You are on page 1of 34

การคํานวณวงจรข่ ายระบบไฟฟ้ากําลัง วงจรข่ ายระบบไฟฟ้ากําลัง (Power System Network)

Power System Network Calculation

1 2

วงจรข่ ายระบบไฟฟ้ากําลัง (Power System Network) การคํานวณวงจรข่ ายของระบบไฟฟ้ากําลัง

• คํานวณหาค่ากระแส ( I ) และแรงดัน ( V )ในส่ วนต่างๆของระบบ


• เขียนสมการให้อยูใ่ นรู ปเมตริ ก (Matrix) เพื่อที่จะสามารถใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยคํานวณได้ กรณีทรี่ ะบบมีขนาดใหญ่ !!
• สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการคํานวณ
- กระแสลัดวงจร (Fault)
- การไหลของกําลังไฟฟ้า (Load Flow)
- เสถียรภาพของระบบ (Stability)
3 4
เนือ้ หา วงจรสมมูลของแหล่ งจ่ าย
• การหาแอดมิตแตนซ์เมตริ ก [Y] ของระบบ ในการคํานวณระบบไฟฟ้ ากําลัง บางทีจาํ เป็ นต้องเปลี่ยนแหล่งจ่าย
• การคํานวณเมื่อมีการตัดบัสในระบบทิ้ง แรงดันให้เป็ นแหล่งจ่ายกระแส เพื่อนํากฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ (KCL) มาใช้

• การหาอิมพีแดนซ์เมตริ ก [Z] IL
IS IL

- หาจากส่ วนกลับของเมตริ กแอดมิตแตนซ์ Zg


+ +

- หาจากวิธีตรง (Direct Determination) + VL ZL IS VL ZL


ZP
Eg
-
- -

5 Voltage Source Current Source 6

IL
สมการโนด (Node Equation)
+
Zg
VL  Eg  I L Z g • ใช้ความรู ้เรื่ องกฏกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ มาคํานวณ
+ VL ZL
Eg
- • ใช้หาแอตมิตแตนซ์เมตริ กซ์ [Y ]
-
• สามารถคํานวณหาแรงดัน (V) แต่ละบัสได้
IS IL
Eg • ต้องแปลงแหล่งจ่ายแรงดัน เป็ นแหล่งจ่ายกระแส
พบว่า IS 
+
Zg I3 I2
IS ZP VL ZL ZP  Zg Node equation :
I1  I 2  I 3
- ดังนั้น VL   I S  I L   Z P I1
7 8
ขั้นตอนการหาสมการโนด ของระบบไฟฟ้ากําลัง 1. แปลงแผนภาพเส้นเดี่ยวของระบบ ให้เป็ นแผนภาพรี แอคแตนซ์

1. แปลงแผนภาพเส้นเดียวของระบบ ให้เป็ นแผนภาพรี แอคแตนซ์ (1)


Ea
(1)
j1.15 j0.1
2. ให้รวมค่ารี แอคแตนซ์ (X) ที่ต่ออนุกรมกัน ให้เป็ นค่าเดียว
- + j0.2
a (4)
(4)
j0.25
3. แปลงค่ารี แอคแตนซ์ (X) ในแต่ละกิ่ง เป็ นค่าแอดมิตแตนซ์ (Y) (3) Ec
j1.15 j0.1
(3)
j0.125
- +
c
4. แปลงแหล่งจ่ายแรงดัน (E) ให้เป็ นแหล่งจ่ายกระแส (I)
(2) j0.4
(2) Eb
j1.15 j0.1
5. ยุบรวมค่าแอดมิตแตนซ์ เพื่อให้จาํ นวนกิ่งที่เชื่อมต่อระหว่างบัสมีกิ่งเดียว b
- +
j0.2

6. หาความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งจ่ายกระแส และค่าแรงดันแต่ละบัส จาก


สมการโนด (KCL)
9 10

2. ให้รวมค่ารี แอคแตนซ์ (X) ที่ต่ออนุกรมกัน ให้เป็ นค่าเดียว 3. แปลงค่ารี แอคแตนซ์ในแต่ละกิ่ง เป็ นค่าแอดมิตแตนซ์
4. แปลงแหล่งจ่ายแรงดันให้เป็ นแหล่งจ่ายกระแส
(1)
Ea
j1.25 (1)
- + j0.2 I1
(1)
(4) Ea -j5.0
j1.25 Ya (4)
j0.25 - + j0.2 Yd
Ec
j1.25
(3)
j0.125
Za (4) -j0.8
(3) Yf -j4.0
- + j0.25 I3
(3) Ye
Ec (0)
j1.25 j0.125
- + Yc
-j8.0

Eb
(2) j0.4 Zc -j0.8
-j2.5
j1.25 (2) Yg
(2) j0.4 I2
- + Eb Yh
j0.2 j1.25
- + Yb -j5.0
Zb
j0.2
-j0.8

1 Ea
11 Ya    j 0.8 I1  12
j1.25 Za
5. ยุบรวมค่าแอดมิตแตนซ์ เพื่อให้จาํ นวนกิ่งที่เชื่อมต่อระหว่างบัสมี จาก KCL เขียนสมการกระแสในแต่ละบัส (โนด) ได้ดงั นี้
กิ่งเดียว (กรณี มีหลายกิ่งต่อขนานกัน)
(1)
I1 Id
Ia -j5.0
(4)
If
Ya
(1) Yd
I1 -j0.8
(3) Yf -j4.0
-j5.0 I3
Ya (4) Ye

-j0.8
Yd (0)
Yc
-j8.0
บัส 1
มีกิ่งต่อระหว่างบัส
(3) Yf -j4.0
I3 -j0.8
-j2.5
-j4.0
Ye (2) Yg

จํานวน1 กิ่ง อยูแ่ ล้ว


I2
Yc Yh
-j8.0
Yb -j5.0
-j0.8
(2) Yg -j2.5
-j4.0
-j0.8
I2
Yh

Yb -j5.0 KCL I1  I a  I f  I d  V1Ya  (V1  V3 )Y f  (V1  V4 )Yd


-j0.8
 Ya  Y f  Yd V1  Y f V3  YdV4
13 14

(1) (1)
I1 I1

บัส 2 บัส 3
-j5.0 -j5.0
Ya (4) Ya (4)
Yd Yd
-j0.8 -j0.8

I3
(3) Yf -j4.0
I3
(3) IfYf -j4.0

Ye
Ie Ye
(0) (0)
Ic
Ig
Yc Yc
-j8.0 -j8.0
-j0.8
-j0.8
(2) Ig Y g
-j2.5
-j4.0
(2) Yg -j2.5
-j4.0
I2 I2
Yh Yh

Yb
Ib Ih -j5.0
Yb -j5.0
-j0.8 -j0.8

KCL I 2  Ib  I g  I h  V2Yb  (V2  V3 )Yg  (V2  V4 )Yh KCL I3  Ic  I f  I g  Ie

 V3Yc  (V3  V1 )Y f  (V3  V2 )Yg  (V3  V4 )Ye


 Yb  Yg  Yh V2  YgV3  YhV4
 Yc  Y f  Yg  Ye V3  Y f V1  YgV2  YeV4
15 16
สรุป สมการกระแสในแต่ ละบัสได้ เป็ น
(1)
I1

บัส 4
-j5.0
Ya (4)
Yd
-j0.8 Id
บัส 1 : I1  Ya  Y f  Yd V1  Y f V3  YdV4
(3) Yf -j4.0
I3
(0)
Ye Ie
Yc

บัส 2 : I 2  Yb  Yg  Yh V2  YgV3  YhV4


-j8.0
-j0.8
I2 (2) Yg -j2.5
-j4.0
Ih
Yh

Yb -j5.0 บัส 3 : I 3  Y f V1  YgV2  Yc  Y f  Yg  Ye V3  YeV4


-j0.8

KCL I4  Id  Ih  Ie
บัส 4 : I 4  0  YdV1  YhV2  YeV3  Yd  Yh  Ye V4

0  (V4  V1 )Yd  (V4  V2 )Yh  (V4  V3 )Ye

 Yd  Yh  Ye V4  YdV1  YhV2  YeV3


17 18

• จากสมการกระแสในแต่ละบัส เขียนในรู ปเมตริ ก ได้เป็ น เมื่อแทนค่าแอดมิตแตนซ์ท้ งั หมด จะได้สมการเป็ น

 I   Y V   I1   9.8 0.0 4.0 5.0  V1 


I   0.0 8.3 2.5 5.0  V2 
 2  j  
 I3   4.0 2.5 15.3 8.0  V3 
จะได้ I 
 4
 5.0 5.0
 8.0 18.0  V4 

 I1  Ya  Y f  Yd  0.0 Y f Yd  V 


I   Y  Yg  Yh  Yg Yh
 1
 2    V2 
0.0
แอดมิตแตนซ์ เมตริก (Admittance Matrix, [Y ] )
b
  V 
 I3 
I  
Y f Yg Yc  Y f  Yg  Ye  Ye  3
 4   Yd Yh Ye Yd  Yh  Ye  V4  - เป็ นเมตริ กซ์แบบสมมาตร (Symmetrical Metrix)
- ค่าในแนวทแยงมุม (diagonal) เป็ นค่าลบ
19 20
เขียนเมตริ กให้อยูใ่ นรู ปทัว่ ไปได้เป็ น การหาสมการโนดด้ วยการมองผ่ าน (Inspection)
 I1  Y11 Y12 Y13 Y14  V1  Self Admittace
 I  Y Y22 Y23 Y24  V2  N
 2    21   I k = å YknVn - หาจากผลบวกของแอดมิตแตนซ์ท้ งั หมดที่ต่ออยูก่ บั โนด (บัส) นั้น
 I 3  Y31 Y32 Y33 Y34  V3  n=1
 I  Y Y42 Y43 Y44  V4 
 4   41
Mutual Admittace
Y11, Y22, Y33 และ Y44 เรี ยกว่า แอดมิตแตนซ์ตวั เอง ( Self admittace) - หาจากค่าลบของแอดมิตแตนซ์ที่ต่อระหว่างโนด (บัส) ทั้งสองนั้น
Y12, Y13, Y14,Y21, . . . เรี ยกว่า แอดมิตแตนซ์ร่วม (Mutual admittace)
ค่ ากระแส ( I1, I2, … )
- หาจากการแปลงแหล่งจ่ายแรงดัน (Voltage Source) เป็ น
เมื่อ k¹n Ykn = Ynk
แหล่งจ่ายกระแส (Current Source)
แถว หลัก 21 22

• ถ้ารู ้ขนาดแรงดันแหล่งจ่าย ก็สามารถหาขนาดแรงดันแต่ละบัสได้ ตัวอย่ างที่ 1


[ I ] = [Y ][V ] จากระบบไฟฟ้ ากําลังตัวอย่างดังรู ป ถ้าเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแต่ละตัวมี
-1 -1
ค่า emf ดังต่อไปนี้
[Y ] ⋅[ I ] = [Y ] ⋅[Y ]⋅[V ] (1)
Ea
j1.15 j0.1
-1
[Y ] ⋅[ I ] = [V ] - + j0.2
(4)
Ea = 1.50
[ Z ]⋅[ I ] = [V ] Ec (3)
j0.25

j1.15 j0.1 j0.125


- + Eb = 1.5- 36.87

เมื่อ [Z ] อิมพีแดนซ์เมตริ ก (Impedance Matrix) Eb


(2) j0.25
Ec = 1.50
j1.15 j0.1

- ได้จากการอินเวิร์ส (inverse) แอดมิตแตนซ์เมตริ ก [Y] -1


- +
j0.2

- กรณี เมตริ กมีขนาดใหญ่ ต้องใช้คอมพิวเตอร์คาํ นวณ จงหา แรงดันไฟฟ้ าที่แต่ละบัส (โนด) ในระบบ
23 24
1.50
จากการคํานวณที่ผา่ นมาพบว่า I1 =
Ea
= = 1.2- 90
Za j1.25
= 0 - j1.20
 I1   9.8 0.0 4.0 5.0  V1 
I   0.0 8.3 4.0 5.0  V2 
 2  j   
 I3   4.0 4.0 26.87 8.0  V3  Eb 1.5- 36.87 = 1.2-126.87
I  I2 = =
 4
 5.0 5.0
 8.0 18.0  V4  Zb j1.25
= -0.72 - j 0.96

• หาค่ากระแส I1 - I4 จากการแปลงแหล่งจ่ายแรงดัน เป็ น แหล่งจ่าย Ec 1.50


กระแส I3 = = = 1.2- 90
Zc j1.25
= 0 - j1.20

25
I4 = 0 ไม่มีแหล่งจ่าย (no source) 26

แทนค่ากระแส ในเมตริ กของสมการโนด ได้เป็ น • หาค่าแรงดันแต่ละบัสได้เป็ น [Y ] -1


  0  j1.20    9.8 0.0 4.0 5.0  V1  0.4774 0.3706 0.4020 0.4142    0  j1.20   V1 
 0.72  j 0.96   0.0 8.3 5.0  V2 
0.3706 0.4126   0.72  j 0.96   V2 
  0.4872 0.3922
 j
4.0
  j   
  0  j1.2    4.0 4.0 26.87 8.0  V3  0.4020 0.3922 0.4558 0.4232    0  j1.2   V3 

 0


 5.0 5.0
 8.0 18.0  V4 
0.4142
 0.4126 0.4232 0.4733  0
 V 
  4

หาแรงดันแต่ ละบัสจาก จะได้


V1   1.411  j 0.2668  é1.436-10.71ù
V  1.3830  j 0.3508 ê ú
-1
[Y ] ⋅[ I ] = [V ] ê1.427-14.24ú
 2    =ê ú
V3  1.4059  j 0.2824  ê1.434-11.36ú
V  1.4009  j 0.2971 ê ú
[ Z ]⋅[ I ] = [V ]  4   êë1.432-11.97úû

27 28
การตัดบัสทิง้ (Node Eliminate) การแบ่ งส่ วนของเมตริก (matrix partitioning)

• การหาสมการโนด กรณี ที่บสั บางบัสหายไปจากระบบ อันเนื่องจาก จาก  I   Y V 


- มีการยกเลิกการใช้บสั นั้นในระบบ
- มีการเปิ ดวงจรที่บสั นั้นๆ อันเนื่องจากความผิดพล่องในระบบ ผลคูณของ [Y] กับ [V] สามารถหาได้จากการแบ่งส่ วนของเมตริ ก
éV1 ù
• วิธีการตัดบัสทิง้ Y11 Y12 Y13 
และ ê ú
Y  Y21 Y22 Y23  V = êV2 ú
ê ú
 
1. โดยการแบ่งส่ วนของเมตริ ก (Matrix Partitioning) Y31 Y32 Y33  êëV3 úû

2. โดยการตัดทีละบัส (Korn Reduction)


29 30

• ถ้าแบ่ง [V ] ระหว่างแถว r กับ r+1  [Y ] จะต้อง จาก éD Eù


[Y ] = ê ú จะได้
êë F G úû
* แบ่งคอลัมน์ระหว่าง คอลัมน์ r กับ r+1
éY Y ù éY ù
* แบ่งแถวระหว่าง แถว r กับ r+1 D = ê 11 12 ú E = ê 13 ú
êëY21 Y22 úû êëY23 úû

éV1 ù Y11 Y12 Y13 


ê ú F = [Y31 Y32 ] G = [Y33 ]
[V ] = êV2 ú Y   Y21 Y22 Y23 
ê ú
êëV3 úû Y31 Y32 Y33 
éH ù
ส่ วน [V] แบ่งเป็ น V =ê ú
êë J úû
จะได้
éD Eù
แบ่ง [Y ] ออกเป็ นซับเมตริ ก (Sub matrix) 4 อัน [Y ] = ê ú éV ù
êë F G úû H = ê 1ú
êëV2 úû
และ J = [V3 ]
31 32
จาก  I   Y V  จะได้ การตัดบัสทิง้ โดยการแบ่ งส่ วนของเมตริก
éD Eù éH ù é DH + EJ ù éM ù
[I ] = ê úê ú
êë F G úû êë j úû
=ê ú
êë FH + GJ úû
=ê ú
êë N úû จาก  I   Y V  ถ้าบัสใดไม่มีกระแสเข้าหรื อออกเลย
สามารถตัดบัสนั้นออกจากจากสมการเมตริ กได้
IR   K L  VR 
é Y Y ù éV ù é Y ù é Y11V1 + Y12V2 + Y13V3 ù  I    LT M  VE 
[ M ] = ê 11 12 ú ê 1 ú + ê 13 ú [V3 ] ê ú  E 
êëY21 Y22 úû êëV2 úû êëY23 úû êëY21V1 + Y22V2 + Y23V3 úû

เมือ่ IR คือ กระแสของบัสที่ตอ้ งการให้คงอยู่ (retained bus)


éV ù
[ N ] = [Y31 Y32 ] ê 1 ú +[Y33 ][V3 ] [Y31V1 + Y32V2 + Y33V3 ]
êëV2 úû
IE คือ กระแสของบัสที่ตดั ทิ้ง (eliminated bus)
33 34

จะได้ I R  KVR  LVE I E  LT VR  MVE • บัสแอดมิตแตนซ์ [Y ]ที่เหลืออยู่ มีค่า

Y    K    L  M 
1
 LT 
• บัสทีต่ ดั ทิง้ IE  0 ส่ งผลให้
0  LT VR  MVE VE   M 1 LT VR จากเมตริ ก [Y] ที่ได้ใหม่ จะสามารถนําไปเขียนแบบจําลองระบบ
ไฟฟ้ าเมื่อมีการตัดบัสออก ได้
• แทนค่า VE ในสมการของ IR จะได้

I R  KVR  LM 1 LT VR

  K  LM 1 LT VR
35 36
ตัวอย่ างที่ 2  9.8 0.0 4.0
 0.0 8.3 2.5
5.0 
K L 5.0 
Y     j  
จากระบบในตัวอย่างที่ 1 ถ้าเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าและหม้อแปลงที่บสั L
T
M   4.0 2.5 14.5 8.0 
 5.0 5.0 8.0 18.0 
3 ถูกเอาออกไปจากระบบ ให้หาวงจรสมมูลของระบบไฟฟ้ า เมื่อทํา 

การตัดบัส 3 และ บัส 4 ออกไปจากระบบ


หาแอดมิตแตนซ์เมตริ กใหม่ จาก Y    K    L M  1
(1)
(1)
I1  LT 
-j5.0
Ya (4)
a Yd
1 é- j18.0 - j8.0 ù
(4) -j0.8

I3
(3) Yf -j4.0
M -1 = ê ú
(3)
(0)
Ye -197 êë - j8.0 - j14.5úû
c Yc
-j8.0
-j0.8
-j2.5 é j 0.0914 j 0.0406ù
=ê ú
(2) (2) Yg
I2
b
Yh êë j 0.406 j 0.0736úû
Yb -j5.0
-j0.8 37 38

 j 4.0 j 5.0   j 0.0914 j 0.0406   j 4.0 j 2.5


LM 1 LT  
 j 2.5 j 5.0   j 0.0406 j 0.0736   j 5.0 j 5.0 
จาก Y11 = - j4.8736 Y11  Y10  Y12

 j 4.9264 j 4.0736 
  • ค่ าแอดมิตแตนซ์ ระหว่ างบัส 1 กับบัสนิวทรัล (Y10)
 j 4.0736 j 3.4264 

Y10  Y11  Y12


จาก Y    K    L  M 
1
 L 
T
จะได้
  j 4.8736    j 4.0736 
  j 9.8 0.0    j 4.9264 j 4.0736  
  
 0.0  j8.3   j 4.0736 j 3.4264     j 0.800 p.u.

  j 4.8736 j 4.0736 
 
 j 4.0736  j 4.8736 
39 40
สามารถเขียนแผนภาพระบบใหม่ ภายหลังตัดบัส 3 กับ 4 ได้เป็ น ตัวอย่ างที่ 3
 j 4.0736 จาก ตัวอย่างที่ 2 จงหากําลังไฟฟ้ าที่ไหลผ่านระบบจากบัส 1 ไป บัส 2
1 2 และให้หาค่าแรงดันที่บสั 1
 j 4.0736
I1 I2 1 2

I1 I2
 j 0.8

 j 0.8
41 42

เพื่อให้การคํานวณง่ายขึ้น แปลง current source  voltage source • เนื่องจากพารามิเตอร์ระหว่างบัส 1 กับ บัส 2 มีแต่ค่ารี แอคแตนซ์
j1.25 j 0.2455 j1.25
1 2
กําลังไฟฟ้าทีไ่ หลผ่ าน คือ กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Q)
I
E1 V1 E2 • กําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ (Q)ที่ไหลจากบัส 1 ไป บัส 2 มีค่าเท่ากับ
150 15  36.87
Q12  I 2  X 12

  0.3455   2.755
2

E1  E2

1.50   1.5  36.87 
I
Z j 1.25  0.2455  1.25   0.328 p.u.
 0.3455  18.44 p.u. 43 44
j1.25
1
j 0.2455
2
j1.25
ข้ อเสี ยของ การตัดบัสทิง้ โดยการแบ่ งส่ วนของเมตริก

E1 V1
I • กรณี ที่ตดั บัสมากกว่า 1 บัสทิ้งพร้อมๆ กัน จะต้องเสี ยเวลาในการ
E2
150 15  36.87 อินเวิร์สเมตริ ก [M]

• ถ้าเมตริ ก [M] มีขนาดใหญ่มาก การอินเวิร์สไม่สามารถใช้มือ


• แรงดันทีบ่ ัส 1 V1  E1  I  j1.25  คํานวณได้ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการคํานวณ
 1.50  j1.25  0.345518.44 

 1.50  j1.25  0.3278  j 0.1098 

 1.363  j 0.410
45 46

การตัดบัสทิง้ ทีละบัส (Kron Reduction) หลักการ การตัดบัสทิง้ ทีละบัส


• แก้ปัญหาการตัดบัสทิ้งทีเดียวหลายบัส แล้วทําให้เมตริ ก [M] มี จากวิธีการตัดบัสทิ้ง โดยการแบ่งส่ วนของเมตริ ก ถ้าตัดทีละบัส พบว่า
ขนาดใหญ่เกินจนทําการอินเวิร์สลําบาก - เมตริ ก [M] จะมีสมาชิกตัวเดียว
- สามารถหาอินเวิร์สของ [M] ได้ง่าย
• ใช้หลักการเดียวกับการตัดบัสทิ้งโดยการแบ่งส่ วนของเมตริ ก แต่ [K ]
  
จะค่อยๆตัดทีละบัสไปเรื่ อยๆ éY11  Y1 j  Y1n ù üïï
ê úï
ê   ú ïï L
• เมตริ กแอดมิตแตนซ์ [Y] จะเปลี่ยนไป ในแต่ละครั้งที่ทาํ การตัดบัสที ê ú ý[ ]
[Y ] = êêYk1  Ykj  Ykn ú ïï
úï
ละบัส ê
ê
  ú ïïþ
ú
êYn1  Ynj  Ynn úû
ë
   
47 é LT ù [M ] 48
êë úû
จาก Y    K    L  M 
1
 LT  ตัวอย่ างที่ 4
éY11  Y1 j ù éY1n ù จากระบบใน ตัวอย่ างที่ 2 ให้หาเมตริ กแอดมิตแตน เมื่อตัดบัส 3 และ
ê ú ê ú
ê ú ê  úé 1 ù
ú - ê ú ê ú éY  Ynj ù
บัส 4 ออกจากระบบ โดยใช้วธิ ีตดั ทีละบัส
[Y ] = ê
êYk 1  Ykj ú êYkn ú êëYnn úû ë n1 û
ê ú ê ú
êë  úû êë  úû (1)

a (4)

  j 9.8 0.0 j 5.0 


เมตริ ก [Y ] จะเหลือขนาด (n -1)´(n -1) สรุ ปเป็ นสมการได้เป็ น (3)
 0.0  j8.3
j 4.0
j 2.5 j 5.0 
Y    
c

(2)  j 4.0 j 2.5  j14.5 j8.0 


YknYnj  j 5.0
Ykj ( new) = Ykj ( original ) - b  j 5.0 j8.0  j18.0 
Ynn
49 50

ตัดบัสที่ 4 ออกก่ อน   j 9.8 0.0 j 4.0 j 5.0 


 0.0  j8.3 j 2.5 j 5.0 
  j 9.8 0.0 j 5.0   
Y   
j 4.0  j 4.0 j 2.5  j14.5 j8.0 
 0.0  j8.3 j 5.0   j 5.0
j 2.5  j8.0  j18.0 
 
Y    j 5.0
 j 4.0 j 2.5  j14.5 j8.0 
 j 5.0 j8.0  j18.0 
 j 5.0
Y14 ´Y42 Y14 ´Y43
บัส 4 Y12( new) = Y12( original ) - Y13( new) = Y13( original ) -
Y44 Y44
YknYnj
จาก Ykj ( new) = Ykj ( original ) - จะได้ j 5.0´ j 5.0 j 5.0´ j8.0
Ynn = 0.0 - = j 4.0 -
- j18.0 - j18.0
Y14 ´Y41 j 5.0´ j 5.0 = j1.3889 = j 6.2222
Y11( new) = Y11( original ) - = - j 9.8 -
Y44 - j18.0
= Y21( new) = Y31( new)
= - j8.4111
51 52
  j 9.8 0.0 j 4.0 j 5.0    j 9.8 0.0 j 4.0 j 5.0 
 0.0  j8.3 j 2.5 j 5.0   0.0  j8.3 j 2.5 j 5.0 
Y     Y    
 j 4.0 j 2.5  j14.5 j8.0   j 4.0 j 2.5  j14.5 j8.0 
 j 5.0 j8.0  j18.0   j 5.0 j8.0  j18.0 
 j 5.0  j 5.0

Y24 ´Y42 Y24 ´Y43 Y34 ´Y43


Y22( new) = Y22( original ) - Y23( new) = Y23( original ) - Y33( new) = Y33( original ) -
Y44 Y44 Y44
j 5.0´ j 5.0 j 5.0´ j8.0
= - j8.3 - = j 2.5 - j8.0´ j8.0
- j18.0 - j18.0 = - j14.5 -
- j18.0
= - j 6.9111 = j 4.7222
= - j10.9444

= Y32( new)
53 54

é- j8.4111 j1.3889 j 6.2222 ù


• เมตริ กแอดมิตแตนซ์ [Y ] ภายหลังตัด บัส 4 ออกไป เป็ น ê ú
[Y ] = ê j1.3889 - j 6.9111 j 4.7222 ú
ê ú
é- j8.4111 j1.3889 j 6.2222 ù êë j 6.2222 j 4.7222 - j10.9444úû
ê ú
[Y ] = ê j1.3889 - j 6.9111 j 4.7222 ú
ê ú
êë j 6.2222 j 4.7222 - j10.9444úû Y13 ´Y31
Y11( new) = Y11( original ) -
Y33

• ตัด บัส 3 โดยใช้ [Y ] ที่ได้จากการตัดบัส 4 มาคํานวณ = - j8.4111-


j 6.2222´ j 4.7222 = - j 4.8736
- j10.9444
é- j8.4111 j1.3889 j 6.2222 ù
ê ú
[Y ] = ê j1.3889 - j 6.9111 j 4.7222 ú Y23 ´Y32
ê ú Y22( new) = Y22( original ) -
êë j 6.2222 j 4.7222 - j10.9444úû Y33

YknYnj j 4.7222´ j 4.7222 = - j 4.8736


= - j 6.9111-
และใช้สูตร Ykj ( new) = Ykj ( original ) - - j10.9444
Ynn 55 56
é- j8.4111 j1.3889 j 6.2222 ù
ê ú
[Y ] = ê j1.3889 - j 6.9111 j 4.7222 ú
ê ú • เมตริ กแอดมิตแตนซ์ [Y ] ภายหลังตัดบัส 3 และ 4 เป็ น
ëê j 6.2222 j 4.7222 - j10.9444ûú
é- j 4.8736 j 4.0736 ù
[Y ] = ê ú
Y13 ´Y32 êë j 4.0736 - j 4.8736úû
Y12( new) = Y12( original ) -
Y33

j 6.2222´ j 4.7222
= j1.3889 - = j 4.0736
- j10.9444 ลองเทียบกับค่าที่ได้จากตัวอย่างที่ 2
= Y21( new)

57 58

หมายเหตุ • เมตริกสมการกระแส [ I ]เพือ่ ทําการตัดบัส เป็ น


• บัสที่ตอ้ งการตัด จะต้องอยูล่ าํ ดับสุ ดท้ายของเมตริ กสมการกระแส ถึงจะ
ทําการตัดแบบแบ่งส่ วนเมตริ กหรื อตัดทีละบัสได้  I1   9.8 0.0 4.0 5.0  V1 
I   0.0 8.3 2.5 5.0  V2 
 2  j   
เช่น ต้องการตัด บัสที่ 2 จากสมการกระแส  I3   4.0 2.5 15.3 8.0  V3 
I   8.0 18.0  V4 
 4  5.0 5.0
 I1   9.8 0.0 4.0 5.0  V1 
I   0.0 8.3 2.5 5.0  V2   I1   9.8 0.0 4.0 5.0  V1 
 2  j   I 
 I3   4.0 2.5 15.3 8.0  V3 
 5.0 5.0 8.0 18.0  V4 
 4  j  
I   5.0 5.0 8.0 18.0  V4   I3   4.0 2.5 15.3 8.0  V3 
 4 
I   0.0 8.3 2.5 5.0  V2 
 2 

ต้ องเลือ่ นสมการบัส 2 มาไว้ ลาํ ดับสุ ดท้ ายก่ อน59 60


เมตริกบัสอิมพีแดนซ์ (Bus Impedance Matrix) é Z11 Z12 Z13 ù
ê ú
[ Z ] = ê Z 21 Z 22 Z 23 ú
ê ú
• เมตริ กบัสอิมพีแดนซ์หาจากการอินเวิร์สเมตริ กบัสแอดมิตแตนซ์ êë Z 31 Z 32 Z 33 úû
-1
[ Z ] = [Y ]
Zkk = Z11 , Z 22 , Z 33 เรี ยกว่า อิมพีแดนซ์ประจําบัส (Driving- Point
• สําหรับระบบไฟฟ้ า ที่มี 3 บัส จะได้วา่ Impedance of the Bus (Node))
é Z11 Z12 Z13 ù
ê ú
[ Z ] = ê Z 21 Z 22 Z 23 ú Zkn = Z12 , Z 23 , Z 21... เรี ยกว่า อิมพีแดนซ์โอนย้าย (Transfer
ê ú
êë Z 31 Z 32 Z 33 úû Impedance of the Bus (Node))
[Z] เป็ นเมตริ กสมมาตรรอบเส้นทะแยงผ่าน Z11, Z22, Z33
61 62

การหาเมตริกบัสแอดมิตแตนซ์ [Y] จากวงจรระบบไฟฟ้า จาก [I ] = [Y ][V]


é I1 ù éY11 Y12 Y13 ù éV1 ù
ê ú ê úê ú
ê I 2 ú = êY21 Y22 Y23 ú êV2 ú
• หาค่า แอดมิตแตนซ์ แต่ละตําแหน่งในเมตริ กซ์ โดยคํานวณจาก ê ú ê úê ú
êë I 3 úû êëY31 Y32 Y33 úû êëV3 úû
วงจรไฟฟ้ าของระบบไฟฟ้ ากําลัง
• ใช้หลักการ superposition ของการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ า จะได้กระแสที่ไหลเข้าบัส 2 เป็ น
I 2 = Y21V1 + Y22V2 + Y23V3

จากสมการ ถ้าลัดวงจรที่บสั 1 และ บัส 3 ลงดิน (V1 = V3 = 0) จะ


สามารถหาค่า Y22 ได้

63 64
(1) (2)
สามารถหาค่า Y22 ได้เป็ น อัตราส่ วนกระแสที่พงุ่ เข้าบัส (3)

I2 นั้นกับแรงดันที่บสั นั้น เมื่อ +


Y22 =
V2 V ลัดวงจรบัสที่เหลือลงดิน V2 I2
=V = 0
1 3 I1 I3
-

สามารถเขียนวงจรไฟฟ้ า เพื่อใช้หาค่า Y22 ได้เป็ น


วงจรนี้ ยังสามารถใช้หาค่า Y12 และ Y32 ได้จาก
(1) (2)

(3) I1 = Y11V1 + Y12V2 + Y13V3 I 3 = Y31V1 + Y32V2 + Y33V3


+

V2 I2 I1 I3
I1 I3
- Y12 = Y32 =
V2 V V2 V =V = 0
=V = 0 1 3
1 3
65 66

• สามารถหา Y11, Y21 และ Y31 ได้จากวงจร การหาเมตริกบัสอิมพีแดนซ์ [ Z ]จากวงจรระบบไฟฟ้า


(1) (2)

(3) จาก [V ] = [Z ][I]


+
éV1 ù é Z11 Z12 Z13 ù é I1 ù
V1 I2
ê ú ê úê ú
I1 I3 êV2 ú = ê Z 21 Z 22 Z 23 ú ê I 2 ú
-
ê ú ê úê ú
êëV3 úû êë Z 31 Z 32 Z 33 úû êë I 3 úû
• สามารถหา Y13, Y23 และ Y33 ได้จากวงจร
(1) (2)
จะได้แรงดันที่บสั 2 เป็ น
(3) V2 = Z 21 I1 + Z 22 I 2 + Z 23 I 3

I1 I2
+
V3
-
I2
จากสมการ ถ้าเปิ ดวงจรที่บสั 1 และ บัส 3 ลงดิน (I1 = I3 = 0) จะ
67 สามารถหาค่า Z22 ได้ 68
(1) (2)

สามารถหาค่า Z22 ได้เป็ น อัตราส่ วนแรงดันที่บสั นั้นกับ (3)

V กระแสที่พงุ่ เข้าบัสนั้น เมื่อเปิ ด + +

Z 22 = 2
I2 วงจรบัสที่เหลือ V1 +
V3
V2
I2
I =I =0
1 3 Z 22 ¹ 1 - - -
Y22

สามารถเขียนวงจรไฟฟ้ า เพื่อใช้หาค่า Z22 ได้เป็ น วงจรนี้ ยังสามารถใช้หาค่า Z12 และ Z32 ได้จาก
(1) (2)
V1 = Z11 I1 + Z12 I 2 + Z13 I 3 V3 = Z 31 I1 + Z 32 I 2 + Z 33 I 3
(3)
V1 V3
+ + Z12 = Z 32 =
I2 I2
V1 + V2 I2 I =I =0
1 3
I =I =0
1 3
V3
1 1
- - - Z12 ¹ Z 32 ¹
69 Y12 Y
70
32

• สามารถหา Z11, Z21 และ Z31 ได้จากวงจร สรุป การหาเมตริกบัสอิมพีแดนซ์ จากวงจรระบบไฟฟ้า


(1) (2)

+
(3)
+
1. อิมพีแดนซ์ ประจําบัส (โนด) (driving – point impedance)
I1 V1 +
V3
V2 สามารถคํานวณได้จากวงจรไฟฟ้ ากําลัง โดยการมองการต่อ
- - -
ของอิมพีแดนซ์ต่างๆ โดยเปิ ดวงจรแหล่งจ่ายกระแส (ลัดวงจร
แหล่งจ่ายแรงดัน) ที่บสั อื่น
• สามารถหา Z13, Z23 และ Z33 ได้จากวงจร
(1) (2)
2. อิมพีแดนซ์ โอนย้ าย (transfer impedance)
(3)
+ +
หาจากการมองการต่อของอิมพีแดนซ์ได้ลาํ บาก ไม่เหมาะที่
จะหาจากวิธีดูจากระบบไฟฟ้ ากําลังโดยตรง
V1 + V2

-
I2 V3
- -

71 72
หา V1 เมื่อลัดวงจรที่แหล่งจ่ายแรงดันบัส 3 (เปิ ดวงจรที่
ตัวอย่ างที่ 5 Z11 =
I1
แหล่งจ่ายกระแสที่บสั 3)
จากระบบไฟฟ้ ากําลังในรู ป จงหา Z11, Z22 และ Z33 จะได้รูปวงจรเพื่อหา Z11 เป็ น
(3) j0.1 (1)
(3) j0.1 (1)

j0.4
j0.1 j0.2
j0.4
j0.2
j0.5 (2)
I3
j0.5 I1
j0.1
(2)
E3 = 1.20 E1 = 1.090

( j 0.1)( j 0.2 + j 0.4)


= j 0.0857
73 j 0.1 + j 0.2 + j 0.4 74

สามารถยุบวงจรได้เป็ น ทํานองเดียวกัน หา Z33 ได้จาก


(3) (1)
j0.0857 (1)
(3) j0.0857
+
+
V1
V3
j0.5 I1
j0.1 j0.5
- I3 j0.1 I1
-
จาก Z11 =
V1
จะได้ จาก Z 33 =
V3
จะได้
I1 I3
j 0.5( j 0.1 + j 0.0857) j 0.1( j 0.5 + j 0.0857)
Z11 = Z 33 =
j 0.5 + j 0.1 + j 0.0857 j 0.1 + j 0.5 + j 0.0857

= j 0.0854
= j 0.1354
75 76
C
หา Z22 โดยมองเข้าไประหว่างจุด C กับ B C

หาอิมพีแดนซ์ระหว่างจุด C กับ B
(3) (1)
Z2
j0.1 (3) (1)
Z2
(3) (1)
Z3 Z1
เพื่อหาค่า Z22
(2)
Z3 Z1 j0.1 j0.5
j0.2 j0.4 (2)
(2) C j0.1 j0.5
j0.1 j0.5
B
B
B
( j 0.0268 + j 0.1)( j 0.0571 + j 0.5)
Z 22 = + j 0.1143
j 0.0286 + j 0.1 + j 0.0571 + j 0.5
( j 0.1)( j 0.4) ( j 0.2)( j 0.4) ( j 0.1)( j 0.2)
Z1 = Z2 = Z3 =
j 0.1 + j 0.2 + j 0.4 j 0.1 + j 0.2 + j 0.4 j 0.1 + j 0.2 + j 0.4 = j 0.1045 + j 0.1143

= j 0.0571 = j 0.1143 = j 0.0286 = j 0.2188

77 78

ตัวอย่ างที่ 6
จาก ตัวอย่างที่ 1 ก่อนต่อตัวเก็บประจุที่บสั 4 ที่บสั 4 มีแรงดันเป็ น
จากระบบไฟฟ้ ากําลัง ในตัวอย่างที่ 1 ถ้าหากมีการเพิ่มตัวเก็บประจุที่มีค่ารี แอค แรงดันเทวินิน เท่ากับ V4
แตนซ์ 5.0 p.u. โดยต่อระหว่างบัส 4 กับสายกลาง และค่า Ea, Eb, Ec เท่าเดิม ให้
คํานวณหากระแสไหลเข้าตัวเก็บประจุ
(1)
Eth = V4
(1) I1

Ya
-j5.0
(4)
= 1.401- j 0.297
a (4) Yd

= 1.432-11.97
-j0.8
(3) Yf -j4.0
(3) I3
Ye
(0)
c Yc
-j8.0

• การหาอิมพีแดนซ์เทวิวนิ ได้จากการลัดวงจรแหล่งจ่าย
-j0.8
Yg -j2.5
(2) I2 (2)
Yh
b Yb -j5.0 แรงดัน หรื อ เปิ ดวงจรแหล่งจ่ายกระแส บัสอื่น ยกเว้นบัส 4
-j0.8

79 80
(1)

-
Ea
+
j1.25
j0.2 เมื่อนําตัวเก็บประจุมาต่อระหว่างบัส 4 กับสายกลางจะได้เป็ น
(4)
j0.25 j0.473
Z44
Ec (3)
j1.25 j0.125
- +
IC
-j0.5
(2) j0.4 Eth = 1.432 -11.97
Eb
j1.25
- +
j0.2

จาก [V] = [Z][I] จะได้ V4 = Z 41 I1 + Z 42 I 2 + Z 43 I 3 + Z 44 I 4


• กระแสที่ไหลเข้าตัวเก็บประจุเท่ากับ
1.432-11.97
V
Z th = Z 44 = 4 = j 0.473
IC =
( j 0.473) - ( j 5.0)
= 0.31678.03 p.u.
I4 I =I =I =0
1 2 3
81 82

ตัวอย่ างที่ 7 • จากตัวอย่ างที่ 1 หาแรงดันที่บสั ทั้ง 4 ซึ่งเกิดจากแรงดันของ


จาก ตัวอย่างที่ 6 ภายหลังจากต่อตัวเก็บประจุ ที่บสั 4 แล้ว ให้ แหล่งจ่ายแรงดันที่บสั 1,2 และ 3
คํานวณหาแรงดันที่บสั ทั้ง 4 • หาแรงดันที่บสั ต่างๆ เฉพาะเมื่อมีกระแสจากตัวเก็บประจุพงุ่ เข้า
(1) I1
(1)
วงจรระบบไฟฟ้ ากําลัง
-j5.0 (4)
Ya
a (4) Yd
-j0.8
(3) Yf -j4.0

c
(3)

(0)
I3
Ye แหล่งจ่ายแรงดันที่บสั 1, 2, 3 ถูกลัดวงจร (แหล่งจ่ายกระแสถูกเปิ ด
(2)
Yc
-j8.0 วงจร) หมายความว่า I1 = I2 = I3 = 0
IC
-j0.8
Yg -j2.5
I2 (2) -IC
b Yh

Yb -j5.0
-j0.8
83 84
จาก [V] = [Z][I] • ใช้ทฤษฎีทบั ซ้อน (Superposition Theorem) คํานวณหาแรงดันที่บสั
I 4 = -I C = -0.31678.03 ต่างๆ
จะได้ แรงดันแต่ ละบัส เป็ น • แรงดันบัสต่างๆ = แรงดันบัสก่อนต่อตัวเก็บประจุ + แรงดันบัส
หลังจากต่อตัวเก็บประจุแล้วลัดวงจรแหล่งจ่ายแรงดันทุกอัน
V1 = I 4 Z14 = -0.31678.03´ 0.41490 = 0.1308-11.97

V2 = I 4 Z 24 = -0.31678.03´ 0.41390 = 0.1305-11.97 V1 = 1.436-10.71 + 0.1308-11.97 = 1.567-10.81

V2 = 1.427-14.24 + 0.1305-11.97 = 1.557-14.04


V3 = I 4 Z 34 = -0.31678.03´ 0.42390 = 0.1337-11.79
V3 = 1.434-11.34 + 0.1337-11.97 = 1.568-11.40

V4 = I 4 Z 44 = -0.31678.03´ 0.47390 = 0.1495-11.97 V4 = 1.432-11.97 + 0.1495-11.97 = 1.581-11.97


85 86

สรุป ผลจากตัวอย่างที่ 7 การสร้ างบัสอิมพีแดนซ์ เมตริกโดยวิธีตรง


(Direct Determination of a Bus Impedance Matrix)
• เมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ามาในระบบ จะส่ งผลให้แรงดันแต่ละบัส
เพิ่มขึ้น • เป็ นการสร้างเมตริ กอิมพีแดนซ์ [Z] โดยไม่ตอ้ งอินเวิร์สจากเมตริ ก
แอดมิตแตนซ์ [Y]
• การต่อตัวประจุจึงใช้ช่วยแก้ปัญหาแรงดันตก (Voltage Drop)ใน
ระบบไฟฟ้ าได้ (โดยเฉพาะบัสที่อยูไ่ กลแหล่งจ่ายมากๆ) • สามารถใช้หาเมตริ กอิมพีแดนซ์ เมื่อมีการเพิ่มอุปกรณ์บางตัวเข้า
มาในระบบ (เช่น ตัวเก็บประจุ)

87 88
หลักการสร้ างบัสอิมพีแดนซ์ เมตริกโดยวิธีตรง จากระบบไฟฟ้ าเดิม ซึ่งมี n บัส [Zorig] เป็ นเมตริ ก n x n
éV1 ù é ù é I1 ù
ê ú ê úê ú
êV2 ú ê ú ê I2 ú
• เพิ่มอิมพีแดนซ์ทีละตัว เพื่อประกอบเป็ นระบบไฟฟ้ ากําลังที่ทาํ ê ú = ê Zorig úê ú
êú ê úê  ú
การวิเคราะห์ ê ú ê úê ú
êëVn úû êë úû êë I n úû

• เมื่อมีการเพิ่มอิมพีแดนซ์ทีละตัว ก็หาเมตริ กอิมพีแดนซ์ที่เกิดขึ้น กําหนดให้ • บัสใหม่ที่เพิ่มในวงจรใช้อกั ษร p


ใหม่ดว้ ย • อิมพีแดนซ์ใหม่ที่เพิม่ ในวงจร มีค่า Zb
• ขนาด และ มุม ของ แหล่งจ่ายกระแส และ/หรื อ แหล่งจ่าย
แรงดัน มีค่าคงที่ตลอด •เมื่อนําอิมพีแดนซ์ Zb เข้ามาเพิม่ ในระบบ ส่ งผลให้ [Zorig]  [Znew]
• Zb ที่เข้ามาเพิ่ม จะมีได้ 4 กรณี ดังต่อไปนี้
89 90

กรณีที่ 1 กรณีที่ 1
• เพิ่ม Zb จากบัสใหม่ให้ต่อกับบัสอ้างอิง (สายนิวทรัลของระบบ) สามารถหา [Znew] ได้เป็ น
โดยบัสใหม่ไม่ต่อกับบัสเดิมเลย
é V1 ù é 0 ù é I1 ù
• แรงดันบัสเดิมไม่เปลี่ยนแปลง , แรงดันบัส p มีค่า IpZb ê ú ê
êV2 ú ê
úê ú
0 ú ê I2 ú
ê ú ê
ê  ú=ê Zorig úê ú
 úê  ú
ê ú ê úê ú
Orig. Network êVn ú ê 0 ú ê In ú
With the ê ú ê úê ú
êV p ú ê0 0  0 Z ú ê I p ú
reference bus ë û ë b ûë û
Vp extracted
Zb Ip

[Znew]
91 92
กรณีที่ 2 k
Ik Ik + Ip
Orig. Network ระบบเดิม
With bus k
and the
• เพิ่ม Zb จากบัสใหม่ ต่อกับบัสเดิม k (บัสหนึ่งของระบบเดิม) p
Zb Ip reference bus
extracted Vk ( orig ) = I1Z k 1 + I 2 Z k 2 + ... + I k Z kk

Ik Ik + Ip
เมื่อ Zb มาต่อกับบัส k  แรงดันที่บสั k มีค่าเพิ่มขึ้น เท่ากับ
Orig. Network
k Vk ( new ) = Vk ( orig ) + I p Z kk
With bus k
and the
Zb Ip reference bus • แรงดันที่บสั p มีค่าเท่ากับ
extracted
p
V p = Vk ( new) + I p Z b

V p = I1Z k 1 + I 2 Z k 2 + ... + I n Z kn + I p ( Z kk + Z b )
93 94

สามารถหา [Znew] ได้เป็ น กรณีที่ 3


é V1 ù é Z1k ù é I1 ù
ê ú ê úê ú
êV2 ú ê Z2k ú ê I2 ú • เพิ่ม Zb ระหว่างบัส k กับบัสอ้างอิง
ê ú ê
ê  ú=ê Zorig 
úê ú
úê  ú
ê ú ê úê ú
êVn ú ê Z nk ú êê I n úú Ik Ik + Ip
ê ú ê ú Orig. Network
êV p ú ê Z Z k 2  Z kn Z kk + Z b úû êë I p úû k
ë û ë k1 With bus k
and the
reference bus
• สมาชิกแถวใหม่ n ตัวแรกย่อมซํ้ากับสมาชิกของแถวที่ k ของ Zorig Zb Ip extracted

• สมาชิกคอลัมน์ใหม่ n ตัวแรกย่อมซํ้ากับสมาชิกของคอลัมน์ที่ k
ของ Zorig
95 96
Ik Ik + I p
k Orig. Network
With bus k
and the • ลักษณะจะเหมือนกับกรณี ที่ 2 • จากเมตริ ก [V] = [Z] [I] ที่ได้ และ Vp = 0 สามารถใช้หลักการตัด
บัสทิ้ง (Node Elimination) เพื่อลดขนาดเมตริ กจาก (n+1) x (n+1)
reference bus
Zb Ip extracted
• Vp คือบัสของนิวทรัล (บัสอ้างอิง)
ให้เหลือขนาด n x n
Vp  0

YknYnj
สามารถหา [Znew] ได้เป็ น จากสูตร Ykj ( new) = Ykj ( original ) -
Ynn
éV1 ù é Z1k ù é I1 ù
ê ú ê úê ú
êV2 ú ê Z2k ú ê I2 ú
ê ú ê
ê  ú=ê Zorig 
úê ú
úê  ú Z h ( n1) Z ( n1) i
ê ú ê úê ú จะได้ Z hi ( new)  Z hi ( orig ) 
êVn ú ê Z nk ú êê I n úú Z kk  Z b
ê ú ê ú
êë 0 úû ê Z k 1
ë Z k 2  Z kn Z kk + Z b úû êë I p úû
97 98

Ij I j + Ib

กรณีที่ 4 j Orig. Network


with buses k, j
and the
• Ib ไหลผ่าน Zb จากบัส k ไปยัง
Zb Ib
reference bus
บัส j
• เพิ่ม Zb ระหว่างบัสเดิม j กับบัสเดิม k
extracted
k
Ik Ik - Ib

Ij Ij + Ib
j Orig. Network
with buses k, j
แรงดันที่บสั ต่างๆ เขียนสมการได้เป็ น
Zb Ib
and the V1  Z11 I1  ...  Z1 j  I j  I b   Z1k  I k  I b   ...
reference bus
extracted  Z11 I1  ...  Z1 j I j  Z1k I k  ...  I b  Z1 j  Z1k 
k
Ik Ik -+ Ib ทํานองเดียวกัน
V j  Z j1 I1  ...  Z jj I j  Z jk I k  ...  I b ( Z jj  Z jk ) (a)
99
Vk  Z k 1 I1  ...  Z kj I j  Z kk I k  ...  I b ( Z kj  Z kk ) (b) 100
j
Ij I j + Ib
Orig. Network • จากวงจร ถ้ากําหนดให้อิมพีแดนซ์ที่คูณกับ Ib มีค่า เท่ากับ Zbb
with buses k, j
and the
Zb Ib
reference bus
extracted
Vk  V j  I b Z b จะได้ Z bb  Z b  Z jj  Z kk  2 Z jk
k
Ik Ik - Ib 0  I b Z b  V j  Vk (c)
สามารถเขียน [V] = [Z] [I] ได้เป็ น
แทนค่า Vj และ Vk จากสมการ (a), (b) ลงใน (c) จะได้ V1   Z1 j  Z1k   I1 
     
0  I b Z b  ( Z j1  Z k 1 ) I1  ...  ( Z jj  Z kj ) I j  ...     
...  ( Z jk  Z kk ) I k  ...  ( Z jj  Z kk  2 Z jk ) I b
V j  
V   
Zorig Z jj  Z jk   I j 
Z kj  Z kk   I k 
 k   
จัดสมการใหม่      
   
Z nj  Z nk   I n 
0  ( Z j1  Z k 1 ) I1  ...  ( Z jj  Z kj ) I j  ... Vn    
 0  ( Z j1  Z k 1 )  ( Z jk  Z kk )  Z bb   I b 
...  ( Z jk  Z kk ) I k  ...  ( Z b  Z jj  Z kk  2 Z jk ) I b
101 102

• เนื่องจาก Vb = 0 สามารถตัดแถวที่ (n+1) และ คอลัมน์ที่ (n+1) ได้ ตัวอย่ างที่ 8


• จะได้สมาชิกในเมตริ กอิมพีแดนซ์ [Z] เป็ น จากตัวอย่างที่ 6 และ 7 จงคํานวณแรงดันที่บสั 4 โดยใช้วธิ ีเพิ่มตัวเก็บ
ประจุเข้าไประหว่างบัส 4 กับบัสอ้างอิง แล้วหาเมตริ กอิมพีแดนซ์โดย
Z h ( n1) Z ( n1) i วิธีตรง (Direct Method)
Z hi ( new)  Z hi ( orig ) 
Z bb (1)

a (4)
• เพิ่มตัวเก็บประจุเข้ามาที่บสั 4
Z h ( n1) Z ( n1) i เป็ น กรณีที่ 3
 Z hi ( orig ) 
(3)

Z b  Z jj  Z kk  2 Z jk c
•k=4
(2)

b • Zb = - j5.0
103 104
(1)
I1
-j5.0

กรณีที่ 3 จะได้ สมการ [V] = [Z] [I] เป็ น


Ya (4) Ik Ik + I p
Yd
-j0.8 k Orig. Network
(3) Yf -j4.0 With bus k
I3
Ye and the
(0)
Yc reference bus
-j8.0
Zb Ip extracted
-j0.8 éV1 ù é Z1k ù é I1 ù
úê ú
-j2.5
I2 (2) Yg
ê ú ê
Yh
êV2 ú ê Z 2k ú ê I 2 ú
Yb -j5.0 ê ú ê
ê  ú=ê Zorig 
úê ú
úê  ú
-j0.8
ê ú ê úê ú
êVn ú ê Z nk ú êê I n úú
ê ú ê ú
- j5.0 กรณี 3 êë 0 úû ê Z k 1
ë Z k 2  Z kn Z kk + Z b úû êë I p úû

Zb

105 106

จาก ตัวอย่างที่ 1 จะได้ [Zorig] ก่อนต่อตัวเก็บประจุเป็ น โดยที่ Z55 หาจาก Z 55  Z 44  Z b  j 0.4733  j 5.0

0.4774 0.3706 0.4020 0.4142    0  j1.20   V1    j 4.5267


0.3706 0.4872 0.3922 0.4126   0.72  j 0.96   V2 
j   
0.4020 0.3922 0.4558 0.4232    0  j1.2   V3  สามารถตัดแถวที่ 5 และคอลัมน์ที่ 5 ทิ้ง จะได้ [Znew] ใหม่

0.4142 0.4126 0.4232 0.4733  0
  
 V4 
Z h ( n1) Z ( n1) i
• ภายหลังต่อตัวเก็บประจุ ได้สมการ [V] = [Z] [I] เป็ น จาก Z hi ( new)  Z hi ( orig ) 
Z kk  Z b
V1   j 0.4774 j 0.3706 j 0.4020 j 0.4142 j 0.4124   I1 
V   j 0.3706 j 0.4872 j 0.3922 j 0.4126 j 0.4126   I 2  Z15 Z 51
 2 
V3    j 0.4020 j 0.3922 j 0.4558 j 0.4232
 
j 0.4232   I 3 
ตัวอย่าง Z11( new)  Z11( orig ) 
Z 55
V   j 0.4142 j 0.4126 j 0.4232 j 0.4733 j 0.4733   I 4 
 4   j 0.4142  j 0.4142
 j 4.5267   I b   j 0.4774   j 0.5153
 0   j 0.4142 j 0.4126 j 0.4232 j 0.4733
 j 4.567
107 108
จะได้ [Znew] ใหม่ หลังการตัดบัส เป็ น • จะสามารถหาแรงดันที่ บัส 4 ได้เท่ากับ
 j 0.5153 j 0.4084 j 0.4407 j 0.4575 
 j 0.4084 V4  j 0.457   j1.2   j 0.456  0.72  j 0.96   j 0.467   j1.2 
j 0.5248 j 0.4308 j 0.4557 
 Z new    
 j 0.4407 j 0.4308 j 0.4954 j 0.4674 
 j 0.4575  1.58  11.98
 j 0.4557 j 0.4674 j 0.5228 

จาก[Znew] หาแรงดันที่บสั 4 ได้จาก

j 0.4575    0  j1.20   V1 


V4 มีค่าเท่ากับ ค่า V4 ที่ได้จากตัวอย่างที่ 7
 j 0.5153 j 0.4084 j 0.4407
 j 0.4084 j 0.5248 j 0.4308 j 0.4557   0.72  j 0.96   V2 
   
 j 0.4407 j 0.4308 j 0.4954 j 0.4674    0  j1.2   V3 
 j 0.4575
 j 0.4557 j 0.4674 j 0.5228   0
 V 
  4
109 110

ตัวอย่ างที่ 9 • แปลง แหล่ งจ่ ายแรงดัน  แหล่ งจ่ ายกระแส

ให้คาํ นวณหาเมตริ กอิมพีแดนซ์โดยวิธีตรง (Direct Determination) 3 j0.1 1

ของระบบไฟฟ้ าในรู ป
j0.4 1.090
1.20 j0.2 I1 
I3 
3 j0.1 1 0.190 j0.1 0.590
j0.5
 20
j0.1 j0.5  12  90 2
j0.4
j0.2
E3  1.20 E1  1.090
2

111
ลักษณะการต่อของอิมพีแดนซ์ ที่จะต้องหาโดยใช้วธิ ีตรง 112
ขั้นตอน 1 เริ่ มจากอิมพีแดนซ์ j0.5 ต่อจากบัสที่ 1 ไปบัสอ้างอิง ขั้นตอน 2 • ต่อบัสใหม่ (บัส 2) เข้ากับบัสเดิม (บัส 1)
• Zb = j0.4
1
V1  j 0.5 I1 เป็ น กรณี ที่ 2 หา [Z] จาก
j0.5 • จาก [V] = [Z] [I] จะได้ 2 j0.4
1 é V1 ù é
ê ú ê
Z1k ù é I1 ù
úê ú
êV2 ú ê Z2k ú ê I2 ú
ê ú ê
ê  ú=ê Zorig úê ú
úê  ú
 Z    Z11    j 0.5 j0.5 ê ú ê

úê ú
êVn ú ê Z nk ú êê I n úú
ê ú ê ú
êV p ú ê Z Z k 2  Z kn Z kk + Z b úû êë I p úû
ë û ë k1

113 114

• จาก ขั้นตอน 1  [Zorig] = [j0.5] ขั้นตอน 3 • ต่อบัสใหม่ (บัส 3) เข้ากับบัสเดิม (บัส 1)


• Zb = j0.1
•ใน ขั้นตอนที่ 2 จะได้ [Z] เป็ น
3
j0.1 เป็ น กรณี ที่ 2 หา [Z] จาก
1
Z Z11   j 0.5 j 0.5 
 Z    11  j0.4
 
Z11  Z b  j 0.5  j 0.4 
Z1k
 Z11  j 0.5 Zorig
2  Z    Z 2k 
 [k=1]
j0.5  Z k 1 Z k 2 Z kk  Z b 
 j 0.5 j 0.5

 j 0.5 j 0.9 

115 116
 j 0.5 j 0.5  ขั้นตอน 4 • ต่อบัสเดิม (บัส 3) เข้ากับบัสอ้างอิง
• จาก ขั้นตอน 2  [ Z orig ]  
 j 0.5 j 0.9 
• Zb = j0.1
•ใน ขั้นตอนที่ 3 จะได้ [Z] เป็ น เป็ น กรณี ที่ 3 หา [Z] จาก
3
 j 0.5 j 0.5 j 0.5 
j0.1
1 éV1 ù é Z1k ù é I1 ù
ê ú ê úê ú
 Z    j 0.5 j 0.9 j 0.5  êV2 ú ê Z 2k ú ê I2 ú
 j 0.5 j 0.5

j 0.5  j 0.1
j0.4 ê ú ê
ê  ú=ê Zorig 
úê ú
úê  ú
2
ê ú ê úê ú
j0.1 êVn ú ê Z nk ú êê I n úú
ê ú ê ú
 j 0.5 j 0.5 j 0.5  êë 0 úû ê Z k 1
ë Z k 2  Z kn Z kk + Z b úû êë I p úû
  j 0.5 j 0.9 j 0.5 
 
 j 0.5 j 0.5 j 0.6 
โดยที่ : [k=3]
117 118

 j 0.5 j 0.5 j 0.5


ทําการตัดแถวที่ 4 และคอลัมน์ที่ 4 โดยใช้สมการ
• จาก ขั้นตอน 3  [ Z orig ]   j 0.5 j 0.9 j 0.5
 
 j 0.5 j 0.5 j 0.6  Z h ( n1) Z ( n1) i
Z hi ( new)  Z hi ( orig ) 
Z kk  Z b
•ใน ขั้นตอนที่ 4 จะได้ [Z] เป็ น
 j 0.5 j 0.5 j 0.5 j 0.5  Z14 Z 42
 j 0.5 Z14 Z 41 Z12 = Z12( orig ) -
j 0.9 j 0.5 j 0.5  Z11 = Z11( orig ) - Z 33 + Z b
Z     Z 33 + Z b
 j 0.5 j 0.5 j 0.6 j 0.6 
 ( j 0.5)( j 0.5)
 j 0.5 j 0.5 j 0.6 j 0.6  j 0.1 = j 0.5 -
( j 0.5)( j 0.5) = j 0.5 -
j 0.7
j 0.7
é j 0.5 j 0.5 j 0.5 j 0.5ù = j 0.143
ê ú = j 0.143
ê j 0.5 j 0.9 j 0.5 j 0.5ú
=ê ú
ê j 0.5 j 0.5 j 0.6 j 0.6ú = Z 21
ê ú
êë j 0.5 j 0.5 j 0.6 j 0.7úû
119 120
Z14 Z 43 Z 24 Z 42
Z13 = Z13( orig ) - Z 22 = Z 22( orig ) -
Z 33 + Z b Z 33 + Z b •ในขั้นตอนที่ 4 จะได้ [Z] ภายหลังมีการตัดบัสทิ้ง เป็ น
( j 0.5)( j 0.6) ( j 0.5)( j 0.5)
= j 0.5 - = j 0.9 -
j 0.7 j 0.7
é j 0.143 j 0.143 j 0.0714ù
ê ú
= j 0.0741 = Z 31 = j 0.543 [ Z ] = ê j 0.143 j 0.543 j 0.0714ú
ê ú
êë j 0.0714 j 0.0714 j 0.086 úû
Z 24 Z 43 Z 34 Z 43
Z 23 = Z 23( orig ) - Z 33 = Z 33( orig ) -
Z 33 + Z b Z 33 + Z b
( j 0.5)( j 0.6) ( j 0.6)( j 0.6)
= j 0.5 - = j 0.6 -
j 0.7 j 0.7

= j 0.0741 = Z 32 = j 0.086
121 122

• กรณี ที่ 4 สามารถหา [Z] ได้จาก


ขั้นตอน 5 • ต่อบัสเดิม (บัส 2) เข้ากับบัสเดิม (บัส 3) V1   Z1 j  Z1k   I1 
    
• Zb = j0.2   
V j   Zorig 
 
Z jj  Z jk   I j 
3 V    Z kj  Z kk   I k 
j0.1
1  k   
     
2    
Z nj  Z nk   I n 
Vn    
j0.2 j0.4  0  ( Z j1  Z k1 )  ( Z jk  Z kk )  Z bb   I b 
j0.1 j0.5

โดยที่ j=2 และ k =3

เป็ น กรณี ที่ 4 และ Z bb  Z b  Z jj  Z kk  2 Z jk


123 = Z b + Z 22 + Z 33 - 2 Z 23 124
é j 0.143 j 0.143 j 0.0714ù
Z14 = Z1 j - Z1k Z 24 = Z 2 j - Z 2 k ê ú
• จาก ขั้นตอน 4  é Z orig ù = ê j 0.143
ë û ê j 0.543 j 0.0714ú
ú
= Z12 - Z13 = Z 22 - Z 23 êë j 0.0714 j 0.0714 j 0.086 úû
= j 0.143 - j 0.0714 = j 0.543 - j 0.0714

= j 0.072 = Z 41 = j 0.472 = Z 42 •ใน ขั้นตอนที่ 5 จะได้ [Z] เป็ น

Z 34 = Z 3 j - Z 3k Z 44 = Z bb  j 0.143 j 0.143 j 0.0714 j 0.072 


 j 0.143 j 0.543 j 0.0714 j 0.4716 
= Z 32 - Z 33 = Z b + Z 22 + Z 33 - 2 Z 23 Z    
 j 0.0714 j 0.0714 j 0.086  j 0.0146 
= j 0.0714 - j 0.086 = j 0.2 + j 0.543 + j 0.086  j 0.072 j 0.4716  j 0.0146 j 0.686 

- 2( j 0.0714)
= - j 0.0146 = Z 43
= j 0.686
125 126

• ทําการตัดแถวที่ 4 และคอลัมน์ที่ 4 โดยใช้สมการ Z13 = Z13( orig ) -


Z14 Z 43 Z 22 = Z 22( orig ) -
Z 24 Z 42
Z bb Z bb
Z h ( n1) Z ( n1) i
Z hi ( new)  Z hi ( orig )  ( j 0.072)(- j 0.0146) ( j 0.4716)( j 0.4716)
Z bb = j 0.0714 - = j 0.543 -
j 0.686 j 0.686

Z14 Z 41 Z14 Z 42 = j 0.073 = Z 31 = j 0.218


Z11 = Z11( orig ) - Z12 = Z12( orig ) -
Z bb Z bb

( j 0.072)( j 0.4716) Z 24 Z 43 Z 34 Z 43
( j 0.072)( j 0.072) = j 0.143 - Z 23 = Z 23( orig ) - Z 33 = Z 33( orig ) -
= j 0.143 - j 0.686 Z bb Z bb
j 0.686
( j 0.4716)(- j 0.0146) ( j 0.0146)( j 0.0146)
= j 0.093 = j 0.0714 - = j 0.086 -
= j 0.1354 j 0.686 j 0.686

= Z 21 = j 0.080 = Z 32 = j 0.0857
127 128
ตัวอย่ างที่ 10
•ใน ขั้นตอนที่ 5 จะได้ [Z] ภายหลังมีการตัดบัสทิ้ง เป็ น
จากตัวอย่างที่ 9 ให้คาํ นวณหากระแสที่ไหลเข้าตัวเก็บประจุ ซึ่งมีค่ารี
é j 0.1354 j 0.093 j 0.073ù แอคแตนซ์ 3.0 p.u. เมื่อตัวเก็บประจุน้ ีต่อระหว่างบัส 2 กับสายกลาง
ê ú
[ Z ] = ê j 0.093 j 0.219 j 0.081ú
ê ú
êë j 0.073 j 0.081 j 0.086úû 3 j0.1 1

j0.4 1.090
1.20 j0.2 I1 
I3 
0.190 j0.1 0.590
j0.5
 20
 12  90 2 - j3.0

129 130

จาก ตัวอย่ างที่ 9 จะได้ [V] = [Z] [I] เป็ น จะได้แรงดันที่บสั 2 เท่ากับ
V2 = (2.00)( j 0.093) + ( j 0.219)(0) + ( j 0.081)(- j12)
éV1 ù é j 0.1354 j 0.093 j 0.073ù é I1 ù
ê ú ê úê ú
êV2 ú = ê j 0.093 j 0.219 j 0.081ú ê I 2 ú = 0.972 + j 0.186
ê ú ê úê ú
êëV3 úû êë j 0.073 j 0.081 j 0.086úû êë I 3 úû = 0.989610.83

จากวงจร และ จะได้ • หากระแสที่ไหลในตัวเก็บประจุจากวงจรเทวินินของระบบ


I1 = 2.00 I 3 = 12.0- 90
Z22 V2
IC =
éV ù é j 0.1354 j 0.093 j 0.073ù é 2.00 ù Z 22 + Z C
ê 1ú ê úê ú
êV2 ú = ê j 0.093 j 0.219 j 0.081ú ê 0 ú
ê ú ê úê ú V2 0.989610.83
ëêV3 ûú ëê j 0.073 j 0.081 j 0.086ûú ëê12.0- 90ûú IC ZC =
( j 0.219) - ( j 3.0)

131
= 0.356100.83 A.132
End of Unit

133

You might also like