You are on page 1of 5

รายงาน เรื่อง ตัวแปรและสมมติฐาน

ตัวแปร คืออะไร?
- คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่ผูวิจัยนำมาศึกษา
- คุณลักษณะในประชากรหรือกลุมตัวอยาง ที่สามารถแปรเปลี่ยนคาไปไดตางกันอยางนอย 2 คา เชน
- เพศ มี 2 คา ไดแก หญิง และชาย
- ผลการรักษา (หาย/ไมหาย รอด/ตาย)
- การสูบบุหรี่ (สูบ ไมสูบ เคยสูบแตปจจุบันเลิกแลว)
- วัดได เก็บขอมูลได แจกแจงได ขึ้นกับระดับของการวัด
- นำไปสูการตั้งสมมติฐานเพื่อทดสอบทางสถิติ

ที่มาของตัวแปรในการวิจัย
ตัวแปรในการวิจัยไดมาจาก การทบทวนเอกสารงานวิจัยที่ เกี่ยวของ ควบคูกับการตั้งสมมติฐาน
ทั้งนี้อาจสังเกตไดจาก ตอไปนี้
- ชื่อเรื่องงานวิจัย (ตัวแปรตามอยางเดียว ตนและตาม)
- วัตฤประสงคของการวิจัย
- สมมติฐานการวิจัย

ตัวอยาง
ชื่อเรื่อง: ปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพซีวิตของผูปวยฟอกไต
ตัวแปรดน: ปจจัยสวนบุคคล (อายุ เพศ อาชีพ ภาวะโรคและโรคแทรกชอน แผนการรักษา คาใชจาย ความเครียด)
- ปจจัยดานครอบครัว (สัมพันธภาพในครอบครัว รายไดครอบครัว ภาระในการดูแลของครอบครัว
แรงสนับสบุนจากครอบครัว)
- ปจจัยดานสถานบริการ (การเขาถึงบริการ คุณภาพของการรักษา สัมพันธภาพกับผูใหบริการ )
ตัวแปรดาม: คุณภาพชีวิต (รางกาย จิตใจ สังคม สิ่งแวดดอม)
ระดับการวัดตัวแปร
นามมาตรา (Nominal scale) ขอมูลคุณลักษณะ เชน เพศ อาชีพ ไมสามารถเปรียบเทียบความมากนอยได
อันดับมาตรา (Ordinal scale) ขอมูลที่จัดอันดับได มาก- ปานกลาง-นอย เชน ระดับความเจ็บปวด
ระดับความพึงพอใจ และระบุความมากนอยไดไมชัดเจน
ชวงมาตรา (Interval scale) ขอมูลที่เปรียบเทียบความ มากนอย หาคาเฉลี่ยได ไมมีศูนยแท เชนคะแนนความรู
ระดับอุณหภูมิหอง
อัตราสวนมาตรา (Ratio scale) ขอมูลที่เปรียบเทียบความ มากนอย หาคาเฉลี่ยไดมีศูนยแท
เชนระดับความดันโลหิต รายได ระดับนํ้าตาลในกระแสเลือด

ประเภทของตัวแปร
ตัวแปรที่ใชงานวิจัยสามารถจัดเปนกลุมได 3 กลุมใหญๆ ดังนี้
1. กลุมตัวแปรตนและตัวแปรตาม (Independent & Dependent variables)
2. ตัวแปรเชิงปริมาณและตัวแปรเชิงคุณลักษณะ (Quantitative & Qualitative variables)
3. ตัวแปรเชิงกำหนดและตัวแปรเชิงจำแนก (Attribute or Assigned variables & Active variables)

กลุมตัวแปรตนและตัวแปรตาม (Independent & Dependent Variables)


ตัวแปรตน หมายถึง ตัวแปรที่เปนตัวกำหนดหรือมีผลกระทบใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอตัวแปรอื่นได เกิดขึ้นกอน
ตัวแปรตาม หมายถึง ตัวแปรที่มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องมาจากตัวแปรตน เกิดขึ้นภายหลัง
ตัวอยางเชน
ตัวแปรตน ตัวแปรตาม
ขนมหวาน ฟนผุ
สารสกัด จากระเทียม ระดับความดันโลหิต
ความเพียงพอของรายได ระดับความเครียด
อายุ ความแข็งแรงของกลามเนื้อ

- ที่มาของตัวแปรตนและตัวแปรตาม ไดจากการทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวของ


ตัวแปรเชิงปริมาณและตัวแปรเชิงลักษณะ (Quantitative & Qualitative variables)
ตัวแปรเชิงปริมาณ หมายถึง ตัวแปรที่สามารถเก็บขอมูลหรือตัวเลขได อาจเปนขอมูลตัวเลขเต็มหรือคาตอเนื่อง
หาคาเฉลี่ยได ระดับการวัด Interval และ Ratio scales
ตัวแปรเชิงคุณลักษณะ หมายถึง ตัวแปรที่ไมสามารถเก็บขอมูลออกมาเปนตัวเลขได เนื่องจากเปนขอมูลเชิง
ลักษณะ เวลาเก็บขอมูลตองกำหนดรหัสเปนตัวเลขแทนคุณลักษณะที่แตกตางกัน เชน ชาย=1 หญิง=2
หาคาเฉลี่ยไมได ระดับการวัด Nominal และ Ordinal scales
ตัวอยาง
ตัวเชิงปริมาณ ตัวเชิงคุณลักษณะ
น้ำหนักตัว เพศ
ระดับน้ำตาลในเลือด อาชีพ
อุณหภูมิรางกาย ระดับการศึกษา

ตัวแปรเชิงกำหนดและตัวแปรเชิงจำแนก (Attribute (Assigned) & Active variables)


ตัวแปรเชิงกำหนด มักเกี่ยวของกับลักษณะการวิจัยที่กำหนดใหตัวแปรมี ลักษณะนั้นๆ หรือถูกกระทำขึ้นโดย
ผูวิจัยเพื่อใหกลุมศึกษาไดรับตามแผนการทดลองเทียบกับอีกกลุมที่ไมไดรับหรือไดรับตามวิธีปกติ
ตัวแปรเชิงจำแนก เปนตัวแปรที่มีอยูตามธรรมชาติ เพียงแตนำตัวแปรนั้นๆ มาศึกษาตามที่ตองการ เชน
คุณลักษณะของกลุมที่ศึกษา
ตัวอยาง
ตัวเชิงกำหนด ตัวเชิงจำแนก
วิธีการสอน เพศ
รูปแบบการรักษา อายุ
แผนการทดลอง สถานภาพสมรส
สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐาน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน 2525 หมายถึง ขอสมมติที่ใชเปนมูลฐานแหงการหาเหตุผลใน
การทดลองหรือการวิจัย
การตั้งสมมติฐาน หมายถึง ขอความที่คาดคะเนคำตอบของปญหาการวิจัยไวกอนทำการวิจัย มีขอมูลเกี่ยวของกับ
งานวิจัยที่ผูอื่นทำไวหรือ มาจากแนวคิด ทฤษฎี นำไปสูการพิสจู นโดยการทำวิจัย
- การอธิบายปรากฏการณของความเกี่ยวของและ/หรือ สัมพันธเชื่อมโยงเปนเหตผุลซึ่งกันและกันของตัวแปรตั้งแต
2 ตัวขึ้นไป
- เขียนวัตถุประสงคการวิจัย (นามธรรม) ใหอยูในรูปของขอมูลที่สามารถ เก็บรวบรวม วิเคราะห ตีความหรือ
เปรียบเทียบขนาดความแตกตางหรือหาความสัมพันธได (รูปธรรม)

หลักการเขียนสมมติฐานการวิจัย
- ตองทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อใหไดขอมูลมากพอที่จะตั้งสมมติฐานไดดีและตองตั้งกอนเก็บ
ขอมูล
- เขียนขอความกะทัดรัด ชัดเจน เฉพาะเจาะจง และสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อคาดคะเนคำตอบ
ของปญหาการวิจัย
- ตัวแปรทุกตัวในสมมติฐานตองสามารถวัดไดและทดสอบได
- แสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรอยางชัดเจน มีคำทีแ่ สดงลักษณะความสัมพันธในแบบตางๆ ไวในประโยคเชน
“มีผลกระทบตอ” “มีอิทธิพลตอ” “แปรผันกับ” “มากกวา” “นอยกวา” “มีความสัมพันธกับ” เปนตน
- สามารถเก็บขอมลู เพื่อทดสอบไดในชวงเวลาใดก็ตาม

ขอเสนอแนะในการเขียน สมมติฐานทีด่ ี
- เขียนในรูปประโยคบอกเลา
- สั้น ชัดเจน ใชภาษาที่เขาใจงาย
- เกี่ยวของกับตัวแปรและสอดคลองกับกรอบแนวคิด
- ไมเขียนเชื่อหลายตัวแปร รวมไวในสมมติฐานเพียงขอเดียว เพราะจะสับสนในการทดสอบสมมติฐาน
- ควรเรียงลำดับขอใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย
การเขียนสมมติฐานการวิจัย
- สมมติฐานการวิจัย (Alternative hypothesis) = Ha
- สมมติฐานทางสถิติ (Null hypothesis) = Ho
- สมมติฐานสองทาง (Two-sided hypothesis)
- สมมติฐานทางเดียว (One-sided hypothesis)

สมมติฐานทางการวิจัย
- สมมติฐานไมเปนกลาง (Alternative hypothesis: Ha)
- สมมติฐานเปนกลาง (Null hypothesis: Ho)
Ha: แรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว มีความสัมพันธกบั การกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำของผูปวยโรคไต
(นิยมใชเปนสมมติฐานในการวิจัย)
Ho: แรงสนับสนุนทางสังคม ไมมีความสัมพันธกับการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำของผูปวยโรคไต
(ใชสำหรับการทดสอบทางสถิติ)

นายพุฒิพงศ จันทรศรีเมือง หอง 1 เลขที่ 15 รหัสนักศึกษา 653150310395

You might also like