You are on page 1of 71

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.

com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต


บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
13.1 ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ า อิเล็กโทรสโคบ และการต่ อสายดิน
13.1.1 ประจุไฟฟ้า
พิจารณาการทดลองนาแท่งแก้วถูผา้ สักหลาดต่อ แท่งแก้ว
ไปนี้ ปกติแล้วอะตอมในแท่งแก้วและผ้าสักหลาดจะ e
e ++
มีจานวนประจุลบ (อิเล็กตรอน) และประจุบวก (โปร ++
e + e
eน้อย e
ตอน) ในปริ มาณที่เท่ากัน ทาให้ประจุไฟฟ้ ารวมเป็ น eมาก
e e
ศูนย์เรี ยกว่าเป็ นกลางทางไฟฟ้ า เมื่อทาแท่งแก้วถูผา้ ++++
e e ผ้าสักหลาด
สักหลาดจะทาให้อิเล็กตรอนของผ้าสักหลาดและแท่ง
แก้วบางส่ วนหลุดไปมาหากัน แต่เนื่องจากแท่งแก้วมีความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนได้
มากกว่าผ้าสักหลาด ดังนั้นจานวนอิเล็กตรอนที่หลุดจากแท่งแก้วไปหาผ้าสักหลาดจึงมีมาก
กว่าอิเล็กตรอนที่หลุดจากผ้าสักหลาดกลับมาหาแท่งแก้ว เมื่อแยกแท่งแก้วออกจากผ้าสักหลาด
ผ้าสักหลาดจะมีอิเล็กตรอนมากกว่าปกติจึงมีประจุสะสมเป็ นลบ ส่ วนแท่งแก้วเสี ยอิเล็กตรอน
ไปมากจะมีประจุสะสมเป็ นบวก
หมายเหตุ : ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนของวัตถุบางอย่างเรี ยงลาดับจากมากไปน้อยเป็ นดังนี้
แก้ว > เส้นผมคน > เปอร์สเปกซ์ > ไนลอน > ผ้าสักหลาด > ผ้าไหม > ผ้าฝ้ าย > อาพัน > พีวซี ี > เทฟลอน
ในที่น้ ี จะได้วา่ แก้วจ่ายอิเล็กตรอนได้มากที่สุด และเทฟลอนจ่ายอิเล็กตรอนได้นอ้ ยที่สุด
1. เหตุใดเมื่อนาแท่งแก้วไปถูผา้ สักหลาดแล้วแท่งแก้วจึงมีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวก
1. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผา้ สักหลาดฝ่ ายเดียว
2. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากผ้าสักหลาด
3. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากสิ่ งแวดล้อม
4. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผา้ สักหลาดมากกว่าที่รับมา
2. กาหนดให้ผา้ ไหมจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าแท่งพีวซี ี เมื่อนาแท่งพีวซี ี ไปถูผา้ ไหมแล้วดึง
แท่งพีวซี ี ออกจากผ้าไหม แท่งพีวซี ี จะมีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกหรื อลบ
1. เป็ นลบ เพราะแท่งพีวซี ี จะรับอิเล็กตรอนจากผ้าไหมมากกว่าที่จ่ายไป
2. เป็ นลบ เพราะแท่งพีวซี ี จะรับอิเล็กตรอนมาจากสิ่ งแวดล้อม
3. เป็ นบวก เพราะแท่งพีวซี ี จะจ่ายอิเล็กตรอนแก่ผา้ ไหมมากกว่ารับมา
4. เป็ นบวก เพราะแท่งพีวซี ี จะจ่ายอิเล็กตรอนให้แก่สิ่งแวดล้อม
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
3. เมื่อนาแท่งพีวซี ี ไปถูผา้ ไหมประจุไฟฟ้ าบวก ( โปรตอน ) จะสามารถหลุดจากแท่งพีวซี ี ไปหา
ผ้าไหมได้หรื อไม่
1. ได้ เพราะแรงเสี ยดทานมีมากพอ
2. ได้ เพราะโปรตอนมีขนาดเล็ก
3. ไม่ได้ เพราะโปรตอนอยูใ่ นนิวเคลียส
4. ไม่ได้ เพราะโปรตอนมีมวลมากเคลื่อนย้ายได้ยาก

4(แนว มช) เมื่อนาสาร ก. มาถูกบั สาร ข. พบว่าสาร ก. มีประจุไฟฟ้ าเกิดขึ้น สาร ก. ต้อง
เป็ นสาร
1. ตัวนา 2. ฉนวน 3. กึ่งตัวนา 4. โลหะ

13.1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
ถ้าเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกไปจ่อใกล้ๆ เม็ดโฟมทรงกลมเล็กๆ ปกติ
นั้นในเม็ดโฟมจะมีประจุไฟฟ้ าบวก (โปรตอน) และ
ลบ (อิเล็กตรอน) ในจานวนเท่าๆ กัน กระจายอยู่ แท่งแก้ว
เม็ดโฟม ++
อย่างสม่าเสมอ เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ า
++  +
บวกไปจ่อใกล้ๆ ประจุบวกบนแท่งแก้วจะดึงดูด 
+ 
ประจุลบ (อิเล็กตรอน) บนเม็ดโฟมให้เคลื่อนเข้ามา
อยูด่ า้ นที่ใกล้กบั แท่งแก้ว แล้วประจุลบบนเม็ดโฟมกับประจุบวกบนแท่งแก้วจะเกิดแรงดึงดูดซึ่ ง
กันและกัน ส่ งผลให้เม็ดโฟมเคลื่อนที่เข้ามาติดแท่งแก้วได้ ส่ วนเม็ดโฟมด้านที่อยูไ่ กลจากแท่ง
แก้วจะเหลือประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกดังรู ป การจัดเรี ยงประจุบนวัตถุหลังจากที่มีประจุไฟฟ้ า
อื่นเข้าใกล้ (เช่นที่เกิดบนเม็ดโฟมนี้) เราเรี ยกว่าเป็ น การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ า
5. จากรู ปเป็ นการนาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทาง
ไฟฟ้ า (มีประจุไฟฟ้ าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริ เวณที่ 1 และ 2 ในรู ปภาพจะมี
ประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ ตามลาดับ
แท่งแก้ว
1. บวก , ลบ 2. ลบ , บวก เม็ดโฟม ++
3. บวก , บวก 4. ลบ , ลบ +
(1) (2)

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
6. จากรู ปเป็ นการนาแท่งพีวีซีที่มีประจุไฟฟ้ าลบสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทาง
ไฟฟ้ า (มีประจุไฟฟ้ าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริ เวณที่ 1 และ 2 ในรู ปภาพจะมี
ประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ ตามลาดับ
1. บวก , ลบ แท่งพีวซี ี
เม็ดโฟม ––
2. ลบ , บวก

3. บวก , บวก (1) (2)
4. ลบ , ลบ

7. เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยูไ่ ปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า แท่ง


แก้วจะมีแรงดึงดูดเม็ดโฟมได้ หากเปลี่ยนแท่งแก้วเป็ นแท่งพีวซี ี ที่มีประจุไฟฟ้ าลบสะสมอยู่
ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมแทน แท่งพีวซี ี จะมีแรงดูดหรื อแรงผลักเม็ดโฟม
1. ดูด 2. ผลัก 3. ดูดแล้วผลัก 4. ผลักแล้วดูด

8. ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกัน โดยยึด


ไว้ดว้ ยฉนวน เมื่อนาแท่งอิโบไนท์ซ่ ึ งมีประจุ
ลบเข้าใกล้ทรงกลม A ดังรู ป จะมีประจุไฟฟ้ า
ชนิดใด เกิดขึ้นที่ตวั นาทรงกลมทั้งสอง
1. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
2. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
3. ทรงกลม A จะมีประจุบวกและทรงกลม B มีประจุลบ
4. ทรงกลม A จะมีประจุลบและทรงกลม B มีประจุบวก

9(แนว En) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็ นกลาง


ทางไฟฟ้ าตั้งอยูบ่ นฐานที่เป็ นฉนวน ถ้านาประจุ
บวกขนาดเท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองข้างพร้อมกัน
โดยระยะห่างจากปลายเท่าๆ กัน ตามลาดับ การ
กระจายของประจุส่วน A ส่ วน B และ C ของทรงกระบอกเป็ นอย่างไร
1. A และ C เป็ นลบ แต่ B เป็ นกลาง 2. A และ C เป็ นกลาง แต่ B เป็ นบวก
3. A และ C เป็ นบวก แต่ B เป็ นลบ 4. A และ C เป็ นลบ แต่ B เป็ นบวก
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.1.3 อิเล็กโทรสโคบ
อิเลคโตรสโคป คือเครื่ องมือใช้ตรวจหาประจุ
ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นวัตถุใดๆ ลูกพิธ ++
อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนิด คือ + +  +

1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ +

เป็ นอิเลคโตรสโคปซึ่งทาจากเม็ดโฟม ฉาบผิว ลูกพิธ ––


เอาไว้ดว้ ยอลูมิเนียม เมื่อมีวตั ถุที่มีประจุไฟฟ้ าสะสม – ++ –
– +
อยูเ่ ข้าใกล้ จะเกิดการเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ าทาให้อิเลค- –

โตรสโคปถูกแรงดึงดูดแล้วเอียงเข้าหาวัตถุที่มีประจุน้ นั
2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ
มีลกั ษณะเป็ นกระป๋ องพลาสติกไสหรื อแก้วมีฝา
ปิ ด ตรงกลางจะมีแกนโลหะเสี ยบลงไปในกล่อง ปลาย
ล่างของแกนจะมีแผ่นโลหะแบนๆ บางๆ ติดอยู่ 2 แผ่น
ปลายแกนด้านบนจะมีจานโลหะวางเชื่อมอยูด่ งั รู ป หาก
ต้องการตรวจสอบว่าวัตถุใดมีประจุไฟฟ้ าสะสมหรื อไม่
ให้นาวัตถุที่ตอ้ งการตรวจสอบไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะ
ด้านบนแล้วสังเกตุผลที่แผ่นโลหะบางๆ 2 แผ่น ด้านล่าง

ปกติแล้วที่จานโลหะ แกนโลหะ และแผ่นโลหะ –


ด้านล่าง จะมีประจุไฟฟ้ าบวกและลบกระจายอยูอ่ ย่าง –
สม่าเสมอ แต่ถา้ เรานาวัตถุที่มีประจุสะสมเป็ นลบไปไว้ + +
ใกล้ๆ จานโลหะด้านบน ประจุไฟฟ้ าลบ ( อิเล็กตรอน )
ของจานโลหะจะถูกผลักลงไปยังแกนโลหะและแผ่นโล –

หะบางๆ 2 แผ่นด้านล่าง ส่ งผลให้แผ่นโลหะ 2 แผ่น –
มีประจุเป็ นลบเหมือนกันและเกิดแรงผลักกันทาให้แผ่น – –
โลหะทั้งสองกางออกดังรู ป

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ถ้านาวัตถุที่มีประจุเป็ นบวกไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะ
+
ด้านบน ประจุไฟฟ้ าลบ ( อิเล็กตรอน ) ของแกนโลหะ +
และแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่าง ถูกดูดขึ้นมาอยูท่ ี่จาน – –
โลหะ ทาให้แผ่นโลหะ 2 แผ่นล่างเหลือประจุเป็ นบวก
เหมือนกันทั้งสองแผ่นและเกิดแรงผลักกันเอง ทาให้ +
แผ่นโลหะทั้งสองกางออกดังรู ปเช่นกัน +
+
ดังนั้นถ้านาวัตถุไปไว้ใกล้จานโลหะด้านบน แล้ว
+ +
สังเกตเห็นแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่างกางออก แสดงว่า
วัตถุที่นามาตรวจสอบนี้ มีประจุไฟฟ้ าสะสมอยู่
10. เมื่อนาแท่งวัตถุที่มีประจุไปวางใกล้อิเล็กโทรสโคบแบบลูกพิธซึ่ งเป็ นกลางทางไฟฟ้ า ลูกพิธ
จะมีการวางตัวอย่างไร
1. โน้มเอียงเข้าหาวัตถุ 2. ถอยห่างออกจากวัตถุ
3. อยูน่ ิ่งๆ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

11. จากรู ปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด


ณ บริ เวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมีประจุชนิด 

ใดตามลาดับ
1. บวก , ลบ , ลบ (1)
2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , บวก , ลบ (2)
(3)
4. บวก , บวก , บวก

12. จากรู ปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด


ณ บริ เวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมีประจุชนิด ++
+
ใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก (1)
2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , บวก , ลบ (2)
(3)
4. ลบ , ลบ , ลบ
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.1.4 การต่ อสายดิน รู ป (1)
พิจารณาการทดลองตามรู ปต่อไปนี้ +
+
รู ปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็ก- 
โทรสโคบแบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของแผ่นโลหะ +
+ +
ด้านล่างจะถูกดึงดูดขึ้นมาอยูท่ ี่จานโลหะด้านบน แผ่นโลหะ
+ +
ด้านล่างจะเหลือประจุเป็ นบวก ทาให้แผ่นโลหะด้านล่างเกิด
รู ป (2)
แรงผลักกันแล้วกางออก +
+

รู ปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ 


ลงสู่ พ้นื ดิน ( เรี ยกว่าเป็ นการต่อสายดิน) ประจุลบจากพื้นดิน + +
จะถูกดูดแล้วเคลื่อนที่ข้ ึนไปอยูก่ บั ประจุบวกที่แผ่นโลหะด้านล่าง  
แล้วทาให้แผ่นโลหะด้านล่างกลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ าแล้วหุบลง
รู ป (3)
รู ปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่ +
+
จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ

ยังคงหุ บเช่นเดิม
+ +
 

รู ปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จอ่ ใกล้จานออกไป ประจุ   


ลบที่จานโลหะบางส่ วน จะเคลื่อนย้ายลงมาสู่ แผ่นโลหะด้านล่าง 
ส่ งผลให้แผ่นโลหะด้านล่างมีประจุไฟฟ้ ารวมเป็ นลบ แผ่นโลหะ +

ด้านล่างจะเกิดแรงผลักกันแล้วกางออก รู ป (4)  +

รู ปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ
ลงสู่ พ้นื ดินอีกครั้ง จะทาให้ประจุลบส่ วนเกินของแผ่นโลหะ
+
ด้านล่างเคลื่อนที่ลงสู่ พ้นื ดิน แล้วแผ่นโลหะกลายเป็ นกลางทาง +

ไฟฟ้ าแล้วหุ บลงอีกครั้ง รู ป (5) 

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13. พิจารณาการต่อสายดินดังรู ป ณ บริ เวณที่ ( 1 )
++
( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก (1)
2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , 0 , 0 (2)
(3)
4. ลบ , บวก , 0

พิจารณาการทดลองตามรู ปต่ อไปนี้ รู ป (1)



รู ปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุลบเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็ก-
โทรสโคบแบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของจานโลหะ ++++++

จะถูกผลักลงไปที่แผ่นโลหะด้านล่าง ทาให้แผ่นโลหะกางออก


 

รู ปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ รู ป (2)



ลงสู่ พ้นื ดิน ( เรี ยกว่าเป็ นการต่อสายดิน) ประจุลบส่ วนเกินที่
แผ่นโลหะด้านล่างจะวิง่ ลงสู่ พ้นื ดิน ทาให้แผ่นโลหะด้านล่าง ++++++
กลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ าแล้วหุบลง

รู ปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่
รู ป (3)
จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ 
ยังคงหุ บเช่นเดิม
++++++

รู ปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จอ่ ใกล้จานออกไป ประจุ


+ + + –+
บวกที่จานโลหะจะดึงอิเล็กตรอนที่เหลื อจากแผ่นโลหะด้านล่าง –

ขึ้นไปที่จานโลหะเล็กน้อย ทาให้แผ่นโลหะด้านล่างเหลือประจุ
บวกอยู่ แล้วเกิดแรงผลักทาให้กางออก + +
รู ป (4)

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
รู ปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ + +  + 
ลงสู่ พ้นื ดินอีกครั้ง จะทาให้ประจุเคลื่อนที่จากพื้นดินกลับขึ้น
+
มาที่จานโลหะและแผ่นโลหะ ทาให้กลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ า +
รู ป (5) 
แล้วแผ่นโลหะหุ บลง 

14. พิจารณาการต่อสายดินดังรู ป ณ บริ เวณที่ ( 1 )


( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ 

1. บวก , ลบ , ลบ (1)
2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , 0 , 0 (2)
(3)
4. บวก , 0 , ลบ

13.2 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์


กฏแรงกระทาระหว่ างประจุของคูลอมบ์ กล่าวว่า
“ เมื่อประจุไฟฟ้า 2 ตัว อยู่ห่างกันขนาดหนึ่งจะมีแรงกระทาซึ่งกันและกันเสมอ หาก
เป็ นประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเป็ นประจุต่างชนิดกันจะมีแรงดึงดูดกัน ”
แรงกระทาทีเ่ กิดหาค่ าได้ จาก
KQ1Q2
F =
R2
เมื่อ F คือแรงกระทา (นิวตัน)
K คือค่ าคงทีข่ องคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9 x 109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์ 2 )
Q1 , Q2 คือขนาดของประจุตัวที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลาดับ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่ างระหว่ างประจุท้งั สอง ( เมตร )
หมายเหตุ : การคานวณเกี่ ยวกับแรงกระทาระหว่างประจุ ไม่ตอ้ งนาเครื่ องหมายบวก
หรื อลบของประจุมาคานวณ เพราะเครื่ องหมายบวกและลบจะเพียงเป็ นสิ่ งบอกทิศทางของแรง
ว่าแรงนั้นจะเป็ นแรงดูดหรื อแรงผลักของประจุไฟฟ้ าเท่านั้น
8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
15. ประจุ +5.0 x 10–5 คูลอมบ์ และ –2.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่างกัน 1 เมตร จะมีแรง
ดูดกันหรื อผลักกันกี่นิวตัน
1. ผลักกัน 9 นิวตัน 2. ผลักกัน 18 นิวตัน
3. ดูดกัน 9 นิวตัน 4. ดูดกัน 18 นิวตัน

16. ประจุขนาด A คูลอมบ์ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่างกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทา
ต่อกัน 1 นิวตัน จงหาว่าประจุ A เป็ นประจุขนาดกี่คูลอมบ์
1. 1 x 10–4 2. 3 x 10–4 3. 6 x 10–4 4. 9 x 10–4

กรณีทโี่ จทย์ ไม่ บอกประจุ ( Q ) มาให้ เราอาจหาขนาดของประจุน้ ันๆ ได้ จาก


Q=ne
เมื่อ n = จานวนอนุภาคไฟฟ้า
e = ประจุของอนุภาคไฟฟ้ านั้น 1 ตัว ( คูลอมบ์ )
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
17. ก้อนทองแดง 2 ก้อน วางห่างกัน 3 เมตร แต่ละก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 5 x 1014
ตัว จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหน่วยนิวตัน
( กาหนด อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 1.4 2. 2.4 3. 4.4 4. 6.4

18. ทรงกลมเล็กๆ 2 อัน เป็ นกลางทางไฟฟ้ า และวางอยูห่ ่างกัน 0.5 เมตร สมมติวา่
อิเล็กตรอน 3.0 x 1013 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูท่ ี่อีกทรงกลมหนึ่ง
จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับทรงกลมแต่ละอัน และแรงที่เกิดขึ้นเป็ นแรงดูดหรื อแรงผลัก
1. เป็ นแรงดูด 0.83 นิวตัน 2. เป็ นแรงดูด 1.68 นิวตัน
3. เป็ นแรงผลัก 0.83 นิวตัน 4. เป็ นแรงผลัก 1.68 นิวตัน

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
19. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 0.1 นิวตัน
2. 1.4 นิวตัน A = 6 x 10–5 C B = +1x10–5 C C = 5 x 10–5 C
3. 3.8 นิวตัน
3 ม. 3 ม.
4. 4.4 นิวตัน

20. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B


1. 1.1 นิวตัน B = +1 x 10–5 C
–5
A = +6 x 10 C C = 5 x 10–5 C
2. 2.4 นิวตัน
3. 4.8 นิวตัน
3 ม. 3 ม.
4. 6.4 นิวตัน

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
21(แนว มช) สามเหลี่ยมด้านเท่ารู ปหนึ่ งมีความยาวด้านละ 30 เซนติเมตร และที่แต่ละมุมของ
สามเหลี่ยมนี้ มีจุดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ อยากทราบว่าขนาดของ
แรงไฟฟ้ าบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบ์มีค่ากี่นิวตัน ( กาหนด cos 120o = 1/2 )
1. 1 นิวตัน 2. 2 นิวตัน 3. 3 นิวตัน 4. 4 นิวตัน

13.3 สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ
จุดประจุ หมายถึงประจุไฟฟ้ าที่มีขนาดความกว้าง ความยาวน้อยมาก ( เช่นอิเล็กตรอน 1
ตัว ) และปกติน้ นั ประจุไฟฟ้ าใดๆ จะมีแรงทางไฟฟ้ าแผ่ออกมารอบๆ ตัวประจุขนาดหนึ่งเสมอ
เราเรี ยกบริ เวณรอบประจุซ่ ึ งมีแรงทางไฟฟ้ าแผ่ออกมานี้วา่ สนามไฟฟ้ า ( E )
หากเรานาประจุขนาดเล็กอีกตัวหนึ่งมาวางในบริ เวณสนามไฟฟ้ า ประจุที่นามาวางนั้นจะ
ถูกแรงที่แผ่ออกมากระทา ทาให้ประจุน้ นั เกิดการ
เคลื่อนที่ ประจุที่ถูกแรงทางไฟฟ้ าทาให้เคลื่อนที่
นี้ เรี ยกเป็ นประจุทดสอบ (q ) ส่ วนประจุที่เป็ นตัว
สร้างสนามไฟฟ้ าจะเรี ยก ประจุต้นเหตุ( Q ) (ประจุทดสอบ)
(ประจุต้นเหตุ)
12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
สนามไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะเป็ น
ปริ มาณที่มีทิศทาง ทิศของสนามไฟฟ้ า กาหนดว่า
สาหรับประจุบวก สนามไฟฟ้ ามีทิศออกตัวประจุ
สาหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟ้ ามีทิศเข้าตัวประจุ
ดังแสดงในรู ป เส้นของแรงที่เขียนแทนแรงทางไฟฟ้ า
ที่แผ่ออกมาเรี ยก เส้ นแรงไฟฟ้ า
สาหรับขนาดความเข้มสนามไฟฟ้ าหาค่าได้จาก
E = KQ2 หรื อ E = Fq
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
22. จากรู ปจงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ +2 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A ในรู ปจะมีความเข้มกี่
นิวตัน/คูลอมบ์ และ มีทิศไปทางซ้ายหรื อขวา
1. 1 x 106 N/C ไปทางขวา Q = +2 x 10–3 C
A
2. 2 x 106 N/C ไปทางขวา *
3. 1 x 106 N/C ไปทางซ้าย 3 ม.
4. 2 x 106 N/C ไปทางซ้าย

23. จากรู ป จงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ –4 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/-


คูลอมบ์ และ มีทิศขึ้นหรื อลง
1. 18 x 106 N/C ทิศขึ้น Q = 4 x 10–3 C
2. 36 x 106 N/C ทิศขึ้น 1 ม.
6
3. 18 x 10 N/C ทิศลง *A
4. 36 x 106 N/C ทิศลง

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
24(แนว มช) ประจุบวก q1= +2 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ์
เป็ นระยะ 6 เมตร สนามไฟฟ้ าที่ตาแหน่ งกึ่งกลางระหว่าง 2 ประจุน้ ี ในหน่ วยของนิ ว-
ตัน/คูลอมบ์ มีค่าเป็ นเท่าใด
1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103

25. ที่ตาแหน่ง ก. , ข. และ ค. มีประจุเป็ น 1.0 x 10–7 1m


–1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ ก ข
จงหาขนาดของสนามไฟฟ้ าตาแหน่ง ค. เนื่องจาก 1m 1m
ประจุที่ตาแหน่ง ก. และ ข. ( ให้ cos 120o = – 1 )
2
1. 300 N/C 2. 300 2 N/C ค
3. 900 N/C 4. 900 2 N/C

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
จุดสะเทิน คือจุดทีม่ ีค่าสนามไฟฟ้าลัพธ์ มีค่าเป็ นศูนย์
โดยทัว่ ไปแล้ว
1. จุดสะเทินจะ เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
Eรวม = 0
2. หากเป็ นจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิด *
ในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุท้ งั สอง +Q1 +Q2
หากประจุท้ งั สองเป็ นประจุชนิดเดียวกัน
จุดสะเทินจะอยูร่ ะหว่างประจุท้ งั สอง Eรวม= 0
หากประจุท้ งั สองเป็ นประจุต่างชนิดกัน *
+Q1 Q 2
จุดสะเทินจะอยูร่ อบนอกประจุท้ งั สอง
3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใ่ กล้ประจุที่มีขนาดเล็กกว่า
26. ประจุไฟฟ้ าขนาด +9 C ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 0 ม. และประจุไฟฟ้ าที่สอง +4 C
ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูห่ ่างจากประจุ +9 C กี่เมตร
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.6 4. 1.0

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
27(แนว มช) วางประจุ +9Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่งจุดกาเนิ ด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ์
ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร Y = 0 จงหาระยะบนแกน X ที่สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
1. X = 0.4 2. X = 0.6 3. X = 2 4. X = 3

สาหรับแรงที่สนามไฟฟ้ ากระทาต่อประจุทดสอบ จะหาค่าได้จาก


F = qE
เมื่อ F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
28. กาหนดให้จุด A อยูห่ ่างจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร
ก. สนามไฟฟ้ า ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์
ข. หากนาอิเล็กตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทาต่ออิเล็กตรอนนี้
( กาหนด ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว เท่ากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. ก. 5 N/C , ข. 4 x10–19 N 2. ก. 5 N/C , ข. 8 x10–19 N
3. ก. 10 N/C , ข. 4 x10–19 N 4. ก. 10 N/C , ข. 8 x10–19 N

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
29. วางอิเล็กตรอน 1 ตัว ที่จุด A ซึ่ งอยูห่ ่างจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 1 เมตร
จงหาความเร่ งในการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้
(ให้ ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม )
1. 5.80 x 107 m/s2 2. 6.33 x 107 m/s2
3. 5.80 x 1012 m/s2 4. 6.33 x 1012 m/s2

13.4 ศักย์ ไฟฟ้ารอบจุดประจุ


เมื่อเรานาประจุทดสอบ ( q ) มาวางใน
สนามไฟฟ้ าของประจุตน้ เหตุ ( Q ) ประจุทด
สอบนั้นจะถูกแรงกระทาทาให้เกิดการเคลื่อน
ที่ และการที่ประจุทดสอบสามารถเคลื่อนที่
ได้ แสดงว่าประจุทดสอบนั้นมีพลังงานสะสมอยูภ่ ายในตัว พลังงานที่สะสมในประจุเช่นนี้
เรี ยกว่าพลังงานศักย์ไฟฟ้ า ( Ep ) และขนาดของพลังงานศักย์ไฟฟ้ าของประจุ 1 คูลอมบ์ จะ
เรี ยกว่าศักย์ไฟฟ้ า ( V )
ศักย์ไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ เพราะเป็ นปริ มาณที่ไม่มีทิศทาง เราสามารถคานวณหาค่า
ของศักย์ไฟฟ้ ารอบจุดประจุได้จาก
E
V = qp หรื อ V = KQ R
เมื่อ V คือศักย์ไฟฟ้ า ( โวลต์ )
q คือประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
Ep คือพลังงานศักย์ไฟฟ้ าของประจุทดสอบ ( จูล )
Q คือประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ข้ อควรทราบ
1) การคานวณหาศักย์ไฟฟ้ าต้องแทนเครื่ องหมายบวก และลบ ของประจุดว้ ยเสมอ
2) เมื่อทาการเลื่อนประจุทดสอบ ( q ) จากจุดที่หนึ่งไปสู่ จุดที่สองซึ่ งมีศกั ย์ไฟฟ้ าต่างกัน
เราสามารถคานวณหางานที่ใช้เลื่อนประจุน้ นั ได้จาก
W = q ( V2 – V1 )
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V1 คือศักย์ไฟฟ้ าที่จุดเริ่ มต้น (โวลต์ )
V2 คือศักย์ไฟฟ้ าที่จุดสุ ดท้าย ( โวลต์ )
30. ประจุ Q มีขนาด –1 x 1 0–9 คูลอมบ์ จงหาศักย์ไฟฟ้ า ณ จุดซึ่ งห่ างจากประจุ Q นี้ ออก
ไป 1 เมตร
1. 3 โวลต์ 2. 9 โวลต์ 3. –3 โวลต์ 4. –9 โวลต์

31. จงหางานที่ใช้ในการเลื่อนประจุขนาด – 2 คูลอมบ์ จากจุดซึ่งมีศกั ย์ไฟฟ้ า +10 โวลต์ ไป


ยังจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ า +15 โวลต์
1. 1 จูล 2. 10 จูล 3. –1 จูล 4. –10 จูล

32(แนว En) จุด A และ B เป็ นจุดที่อยูห่ ่างจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ์ เป็ นระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลาดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุ –4 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานใน
หน่วยกิโลจูลเท่าใด
1. 8.75 2. 15 3. –35 4. –60

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
33. มีประจุขนาด –4 x 10–10 คูลอมบ์ จุด A อยูห่ ่างจากประจุน้ ี 1 เมตร จงหางานที่ตอ้ ง
ทาในการพาประจุ 2 x 10–12 คูลอมบ์ จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

34. จากข้อที่ผา่ นมา จงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 คูลอมบ์ จากจุด A ไปวาง ณ จุด


ซึ่งไกลมาก
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

35. จุด A อยูห่ ่างจากประจุ Q เป็ นระยะ r มีศกั ย์ไฟฟ้ า V เมื่อนาประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต์มายังจุด A ต้องเปลืองงานเท่าไร
1. Kqr 2. KQ
r 3. KQq r 4. KQq
r2

36. ในการนาประจุ 2 x 10–4 คูลอมบ์ จาก infinity เข้าหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนึ่งต้องสิ้ น


เปลืองงาน 5 x 10–2 จูล จุดนั้นมีศกั ย์ไฟฟ้ ากี่โวลต์
1. 2.5 x 102 2. 5.0 x 102 3. –2.5 x 102 4. –5.0 x 102

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
กรณี ที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าย่อยหลายๆ ตัว หากต้องการหาค่าศักย์ไฟฟ้ ารวมให้นาศักย์ไฟฟ้ าย่อย
แต่ละตัวมารวมกันแบบพีชคณิ ตธรรมดา เพราะศักย์ไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ ไม่ใช่เวกเตอร์
37. จากรู ป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ตามลาดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ C
BP = 0.1 เมตร ศักย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง P มีค่ากี่โวลต์
1. 1.05 x 105 2. 1.83 x 105
A B
3. 2.10 x 105 4. 3.66 x 105 P
O

38. จากข้อที่ผา่ นมา หากนาประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด


P จะต้องทางานกี่จูล
1. –2.10 2. –1.05 3. –0.105 4. –10.5

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
39(แนว มช) ที่จุด O และ Q วางประจุ 3 x 10–6 P
และ 1 x 10–6 คูลอมบ์ หากนาประจุ
–2 x 10–6 คูลอมบ์ จากอนันต์มาวาง ณ 0.5 ม. 0.3 ม.
จุด P จะต้องใช้งาน
1. 0.16 จูล 2. –0.16 จูล O Q
3x10–6C 0.4 ม. 1x10–6 C
3. –0.168 จูล 4. –0.20 จูล

40. ประจุ +4.0 คูลอมบ์ และประจุ –2.0 คูลอมบ์ วางห่างกัน 12 เมตร บนแนวเส้นตรงที่
เชื่อมต่อระหว่างประจุ จุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์อยูห่ ่างประจุ 4 คูลอมบ์ กี่เมตร

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
41(แนว มช) จุดประจุ 3 จุด วางอยูท่ ี่มุมของสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ 2 เซนติเมตร ทาให้
จุดที่เส้นมัธยฐานทั้งสามตัดกันมีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ หากจุดประจุ 2 ประจุ มีค่า +2 ไม-
โครคูลอมบ์ และ +4 ไมโครคูลอมบ์ จงหาค่าจุดประจุตวั ที่สามในหน่วยไมโครคูลอมบ์
1. –8 2. –6 3. +6 4. +8

42. กาหนดประจุ ( q ) ขนาด –1 x 10–9 คูลอมบ์ อยูห่ ่างจากประจุ ( Q ) ขนาด 3 x 10–6 คู-
ลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นประจุ q
1. 3 x 10–6 จูล 2. 9 x 10–6 จูล 3. –3 x 10–6 จูล 4. –9 x 10–6 จูล

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.5 สนามไฟฟ้า และศักย์ ไฟฟ้ าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม
ในตอนที่ผา่ นนั้นเป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าของจุดประจุ ( ประจุที่มี
ขนาดเล็ก ) สาหรับในตอนนี้จะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าของตัวนาไฟฟ้ าที่มี
ประจุไฟฟ้ าสะสมอยูภ่ ายใน เช่นลูกตุม้ เหล็กขนาดเท่ากาปั้ นซึ่ งมีอิเล็กตรอนอยูภ่ ายในมากมาย
เป็ นต้น การคานวณหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ ารอบนาเช่นนี้ ตอ้ งแบ่งเป็ น 2 กรณี ได้แก่
กรณีที่ 1 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายนอก หรื อ
อยูท่ ี่ผวิ วัตถุ ให้ใช้สมการ
E = KQ2 และ V = KQ R
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
V คือศักย์ไฟฟ้ า ( โวลต์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะที่วดั จากจุดศูนย์กลางวัตถุตวั นาไปถึงจุดที่จะคานวณ
กรณีที่ 2 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายในวัตถุ ให้ถือหลักการว่า
Eทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = 0
Vทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = Vที่ผวิ วัตถุน้ นั
43. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9
คูลอมบ์ จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ า ที่ระ
ยะห่าง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ตอบตามลาดับ 2 ม.
1 ม.
1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
44. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลม
1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

45. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่จุดภายในทรงกลม


1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

46(แนว A–net ) ทรงกลมตัวนารัศมี 20 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ าที่


ระยะ 5 เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางภายในทรงกลมเป็ นเท่าใด
1. 0 V 2. 45x103 V 3. 9x104 V 4. 1.8x105 V

47. ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอย่างสม่าเสมอบนผิวตัวนา ถ้าสนาม


ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมมีค่า 5.0 x 106 โวลต์/เมตร จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมนี้
1. 5.0 x106 โวลต์ 2. 2.5 x106 โวลต์ 3. 5.0 x105 โวลต์ 4. 2.5 x105 โวลต์

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
48(แนว En) ทรงกลมโลหะกลวงมี รั ศ มี 10 เซนติ เมตร ท าให้ มี ศ ัก ย์ไ ฟฟ้ า 1000 โวลต์
สนามไฟฟ้ าภายนอกทรงกลมบริ เวณใกล้ผิวจะมีค่าเท่าใดในหน่วยโวลต์ต่อเซนติเมตร

49. ทรงกลมตัวนามีประจุ –200 C รัศมี 50 เซนติมเตร จงหาศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ของทรงกลม


และงานที่ใช้ในการพาประจุ –20 C จาก infinity มาที่ผวิ นี้
1. 3.6 x 106 โวลต์ , 36 จูล 2. –3.6 x 106 โวลต์ , 36 จูล
3. 3.6 x 106 โวลต์ , 72 จูล 4. –3.6 x 106 โวลต์ , 72 จูล

50(แนว มช) ถ้าต้องการเคลื่อนประจุขนาด q คูลอมบ์ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q


อยูภ่ ายในจากตาแหน่งหนึ่งไปสู่ อีกตาแหน่งหนึ่ง งานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุคือ
1. KqQ
2 J 2. KqQ3 J 3. KqQ4 J 4. 0 J

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้าสมา่ เสมอ
ในกรณี ที่เรามีแผ่นโลหะ 2 แผ่นวางขนานกัน
แผ่นหนึ่งมีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยู่ อีกแผ่นหนึ่งนั้น
มีประจุไฟฟ้ าลบสะสม สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นทั้ง
สองจะมีทิศออกจากขั้วบวกเข้าหาขั้วลบดังรู ป และ
ขนาดของสนามไฟฟ้ าทุกๆ จุดระหว่างแผ่นคู่ขนานนี้
จะมีค่าเท่ากับทุกจุด เราจึงเรี ยกสนามไฟฟ้ าระหว่าง
แผ่นโลหะคู่ขนานเช่นนี้วา่ สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
เราสามารถหาค่าความเข้มของสนามสม่าเสมอได้จาก
E = Vd
เมื่อ E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
51. แผ่นโลหะคู่ขนานวางห่ างกัน 1 มิลลิเมตร ต่ออยูก่ บั ขั้วบวก–ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต์
สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นตัวนาคู่ขนานจะมีค่ากี่โวลต์ต่อเมตร
1. 500 2. 1000 3. 1500 4. 2000

52. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 8 โวลต์/เมตร จุด A และ B


อยูห่ ่าง กัน 0.5 เมตร ดังรู ป จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าใน 0.5 ม.
โวลต์ (V ) ระหว่าง A และ B
A B
1. 2 V 2. 4 V 3. 8V 4. 16 V

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
จากสมการ E = Vd
อาจจัดสมการใหม่เป็ น V = Ed
เมื่อ V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
เงื่อนไขการใช้ สูตร V = Ed
1. ทิศของการกระจัด ( d ) และสนามไฟฟ้ า ( E ) ต้องอยูใ่ นแนวขนานกัน
หากทิศของการกระจัด ( d ) ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ตอบ ความต่างศักย์ (V) = 0
หากทิศของการกระจัด ( d ) เอียงทามุมกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ต้องแตกการกระจัด d นั้น
ให้ขนานกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ก่อน แล้วใช้การกระจัดที่อยูใ่ นแนวขนานกับสนามไฟฟ้ า ( E )
มาแทนค่าในสมการ
2. ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศไปทางเดียวกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นลบ
ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศสวนทางกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นบวก
53. จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง A ไป B ( ในหน่วยโวลต์ ) ตามกรณี ต่อไปนี้
ก. ข. ค.
0.5 m A 60o A
0.5 m 2m
B A B B
E=10 V/m E=10 V/m E=10 V/m
1. ก. –5 ข. 0 ค. 10 2. ก. 5 ข. 0 ค. –10
3. ก. 5 ข. 0 ค. 10 4. ก. –5 ข. 0 ค. –10

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
การหางาน ( W ) เนื่องจากการเลื่อนประจุในสนามไฟฟ้ าอาจหาได้จาก
W = q ( V2 – V1 ) ( ค่า V2 – V1 คือความต่างศักย์อาจแทนค่าด้วย V ก็ได้ )
จะได้ W = q V
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ไฟฟ้ า (โวลต์ )
54. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาดเท่ากับ 8 โวลต์/เมตร
0.5 m E
ตาแหน่ง A และ B อยูห่ ่าง กัน 0.5 เมตร ดังรู ป
B A
จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง A ไป B และ
หากเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุด A ไป B จะต้องทางานกี่จูล
1. 2 V , 4 x 10–6 J 2. 4 V , 4 x 10–6 J
3. 2 V , 8 x 10–6 J 4. 4 V , 8 x 10–6 J


55. ถ้า E เป็ นสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอมีขนาด 12 โวลต์/เมตร  B
จงหางานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6 E
5 ซม.
คูลอมบ์ จาก A  B  C
C
1. 1.8 x 10–6 จูล 2. –1.8 x 10–6 จูล 5 ซม.
3. 3.6 x 10–6 จูล 4. –3.6 x 10–6 จูล A

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
56. อนุ ภาคโปรตอนเคลื่ อนที่ในบริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 50,000 นิ วตันต่อ-
คูลอมบ์ จาก A ไป B ถ้าการเคลื่ อนที่ น้ ี ทาให้อนุ ภาคโปรตอนมี พลังงานจลน์เปลี่ ยนไป
2 x 10–15 จูล จงหาระยะทางจาก A ไป B ในหน่วยเป็ นเมตร
1. 0.25 2. 0.50 3. 0.75 4. 1.00

หากเรานาประจุทดสอบ ( q ) ไปวางในสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก


แรงกระทาแล้วทาให้เกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่าเสมอนั้น
โดย ประจุไฟฟ้ าบวกจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้ าลบ
และ ประจุไฟฟ้ าลบจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้ าบวก
โปรดสั งเกตว่า
แรงกระทาต่อประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้ า
แรงกระทาต่อประจุลบจะมีทิศตรงกันข้ามกับสนามไฟฟ้ า
และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทานั้น ได้จาก
F = qE หรื อ F = q Vd
เมื่อ F คือ แรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์)
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
57. จากรู ป จงหาแรงไฟฟ้ าที่กระทาต่ออิเล็กตรอนที่อยูใ่ นระหว่างแผ่นโลหะขนาน AB
1. 3.0 x 10 –33 N ทิศขึ้น A
2. 5.3 x 10–20 N ทิศขึ้น  1
E  3 N/C
3. 5.3 x 10–20 N ทิศลง
4. 4.8 x 10–19 N ทิศขึ้น

58. เมื่อนาประจุ +3.6 x 10–14 คูลอมบ์ วางในสนามไฟฟ้ าของแผ่นโลหะสองแผ่นซึ่ งมีทิศ


จากซ้ายไปขวา และมีความต่างศักย์ 100 โวลต์ และอยูห่ ่างกัน 0.3 เมตร จะเกิดแรง
กระทาต่อประจุตามข้อใดต่อไปนี้
1. 1.2 x10–9 N ในทิศจากซ้ายไปขวา 2. 1.2 x 10–9 N ในทิศจากขวาไปซ้าย
3. 1.2 x 10–11 N ในทิศจากซ้ายไปขวา 4. 1.2 x 10–11 N ในทิศจากขวาไปซ้าย

59. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบว่าหยดน้ ามันหยดหนึ่ งลอยนิ่ งได้ระหว่างแผ่น


โลหะขนาน 2 แผ่น ซึ่ งห่างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทาให้เกิด
สนาม 12000 โวลต์/เมตร ถ้าหยดน้ ามันมีประจุ 8.0 x 10–19 คูลอมบ์ จะมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 4.8 x 10–16 2. 9.6 x 10–16 3. 10.4 x 10–16 4. 20.8 x 10–16

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
60. ลูกบอลมวล 0.012 กิโลกรัม มีประจุไฟฟ้ า –18 ไมโครคูลอมบ์ จงหาขนาดและทิศทาง
ของสนามไฟฟ้ าที่จะทาให้ลูกบอลนี้เริ่ มลอยขึ้นจากพื้นดิน
1. 3.4 x 103 N/C , ทิศลง 2. 6.7 x 103 N/C , ทิศลง
3. 3.4 x 103 N/C , ทิศขึ้น 4. 6.7 x 103 N/C , ทิศขึ้น

61. แผ่นตัวนาขนานห่างกัน 0.2 เซนติเมตร ทาให้เกิดสนามสม่าเสมอตามแนวดิ่ง ถ้าต้องการ


ให้อิเล็กตรอนมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม มีประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ลอยอยูน่ ิ่งๆ ได้
ที่ตาแหน่งหนึ่งระหว่างแผ่นตัวนาขนานนี้ ความต่างศักย์ระหว่างตัวนาขนานต้องเป็ นเท่าใด
1. 1.14 x 10–11 โวลต์ 2. 2.28 x 10–11 โวลต์
3. 1.14 x 10–13 โวลต์ 4. 2.28 x 10–13 โวลต์

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
62. หยดน้ ามันหยดหนึ่ งมี ม วล 3.2 x 10–15 กิ โลกรั ม สามารถลอยนิ่ ง อยู่ในอากาศภายใน
สนามไฟฟ้ าซึ่ งมีทิศพุง่ ลงในแนวดิ่งขนาด 2 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ แสดงว่าหยดน้ ามันนี้
( กาหนดให้ อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ –1.6x10–19 คูลอมบ์ )
1. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 10 ตัว 2. เสี ยอิเล็กตรอนไป 10 ตัว
3. รับอิเล็กตรอนเพิม่ ขึ้น 20 ตัว 4. เสี ยอิเล็กตรอนไป 20 ตัว

63. แผ่นตัวนาขนานห่ างกัน 10 เซนติเมตร มีความต่างศักย์ 30 โวลต์ ทาให้เกิดสนามสม่า


เสมอใน แนวดิ่งลง เมื่อนาลูกพิธมวล 0.60 กรัม ที่มีประจุ 20 x 10–6 คูลอมบ์ มาแขวน
ไว้ดว้ ยด้ายเบาเส้นเล็กๆ ยาว 5 เซนติเมตร ปลายหนึ่งผูกติดอยูก่ บั โลหะแผ่นบน แรงดึงใน
เส้นด้ายจะมีค่าเท่าใด และถ้าเส้นด้ายขาดลูกพิธจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด
1. T = 0.6 x 10–2 N , a = 10 m/s2 2. T = 0.6 x 10–2 N , a = 20 m/s2
3. T = 1.2 x 10–2 N , a = 10 m/s2 4. T = 1.2 x 10–2 N , a = 20 m/s2

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
64. ชายคนหนึ่งมวล 80 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นห้องที่มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 3000 นิ วตัน/-
คูลอมบ์ มีทิศทางพุง่ ขึ้นสู่ เพดานในแนวดิ่ง ถ้าชายคนนี้ตอ้ งการลอยตัวขึ้นสู่ เพดานด้วยอัตรา
เร่ ง 5 เมตร/วินาที2 เขาจะต้องสร้างประจุไฟฟ้ าขนาดเท่าใดให้กบั ตนเอง
1. ประจุขนาด 0.2 คูลอมบ์ 2. ประจุขนาด 0.4 คูลอมบ์
3. ประจุขนาด 0.6 คูลอมบ์ 4. ประจุขนาด 0.8 คูลอมบ์

65. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ E มีขนาด 1.0 x 104 นิ วตันต่อคูลอมบ์ มีทิศตามแนวดิ่ ง กระทา


กับ ลูกพิธมวล 0.02 กรัม พบว่าลูกพิธเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง 2 เมตรต่อวินาที2 ลูกพิธมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 1.6 x 10–7 2. 8 x 10–7 3. 1.6 x 10–8 4. 8 x 10–8

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
66(แนว En) บริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ า 160 โวลต์/เมตร และมีทิศในแนวดิ่ง ปรากฏว่าละอองน้ า
หยดหนึ่ งซึ่ งมีประจุ –6.4 x10–18 คูลอมบ์ เคลื่ อนที่ลงในแนวดิ่ งด้วยความเร่ ง 2 เมตร/-
วินาที2 มวลของละอองน้ านี้มีค่าเท่าใดในหน่วยของ 10–18 กิโลกรัม
1. 568 2. 145 3. 128 4. 124

67. ทรงกลมขนาดเล็กแขวนอยูใ่ นแนวดิ่งด้วยเชื อกเบา


ที่เป็ นฉนวน เมื่อทรงกลมหยุดนิ่งในสนามไฟฟ้ าที่ 45o

สม่าเสมอ และอยูใ่ นแนวระดับดังรู ป ถ้าทรงกลมมี E
ประจุ 2.5 x10–6 คูลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม
จงหาขนาดสนามไฟฟ้ า
1. 30 N/C 2. 60 N/C
3. 90 N/C 4. 120 N/C

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.7.1 ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ คือวัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟ้ าไว้ภายในตัวเองได้
สาหรับจานวนประจุที่ตวั เก็บประจุแต่ละตัวสามารถเก็บไว้ได้จะมากหรื อน้อยนั้น
สามารถดูได้จากค่าความจุของตัวเก็บประจุน้ นั ๆ ( C ) หากตัวเก็บประจุมีค่าความจุสูงก็จะเก็บ
ประจุได้มาก หากมีค่าความจุต่าก็จะเก็บประจุได้นอ้ ย
ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม
ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = ka หรื อ C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
a คือรัศมีทรงกลม ( เมตร )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ = 9 x 109 (นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือประจุที่เก็บสะสม ( คูลอมบ์)
V คือศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ( โวลต์ )
68. ตัวนาทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ความจุประจุของทรงกลมมีค่ากี่ฟารัด
1. 0.7 x 10–11 2. 0.9 x 10–11 3. 1.1 x 10–11 4. 1.3 x 10–11

69. จากโจทย์ที่ผา่ นมา หากศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดที่ผวิ ตัวนามีค่าเท่ากับ 3 x 102 โวลต์ ประจุไฟฟ้ า
สู งสุ ดที่ทรงกลมนี้สามารถเก็บได้มีค่ากี่ไมโครคูลอมบ์
1. 1.3 x 10–3 2. 2.5 x 10–3 3. 3.3 x 10–3 4. 4.5 x 10–3

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ตัวเก็บประจุ แบบแผ่ นโลหะคู่ขนาน
ตัวเก็บประจุแบบนี้จะมีแผ่นโลหะแบนๆ 2 แผ่น
วางขนานกันโดยแผ่นหนึ่งจะเก็บสะสมประจุบวก ส่ วน
อีกแผ่นจะเก็นสะสมประจุลบ ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้ า (โวลต์)

70. ตัวเก็บประจุตวั หนึ่ งมี ความจุ 0.2 ไมโครฟารัด ใช้งานกับความต่างศักย์ 250 โวลต์ จะ
เก็บประจุไว้ได้กี่คูลอมบ์
1. 0.5 x 102 2. 1.25 x 102 3. 2.5 x 10–5 4. 5 x10–5

เราสามารถหาพลังงานไฟฟ้ าที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผ่นโลหะคู่ขนานได้จาก
2
U = 12 Q V หรื อ U = 12 QC หรื อ U = 12 C V2
เมื่อ U คือพลังงานที่เก็บสะสม ( จูล )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้ า ( โวลต์ )
C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )

71. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอร์ที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด เมื่อประจุไฟฟ้ าให้คา-


ปาซิ เตอร์ จนมีความต่างศักย์ 2 โวลต์
1. 1 x 10–6 จูล 2. 2 x 10–6 จูล 3. 4 x 10–6 จูล 4. 8 x 10–6 จูล

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
72. ในการเกิดฟ้ าผ่าครั้งหนึ่ง ปรากฏว่ามีประจุถ่ายเทระหว่างเมฆและพื้นดิน 40 คูลอมบ์
และความต่างศักย์ระหว่างเมฆกับพื้นดินมีค่า 8 x 106 โวลต์ จงหาพลังงานที่เกิดขึ้นเนื่อง
จากฟ้ าผ่าครั้งนี้
1. 1.6 x 106 จูล 2. 3.2 x 106 จูล 3. 1.6 x 108 จูล 4. 3.2 x 108 จูล

73(แนว มช) ถ้าใช้ตวั ต้านทาน 10 โอห์ ม ต่อคร่ อมตัวเก็บประจุ ขนาด 2000 ไมโครฟารัด
เพื่อคายประจุจากค่าประจุเริ่ มต้น 2 คูลอมบ์ จนไม่มีประจุเหลื ออยู่เลย จะเกิ ดความร้ อน
บนตัวต้านทานกี่จูล
1. 100000 2. 5000 3. 2000 4. 1000

74. ตัวเก็บประจุหนึ่งสะสมประจุไว้ 5.3 x 10–5 คูลอมบ์ เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 6 โวลต์


จงหาประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุ ถ้าต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์
1. 53 C 2. 69 C 3. 79 C 4. 85 C

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7.2 การต่ อตัวเก็บประจุ
ปกติแล้วในวงจรไฟฟ้ าหนึ่งๆ นั้น จะต้องใช้ตวั เก็บประจุหลายๆ ตัวเข้ามาต่อร่ วมกัน
ทางาน การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้ าหลายตัวเข้าด้วยกันนั้น โดยทัว่ ไปแล้วจะมี 2 แบบ ได้แก่
การต่อแบบอนุกรม และการต่อแบบขนาน
ก. การต่ อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
การต่อแบบอนุกรมจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวให้อยูใ่ นแนวเส้นเดียวกัน ดังรู ป
การต่อแบบอนุกรมจะมีสิ่งที่ตอ้ งจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้ าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว จะมี
ขนาดเท่ากัน และเท่ากับประจุไฟฟ้ ารวมที่ไหลเข้า
Q1 Q2
วงจร นัน่ คือ Qรวม = Q1 = Q2 = …..
Q Q
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแต่ละ V1= C1 V2= C 2
1 2
ตัวอาจมีค่าไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ V1  V2  ……
3. ความต่างศักย์รวมทั้งวงจร จะเท่ากับความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุแต่ละตัวรวมกัน
นัน่ คือ Vรวม = V1 + V2 + …..
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก C 1 = C1 + C1 + ….
รวม 1 2
C xC
และหากตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกันเพียง 2 ตัว ค่าความจุรวมอาจหาได้จาก Cรวม = C1  C2
1 2
75. จากรู ป ให้หาค่า Cรวม
1. 2 F 2. 4 F C1 = 3 F C2 = 6 F
Qรวม = 18 C
3. 9 F 4. 18 F Q1 Q2
V1 V2

76. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Q1 และ Q2


1. Q1 = 12 C , Q2 = 6 C 2. Q1 = 6 C , Q2 = 12 C
3. Q1 = 12 C , Q2 = 12 C 4. Q1 = 18 C , Q2 = 18 C

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
77. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า V1 และ V2
1. V1 = 12 V , V2 = 6 V 2. V1 = 6 V , V2 = 12 V
3. V1 = 6 V , V2 = 3 V 4. V1 = 3 V , V2 = 6 V

78. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Vรวม


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

79. จากรู ป จงหา Cรวม และ Qรวม


6 F 12 F
1. Cรวม = 4 F , Qรวม = 144 C
2. Cรวม = 4 F , Qรวม = 288 C
3. Cรวม = 8 F , Qรวม = 144 C
4. Cรวม = 8 F , Qรวม = 288 C Vรวม = 36 โวลต์

80. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาประจุและความต่างศักย์ของตัวเก็บ 6 F


1. 72  C , 12 V 2. 72  C , 24 V
3. 144  C , 12 V 4. 144  C , 24 V

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
81. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาประจุและความต่างศักย์ของตัวเก็บ 12 F
1. 72  C , 12 V 2. 72  C , 24 V
3. 144  C , 12 V 4. 144  C , 24 V

82. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาพลังงานไฟฟ้ าของตัวเก็บ 12 F


1. 4.32 x 10–3 จูล 2. 8.64 x 10–3 จูล
3. 4.32 x 10–4 จูล 4. 8.64 x 10–4 จูล

ข. การต่ อตัวเก็บประจุแบบขนาน
การต่อแบบขนานจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวโดยแยกกันอยูค่ นละสาย ดังรู ป
การต่อแบบขนานจะมีสิ่งที่ตอ้ งจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้ าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว อาจมี Q1

ขนาดไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ


Qรวม  Q1  Q2  ….. Q2

2. ประจุไฟฟ้ ารวม จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของประจุไฟฟ้ าในแต่ละตัวเก็บประจุ


Qรวม = Q1 + Q2 + …..
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันและเท่ากับความต่างศักย์
รวมของวงจรด้วย นัน่ คือ Vรวม = V1 = V2 = …
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก Cรวม = C1 + C2 + ...
40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
83(แนว มช) จากรู ป จงหาค่าความจุรวม และประจุไฟฟ้ า
รวมบนตัวเก็บประจุท้ งั สอง 2 pF 5 pF
140 V
1. 7 pF , 0.05 pC 2. 1.4 pF , 196 pC
3. 7 pF , 980 pC 4. 1.4 pF , 1960 pC

84. จากรู ป ให้หาค่า Cรวม C1 = 4 F V1


Q1
1. 2 F 2. 4 F Qรวม = 48 C
3. 8 F 4. 16 F Q2 C2 = 12 F V2

85. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Vรวม


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

86. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า V1 และ V2


1. V1 = 3 V , V2 = 6 V 2. V1 = 6 V , V2 = 3 V
3. V1 = 3 V , V2 = 3 V 4. V1 = 6 V , V2 = 6 V

87. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Q1 และ Q2


1. Q1 = 12 C , Q2 = 36 C 2. Q1 = 36 C , Q2 = 12 C
3. Q1 = 12 C , Q2 = 12 C 4. Q1 = 36 C , Q2 = 36 C

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
88. ตัวเก็บประจุขนาด 4.0 F และ 8.0 F ต่อขนานกัน และต่อเข้ากับความต่างศักย์ 25
โวลต์ จงหาความจุไฟฟ้ ารวม และ ประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุแต่ละตัว ตามลาดับ
1. 12 F , 50 C , 100 C 2. 12 F , 50 C , 200 C
3. 12 F , 100 C , 100 C 4. 12 F , 100 C , 200 C

89. ตัวเก็บประจุ 3 ตัว มีความจุดงั นี้ C1


C1 = 1 ไมโครฟารัด C3
C2 = 2 ไมโครฟารัด
C3 = 3 ไมโครฟารัด C2
ต่อกันอยูด่ งั ในรู ป ความจุรวมจะเท่ากับกี่ไมโครฟารัด
1. 23 2. 23 3. 113 4. 12

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
90. C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด
C1
C3 = 6 ไมโครฟารัด C4 = 6 ไมโครฟารัด
C2 C3 C4
ต่อตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรู ป จงหา
ความจุรวมของทั้งหมดในหน่วยไมโครฟารัด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 6

91. เมื่อสับสวิทซ์ลงในวงจรดังแสดงในรู ปจะมีประจุ C2 = 8 F


ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ์ ไหลจากแบตเตอรี่ ไป C1 = ?
เก็บอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาด C3 = 8 F
ความจุของตัวเก็บประจุที่ไม่ทราบค่า C1 มีค่ากี่
ไมโครฟารัด E=5V
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
92. จากรู ป จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด A กับจุด B
A 2 F B
และ ประจุไฟฟ้ าในตัวเก็บประจุ 2 F * *
1. 36 V , 36 C C* D*
6 F 3 F
2. 18 V , 36 C
3. 36 V , 72 C
4. 18 V , 72 C Vรวม = 36 โวลต์

93. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด C กับ D และ ประจุไฟฟ้ าในตัวเก็บ 6 F


1. 36 V , 36 C 2. 18 V , 36 C 3. 36 V , 72 C 4. 18 V , 72 C

94. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ 6 F


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

95. จากข้อที่ผา่ นมา พลังงานไฟฟ้ าที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 F


1. 4.32 x 10–3 จูล 2. 8.64 x 10–3 จูล
3. 4.32 x 10–4 จูล 4. 8.64 x 10–4 จูล

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
96(แนว En) วงจรไฟฟ้ าประกอบด้วยตัวเก็บประจุสามตัว
ต่ออยูก่ บั ความต่างศักย์ 12 โวลต์ ดังรู ป จงคานวณหา 3 F 6 F
ขนาดของความต่างศักย์ที่คร่ อมตัวเก็บประจุ 3 ไมโคร 2 F
ฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด ตามลาดับ
1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V
12V
3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V

13.7.3 การถ่ ายโอนประจุระหว่ างทรงกลมตัวนา


เมื่อนาตัวเก็บประจุหลาย ตัวมาแตะกัน จะเกิดการถ่ายโอนประจุให้แก่กนั และกัน ซึ่ งการ
ถ่ายโอนประจุน้ นั จะเป็ นไปภายใต้กฎ คือ
1) หลังแตะ ศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุทุกตัวจะเท่ากัน
2) ประจุ ( Q ) รวมก่อนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลังแตะ
97. ตัวนาทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนาทรงกลมรัศมี 2a ที่มีประจุ +4Q
หลังจากแยกออกจากกันแล้วตัวนาทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเท่าใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q2 4. 2Q

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
98. ตัวนาทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนาทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q
หลังจากแยกออกจากกันแล้ว ตัวนาทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเท่าใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q
2 4. 2Q

99. ทรงกลมตัวน าขนาดเท่ ากัน 2 อัน แต่ ล ะอันมี รัศ มี 1 ซม. อัน แรกมี ป ระจุ 3 x 10–5
คูลอมบ์ อันหลังมีประจุ –1 x 10– 5 คูลอมบ์ เมื่อให้ทรงกลมทั้งสองแตะกันแล้วแยกนาไป
วางไว้ให้ผวิ ทรงกลมทั้งสองห่างกัน 8 ซม. ขนาดของแรงระหว่างทรงกลมคือ (นิวตัน)
1. 90 2. 270 3. 360 4. 563



46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
เฉลยบทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 1.
18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 1. 21. ตอบข้ อ 1.
22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4. 25. ตอบข้ อ 3.
26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 2. 29. ตอบข้ อ 4.
30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 4. 33. ตอบข้ อ 4.
34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 1. 37. ตอบข้ อ 1.
38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 3. 41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 4.
43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 2. 45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 2.
47. ตอบข้ อ 3. 48. ตอบ 100 49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 4.
51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 4.
55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 3.
59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 2. 61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 1.
63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2. 65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 3.
67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 3. 69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 4.
71. ตอบข้ อ 3. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 3.
75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 4. 77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 2.
79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 4.
83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบข้ อ 4. 85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 3.
87. ตอบข้ อ 1. 88. ตอบข้ อ 4. 89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 4.
91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 3. 93. ตอบข้ อ 3. 94. ตอบข้ อ 3.
95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 4. 97. ตอบข้ อ 2. 98. ตอบข้ อ 4.
99. ตอบข้ อ 1.


47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
13.1 ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคบ และการต่ อสายดิน
13.1.1 ประจุไฟฟ้า
13.1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
1(แนว มช) เมื่อนาแท่งแก้วถูผา้ ไหมจะพบว่าวัตถุท้ งั สองกลายเป็ นวัตถุที่มีประจุ การที่วตั ถุท้ งั
สองมีประจุได้ เนื่องจาก
1. ประจุถูกสร้างขึ้น 2. การแยกของประจุ
3. การเสี ยดสี 4. แรงที่ถู
2. เมื่อถูแท่งแก้วด้วยผ้าไหม แท่งแก้วจะมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกเพราะว่าสาเหตุใด
1. โปรตรอนบางตัวในไหมถ่ายเทไปแท่งแก้ว
2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแท่งแก้วและถ่ายเทไปยังผ้าไหม ทาให้เหลือประจุไฟฟ้ า
บวกบนแท่งแก้วมากกว่าประจุไฟฟ้ าลบ
3. ทั้งข้อ 1. และ 2. ถูกต้อง
4. ผิดหมดทุกข้อ
3(แนว มช) เมื่อนาแท่งพีวซี ี ที่ถูกบั ผ้าสักหลาดแล้วไปวางใกล้ ๆ กับลูกพิธที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า
จะสังเกตเห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นดังนี้
1. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
2. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวซี ี
3. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกห่างจากแท่งพีวซี ี
4. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวซี ี ในตอนแรก แล้วจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง
4(แนว มช) เป็ นที่ ทราบกันแล้วว่าอิเล็กตรอนในโลหะ สามารถเคลื่ อนที่ ได้อย่างอิ สระและ
มักจะพบเสมอว่าอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่มาอยูต่ ามบริ เวณผิวของโลหะ เหตุที่อิเล็กตรอนไม่
เคลื่อนที่ต่อไปในอากาศ เพื่อหนีออกจากโลหะเพราะ
1. อากาศไม่เป็ นตัวนาไฟฟ้ า
2. อิเล็กตรอนมีพลังงานน้อยกว่าพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะ
3. อากาศมีแรงเสี ยดทานมาก
4. อิเล็กตรอนถูกอะตอมของโลหะยึดจับไว้
48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
5(แนว En) ในการทาให้วตั ถุที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบหรื อเป็ นบวก มีสภาพไฟฟ้ าเป็ นกลางนั้น
จะต้องต่อสายดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะข้อใด
1. โลกมีความต้านทานต่า 2. โลกมีความจุไฟฟ้ ามาก
3. โลกมีสนามไฟฟ้ าต่า 4. โลกมีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นกลาง
13.1.3 อิเล็กโทรสโคบ
13.1.4 การต่ อสายดิน

13.2 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์


6. จากรู ปให้หาแรงกระทาระหว่างประจุท้ งั สองนี้ R = 3 ม.
ว่ามีขนาดกี่นิวตัน
1. 0.01 2. 0.05 + –
3. 0.02 4. 0.15 Q1 = +5 x 10–6 C Q2 = –2 x 10–6 C

7. ลูกพิธสองลูกแต่ละลูกมีประจุ 1.0 ไมโครคูลอมบ์ เมื่อวางห่างกันเป็ นระยะ 50 เซนติเมตร


และถือว่าลูกพิธทั้งสองนี้มีขนาดเล็กมากจนถือได้วา่ เป็ นจุดประจุ แรงระหว่างประจุที่เกิดขึ้น
มีค่าเท่าใด
1. 9.0 x 109 นิวตัน 2. 3.6 x 109 นิวตัน
3. 36 นิวตัน 4. 3.6 x 10–2 นิวตัน
8. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัว ซึ่ งอยูห่ ่างกัน 3.0 x 10–15
เมตร จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับโปรตอนแต่ละตัว
( กาหนด โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 18.8 นิวตัน 2. 20.6 นิวตัน 3. 25.6 นิวตัน 4. 30.5 นิวตัน
9. จงหาระยะห่างในหน่วยเมตรของจุดประจุที่มีขนาด +1.0 และ –1.0 ไมโครคูลอมบ์ ซึ่ง
มีแรงดึงดูดต่อกัน 360 นิวตัน
1. 5 x 10–3 เมตร 2. 6 x 10–3 เมตร
3. 7 x 10–3 เมตร 4. 8 x 10–3 เมตร

49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
10. ประจุขนาดเท่ากันชนิ ดเดี ยวกันอยู่ห่างกัน 3 เมตร แรงผลักระหว่างประจุ 0.4 นิ วตัน
ประจุแต่ละตัวจะมีขนาดเท่ากับกี่คูลอมบ์
1. 1 x 10–5 2. 2 x 10–5 3. 1 x 10–6 4. 2 x 10–6
11. ก้อนโลหะ 2 ก้อน มีระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของโลหะทั้งสองเป็ น 3 เมตร แต่ละ
ก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 1 x 1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิดขึ้นว่ามีกี่นิวตัน
12. ทรงกลมโลหะลูกเล็กๆ เริ่ มแรกไม่มีประจุท้ งั สองลูก จะต้องมีการถ่ายเทอิเล็กตรอนจานวนกี่
ตัว จากลูกหนึ่งไปยังอีกลูกหนึ่ง จึงจะทาให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างทรงกลมทั้งสองเท่ากับ 1.0
นิวตัน ขณะที่อยูห่ ่างกัน 10 เซนติเมตร
1. 6.59 x 1010 ตัว 2. 6.59 x 109 ตัว
3. 6.59 x 108 ตัว 4. 6.59 x 1012 ตัว
13. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุห่างกัน 3.0 เซนติเมตร ปรากฏว่ามีแรงกระทาต่อกัน 8.0 x 10–6
นิว ตัน ถ้าวางลูกพิธทั้งสองห่างกัน 6.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทาระหว่างกันกี่นิวตัน
1. 2 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 2 x 10–6 4. 4 x 10–6
14. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่หนึ่งเป็ น 3.5 นิ วตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง
ประจุคู่น้ ีวา่ มีค่ากี่นิวตัน ถ้าระยะห่างของประจุเป็ น 5 เท่าของเดิม
15. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่หนึ่งเป็ น 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง
ประจุ คู่ น้ ี ถ้า ระยะห่ า งของประจุ เป็ น 3 เท่ า ของเดิ ม
1. 3 นิวตัน 2. 9 นิวตัน 3. 34 นิวตัน 4. 81 นิวตัน
16. ถ้าระยะห่ างระหว่างประจุ 2 ตัวเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าของของเดิม แรงกระทาระหว่างประจุ
ในตอนหลังจะมีค่าเป็ นกี่เท่าของแรงกระทาระหว่างประจุในตอนแรก
1. 2 เท่า 2. 4 เท่า 3. 12 เท่า 4. 14 เท่า
17. ประจุคู่หนึ่ งวางให้ห่างกันเป็ นครึ่ งหนึ่ งของระยะเดิ ม แรงกระทาระหว่างประจุจะเพิ่มหรื อ
ลดจากเดิมเท่าไร
1. เพิ่มขึ้น 12 เท่า 2. เพิ่มขึ้น 2 เท่า 3. เพิ่มขึ้น 4 เท่า 4. ลดลง 2 เท่า

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
18. ลูกพิธ 2 ลูก วางห่ างกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันค่าหนึ่ ง ถ้าเพิ่มประจุลูกหนึ่งเป็ น 2
เท่า และอีกลูกหนึ่ งเป็ น 3 เท่า จะต้องวางลูกพิธทั้งสองห่ างกันกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดแรง
กระทาเท่าเดิม
1. 4 2. 4 6 3. 8 4. 8 6
19. ประจุ q1 = +4 x 10–6 คูลอมบ์ , q2 = –5 x 10–6 คูลอมบ์ และ q3 = +6 x 10–6 คูลอมบ์
วางอยูด่ งั รู ป จงหาแรงที่เกิดขึ้นกับประจุ q2 ว่ามีค่ากี่นิวตัน
4 ม.
+-– – –2–ม.– – – – – – – – – – – – – – – –+–
q1 = + 4x10–6 C q2 = –5x10–6 C q3 = +6x10–6 C
1. 0.029 2. 0.05 3. 0.045 4. 0.151
20. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูห่ ่างกัน 20 เซนติเมตร ถ้านาประจุทด
สอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไว้ที่จุดกึ่งกลางระหว่างประจุท้ งั สองขนาด และมีทิศทาง
ของแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบคือ
1. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เข้าหาประจุลบ 2. 1.80 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
3. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุลบ 4. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
21(แนว มช) ประจุไฟฟ้ า –3 x10–4 C
+ C = +4 x 10–4 C
+2 x10–3 C และ +4 x 10–4 C
วางอยูท่ ี่จุด A , B และ C ดัง 3 ม.
รู ป จงหาว่าแรงกระทาที่มีต่อประ A = 3 x 10–4 C
– + B = +2 x 10–3 C
จุ +2 x 10–3 C มีขนาดกี่นิวตัน 3 ม.
1. 600 2. 800 3. 1000 4. 1400
22. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 3 นิวตัน C = +3 x 10–5 C
2. 4 นิวตัน 3 ม.
3. 5 นิวตัน A = 4 x 10–5 C
B = +1 x 10–4 C
4. 6 นิวตัน 3 ม.

51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
23. จากรู ป จงหาขนาดของแรงที่กระทาต่อ
+10 C
ประจุ +3 C 
1. 0.068 นิวตัน
2. 13.5 นิวตัน 2 cm 2 cm
3. 22.5 นิวตัน
+3 C  2 cm
 –10 C
4. 675 นิวตัน
24. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ์ , +20 ไมโครคูลอมบ์ +10 C +4 C
และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นตาแหน่งแสดง + 37o80 cm +
ดังรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ์
60 cm
( ให้ cos 53o = 0.6 ) 100 cm
1. 1.4 นิวตัน 2. 3.4 นิวตัน + +20 C
3. 5.4 นิวตัน 4. 6.4 นิวตัน
25. ประจุไฟฟ้ าเท่ากันวางอยูท่ ี่จุด A , B และ C โดยระยะ AB = 2 cm , BC = 1 cm
ถ้าแรงไฟฟ้ าที่กระทาต่อ B เนื่องจาก C เท่ากับ A
2 นิวตัน แรงไฟฟ้ าทั้งหมดที่กระทาต่อ B มี
ขนาดกี่นิวตัน 2 cm
1. 12 2. 25 B C R
3. 2 5 4. 5 1 cm

26(แนว En) ตัวนา A และ B มีมวลและประจุเท่ากัน A +q


คือ m และ +q เมื่อวาง B อยูก่ บั พื้น และวาง A r
เหนือ B ปรากฏว่า A ลอยสู งจาก B เป็ นระยะ r
B +q
ดังรู ป จงหาว่า q มีค่าเท่าใด พื้น

1. m2gr 2 2. mKg r 3. mgr 2 2


4. m Kg r
K K

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
27. รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบโปรตรอนในอะตอมธาตุไฮโดรเจน มีคา่ ประมาณ
5.3 x 10–11 เมตร จงหาอัตราส่ วนแรงไฟฟ้ าสถิตกับแรงดึงดูดระหว่างมวล
กาหนด ประจุอิเล็กตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ์
ประจุโปรตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ์
มวลอิเล็กตรอน = 9.1x10–31 กิโลกรัม
มวลโปรตรอน = 1.67x10–27 กิโลกรัม
1. 2.3 x 1039 2. 2.7 x 1039 3. 2.8 x 1039 4. 2.9 x 1039

13.3 สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ
28. จงหาความเข้มสนามไฟฟ้ าที่ระยะ 50 ซม. จากประจุ +10–4 คูลอมบ์ ว่าจะมีความเข้มกี่
นิวตัน/คูลอมบ์
1. 2.3 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 5.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 1.2 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 3.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์
29. ความเข้มสนามไฟฟ้ าที่จุดห่างจากประจุ 0.15 เมตร เป็ น 160 นิวตันต่อคูลอมบ์ ที่จุดห่าง
จากประจุ 0.45 เมตร จะมีความเข้มสนามไฟฟ้ ากี่นิวตัน/คูลอมบ์
30. ที่ตาแหน่งซึ่ งห่างจากประจุหนึ่งเป็ นระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟ้ าเป็ น 105
นิวตันต่อคูลอมบ์ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้ าที่ห่างจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร
1. 4 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 2 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 7 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 9 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์
31. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนาม
A = +4 x 10–9 C B = 3 x 10–9 C
ไฟฟ้ าลัพธ์ที่จุด X มีขนาดเท่าใด X
3 ม. *
1. 5 N/C 2. 7 N/C 3 ม.
3. 10 N/C 4. 14 N/C

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
32(แนว มช) วางประจุ 3 x 10–3 คูลอมบ์ , 2 x 10–3
A B C
คูลอมบ์ และ –8 x 10–3 คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง A ,
B และ C ตามลาดับ จงหาสนามไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง
B ในหน่วยของนิ วตัน/ คูลอมบ์ AB = 3 เมตร , BC = 2 เมตร
1. 21 x 106 2. 15 x 106 3. 30 x 106 4. 42 x 106
33. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนามไฟฟ้ าลัพธ์ A = +4 x 10–9 C
ที่จุด X มีขนาดเท่าใด X
3 ม. *
1. 5 N/C
2. 7 N/C 3 ม.
3. 10 N/C
4. 14 N/C B = 3 x 10–9 C

34. จากรู ป ถ้า ABP เป็ นสามเหลี่ยมด้านเท่ามีแต่ละด้านยาว 1.0 เมตร ถ้านาจุดประจุ 1.0
ไมโครคูลอมบ์ วางไว้ที่จุด A และนาจุดประจุ –1.0 ไม โ ค รคู ล อ ม บ์ ว างไ ว้ ที่ จุ ด B
สนามไฟฟ้ าที่จุด P เนื่องจากจุดประจุท้ งั สองมีค่าเท่าใด
1. 90 นิวตันต่อคูลอมบ์ P
2. 900 นิวตันต่อคูลอมบ์
3. 9000 นิวตันต่อคูลอมบ์
4. 90000 นิวตันต่อคูลอมบ์ A B
1 ม.
35. จงหาความเข้มสนามไฟฟ้ าที่จุด B ในหน่วยของ
นิวตัน/คูลอมบ์ ตามรู ปที่กาหนด +5 C –3.6 C
( กาหนด cos 127o = –0.6 ) 8 cm
37o
6
1. 7.00 x10 นิวตันต่อคูลอมบ์
6 cm
2. 7.05 x 106 นิวตันต่อคูลอมบ์ 10 cm
53o
6
3. 7.26 x 10 นิวตันต่อคูลอมบ์
B
6
4. 5.23 x 10 นิวตันต่อคูลอมบ์

54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
36. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเท่ากันอยูห่ ่างกัน 2 เมตร สนามไฟฟ้ า ณ จุดกึ่งกลางระหว่างประจุ
ทั้งสองมีทิศพุง่ เข้าหา q2 และมีขนาด 4.8 x 104 โวลต์/เมตร จงหา q2 ( หน่วย คูลอมบ์ )
1. + 6.67 x 10–9 2. – 6.67 x 10–9 3. +0.27 x 10–5 4. –0.27 x 10–5
37. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ และ –9 x 10–8 คูลอมบ์ วางห่างกัน 0.5 เมตร ดังรู ป จุด P
เป็ นจุดที่สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ ระยะ A มีค่ากี่เมตร

P +4 x 10–8 C –9 x 10–8 C

A 0.5 ม.
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.0
38. จุดประจุ 2 จุด อยูห่ ่ างกัน 0.5 เมตร จุดประจุหนึ่ งมีค่า +4 x 10–8 คูลอมบ์ หากสนาม
ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์อยูร่ ะหว่างประจุท้ งั สอง และห่างจากจุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ เท่ากับ
0.2 เมตร ค่าของอีกจุดประจุหนึ่งมีกี่คูลอมบ์
1. 0.9 x 10–8 2. 3 x 10–8 3. 9 x 10–8 4. 30 x 10–8
39. จุ ด ประจุ +4 x 10–8 คู ล อมบ์ และ +9 x 10–8 คู ล อมบ์ อยู่ห่ า งกัน 0.5 เมตร จงหาว่า
ตาแหน่งตามแนวเส้นตรงระหว่างจุดประจุท้ งั สองที่มีขนาดของสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ อยู่ห่ าง
จากประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ กี่เมตร
40. ประจุสองประจุมีขนาด –16 และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นตาแหน่ งซึ่ งห่ างกัน 3
เมตร จงหาว่าตาแหน่ งที่ อยู่ในแนวระหว่างประจุท้ งั สองที่ จะให้เกิ ดสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
อยูห่ ่างประจุ +4 ไมโครคูลอมบ์ กี่เมตร
41. ประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ์ และ –4 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่ างกัน 10 เซนติเมตร จงหา
ตาแหน่งของจุดสะเทินว่าอยูห่ ่างประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ์ กี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 13 4. 15
42. ประจุ ไ ฟฟ้ าหนึ่ ง (+5 C) ถู ก วางไว้ที่ ต าแหน่ ง X = 0 เมตร และประจุ ไ ฟฟ้ าที่ ส อง
(+7 C) ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร จะต้องวางประจุไฟฟ้ าที่สามไว้ที่ตาแหน่ง X
เป็ นกี่เมตร จึงจะได้รับแรงสุ ทธิ จากสองประจุแรกเท่ากับศูนย์
1. 0.46 2. 0.79 3. 0.77 4. 0.86
55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
43. จุด A , B และ C เรี ยงลาดับอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน ระยะ AB = ระยะ BC = X เมตร
จุด A และ B มีประจุอยู่ +QA และ –QB ตามลาดับ พบว่าที่จุด C มีสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
ประจุ QA และ QB มีค่าตามข้อใดตอบตามลาดับ
1. 4Q และ –Q 2. 2Q และ –Q 3. Q และ –4Q 4. –2Q และ Q
44. ประจุไฟฟ้ าขนาด +15 และ –30 หน่วย 15 A B –30 C
ประจุวางอยูด่ งั รู ป ตาแหน่งใดควรเป็ นจุดสะเทิน
1. A 2. B 3. C 4. ไม่มีคาตอบถูก
45. ตาแหน่งที่สนามไฟฟ้ ารวมเป็ นศูนย์ซ่ ึ งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ
ก. เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
ข. เกิดอยูใ่ กล้ประจุที่มีค่าน้อย
ค. เกิดในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุท้ งั สอง
1. ข้อ ก , ข , ค 2. ข้อ ก , ข 3. ข้อ ก , ค 4. ข้อ ข , ค
46. ถ้า +Q และ –Q เป็ นประจุตน้ กาเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เป็ นประจุทดสอบ รู ปใด
แสดงทิศของ F และ E ไม่ถูกต้อง

1. +Q 2. –Q
E +q F E –q F

3. –Q 4. +Q
E –q F E –q F
47. จงหาค่าสนามไฟฟ้ าที่เกิ ดจากประจุ 50 x 10–10 คูลอมบ์ ณ จุดที่อยูห่ ่ างออกไป 80 เซน-
ติเมตร และถ้ามีอิเล็กตรอน 2 ตัว อยูท่ ี่จุดนั้น อิเล็กตรอนจะถูกแรงกระทาเท่าใด
( กาหนด e 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 2.25 x 10–17 นิวตัน
2. 75.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 9.25 x 10–17 นิวตัน
3. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 8.25 x 10–17 นิวตัน
4. 76.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 5.25 x 10–17 นิวตัน

56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
48. สนามไฟฟ้ าที่ทาให้โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
เกิดความเร่ ง 2 x 102 เมตรต่อวินาที2 มีค่าเท่าไร
1. 2 x 10–6 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 2 x 10–5 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 2 x 10–4 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 2 x 10–3 นิวตัน/คูลอมบ์
49. ที่จุดห่างจากประจุตน้ เหตุ 1.2 เมตร ประจุขนาด 6 x 10–12 คูลอมบ์ ถูกแรงกระทา
6 x 10–10 นิวตัน จงหาขนาดประจุตน้ เหตุน้ ี
1. 1.6 x 10–8 C 2. 1.6 x 10–10 C 3. 3.2 x 10–8 C 4. 3.2 x 10–10 C
50. ที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้ า เกิดแรงกระทาต่ออิเล็กตรอน 4.8 x 10–14 นิวตัน จงหาแรง
ในหน่วยนิวตัน ที่กระทาต่อประจุขนาด 9.0 x 10–7 คูลอมบ์ ที่จุดเดียวกันนั้น
51. อนุ ภาคไฟฟ้ าซึ่ งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ์ ได้รับแรงเนื่ องจากสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน จงหาขนาดและทิศของแรงที่กระทาต่อโปรตอนเมื่ออยูใ่ น สนามนี้
(ให้สนามไฟฟ้ ามีทิศพุง่ ลง)
1. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 2. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
3. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 4. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
52. ถ้าจุ ด A อยู่ห่ า งจากจุ ดประจุ Q เป็ นระยะครึ่ งหนึ่ งของที่ จุด B อยู่ห่ า งจากประจุ Q
ศักย์ไฟฟ้ าที่จุด A จะมีค่าเป็ นกี่เท่าของศักย์ไฟฟ้ าที่จุด B
1. 41 2. 12 3. 2 4. 4

13.4 ศักย์ ไฟฟ้ารอบจุดประจุ


53. จุด A มีศกั ย์ไฟฟ้ า –2.0 โวลต์ และจุด B มีศกั ย์ไฟฟ้ า +6.0 โวลต์ ถ้าต้องการเคลื่อน
ประจุ +2.0 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุด A ไปจุด B จะต้องใช้งานในการเคลื่อนที่ประจุเท่า
กับกี่จูล
1. –4.0 x 10–6 2. 4.0 x 10–6 3. 1.6 x 10–5 4. –1.6 x 10–5
54(แนว En) A และ B เป็ นจุดที่อยูห่ ่ างจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ์ เป็ นระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลาดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุ +1 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานใน
หน่วยกิโลจูลเท่าใด
1. 8.75 2. 15 3. 35 4. 60
57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
55. จากรู ป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ์ A
หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ์ จาก B ไป
1 ม.
A จะต้องทางานกี่จูล
Q = –5x10–9 C 3 ม. B
1. 45 2. –45 3. 60 4. –60
56. จากรู ป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ์ A
หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ์ จาก B ไป
1ม
A จะต้องทางานกี่จูล
Q = –2x10–9 C 3 ม
B
1. 12 2. 24 3. –12 4. –24
57. เมื่อนาประจุ 0.5 คูลอมบ์ จาก A ไป B ต้องใช้งาน 12.5 จูล ศักย์ไฟฟ้ าที่ A และ B
จะต่างกันกี่โวลต์
1. 25 2. 12.5 3. 2.5 4. 0.25
58. ในการเคลื่อนประจุ 5 x 10–2 คูลอมบ์ จาก A ไปยัง B เป็ นระยะ 10 เมตร ต้องใช้แรง
เฉลี่ย 2 นิวตัน ความต่างศักย์ระหว่าง AB มีค่าเท่าไร
1. 4 x 102 V 2. 2.25 x 102 V
3. 4 x 103 V 4. 2.25 x 103 V
59. จุด A อยูห่ ่ างจากประจุ –2 x 10–10 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 1 เมตร จงหางานในหน่วยจูล ที่
ต้องทาในการพาประจุ 3 x 10–12 คูลอมบ์ จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

60. จุด A อยูห่ ่างจากประจุ Q เป็ นระยะ d มีศกั ย์ไฟฟ้ า V เมื่อนาประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต์ (infinity) มายังจุด A จะสิ้ นเปลืองงานไปเท่าใด
1. Kq
d 2. KQd 3. KQ
qd 4. KQd q

61. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่า ศักย์


ไฟฟ้ ารวมที่จุด X มีขนาดกี่โวลต์ A = –1 x 10–9 C B = 5 x 10–9 C
X
1. –18 2. –12 3 ม. * 3 ม.
3. 12 4. 18
58
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
A = +4 x 10–9 C
62. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าศักย์ไฟฟ้ ารวม X
3 ม. *
ที่จุด X มีขนาดกี่โวลต์
1. 3 2. 9 3 ม.
3. –3 4. –9
B = 3 x 10–9 C

63. วางประจุไฟฟ้ า 3 x 10–4 คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง x = –2 เมตร , y = 0 เมตร และประจุลบ


ขนาดเท่ากันที่ตาแหน่ง x = 0 เมตร , y = 3 เมตร ศักย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่งจุดกาเนิด (0 , 0)
จะเป็ นโวลต์
1. 9.5 x 105 2. 8.5 x 105 3. 4.5 x 105 4. 6.5 x 105

64. จากรู ปที่กาหนดให้ ที่ตาแหน่ง A , B และ C มีประจุ 5 x 10–7 , –2 x 10–7 และ


1.5 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ จงหาระยะ BD B
ที่ทาให้ศกั ย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง D เป็ นศูนย์
A D C
1. 0.1 เมตร 2. 0.2 เมตร
3. 0.3 เมตร 4. 0.4 เมตร 0.4 เมตร 0.2 เมตร

65. จากรู ป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ตามลาดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ
C
BP = 0.1 เมตร หากนาประจุ +1.0 x 10–5 คูลอมบ์
จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P ต้องทางานกี่จูล
1. 2.10 2. 1.05 A B
P
3. 0.105 4. 10.5 O
66(แนว En) ประจุ Q1 = +0.5 คูลอมบ์ ระยะ AB = 10 เซน- A Q1
ติเมตร ระยะ BC = 30 เซนติเมตร มุม ABC = 90o ถ้า
งานที่ใช้ในการนาโปรตอน 1 ตัว จากอนันต์มาจุด B มี Q2
ค่า +28.8 x10–9 จูล จงหาว่า Q2 มีกี่คูลอมบ์ B C

59
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
67. จากรู ป ถ้า O เป็ นจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ และอยูใ่ นระหว่าง A , B แล้ว BO เท่ากับ
A O B แนว AB
  
+2 C –1 C
1. 13 AB 2. 12 AB 3. 23 AB 4. AB
68. กาหนดประจุ ( q ) ขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ อยูห่ ่างจากประจุ ( Q ) ขนาด 3 x 10–6 คู-
ลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นประจุ q
1. 0.010 จูล 2. 0.018 จูล 3. 0.100 จูล 4. 0.180 จูล
69. โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ เริ่ มต้นเคลื่อนที่จาก
หยุดนิ่ งจาก A ไป B ถ้าศักย์ไฟฟ้ าที่ A สู งกว่าที่ B 100 โวลต์ อัตราเร็ วของโปรตอน
ขณะผ่านจุด B คือ
1. 200 km/s 2. 138 km/s 3. 98 km/s 4. 49 km/s
70. จงเติมเครื่ องหมาย + หรื อ – ลงในตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
ประจุตวั สร้างสนามไฟฟ้ า ( Q )
+Q –Q
เครื่ องหมายพลังงานศักย์ในประจุ + q (ก) (ข)
เครื่ องหมายพลังงานศักย์ในประจุ – q (ค) (ง)
1. (ก) + (ข) – (ค) + (ง) – 2. (ก) + (ข) – (ค) – (ง) +
3. (ก) – (ข) + (ค) + (ง) – 4. (ก) – (ข) – (ค) + (ง) +

13.5 สนามไฟฟ้า และศักย์ ไฟฟ้าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม


71. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –1 x 10–9 คูลอมบ์
จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่
ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม 1 ม. 2 ม.
ข. ผิวทรงกลม
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนย์กลางทรงกลม
60
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
1. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 9 N/ C , –9 โวลต์ ค) 0 N/ C , –9 โวลต์
2. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –7 โวลต์ ค) 2 N/ C , –8 โวลต์
3. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –8 โวลต์ ค) 0 N/ C , –7 โวลต์
4. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 3 N/ C , –6 โวลต์ ค) 1 N/ C , –9 โวลต์
72. ตัวนาทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ าที่ระยะห่ าง 45
เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางของทรงกลมจะมีค่ากี่โวลต์
1. 0 2. 1.0 x 104 3. 2.0 x 104 4. 4.4 x 104
73. ตัวนาทรงกลม A มี O เป็ นจุดศูนย์กลางเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เซนติเมตร เมื่อให้ประจุ
+8.0 x 10–4 C แก่ ท รงกลม ทรงกลม A ขาดอิ เล็ กตรอนไปกี่ อนุ ภาค และสนามไฟฟ้ า
ภายในทรงกลมมีค่ากี่นิวตันต่อคูลอมบ์ ( ตอบตามลาดับ )
1. 5.0 x 1015 ตัว , 0 2. 2.0 x 1014 ตัว , 0
3. 5.0 x 1023 ตัว , 10 4. 2.0 x 1032 ตัว , 12
74. ตัวนาทรงกลมซึ่ งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง d มีประจุ +Q เกิดศักย์ไฟฟ้ าภายในทรงกลมมีค่าเท่า
กับ V0 ที่ตาแหน่งภายนอกทรงกลมซึ่ งห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมเป็ นระยะ  จะมี
ศักย์ไฟฟ้ าเท่าไร
dV V dV V
1. 0 2. d 0 3. 12 0 4. 12 d 0
 
75. ถ้าต้องการให้สนามไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมตัวนาซึ่งมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีความเข้ม 1.3x10–3
นิวตัน/คูลอมบ์ มีทิศพุง่ เข้าสู่ จุดศูนย์กลาง จะต้องให้อิเล็กตรอนแก่ทรงกลมกี่อนุภาค
1. 9x103 2. 9x104 3. 1014 4. 1015
76. ศักย์ไฟฟ้ าที่จุดห่างจากประจุหนึ่งเป็ น 600 โวลต์ และสนามไฟฟ้ าเป็ น 200 นิวตัน/คูลอมบ์
จงหาระยะจากจุดนั้นไปยังประจุ และขนาดของประจุ
1. 3 เมตร , 2 x 10–7 คูลอมบ์ 2. 3 เมตร , 4 x 10–7 คูลอมบ์
3. 6 เมตร , 2 x 10–7 คูลอมบ์ 4. 6 เมตร , 4 x 10–7 คูลอมบ์

61
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
77. ตัวนาทรงกลมตัวหนึ่งรัศมี 30 ซม. เมื่อให้ประจุแก่ทรงกลม พบว่าที่จุดห่ างจากผิวทรง
กลม 60 ซม. จะมีค่าสนามไฟฟ้ า 1 x 104 นิ วตัน/คูลอมบ์ จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ า ณ ตาแหน่ง
ห่างจากศูนย์กลางของตัวนานี้ 10 ซม. (หน่วยกิโลโวลต์)
1. 3 2. 9 3. 18 4. 27
78. ถ้าศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดของตัวนาทรงกลมรัศมี 0.30 เมตร มีค่าเท่ากับ 106 โวลต์ จงหาแรงที่
มากที่สุด ที่ตวั นาทรงกลมนี้ จะผลักจุดประจุไฟฟ้ า 3x10–5 คูลอมบ์ ซึ่ งห่างจากผิวทรงกลม
0.2 เมตร ได้
1. 36 นิวตัน 2. 56 นิวตัน 3. 72 นิวตัน 4. 81 นิวตัน
79(แนว มช) หากมีประจุกระจายอยูบ่ นตัวนาทรงกลมกลวงอย่างสม่าเสมอศักย์ไฟฟ้ า และสนาม
ไฟฟ้ าภายในจุดศูนย์กลางทรงกลมกลวงมีค่า
1. ทั้งศักย์ไฟฟ้ า และสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ 2. ศักย์ไฟฟ้ าเท่ากัน สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
3. ศักย์ไฟฟ้ าไม่เท่ากัน และสนามไฟฟ้ าเท่ากัน 4. ศักย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์สนามไฟฟ้ าเท่ากัน

13.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้าสมา่ เสมอ


80(แนว มช) ขนาดของสนามไฟฟ้ าในบริ เวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิ ดกันจะมีค่า
อย่างไร
1. ศูนย์ 2. สม่าเสมอตลอดบริ เวณ
3. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก 4. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ
81. จากรู ป แผ่นโลหะ x , y ขนาดใหญ่ตอ่ อยูก่ บั ขั้ว 2 cm
แบตเตอรี่ ขนาด 120 โวลต์ อยูใ่ นสุ ญญากาศสนาม y
x
ไฟฟ้ าในระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเป็ นเท่าใด
1. 6 V/m 2. 60 V/m + –
3. 600 V/m 4. 6000 V/m 120 V
82. แผ่น โลหะขนานวางห่ า งกัน 2 เซนติ เมตร ต่ อ อยู่ก ับ แบตเตอรี่ ต ัว หนึ่ ง ถ้าความเข้ม
สนามไฟฟ้ าระหว่างโลหะทั้งสองเป็ น E เมื่ อเลื่ อนแผ่นโลหะให้ห่างกัน 4 เซนติเมตร
ความเข้มของสนาม ไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเป็ นเท่าไร
1. 4 E 2. 2 E 3. E 4. E2
62
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
83. มีแผ่นโลหะสองแผ่นที่ขนานกันและอยูห่ ่ างกัน 3 มิลลิ เมตร ถ้าความต่างศักย์ระหว่าง
แผ่นโลหะทั้งสองเท่ากับ 90 โวลต์ สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะคู่น้ ีมีค่ากี่โวลต์/เมตร
1. 3 V/m 2. 30 V/m 3. 300 V/m 4. 3x104 V/m
84. แผ่นตัวนาคู่ขนานเท่ากันวางห่างกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอเข้ม 20 โวลต์/-
เมตร จะมีค่าความต่างศักย์ระหว่างขั้วบวกและลบกี่โวลต์
85. จงหางานในการเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ จาก
จุด A ไป B ซึ่ งอยูภ่ ายใต้สนามไฟฟ้ า 8 โวลต์/เมตร ดังรู ป 2m o
B

1. 8 x 10–6 จูล 2. –8 x 10–6 จูล A


60
3. 16 x 10–6 จูล 4. –16 x 10–6 จูล E = 8 V/m
86. ตามรู ป ถ้าสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอในทิศทาง
Y (0.4 , 0.5)
–Y มีขนาด 325 โวลต์ต่อเมตร จงหา B
ความต่างศักย์ระหว่างจุด B กับจุด A
( ให้การกระจัดมีหน่วยเป็ นเมตร )
1. 65 โวลต์ 2. 130 โวลต์ A
(–0.2 , –0.3)
E
3. 195 โวลต์ 4. 260 โวลต์
87. โปรตอนเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ถ้าโปรตอนมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น 3.2 x 10–18
จูล ภายหลังเคลื่อนที่ไปได้ 2 เมตร ในทิศทางขนานกับเส้นแรงไฟฟ้ า ขนาดของสนามไฟ-
ฟ้ ามีค่ากี่โวลต์ต่อเมตร กาหนดให้ประจุอิเล็กตรอน = –1.6 x 10–19 คูลอมบ์
88. สนามไฟฟ้ าขนาด 280000 นิ วตัน/คูลอมบ์ มีทิศไปทางใต้ จงหาขนาดและทิศทางของ
แรงที่กระทาต่อประจุ –4.0 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นสนามไฟฟ้ านี้
1. 1.12 นิวตัน , ทิศเหนือ 2. 3.12 นิวตัน , ทิศเหนือ
3. 3.12 นิวตัน , ทิศใต้ 4. 1.12 นิวตัน , ทิศใต้
89. ประจุไฟฟ้ าขนาด +1 x 10–6 คูลอมบ์ อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอซึ่ งมีทิศจากซ้ายไปขวา
และมีความเข้ม 8 โวลต์/เมตร จะถูกแรงกระทาเท่าใดและไปทางไหน
1. 4 x 10–6 นิวตัน , ไปทางขวา 2. 8 x 10–6 นิวตัน , ไปทางขวา
3. 4 x 10–6 นิวตัน , ไปทางซ้าย 4. 8 x 10–6 นิวตัน , ไปทางซ้าย

63
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
90(แนว En) เมื่อนาประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ์ เข้าไปวางไว้ ณ จุด ๆ หนึ่ง ปรากฏว่ามีแรง
8 x 10–6 นิวตัน มากระทาต่อประจุน้ ีในทิศจากซ้ายไปขวา สนามไฟฟ้ าตรงจุดนั้น
1. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
2. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
3. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
4. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
91. วัตถุเล็กๆ ชิ้นหนึ่งมีประจุ –5 x 10–9 คูลอมบ์ ถูกนาไปวางที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้ า
ปรากฏว่ามีแรงกระทา 2.0 x 10–9 นิวตัน บนวัตถุน้ นั สนามไฟฟ้ าที่จุดนั้นมีค่าเท่าใด
1. 0.4 N/C ทิศเดียวกับแรง 2. 0.4 N/C ทิศตรงข้ามกับแรง
3. 4.0 N/C ทิศเดียวกับแรง 4. 4.0 N/C ทิศตรงข้ามกับแรง
92. อนุ ภาคไฟฟ้ าซึ่ งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ์ ได้รับแรงเนื่ องจากสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน ถ้าสนามไฟฟ้ ามีทิศพุง่ ลง จงหา
ก. สนามไฟฟ้ า ข. ขนาดและทิศของแรงที่กระทาต่อโปรตอนเมื่ออยูใ่ นสนามนี้
1. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 2.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
2. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 7.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
3. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 6.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
4. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 5.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
93. หยดน้ ามันมวล 2.88 x 10–14 กิ โลกรัม มี ประจุ ไฟฟ้ าทาให้ลอยหยุดนิ่ งในสนามไฟฟ้ า
3 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ ที่มีทิศขึ้นในแนวดิ่ง จงหาค่าประจุบนหยดน้ ามัน
1. 0 2. 1.6x10–19 C 3. 3.2x10–19 C 4. 9.6x10–19 C
94. หยดน้ ามันหยดหนึ่งมวล 0.02 กรัม ประจุ +q อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าความเข้ม 10 นิวตัน/-
คูลอมบ์ ปรากฏว่าหยดน้ ามันหยุดนิ่งโดยสมดุลกับแรงโน้มถ่วงของโลก จงหาค่า q
1. 2 x 10–5 C 2. 2 x 10–4 C 3. 2 x 10–3 C 4. 2 x 10–2 C
95. หยดน้ ามันมวล 9.6 x 10–7 กิโลกรัม ลอยนิ่งในสนามไฟฟ้ าความเข้ม 107 นิวตัน/คูลอมบ์
ถ้าประจุไฟฟ้ าของหยดน้ ามันนี้เกิดจากอิเล็กตรอนมีมากเกินจานวนโปรตรอน จงหา
ก. ทิศของสนามไฟฟ้ า ข. ประจุบนหยดน้ ามัน
64
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
1. ก. ทิศลง , ข. 4.8 x10–13 C 2. ก. ทิศลง , ข. 9.6 x10–13 C
3. ก. ทิศขึ้น , ข. 4.8 x10–13 C 4. ก. ทิศขึ้น , ข. 9.6 x10–13 C
96. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน หยดน้ ามันหยดหนึ่ งลอยนิ่ งได้ระหว่างแผ่นโลหะ
ขนาน 2 แผ่น ซึ่ งห่ างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทาให้เกิดสนาม
12000 โวลต์ต่ อ เมตร ถ้า หยดน้ ามัน มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า 8.0 x 10–19 คู ล อมบ์ จะมี น้ า หนัก
เท่ากับเท่าใด
1 . 7.7 x 10–17 นิวตัน 2 . 6.4 x 10–19 นิวตัน
3. 9.6 x 10–19 นิวตัน 4. 9.6 x 10–15 นิวตัน
97. แผ่นตัวนาขนานที่อยูห่ ่ างกัน 1.0 เซนติเมตร ทาให้เกิดสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอตามแนวดิ่ง
ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอนที่มีมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม และประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์
ลอยอยูร่ ะหว่างแผ่นตัวนาขนานนี้ ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นตัวนาขนานต้องเป็ นกี่โวลต์
1. 1.14 x 10–13 โวลต์ 2. 98 โวลต์
3. 5.67 x 10–13 โวลต์ 4. 78 โวลต์
98. การทดลองหยดน้ ามันของมิลลิแกน พบว่าถ้าต้องการให้หยดน้ ามันซึ่ งมีมวล m และอิเล็ก–
ตรอนเกาะติดอยู่ n ตัว ลอยนิ่งอยูร่ ะหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึ่ งวางขนานห่างกัน เป็ นระยะ
ทาง d และมีความต่างศักย์ V ประจุของอิเล็กตรอนที่คานวณได้ในการทดลองนี้มีค่าเท่าใด
1. mgd
nV 2. mgV
nd 3. nmgd
V 4. nmgV
d
99. ตัวนาทรงกลมมวล 0.60 กรัม มีประจุขนาด 8 ไมโครคูลอมบ์ ถูกแขวนด้วยเชือกเล็ก
อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าความเข้ม 300 นิวตัน/คูลอมบ์ ทิศลง จงหาความตึงเชือกถ้าประจุน้ นั
ก. เป็ นประจุบวก ข. เป็ นประจุลบ
1. ก. 4.2x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 2. ก. 4.2x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N
3. ก. 8.4x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 4. ก. 8.4x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N
100(แนว En) ทรงกลมตัวนาลูกหนึ่งมีมวล m แขวนด้วยเชือก
ภายใต้สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 4 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ หาก 30o
ทรงกลมมีประจุอยู่ 2 x 10–6 คูลอมบ์ ทาให้เชือกแขวน
ทามุม 30 องศากับแนวดิ่ง มวลของทรงกลมมีค่าเท่าใด
1. 2.31 x 10–3 kg 2. 4.62 x 10–3 kg 3. 6.93 x 10–3 kg 4. 13.86 x 10–3 kg
65
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
101. ลูกบอลพลาสติกมวล m แขวนด้วยเชือกยาว d และอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ าสม่า
เสมอขนาด E ในแนวระดับดังรู ป ถ้าลูกบอลอยูใ่ น
ตาแหน่งสมดุล เส้นเชือกทามุม  กับแนวดิ่ง จง E
หาขนาดของประจุไฟฟ้ าบนลูกบอลพลาสติก 
d
1. mg mg tan g
E 2. E
mg
3. E cot  mg
4. E cos 
102. ทรงกลมเล็กๆ แขวนแนวดิ่งไว้ดว้ ยเชือกเบาที่เป็ น
ฉนวน จากนั้นค่อยๆ เพิ่มขนาดสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 

ในแนวระดับ ทาให้ทรงกลมเล็กค่อยๆ เคลื่อนที่ไป E
ในทิศทางดังรู ป ถ้าทรงกลมมีประจุ +2.5 x 10–6 คู-
ลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม เชือกเบาสามารถทน
แรงตึงได้สูงสุ ด 0.25 x 10–3 นิวตัน จงหาขนาดของ
สนามไฟฟ้ า พร้อมกับมุม  ที่ทาให้เชือกเบาขาดพอดี ( ให้ sin 53o = 0.8 )
1. 80 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 37o 2. 80 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 53o
3. 40 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 37o 4. 40 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 53o
103. อิ เล็ ก ตรอนมี ค วามเร็ ว ต้ น 5 x 106 เมตร/วิ น าที เคลื่ อ นที่ ใ นทิ ศ เดี ย วกั บ ทิ ศ ของ
สนามไฟฟ้ าที่ มี ขนาด 1 x 104 นิ วตัน/คู ลอมบ์ จงหาว่านานเท่ าไหร่ อิเล็ ก ตรอนจึ งจะมี
ความเร็ วเป็ นศูนย์ และระหว่างนั้นอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปเป็ นระยะทางเท่าไร กาหนดประจุ
ไฟฟ้ าและมวลของอิ เล็ ก ตรอนเป็ น –1.6 x 10–19 คู ล อมบ์ และ 9.1 x 10–31 กิ โลกรั ม
ตามลาดับ
1. 2.8 x 10–9 s , 7.0 x 10–3 m 2. 4.5 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m
3. 4.5 x 10–9 s , 7.0 x 10–3 m 4. 2.8 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m

66
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.7.1 ตัวเก็บประจุ
104. ประจุ 2 ไมโครคู ล อมบ์ กระจายสม่ าเสมอบนตัวนาทรงกลมรั ศมี 10 เซนติ เมตร
ความจุทรงกลมนี้คือกี่ฟารัด
1. 1.1 x 10–11 2. 0.11 x 10–11 3. 0.22 x 10–11 4. 0.44 x 10–11
105. ถ้า ศัก ย์ไ ฟฟ้ าสู ง สุ ด ของตัว น าทรงกลมรั ศ มี 30 เซนติ เมตร มี ค่ า 9 x 105 โวลต์ จง
คานวณหาขนาดประจุไฟฟ้ าที่มากที่สุดที่ตวั นาทรงกลมนี้จะสามารถรับได้
1. 3 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 6 x 10–5 4. 8 x 10–5
106(แนว En) ศักย์ไฟฟ้ าของตัวนาทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 3 x 105 โวลต์
ประจุไฟฟ้ าในข้อใดที่ตวั นา ทรงกลมนี้สามารถเก็บได้
1. 12 C 2. 18 C 3. 20 C 4. 30 C
107. แผ่นโลหะขนาดห่างกัน 0.1 เมตร ใช้ทาเป็ นตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 9 นาโนฟารัด
ถ้าสนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะมีค่า 3 นิวตัน/คูลอมบ์ อยากทราบว่าตัวเก็บประจุน้ ีมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 2.7 x 10–4 2 . 2.7 x 10–6 3. 2.7 x 10–9 4. 2.7x10–11
108. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิ เตอร์ ที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด เมื่อประจุไฟฟ้ าให้คาปา-
ซิ เตอร์ จนมีความต่างศักย์ 100 โวลต์
1. 10–2 จูล 2. 10–3 จูล 3. 10–4 จูล 4. 10–5 จูล

13.7.2 การต่ อตัวเก็บประจุ


109. ตัวเก็บประจุสามตัวมีความจุ C1 , C2 และ C3 นามาต่ อ เข้า ด้วยกันดัง ในรู ป ความจุ
รวมของระบบ จะมี ค่ า เท่ า ใด C2
C C C C .(C  C ) C1
1. C1 (C 2 C 3) 2. C1  C2  C3
1 2 3 1 2 3
(C  C ) C C
3. C1  C2 C 3 4. C1  C 2 C3 C3
2 3 2 3
67
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
110. ตัวเก็บประจุแบบโลหะแผ่นขนาน C1 = 2 F และ C2 = 3F ต่อกันอย่างอนุกรมกับขั้ว
ทั้งสองของแบตเตอรี่ ขนาด 10 โวลต์ จงหา
ก. ประจุไฟฟ้ าบน C1 และ C2 V1 V2
ข. ความต่างศักย์บน C1 และ C2 ( ตอบตามลาดับ ) Q1 Q2
1. ก. 12 C , 12 C , ข. 6 V , 4 V C1 C2
2. ก. 13 C , 10 C , ข. 8 V , 4 V
3. ก. 15 C , 12 C , ข. 9 V , 4 V
4. ก. 18 C , 12 C , ข. 7 V , 4 V Vรวม = 10 V
111. นาตัวเก็บประจุสองตัวที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด และ 4 ไมโครฟารัด มาต่อกันและต่อ
กับความต่างศักย์ 120 โวลต์ จงหาประจุท้ งั หมดและพลังงานทั้งหมดที่สะสมในตัวเก็บ
ประจุเมื่อต่อเก็บประจุ ( ตอบตามลาดับ )
ก. แบบอนุกรม ข. แบบขนาน
1. ก. 9.6 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
2. ก. 5.0 x 10–3 จูล , 1.8 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.92 x 10–2 จูล , 7.80 x 10–4 C
3. ก. 9.6 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
4. ก. 5.0 x 10–3 จูล , 1.7 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.52 x 10–2 จูล , 7.70 x 10–4 C
112(แนว มช) ตัวเก็บประจุ 3 ตัว C1 มีความจุ 6 ไม-
โครฟารัด C2 มีความจุ 12 ไมโครฟารัด และ C1
C3 มีความจุ 8 ไมโครฟารัด เมื่อนามาต่อกับ 100 V C3
ความต่างศักย์ 100 โวลต์ ดังรู ป จงหาพลังงาน C2
สะสมที่ตวั เก็บประจุ C3 ในหน่วยจูล
1. 8 x 10–2 2. 4 x 10–2 3. 8 x 10–4 4. 4 x 10–4
113(แนว En) ตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 มีขนาดความจุ 1 ,
C2 C3
2 และ 3 ไมโครฟารัดตามลาดับ ก่อนนามาต่อกับแบตเตอรี่
ขนาด 2 โวลต์ ดังรู ป ตัวเก็บประจุท้ งั สามยังไม่มีประจุอยู่
C1
ภายในเลย เมื่อปิ ดสวิตซ์ S เป็ นเวลานานพอที่จะทาให้อยู่
ในสภาพสมดุล พลังงานไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C2
2V S
จะมีขนาดเท่าใดในหน่วยไมโครจูล
68
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
114. เมื่อสับสวิทซ์ลงในวงจรดังแสดงในรู ปจะมีประจุ C2 = 8 F
ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ์ ไหลจากแบตเตอรี่ ไป C 1 = ?
เก็บอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาด C3 = 8 F
ความจุของตัวเก็บประจุที่ไม่ทราบค่า C1 มีค่ากี่
ไมโครฟารัด E=5V
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16
13.7.3 การถ่ ายโอนประจุระหว่ างทรงกลมตัวนา
115. ตัวนารู ปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็ น r และ 2 r ตามลาดับ ถ้าตัวนา A
มีประจุ Q และตัวนา B มีประจุ –2Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัว
นา A
1. –Q 2. – Q2 3. – Q3 4. – Q4
116. ถ้านาตัวนาทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ที่มีประจุ –1.0 คูลอมบ์ มาแตะกับตัวนาทรง
กลมรัศมี 20 เซนติเมตร ที่มีประจุ +2.5 คูลอมบ์ หลังจากแยกออกจากกันแล้ว ตัวนาทรง
กลมรัศมี 10 เซนติเมตรจะมีประจุกี่คูลอมบ์



69
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบ 25.6 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบ 0.14 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบ 17.8 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบ 0.2 40. ตอบ 3
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบ 0.27 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 1. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบ 4.5 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 4. 82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบ 1
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบ ข้ อ 4. 87. ตอบ 10 88. ตอบข้ อ 1.
89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 2. 91. ตอบข้ อ 2. 92. ตอบข้ อ 1.
93. ตอบข้ อ 4. 94. ตอบข้ อ 1. 95. ตอบข้ อ 2. 96. ตอบข้ อ 4.
97. ตอบข้ อ 3. 98. ตอบข้ อ 1. 99. ตอบข้ อ 4. 100. ตอบข้ อ 4.
101. ตอบข้ อ 2. 102. ตอบข้ อ 2. 103. ตอบข้ อ 1. 104. ตอบข้ อ 1.
70
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
105. ตอบข้ อ 1. 106. ตอบข้ อ 4. 107. ตอบข้ อ 3. 108. ตอบข้ อ 1.
109. ตอบข้ อ 2. 110. ตอบข้ อ 1. 111. ตอบข้ อ 1. 112. ตอบข้ อ 2.
113. ตอบ 1.44 114. ตอบข้ อ 4. 115. ตอบข้ อ 3. 116. ตอบ 0.5



71

You might also like