์ไหม้ได้

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
28(แนว มช) แบตเตอรี่ ขนำด 6 โวลต์ มีควำมต้ำนทำนภำยใน 1 โอห์ ม ต่อเข้ำกับมอเตอร์
กระแสตรงซึ่ งมีควำมต้ำนทำนของขดลวดของมอเตอร์ เท่ำกับ 1 โอห์ม ในขณะที่มอเตอร์
หมุนสำมำรถวัดกระแสไฟฟ้ ำ 0.5 แอมแปร์ แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับมอเตอร์มีค ่ำเท่ำใด
1. 7.5 V 2. 5.5 V 3. 5.0 V 4. 4.5 V

29. มอเตอร์ เครื่ องหนึ่ งใช้กบั แรงเคลื่ อนไฟฟ้ ำ 12 โวลต์ ขณะมอเตอร์ ก ำลังทำงำนจะเกิ ด
แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำต้ำนกลับ 10 โวลต์ และมีกระแสผ่ำนมอเตอร์ 8 แอมแปร์ ขดลวดของ
มอเตอร์ มีควำมต้ำนทำนเท่ำใด

30(แนว มช) ถ้ำมอเตอร์ ฝืดจนหยุดหมุนเป็ นเวลำนำนจะทำให้มอเตอร์ไหม้เพรำะ


1. มีควำมเสี ยดทำนเกิดขึ้นตำมจุดหมุนเป็ น
2. เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำซึ่ งมีทิศตรงกันข้ำมกับแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเดิม
3. ไม่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับเกิดขึ้น
4. ทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดมีกำรเปลี่ยนแปลง เกิดกระแสเหนี่ยวนำขึ้นเป็ น
จำนวนมำก

15.9 หม้ อแปลงไฟฟ้า


หม้ อแปลงไฟฟ้า คือเครื่ องมือที่ใช้เปลี่ยนควำมต่ำงศักย์ ( หรื อแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ ) ให้มีค่ำ
สู งขึ้นหรื อต่ำลงตำมต้องกำร หม้อแปลงไฟฟ้ ำมี
2 แบบ ได้แก่
1. หม้อแปลงขึ้น (Set up Transformer)
ใช้เปลี่ยนควำมต่ำงศักย์จำกต่ำเป็ นสู งขึ้น
2. หม้อแปลงลง (Step down Transformer)
ใช้เปลี่ยนควำมต่ำงศักย์จำกสู งเป็ นต่ำลง
19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ส่ วนประกอบของหม้ อแปลงไฟฟ้า
1. แกนเหล็ก อ่ อน ท ำด้วยเหล็ ก อ่อนแผ่นบำงๆ หลำยๆ แผ่นวำงซ้อนกัน นิ ยมตัดเป็ น
สี่ เหลี่ยมจัตุรัสกลำงกลวงหรื อตัดเป็ นรู ปตัว E ทำหน้ำที่รวมเส้นแรงแม่เหล็กจำกขดลวด
2. ขดลวดปฐมภูมิ (Pimary coil) เป็ นขดลวดที่ปล่อยให้กระแสไฟฟ้ ำเข้ำ พันอยูท่ ี่ขำข้ำง
หนึ่งของแกนเหล็ก
3. ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary coil) เป็ นขดลวดที่ส่ งกระแสไฟฟ้ ำออก จะพันอยูท่ ี่ปลำย
อีกข้ำงหนึ่งของแกนเหล็ก
หลักการทางานของหม้ อแปลงไฟฟ้า
เมื่อให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ (E1) ผ่ำนไปยังขด
ลวดปฐมภูมิ จะเกิดสนำมแม่เหล็กวนรอบๆ ขด
ลวดปฐมภูมิข้ ึน และฟลักซ์แม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะ
เหนี่ยวนำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ (E2) ที่ขดลวด
ทุติยภูมิ
ควำมสัมพันธ์ ของแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำทั้งสองคือ
E1 N1 V1
E2 = N2 = V2
เมื่อ E1 , E2 คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำของขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตำมลำดับ
N1 , N2 คือจำนวนขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตำมลำดับ
V1 , V2 คือควำมต่ำงศักย์ของขดลวดปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ ตำมลำดับ
ข้ อควรรู้ 1. หม้อแปลงลง จะมีค่ำ E2 < E1 และ V2 < V1 และ N2 < N1
หม้อแปลงขึ้น จะมีค่ำ E2 > E1 และ V2 > V1 และ N2 > N1
2. ประสิ ทธิ ภำพของหม้อแปลงหำได้จำก
P
Eff = P2 x 100 %
1
เมื่อ Eff คือประสิ ทธิ ภำพของหม้อแปลง ( %)
P1 คือกำลังไฟฟ้ ำที่ใส่ เข้ำไปที่ขดลวดปฐมภูมิ ( วัตต์ )
P2 คือกำลังไฟฟ้ ำที่เกิดในขดลวดทุติยภูมิ ( วัตต์ )

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
หำกหม้อแปลงมีประสิ ทธิภำพ 100%
จะได้ P 1 = P2 ( แทนค่ำ P = I V )
จะได้ I1 V1 = I2 V2
31(แนว มช) กระแสไฟฟ้ ำสลับในขดลวดทุติยภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้ ำเกิดขึ้นได้เนื่องจำก
1. กำรเปลี่ยนแปลงสนำมไฟฟ้ ำ 2. กำรเปลี่ยนแปลงสนำมแม่เหล็ก
3. แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้ ำ 4. กระแสไฟฟ้ ำในขดปฐมภูมิ

32(แนว En) หม้อแปลงไฟฟ้ ำซึ่ งใช้ไฟฟ้ ำ 200 โวลต์ มีขดลวดปฐมภูมิ 100 รอบ ถ้ำต้องกำร
ให้หม้อแปลงนี้สำมำรถจ่ำยไฟฟ้ ำได้ 3000 โวลต์ ขดลวดทุติยภูมิตอ้ งมีจำนวนรอบเท่ำไร
1. 750 รอบ 2. 1500 รอบ 3. 3000 รอบ 4. 4500 รอบ

33(แนว En) หม้อแปลงเครื่ องหนึ่ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวด


ทุติยภูมิเป็ น 1 : 4 ถ้ำมีควำมต่ำงศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ำกับ 1000 โวลต์ จงหำควำม
ต่ำงศักย์ในขดลวดปฐมภูมิ
1. 100 V 2. 150 V 3. 200 V 4. 250 V

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
34(แนว En) หม้อแปลงไฟลงจำก 20000 โวลต์ เป็ น 200 โวลต์ เกิดกำลังในขดลวดทุติยภูมิ
5.6 กิโลวัตต์ หม้อแปลงมีประสิ ทธิภำพร้อยละ 80 กระแสไฟฟ้ ำที่ผำ่ นขดลวดปฐมภูมิมีค่ำ
เท่ำใด
1. 0.24 A 2. 0.27 A 3. 0.35 A 4. 0.54 A

35. เตำรี ดไฟฟ้ ำเครื่ องหนึ่ งมีควำมต้ำนทำน 20 โอห์ม ใช้ก บั ควำมต่ำงศักย์ 110 โวลต์ แต่
ไฟฟ้ ำที่ใช้กนั ตำมบ้ำนมีควำมต่ำงศักย์ 220 โวลต์ จึงต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้ ำช่วยเมื่อใช้เตำ
รี ดเครื่ องนี้ ถ้ำหม้อแปลงไฟฟ้ ำมี ประสิ ท ธิ ภำพ 75% จงหำค่ำกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำน
ขดลวดปฐมภูมิ
1. 2.06 A 2. 3.7 A 3. 2.75 A 4. 11 A

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
36(แนว En) หม้อแปลงเครื่ องหนึ่ ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวด
ทุติยภูมิเป็ น 1 : 5 ถ้ำมีกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ำกับ 10 แอม-
แปร์ และ 200 โวลต์ ตำมลำดับ จงหำควำมต่ำงศักย์และกระแสไฟฟ้ ำในขดลวดปฐมภูมิ
1. 40 V และ 50 A 2. 50 V และ 40 A
3. 40 V และ 40 A 4. 50 V และ 50 A

15.10 ไฟฟ้ ากระแสสลับ


15.10.1 ค่ าของปริมาณทีเ่ กี่ยวข้ องกับไฟฟ้ ากระแสสลับ
ดังได้กล่ำวมำแล้วว่ำแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำ E
ที่เกิดจำกเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำแบบหมุนขดลวดในสนำม + +
แม่เหล็กจะมีขนำดไม่คงที่และมีทิศสลับไปมำ ควำม 0 t
2 – T –
T

สัมพันธ์ระหว่ำงแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำกับเวลำจะอยูใ่ นรู ป


e = Em sin  t
เมื่อ e คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ ณ เวลำ t ใดๆ ( โวลต์ )
Em คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำสู งสุ ด (โวลต์ )
 คือควำมเร็ วเชิงมุม ( เท่ำกับอัตรำเร็ วเชิงมุมของกำรหมุนขดลวด ) ( เรเดียน/วินำที )
ค่า  หาค่าได้จาก
 = 2π
T หรื อ  = 2 f
เมื่อ T คือคำบของไฟฟ้ ำกระแสสลับ ( เท่ำกับคำบของกำรหมุนขดลวด ) (วินำที)
f คือควำมถี่ของไฟฟ้ ำกระแสสลับ ( เท่ำกับควำมถี่ของกำรหมุนขดลวด ) ( เฮิร์ตซ )
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เมื่ อเรำต่ อแรงเคลื่ อ นไฟฟ้ ำข้ำงต้น เข้ำ กับ ตัวต้ำนทำน จะมี ก ระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนตัว
ต้ำนทำนและเกิดควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยของตัวต้ำนทำน ซึ่ งจะมีค่ำแปรเปลี่ยนไปตำมเวลำ
ดังสมกำรต่อไปนี้
i = Im sin  t และ v = Vm sin  t
เมื่อ i และ v คือกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ ณ เวลำ t ใดๆ
Im และ Vm คือกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์สูงสุ ด
37. เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำกระแสสลับเครื่ องหนึ่ งผลิตกระแสไฟฟ้ ำได้สูงสุ ด 20 แอมแปร์ ควำม-
ต่ำงศักย์สูงสุ ด 300 โวลต์ ควำมถี่กระแสไฟฟ้ ำ 50 เฮิรตซ์ จงหำกระแสไฟฟ้ ำ และควำม
ต่ำงศักย์ ณ เวลำ 600 1 วินำที หลังจำกเปิ ดเครื่ อง
1. 10 A , 150 V 2. 20 A , 150 V
3. 10 A , 300 V 4. 20 A , 300 V

กำรหำค่ำเฉลี่ยของกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ ำของกระแสไฟฟ้ ำสลับนั้น อำจ


ทำได้หลำยวิธีได้แก่
1. ทำกำรทดลอง ซึ่ งค่ำที่ได้จำกกำรทดลองจะเรี ยกเป็ นค่ ายังผล
2. ใช้เครื่ องมือวัดค่ำโดยตรง ค่ำที่ได้จำกกำรวัดเรี ยกค่ ามิเตอร์
3. คำนวณหำ ค่ำที่ได้จำกกำรคำนวณเรี ยกค่ ารากทีส่ องของกาลังสองเฉลีย่ ( root
mean square , rms ) ซึ่งหำได้จำกสมกำร
Irms = Im2 และ Vrms = Vm2
เมื่อ Irms และ Vrms คือค่ำกระแสไฟฟ้ ำเฉลี่ย และควำมต่ำงศักย์เฉลี่ย
Im และ Vm คือค่ำกระแสไฟฟ้ ำสู งสุ ด และควำมต่ำงศักย์สูงสุ ด
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
38. แอมมิ เตอร์ ก ระแสไฟฟ้ ำสลับ ต่ ออนุ ก รมกับ หลอดไฟอ่ ำนค่ ำได้ 0.25 แอมแปร์ จงหำ
กระแสสู งสุ ด ( Im ) ที่ไหลผ่ำนหลอดไฟในหน่วยแอมแปร์
1. 0.25 2. 0.5 3. 0.5 4. 0.25 2
2

39. จำกข้อที่ ผ่ำนมำ ถ้ำโวลต์มิเตอร์ กระแสไฟฟ้ ำสลับต่อคร่ อมหลอดไฟอ่ำนควำมต่ำงศักย์


100 โวลต์ จงหำควำมต่ำงศักย์มำกสุ ด ( Vm ) mujคร่ อมหลอดไฟในหน่วยโวลต์
1. 50 2. 100 3. 100 4. 100 2
2

40(แนว มช) ถ้ำกล่ำวว่ำไฟฟ้ ำในบ้ำนมีควำมต่ำงศักย์ 220 โวลต์ หมำยควำมว่ำควำมต่ำงศักย์


สู งสุ ดมีค่ำกี่โวลต์
1. 110 2. 220 3. 220 4. 220 2
2

41. ในวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับ ถ้ำควำมสัมพันธ์ของควำมต่ำงศักย์ของแหล่งกำเนิ ด E แปรกับ


เวลำ t ใดๆ ตำมควำมสัมพันธ์ E = 20 sin 314 t จงหำค่ำยังผล ( หรื อค่ำมิเตอร์ ) ของ
ควำมต่ำงศักย์ และควำมถี่ของกระแสไฟฟ้ ำสลับนี้
1. 10 V , 50 Hz 2. 10 V , 100 Hz
3. 10 2 V , 50 Hz 4. 10 2 V , 100 Hz

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
42. โวลต์มิเตอร์ ตวั หนึ่ งอ่ำนค่ำควำมต่ำงศักย์ของไฟบ้ำนซึ่ งเป็ นไฟฟ้ ำกระแสสลับ 50 เฮิรตซ์
ได้ 200 โวลต์ ถ้ำ V เป็ นค่ำควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงคู่สำยที่เวลำ t ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้แสดง
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง V และ t ได้อย่ำงถูกต้อง
1. V = 283 sin 100 t 2. V = 200 sin 100 t
3. V = 283 sin 50 t 4. V = 200 sin 50 t

15.10.2 ตัวต้ านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ


ก. ตัวต้ านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำสลับไหลผ่ำนตัวต้ำนทำน
จะเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวต้ำนทำนนั้น
เรำสำมำรถหำค่ำควำมต่ำงศักย์ที่เกิดได้จำก
V = IR
เมื่อ V คือควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวต้ำนทำน (โวลต์)
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำนตัวต้ำนทำน
( แอมแปร์ )
R คือค่ำควำมต้ำนทำน (โอห์ม)
และค่ำกระแส ณ เวลำใดๆ หำค่ำได้จำก
i = Im sin  t
และ v = Vm sin  t
เมื่อ i และ v คือกระแสที่ไหล และควำมต่ำงศักย์ของตัวต้ำนทำน ณ เวลำ t ใด ๆ
Im และ Vm คือกระแสสู งสุ ดและควำมต่ำงศักย์สูงสุ ดของตัวต้ำนทำน
ควรทราบว่า เฟสของกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ของตัวต้ำนทำนจะมีค่ำเท่ำกันเสมอ
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
43(แนว En) ในวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับดังรู ป ถ้ำโวลต์
มิเตอร์ V อ่ำนค่ำควำมต่ำงศักย์ได้ 200 โวลต์ จง R = 100 
V 
หำกระแสสู งสุ ดที่ผำ่ นควำมต้ำนทำน R
1. 0.70 A 2. 2.00 A 3. 2.82 A 4. 4.80 A

ข. ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำสลับไหลผ่ำนตัวเก็บประจุ
จะเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุน้ นั
เรำสำมำรถหำค่ำควำมต่ำงศักย์ที่เกิดได้จำก
V = I XC
เมื่อ V คือควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุ (โวลต์ )
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำนตัวเก็บประจุ ( แอมแปร์ )
XC คือค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งควำมจุ ( โอห์ม )
และ XC = 1 C = 21f C
เมื่อ C คือค่ำควำมจุประจุ ( ฟำรัด )
f คือควำมถี่กระแสไฟฟ้ ำ ( เฮิรตซ์ )
และค่ำกระแส ณ เวลำใด ๆ หำค่ำได้จำก
i = Im sin  t
และ v = Vm sin ( t – 90o)
เมื่อ i และ v คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหล และควำมต่ำง
ศักย์ของตัวเก็บประจุ ณ.เวลำ t ใด ๆ
Im และ Vm คือกระแสไฟฟ้ ำสู งสุ ดและควำมต่ำง
ศักย์สูงสุ ดของตัวตัวเก็บประจุ
ควรทรำบว่ำ
เฟสของควำมต่ำงศักย์ของตัวเก็บประจุจะมีค่ำน้อยกว่ำเฟสของกระแสไฟฟ้ ำอยู่ 2 หรื อ 90o
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
44. ควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุมีค่ำกี่โวลต์ จึงจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำ 3.14 มิลลิแอม-
แปร์ ในวงจรตัวเก็บประจุที่มีควำมจุ 0.5 ไมโครฟำรัด เมื่อควำมถี่ของกระแสไฟฟ้ ำเป็ น
1 กิโลเฮิรตซ์
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

45. ตัวเก็บประจุควำมจุ 70 ไมโครฟำรัด ต่อกับแหล่งกำเนิ ดไฟฟ้ ำสลับที่ มีค่ำยังผลของแรง


เคลื่ อนไฟฟ้ ำ 50 โวลต์ จงหำควำมถี่ ของแหล่ งกำเนิ ดเพื่ อให้เกิ ดกระแสไหลผ่ำนตัวเก็บ
ประจุ 1.1 แอมแปร์
1. 50 Hz 2. 100 Hz 3. 150 Hz 4. 220 Hz

ค. ตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำสลับไหลผ่ำนขดลวดเหนี่ยวนำ
จะเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมขดลวดเหนี่ยวนำนั้น
เรำสำมำรถหำค่ำควำมต่ำงศักย์ที่เกิดได้จำก
V = I XL
เมื่อ V คือควำมต่ำงศักย์คร่ อมขดลวดเหนี่ยวนำ ( โวลต์ )
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำนขดลวดเหนี่ยวนำ ( แอมแปร์ )
XL คือค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งหนี่ยวนำ ( โอห์ม )
และ XL =  L = 2 f L
เมื่อ L คือค่ำควำมเหนี่ยวนำของขดลวด (เฮนรี )
f คือควำมถี่กระแสไฟฟ้ ำ ( เฮิรตซ์ )
28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
และค่ำกระแส ณ เวลำใด ๆ หำค่ำได้จำก
i = Im sin  t
และ v = Vm sin ( t + 90o)
เมื่อ i และ v คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหล และควำม
ต่ำงศักย์ของตัวเก็บประจุ ณ เวลำ t ใดๆ
Im และ Vm คือกระแสไฟฟ้ ำสู งสุ ดและควำมต่ำง
ศักย์สูงสุ ดของตัวตัวเก็บประจุ
ควรทรำบว่ำ
เฟสของควำมต่ำงศักย์ของตัวเหนี่ยวนำจะมีค่ำมำกกว่ำเฟสของกระแสไฟฟ้ ำอยู่ 2 หรื อ 90o
46(แนว มช) วงจรไฟฟ้ ากระแสสลับความถี่ 100 เฮิรตซ์ ประกอบด้วยตัวต้านทาน 20 โอห์ม
และตัวเหนี่ยวนา 20 มิลลิเฮนรี มีกระแสผ่าน 0.2 แอมแปร์ ความต่างศักย์ระหว่าง
ปลายของตัวเหนี่ยวนาจะมีค่ากี่โวลต์

47. ตัวเหนี่ ยวนำ 0.07 เฮนรี ต่ อเป็ นวงจรกับ แหล่ งกำเนิ ดไฟฟ้ ำกระแสสลับ ควำมต่ ำงศัก ย์
220 โวลต์ 50 เฮิรตซ์ จะเกิดกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลในวงจรกี่แอมแปร์
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
48(แนว มช) วงจรกระแสไฟฟ้ ำสลับมีกระแส i เป็ น i = 5 sin 1000 t แอมแปร์ วัด
ควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยของตัวเหนี่ยวนำได้ 100 โวลต์ จงหำค่ำควำมเหนี่ยวนำ
2
ของตัวเหนี่ยวนำในหน่วยเฮนรี
1. 12 x 10–3 2. 20 x 10–3 3. 28 x 10–3 4. 40 x 10–3

49(แนว En) ส่ วนประกอบของวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับตำมรู ป (ก) มี กระแสไฟฟ้ ำที่ผ ่ำนและ


ควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยทั้งสองสัมพันธ์กนั ตำมรู ป (ข) จงวิเครำะห์วำ่ ส่ วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้ ำนี้คืออะไร
ส่วนประกอบ i , v 90o
ของวงจร v

0o t
i
(ก) (ข)
1. ตัวเก็บประจุ
2. ตัวเหนี่ยวนำ
3. ตัวต้ำนทำน
4. เป็ นวงจรผสมของตัวเหนี่ยวนำและตัวต้ำนทำน

50(แนว มช) ตัวเหนี่ ยวนำ L = 50 มิลลิ เฮนรี มีกระแสสลับเป็ น i เมื่อ i = 3 sin 60 t


แอมแปร์ จงหำควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยของตัวเหนี่ยวนำนี้ เมื่อเวลำ t ใดๆ
1. VL = sin 60 t 2. VL = 150 sin 60 t
3. VL = 150 cos ( 60 t – 2 ) 4. VL = 9 sin ( 60 t + 2 )

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.10.3 กาลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำรหำกำลังไฟฟ้ ำของไฟฟ้ ำกระแสสลับสำมำรถหำค่ำได้จำก
P = I V cos  และ P = I2 R และ P = VR2
เมื่อ P คือกำลังไฟฟ้ ำของวงจร (วัตต์)
I คือกระแสไฟฟ้ ำในวงจร (แอมแปร์ )
V คือควำมต่ำงศักย์ (โวลต์)
 คือเฟสที่แตกต่ำงระหว่ำงเฟสของกระแสไฟฟ้ ำกับควำมต่ำงศักย์
cos  คือตัวประกอบกำลัง
R คือค่ำควำมต้ำนทำน ( โอห์ม )
51(แนว En) ถ้าเฟสของกระแสยังผลและความต่างศักย์
ยังผลของวงจรไฟฟ้ ากระแสสลับเป็ นดังรู ป กาลังไฟ V = 1000 V
ฟ้ าเฉลี่ยที่สูญเสี ยในวงจรนี้ มีค่ากี่กิโลวัตต์
1. 4 kW 2. 5 kW 60o I = 10 A
3. 8 kW 4. 9 kW

52. ก ำหนดให้ v = 100 sin  โวลต์ และกระแสไฟฟ้ ำ i = 10 sin (  – 60o) แอมแปร์


กำลังไฟฟ้ ำสู งสุ ดจะมีค่ำเท่ำใด
1. 1000 วัตต์ 2. 750 วัตต์ 3. 500 วัตต์ 4. 250 วัตต์

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
53. ขดลวดเหนี่ ยวน ำ 0.03 เฮนรี และตัวต้ำนทำน 40 โอห์ ม ต่ ออนุ ก รมกับ แหล่ งกำเนิ ด
ไฟฟ้ ำกระแสสลับ กระแสไฟฟ้ ำของวงจร ( i ) มีค่ำดังสมกำร i = 5 sin (1000 t) แอมแปร์
จงหำกำลังเฉลี่ยของวงจร
1. 500 วัตต์ 2. 750 วัตต์ 3. 1000 วัตต์ 4. 1500 วัตต์

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เฉลยบทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบ 1 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบ 5 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบ 0.25 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบ 0.8 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 3. 53. ตอบข้ อ 1.



33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
15.1 แม่ เหล็กและสนามแม่ เหล็ก
15.1.1 สนามแม่ เหล็ก
15.1.2 สนามแม่ เหล็กโลก
15.1.3 ฟลักซ์ แม่ เหล็ก
1. ขดลวดตัวนำวงกลมรัศมี 10 เซนติ เมตร วำงอยู่ในบริ เวณที่มี สนำมแม่ เหล็ก สม่ ำเสมอ 4
เทสลำ จงหำฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดเมื่อระนำบขดลวดทำมุม 30o กับสนำมแม่เหล็ก
1. 0.02  เวเบอร์ 2. 0.04  เวเบอร์
3. 0.023  เวเบอร์ 4. 0.043  เวเบอร์

15.2.4 การเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคทีม่ ีประจุไฟฟ้าในสนามแม่ เหล็ก


2(แนว En) อนุภำคไฟฟ้ ำบวกจำกอวกำศเคลื่อนที่ลงหำผิวโลกในแนวดิ่งบริ เวณเส้นสู ตรศูนย์
ของโลก ซึ่ งมีสนำมแม่เหล็กโลกขนำนกับผิวโลก โปรตอนจะเบนไปทำงทิศใด
1. ทิศเหนื อ 2. ทิศตะวันตก 3. ทิศใต้ 4. ทิศตะวันออก

3. เมื่อประจุลบวิง่ ด้วย v ในสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอ ประจุน้ นั วิง่ เป็ นวงกลมกำรเคลื่อนที่ดงั


รู ปใดเป็ นรู ปที่ถูกต้อง ( x แสดงทิศทำงของ B เข้ำตั้งฉำกกับกระดำษ )
1. X X X X X v X
 2.
B
X X X X X X

X
v
X X X X X
B

3.  4. 
B B

v v

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
4. อนุภำคอิเล็กตรอน ( ประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ) ถูกยิงอย่ำงตั้งฉำก กับ สนำมแม่เหล็กที่มี
ควำมเข้ม 10 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 3 x 107 เมตร/วินำที ในทิศทำง ( +x ) ดังรู ป ขนำด
และทิศทำงของแรงเนื่องจำกสนำมแม่
เหล็กเป็ นตำมข้อใด สนามแม่เหล็กมีทิศพุง่ เข้ากระดาษ
x x x
1. 4.8 x 10–11 นิวตัน , ทิศ ( +Y )
2. 4.8 x 10–11 นิวตัน , ทิศ ( –Y ) Y e x x x
3. 4.8 x 10–12 นิวตัน , ทิศ ( +Y )
X x x x
4. 4.8 x 10–12 นิวตัน , ทิศ ( –Y )
5. อิเล็กตรอนที่มีควำมเร็ ว 1 x 107 เมตร/วินำที ในทิศตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กขนำด 10–4
เทสลำ จะมีแรงกระทำเท่ำใดในหน่วยนิวตัน
1. 1.6 x 10–12 2. 1.6 x 10–16 3. 3.2 x 10–12 4. 3.2 x 10–16
6. จำกข้อที่ผำ่ นมำ ถ้ำสนำมแม่เหล็กนั้นสม่ ำเสมอ อิเล็กตรอนจะวิ่งโค้งด้วยรัศมีควำมโค้งกี่
เมตร
1. 2.812 2. 0.2812 3. 5.625 4. 0.5625
7(แนว มช) ยิงอิเล็กตรอนด้วยควำมเร็ ว 5.0 x 107 
x x x x x x x xB
เมตร/วินำที เข้ำไปในทิศตั้งฉำกกับ B จะมี x x x x x x x x
แรงกระทำต่ออิเล็กตรอนด้วยขนำดเท่ำไร ใน v
x x x x x x x x
หน่วยของนิ วตัน x x x x x x x x

1. 2.8 x 10–14 2. 0.7 x 10–10 B เป็ นสนามแม่เหล็กมีทิศพุง่ ตั้งฉากลงไป
3 1.0 x 102 4. 1.8 x 105 ในกระดาษมีขนาด 3.5 x 10–3 เทสลา

8(แนว มช) จำกข้อที่ผำ่ นมำอิเล็กตรอนจะมีกำรเคลื่อนที่อย่ำงไร


1. หยุดนิ่งกับที่เนื่ องจำกแรงโน้มถ่วง
2. เคลื่อนที่เป็ นรู ปพำรำโบลำ
3. เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในทิศตำมเข็มนำฬิกำ
4. เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในทิศทวนเข็มนำฬิกำ

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
9(แนว มช) จำกข้อที่ผำ่ นมำรัศมีควำมโค้งของกำรเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีค่ำกี่เมตร
1. 8.31 x 10–55 2. 3.94 x 10–22
3. 2.78 x 10–10 4. 8.13 x 10–2
10. โปรตอนตัวหนึ่งเข้ำมำในสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 2 x 107 เมตร/-
วิน ำที โปรตอนเป็ นอนุ ภ ำคมี ประจุไ ฟฟ้ ำ 1.6 x 10–19 คู ล อมบ์ มี มวล 1.67 x 10–27
กิโลกรัม จงคำนวณหำรัศมีวงโคจรกำรเคลื่อนที่ของโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ต้ ังฉำก
กับสนำมแม่เหล็ก
1. 3.48 cm 2. 6.96 cm 3. 13.9 cm 4. 20.88 cm
11. อนุ ภำคโปรตอนในรั งสี คอสมิ กพุ่งเข้ำหำโลกในทิ ศทำงตั้งฉำกกับเส้ นแรงของสนำมแม่
เหล็กโลกด้วยควำมเร็ ว 2.4 x 108 เมตร/วินำที หลังจำกเกิดกำรเบี่ยงเบนโดยสนำมแม่เหล็ก
โลกแล้ว ปรำกฏว่ำอนุภำคโปรตอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบโลกโดยมีรัศมีของวงโคจร
8.35 x 103 กิ โลเมตร ควำมเข้มข้นของสนำมแม่เหล็กโลก ณ ตำแหน่ งของวงโคจรมี ค่ำกี่
เทสลำ กำหนดให้มวลของอนุ ภำคโปรตอนเท่ำกับ 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุเท่ำกับ
1.6 x 10–19 คูลอมบ์
1. 2 x 10–7 2. 3 x 10–7 3. 2 x 10–10 4. 3 x 10–10
12. อนุภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 9.6 x 106 เมตรต่อวินำที ในทิศทำงที่ต้ งั ฉำกกับ
สนำมแม่เหล็กที่มีขนำด 0.4 เทสลำ ทำให้อนุ ภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรัศมี
0.5 เมตร อัต รำส่ ว นระหว่ำ งประจุ ต่ อ มวลของอนุ ภ ำคดิ ว เทอรอนจะมี ค่ ำ กี่ คู ล อมบ์ต่ อ
กิโลกรัม
1. 2.1 x 10–8 2. 2.1 x 10–6 3. 4.8 x 105 4. 4.8 x 107
13. อิเล็กตรอนหนึ่งวิง่ เป็ นวงกลมรัศมี 1.2 เซนติเมตร ตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอด้วย
ควำมเร็ ว 106 เมตร/วิน ำที อยำกทรำบว่ำ จำนวนฟลัก ซ์ แ ม่ เหล็ ก ภำยในวงโคจรของ
อิเล็กตรอนมีค่ำกี่เวเบอร์
1. 4.7 x 10–2 2. 4.7 x 10–4 3. 2.14 x 10–5 4. 2.14 x 10–7

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
14. อิเล็กตรอนเคลื่ อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 100 เมตร/วินำที เข้ำไปในสนำมแม่เหล็กซึ่ งมีค่ำ 0.1
เทสลำ ในแนวตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กนั้น กินเวลำกี่ วินำทีทิศทำงของกำรเคลื่อนที่จึงจะ
เบนไปจำกเดิม 60o กำหนดให้อิเล็กตรอน 1 ตัวมีมวล = 9.1 x 10–31 กิ โลกรัม และมี
ประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
1. 5.0 x 10–11 2. 6.0 x 10–11 3. 7.0 x 10–8 4. 8.0 x 10–9
15. ในเครื่ องเร่ งอนุภำคบำงแบบอนุภำคจะถูกทำให้วิง่ เป็ นวงกลม โดยใช้สนำมแม่เหล็กที่มี
ทิศทำงตั้งฉำกกับแนวที่อนุภำควิง่ ถ้ำสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอขนำด B เทสลำ และอนุภำค
มีมวล m ประจุ q เวลำที่อนุภำควิง่ แต่ละรอบจะต้องเป็ นกี่วนิ ำที
1. 2mBq 2. 2qB
m B
3. 3qB 4. 2mqB
16. อนุ ภำคหนึ่ งวิ่งทำมุ ม 90o กับ สนำมแม่เหล็ก ขนำดสม่ ำเสมอควำมเข้ม 2 x 10–4 เทสลำ
ถ้ำอัตรำส่ วนของประจุต่อมวลของอนุ ภำคนี้ มีค่ำเท่ำกับ 4.4 x 1010 คูลอมบ์ต่อกิ โลกรัม
ควำมถี่ของกำรเคลื่อนที่เป็ นวงกลมของอนุภำคนี้ มีค่ำกี่เมกะเฮิรตซ์
17. จงหำขนำดของสนำมแม่เหล็ก B ที่จะทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนำบตั้ง
ฉำกกับสนำมแม่เหล็กด้วยควำมถี่ 4.8 x 108 รอบ/วินำที
1. 1.71 x 10–2 2. 3.42 x 10–2 3. 1.71 x 10–3 4. 3.42 x 10–3
18. อิเล็กตรอนที่จุด A ดังรู ป มีควำมเร็ ว(Vo)
x x x x x
107 เมตร/วินำที จงหำขนำดของสนำมแม่
เหล็กในหน่วยเทสลำ ที่ทำให้อิเล็กตรอน x Vo x x x x

เคลื่อนที่จำก A ไป B x x x x x
1. 1.14 x 10–3 2. 2.94 x 10–3 A e B
x x
3. 4.41 x 10–3 4. 5.88 x 10–3 10 cm

19. จำกข้อที่ผำ่ นมำ จงหำเวลำที่ใช้ในกำรเคลื่อนที่จำก A ไป B


1. 1.57 x 10–6 วินำที 2. 3.14 x 10–6 วินำที
3. 1.57 x 10–8 วินำที 4. 3.14 x 10–8 วินำที

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.2 กระแสไฟฟ้าทาให้ เกิดสนามแม่ เหล็ก
20(แนว มช) ถ้ำมีกระแสไหลในลวดตัวนำเส้นตรงดังรู ป
จะมีอะไรเกิดขึ้นกับอนุภำคอิเล็กตรอน ก. และ ข. I
ซึ่ งกำลังเคลื่อนที่ขนำนกับเส้นลวดนี้ดว้ ยอัตรำเร็ ว v V V
1. อิเล็กตรอน ก. และ ข. เคลื่อนที่เข้ำหำลวดตัวนำ ก ข
2. อิเล็กตรอน ก. และ ข. เคลื่อนที่ออกจำกลวดตัวนำ
3. อิเล็กตรอน ก. เคลื่อนที่เข้ำหำลวดตัวนำ และอิเล็กตรอน ข. เคลื่อนที่ออกห่ำงลวด
4. อิเล็กตรอน ก. เคลื่อนที่ออกห่ำงลวดตัวนำ และอิเล็กตรอน ข. เคลื่อนที่เข้ำหำลวด

15.3 แรงกระทาต่ อลวดตัวนาทีม่ กี ระแสไฟฟ้าไหลผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก


21. ลวดเส้นหนึ่งยำว 5.0 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟ้ ำ
ไหล 4 แอมแปร์ วำงอยูใ่ นสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ำ
เสมอ 10–3 เทสลำ โดยลวดเอียงทำมุม 30o กับ 30o
B

สนำมแม่เหล็กดังรู ป จงหำขนำดของแรงแม่เหล็ก i
ที่กระทำต่อลวดเส้นนี้ในหน่วยนิวตัน
1. 1 x 10–2 2. 2 x 10–2 3. 1 x 10–4 2. 2 x 10–4
22(แนว มช) ลวดเส้ น หนึ่ งยำว 10 เมตร มี ก ระแสไหลผ่ ำ น 1 แอมแปร์ วำงอยู่ ใ น
สนำมแม่เหล็กขนำดสม่ ำเสมอ 10–3 เทสลำ โดยลวดทำมุมฉำกกับสนำมแม่เหล็กขนำด
ของแรงที่กระทำ ต่อลวดเป็ นกี่นิวตัน
23. ลวดเส้นหนึ่ งยำว 5 เมตร มี ก ระแสไหลผ่ำน 4 แอมแปร์ วำงอยู่ส นำมแม่เหล็กขนำด
สม่ำเสมอ 10–3 เทสลำ โดยลวดทำมุ มฉำกกับสนำมแม่เหล็ก ขนำดของแรงที่กระทำต่อ
ลวดเป็ นกี่นิวตัน
24. ในกำรทดลองวัดสนำมแม่เหล็กที่ศูนย์กลำงของขดลวดโซเลนอยด์ โดยกำรวัดแรงที่กระทำ
ต่อลวดที่มีกระแสไฟฟ้ ำถ้ำส่ วนของลวดที่ต้ งั ฉำกกับสนำมยำว 15 มิลลิเมตร มีแรงกระทำ
12 x 10–3 นิวตัน เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำผ่ำน 4.0 แอมแปร์ สนำมแม่เหล็กมีค่ำเท่ำใดในหน่วย
เทสลำ
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.5 4. 1.2
38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
25. ในวงจรดังรู ปมีกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนคงที่ 5 แอมแปร์ A
และสนำมแม่เหล็กมีค่ำคงที่ 0.2 เทสลำ จงหำควำมเร่ ง x x x x
ของเส้นลวด AB เมื่อลวดมีมวล 50 กรัม x x x x
5 cm x x x x
1. 0.5 m/s2 2. 1.0 m/s2 x x x x
3. 1.5 m/s2 4. 2.0 m/s2 B
26. จำกข้อที่ ผ่ำนมำ ถ้ำตอนแรกเส้ นลวดอยู่นิ่งๆ จงหำว่ำเมื่อเวลำ 0.4 วินำที ลวด AB มี
ควำมเร็ วเท่ำใด
1. 0.2 m/s 2. 0.4 m/s 3. 0.8 m/s 4. 1.0 m/s
27. ลวดตัวนำยำว 0.2 เมตร มวล 0.06 กิโลกรัม วำงอยูบ่ นโต๊ะรำบเกลี้ยงมีสนำมแม่เหล็ก

สม่ำเสมอ B ขนำด 0.08 เทสลำ มีทิศพุง่ ขึ้นตำมแนวดิ่ง เมื่อให้กระแสไฟฟ้ ำจำนวนหนึ่ง
แก่ลวด พบว่ำลวดเคลื่อนที่จำกหยุดนิ่งไปเป็ นระยะ 1.6 เมตร ในเวลำ 2 วินำที กระแส
ไฟฟ้ ำที่ให้แก่ลวดมีค่ำกี่แอมแปร์
28. แท่งตัวนำยำว 10 เซนติเมตร มวล 0.05 กิโลกรัม มีกระแสไฟฟ้ ำผ่ำน 25 แอมแปร์ เมื่อ
นำไปไว้บริ เวณที่มีสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ ำเสมอ ปรำกฏว่ำแท่งตัวนำนี้ สำมำรถลอยนิ่ งอยู่
ในสนำมแม่เหล็ก จงหำขนำดของสนำมแม่เหล็กและเขียนรู ปประกอบ
( ไม่คิดน้ ำหนักของสำยไฟที่ต่อกับแท่งตัวนำ กำหนดค่ำ g = 10 เมตร/วินำที2 )
1. 0.2 เทสลำ 2. 0.6 เทสลำ 3. 0.8 เทสลำ 4. 1.0 เทสลำ

15.4 แรงระหว่ างลวดตัวนาสองเส้ นทีข่ นานกันและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่ าน


15.5 แรงกระทาต่ อขดลวดทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก
29. ขดลวดตัวนำรู ปวงกลมรัศมี 0.2 เมตร แขวนขดลวดด้วยเชื อกในแนวดิ่ ง โดยให้ระนำบ
ของขดลวดทำมุม 30o กับทิศตะวันออกถ้ำขดลวดมีจำนวนรอบ 400 รอบ มีกระแสไฟฟ้ ำ
ไหลผ่ำนขดลวด 7 แอมแปร์ สนำมแม่ เหล็ก โลกตำมแนวรำบ ณ ตำแหน่ งที่ แขวน
ขดลวดมีควำมเข้มเท่ำกับ 0.5 เทสลำ โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่เกิดขึ้นมีค่ำกี่นิวตันเมตร
1. 76.5 2. 88.0 3. 125.7 4. 140.0

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
30. ขดลวดวงกลมมีจำนวน 100 รอบ รัศมีเฉลี่ยเท่ำกับ 0.1 เมตร วำงอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนำม
แม่เหล็ก 2 เทสลำ โดยระนำบของขดลวดทำมุม 60 องศำ กับสนำมแม่เหล็ก เมื่อผ่ำน
กระแสไฟฟ้ ำเข้ำไปในขดลวดทำให้เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 22.44 นิวตัน.เมตร กระแส
ไฟฟ้ ำมีค่ำกี่แอมแปร์
31. ขดลวดตัวนำรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสยำวด้ำนละ 2.0 เซนติเมตร ซึ่ งมีจำนวนทั้งหมด 300 รอบ
มีกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน 10 มิลลิ แอมแปร์ ขดลวดนี้ อยู่ในสนำมแม่เหล็กภำยนอกค่ำคงที่
5 x 10–2 เทสลำ ระนำบของขดลวดทำมุม 0o กับทิศของสนำมแม่เหล็กภำยนอก ในขณะที่
ขดลวดนี้หมุนอยูใ่ นสนำมแม่เหล็ก จงหำขนำดของโมเมนต์ของแรงคู่ควบสู งสุ ดที่เกิดขึ้น
1. 0 2. 6 x 10–5 N.m
3. 8 x 10–5 N.m 4. 9 x 10–5 N.m
32. AA , BB , CC , DD แสดงตำแหน่งต่ำงๆ
ของระนำบของขดลวดซึ่งมีกระแสไฟฟ้ ำจำนวน
หนึ่งผ่ำนตำแหน่งใดของขดลวด จึงจะมีโมเมนต์
ของแรงคู่ควบมำกที่สุด
1. DD 2. CC 3. BB 4. AA

15.6 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง


15.7 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาและแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนา
33(แนว มช) แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้ำหำหรื อออกจำกขดลวดตัวนำทำให้มีกระแสเหนี่ยวนำเกิด
ขึ้น ในขดลวด อยำกทรำบว่ำรู ปใดถูกต้อง
1. i 2. i
N S N S
v v

3. i 4. i
S N S N
v v

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
34(แนว มช) เมื่ อมี ก ำรเปลี่ ย นแปลงสนำมแม่ เหล็ ก  B จะท ำให้เกิ ดกระแสเหนี่ ย วน ำใน
ขดลวด ถ้ำ  B ชี้ ทิศเดี ยวกับ B แสดงว่ำสนำมแม่เหล็กเพิ่มขึ้ น และถ้ำ  B ชี้ ทิศตรง
ข้ำมกับ B แสดงว่ำสนำมแม่เหล็กลดลง จงเลือกข้อที่ถูก B
1. B 2.
B
I
I B
3. 4. B
B
B
I
I B

15.8 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนาในมอเตอร์


15.8.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
15.8.2 แรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนาในมอเตอร์
35. แบตเตอรี่ ขนำด 12 โวลต์ มีควำมต้ำนทำนภำยใน 1 โอห์ม ต่อเข้ำกับมอเตอร์กระแสตรง
ซึ่งมีควำม ต้ำนทำนของขดลวดของมอเตอร์ เท่ำกับ 1 โอห์ม ในขณะที่มอเตอร์ หมุนสำมำรถ
วัดกระแสไฟฟ้ ำ 2 แอมแปร์ แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำต้ำนกลับมอเตอร์มีค่ำกี่โวลต์
36. มอเตอร์ไฟฟ้ ำเครื่ องหนึ่งมีควำมต้ำนทำนของขดลวด 0.5 โอห์ม สำหรับใช้ก บั แรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ำ 12 โวลต์ ขณะทำงำนวัดกระแสไฟฟ้ ำที่ผำ่ นมอเตอร์ได้ 8.0 แอมแปร์ แรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ำต้ำนกลับของมอเตอร์ จะมีค่ำกี่โวลต์

15.9 หม้ อแปลงไฟฟ้า


37. หม้อแปลงไฟฟ้ ำซึ่ งใช้ไฟฟ้ ำ 220 โวลต์ มีขดลวดปฐมภูมิ 150 รอบ ถ้ำต้องกำรให้หม้อ
แปลงนี้สำมำรถจ่ำยไฟฟ้ ำได้ 1100 โวลต์ ขดลวดทุติยภูมิตอ้ งมีจำนวนรอบกี่รอบ
1. 500 2. 750 3. 1500 4. 3000

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
38. หม้อแปลงไฟลงจำก 10000 โวลต์ เป็ น 220 โวลต์ เกิ ด ก ำลังในขดลวดทุ ติย ภูมิ 5.4
กิ โลวัตต์ หม้อแปลงมีประสิ ทธิ ภำพร้ อยละ 90 กระแสไฟฟ้ ำที่ผ ่ำนขดลวดปฐมภูมิมีค่ำกี่
แอมแปร์
1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.5
39. หม้อแปลงเครื่ องหนึ่ ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ
เป็ น 1 : 10 ถ้ำมีกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ำกับ 5 แอมแปร์ และ
200 โวลต์ตำมลำดับ จงหำกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ในขดลวดปฐมภูมิ
1. 25 A , 10 V 2. 25 A , 20 V
3. 50 A , 10 V 4. 50 A , 20 V
40(แนว En) หม้อแปลงอุดมคติตวั หนึ่งมี
ฟิ วส์
จำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิเป็ น 
1000 รอบ และจำนวนรอบของขด

1000 500 หม้อหุงข้าว
ลวดทุติยภูมิเป็ น 500 รอบ เมื่อนำ รอบ รอบ 100 V
มำใช้ในวงจรดังรู ป ขนำดของฟิ วส์ 700 W
ที่ใช้ตอ้ งมีค่ำอย่ำงน้อยที่สุดเท่ำไร
1. 2 A 2. 3 A 3. 5 A 4. 11 A

15.10 ไฟฟ้ ากระแสสลับ


15.10.1 ค่ าของปริมาณทีเ่ กี่ยวข้ องกับไฟฟ้ ากระแสสลับ
41. จำกกรำฟที่กำหนดให้ แสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกระแสไฟฟ้ ำกับเวลำ จงหำค่ำควำมถี่
และค่ำยังผลของกระแสไฟฟ้ ำ
I (A)
1. 50 Hz , 10 A
10
2. 50 Hz , 10 2 A
3. 50 Hz , 10 A 0.01 0.02 t(s)
2 –10
4. 100 Hz , 10 A

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.10.2 ตัวต้ านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
42. เมื่ อต่อตัวเก็บประจุอนั มี ค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งควำมจุ 1000  เข้ำกับ วงจรไฟฟ้ ำกระแส
สลับ ปรำกฏว่ำเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุ 3 โวลต์ จงหำปริ มำณกระแสไฟฟ้ ำ
ที่ไหลผ่ำนตัวเก็บประจุน้ นั
1. 1 mA 2. 2 mA 3. 3 mA 4. 4 mA
43. ที่ควำมถี่กี่เฮิรตซ์ตวั เก็บประจุที่มีค่ำควำมจุ 5 มิลลิฟำรัด จึงจะมีค่ำควำมต้ำนทำนตัวเก็บ
ประจุ 227 โอห์ม
1. 50 2. 100 3. 150 4. 150
44. เมื่ อต่ อตัวเก็ บประจุ อนั มี ค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งควำมจุ 2 กิ โลโอห์ ม เข้ำกับ วงจรไฟฟ้ ำ
กระแสสลับ ปรำกฏว่ ำ เกิ ด ควำมต่ ำ งศัก ย์ค ร่ อ มตัว เก็ บ ประจุ 5 โวลต์ จงหำปริ มำณ
กระแสไฟฟ้ ำที่ไหล ผ่ำนตัวเก็บประจุน้ นั
1. 2.5 A 2. 2.5 mA 3. 5.0 A 4. 5.0 mA
45. ควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุมีค่ำกี่โวลต์ จึงจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำ 6.28 มิลลิแอม-
แปร์ ในวงจรตัวเก็บประจุที่มีควำมจุ 0.5 ไมโครฟำรัด เมื่อควำมถี่ของกระแสไฟฟ้ ำเป็ น
1 กิโลเฮิรตซ์
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
46. ตัวเหนี่ยวนำ 0.07 เฮนรี ต่อเป็ นวงจรกับแหล่งกำเนิ ดไฟฟ้ ำควำมต่ำงศักย์ 220 V 50 Hz
จะเกิดกระแสไฟฟ้ ำไหลในวงจรเท่ำไร
1. 5.0 A 2. 5.0 mA 3. 10.0 A 4. 10.0 mA
47(แนว มช) วงจรกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์ ที่มีตวั ต้านทาน ต่ออนุ กรมกับตัวเหนี่ ยวนา
วัดกระแสไฟฟ้ าในวงจรได้ 0.1 แอมแปร์ ความต่างศักย์คร่ อมตัวเหนี่ ยวนา 22 โวลต์
ค่าความเหนี่ยวนาจะเป็ น
1. 14.4 ไมโครเฮนรี 2. 0.7 เฮนรี 3. 200 เฮนรี 4. 2.2 เฮนรี
48. วงจรกระแสไฟฟ้ ำสลับ มีกระแส i เป็ น i = 10 sin 1000 t แอมแปร์ วัดควำมต่ำงศักย์
ระหว่ำงปลำยของตัวเหนี่ยวนำได้ 100 โวลต์ จงหำค่ำควำมเหนี่ยวนำของตัวเหนี่ยวนำ
2
ในหน่วยเฮนรี
43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
49. ขดลวดเหนี่ ยวน ำตัวหนึ่ งมี ค่ ำควำมต้ำนทำนเชิ งเหนี่ ย วน ำ 120 โอห์ ม ที่ ควำมถี่ 200
เฮิรตซ์ เมื่อนำขดลวดนี้ ไปต่อกับไฟฟ้ ำกระแสสลับ 240 V , 60 Hz จะเกิ ดกระแสไฟฟ้ ำ
ไหลผ่ำนขดลวดเหนี่ยวนำนี้ กี่แอมแปร์
50. ตัวเหนี่ยวนำมีรีแอกแทนซ์เชิงเหนี่ยวนำ 60 โอห์ม ที่ควำมถี่ 60 เฮิรตซ์ ถ้ำนำตัวเหนี่ยว
นี้ไปต่อกับแหล่งจ่ำยไฟฟ้ ำกระแสสลับควำมถี่ 50 เฮิรตซ์ ซึ่ งทำให้ได้ Irms เป็ น 3 แอม-
แปร์ ควำมต่ำงศักย์ Vrms คร่ อมตัวเหนี่ยวนำเป็ นเท่ำไร
1. 150 V 2. 212 V 3. 220 V 4. 255 V
51. แหล่งกำเนิดกระแสสลับไฟฟ้ ำในวงจรดังรู ปมี
อัตรำเร็ วเชิงมุม () 107 เรเดียน/วินำที ถ้ำตัว
เหนี่ยวนำมีควำมเหนี่ยวนำ 100 ไมโครเฮนรี
จงหำค่ำควำมจุในหน่วยพิโกฟำรัด ของตัวเก็บ 
ประจุที่ทำให้ควำมต้ำนทำนเชิงควำมจุของตัว
เก็บประจุ และควำมต้ำนทำนเชิงควำมเหนี่ยวนำมีค่ำเท่ำกัน
1. 10 F 2. 100 F 3. 10 pF 4. 100 pF
52. จำกวงจรในรู ป ถ้ำเปลี่ยน C ไปเป็ นตัวเหนี่ยวนำ L กระแส rms ในวงจรจะเปลี่ยนไป
จำกเดิมเท่ำใด
V0 1ω2LC 
1.
2 ωL
V0 1ω2LC 
 

2.
2 ωC Vo sin  t ~ C
3. V0  ωL2 
1ω LC 
 
 

4. V0  2  ω C
1ω LC 
 
 

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.10.3 กาลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
53. จำกแผนภำพเฟเซอร์กระแสไฟฟ้ ำและควำม
I = 60 แอมแปร์
ต่ำงศักย์ของวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับเป็ นดังรู ป 53o
กำลังเฉลี่ย P ของวงจรนี้มีค่ำกี่วตั ต์
1. 540 2. 720 V = 30 โวลต์
3. 1080 4. 1440
54. ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.01 เฮนรี และตัวต้ำนทำน 10 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำ
กระแสสลับ กระแสไฟฟ้ ำของวงจร( i ) มีค่ำดังสมกำร i = 5 sin ( 1000 t ) แอมแปร์ จง
หำกำลังเฉลี่ยของวงจร
1. 50 W 2. 75 W 3. 125 W 4. 150 W
55. มอเตอร์ไฟฟ้ ำกระแสสลับตัวหนึ่ง ใช้งำนที่ควำมถี่ 50 เฮิรตซ์ วัดค่ำแรงดัน กระแสและ
กำลังไฟฟ้ ำที่ข้ วั ของมอเตอร์ ได้ 220 โวลต์ 10 แอมแปร์ และ 1100 วัตต์ ตำมลำดับ จง
หำเวกเตอร์ของแรงดันและกระแสไฟฟ้ ำ
1. 2. Vm = 220 2 V
30 o V m = 220 2 A 60o
Im = 10 2 V
Im = 10 2 A

3. 4. Im = 10 2 A
Im = 10 2 A 60o
30o
Vm = 220 2 V Vm = 220 2 V

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบ 1.4
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบ 0.01 23. ตอบ 0.02 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบ 3 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบ 7.14 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบ 8.00 36. ตอบ 8.00
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบ 0.01
49. ตอบ 6.7 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 3. 55. ตอบข้ อ 2.



46

You might also like