You are on page 1of 76

.

27
0 1 9 : 4 9
e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5
การพัฒ/นาวั
6
4 4 5 0 7 สดุดูดซึมของเสียแมวจากกากมันสาปะหลัง

. 1 0 /
10 มื่อ 2

โดย

นางสาวนิดารัตน์ เชตุใจ

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปีการศึกษา 2562
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Ref. code: 25626010036066CVA


. 2 7
1 9 : 4 9
การพัฒนาวัสดุดูด2ซึ0มของเสีย0แมวจากกากมั
h e . 2 : 1 นสาปะหลัง

.U 4t 2
7 / T 2 5 6 โดย

4 4 5 0 7 / นางสาวนิดารัตน์ เชตุใจ

. 1 0 /
10 มื่อ 2

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปีการศึกษา 2562
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Ref. code: 25626010036066CVA


. 2 7
0 19 : 4 9 (1)

. 2
DEVELOPMENT OF ABSORBENT
e : 1 0CAT LITTER MATERIAL FROM
h
.U t 4 2 2
CASSAVA WASTE

7 / T 2 56 BY

4 4 5 0 7 / MISS NIDARAT CHETJAI

. 1 0 /
10 มื่อ 2

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS


FOR THE DEGREE OF MASTER DEGREE OF ENGINEERING
(ENERGY AND ENVIRONMENTAL TECHNOLOGY MANAGEMENT)
DEPARTMENT OF CHEMICAL ENGINEERING FACULTY OF ENGINEERING
THAMMASAT UNIVERSITY
ACADEMIC YEAR 2019
COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9
e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 /
. 1 0 /
10 มื่อ 2

. 27
0 19 : 4 9 (2)

หัวข้อวิทยานิพนธ์
e . 2 : 1 0 การพัฒนาวัสดุดูดซึมของเสียแมวจากกากมันสาปะหลัง
ชื่อผู้เขียน
ชื่อปริญญา
.U 4t h 2 2 นางสาวนิดารัตน์ เชตุใจ
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

7 / T 2 5 6
สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
วิศวกรรมศาสตร์

4 4 5 0 7 /
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.มาลี สันติคุณาภรณ์

. 1 0 /
ปีการศึกษา 2562

10 มื่อ 2 บทคัดย่อ
เ ทรายแมวซึ่งเป็นวัสดุที่ถูกนามาใช้ในการดูดซึมของเสียของแมว โดยเฉพาะทรายแมวที่
ทาจากวัสดุธรรมชาติที่สามารถย่อยสลายได้กาลังได้รับความนิยม กากมันสาปะหลังซึ่งเป็นเศษวัสดุ
ทางการเกษตรที่ได้จากกระบวนการผลิตแป้งและมีเป็นจานวนมากถูกนามาใช้เป็นวัสดุหลักในการ
แปรรูปเพื่อเพิ่มมูล ค่าเป็นวัสดุดูดซึมของเสีย กากมันและกากมันผสมถ่านกัมมันต์ที่อัตราส่ ว นต่ อ
นาหนัก 2:1 4:1 และ 6:1 ถูกนามาทดสอบความสามารถในการขึนรูป การดูดซึมนา การทาแห้งและ
การกาจัดกลิ่น ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า กากมันและกากมันผสมสามารถขึนรูปได้ง่ายไม่แตกต่าง
กัน กากมันมีความสามารถในการซึมนาเท่ากับ 0.67±0.01 เปอร์เซ็นต์ซึ่งมากกว่ากากมันผสม แต่
ความสามารถในการชับกลิ่นอยู่ในระดับต่าที่สุด สาหรับกากมันผสม เมื่อปริมาณถ่านกัมมันต์เพิ่มมาก
ขึน ความสามารถในการดูดซึมนาต่าลง แต่ความสามารถในการกาจัดกลิ่นดีขึน สาหรับการทาแห้ง
พบว่า อัตราการทาแห้งของกากมั นมีค่าสูงที่สุดซึ่งเท่ากับ 1.09 กิโลกรัมต่อตารางเมตรวินาที อันดับ
รองลงมาคือ กากมันผสมที่อัตราส่วน 2:1 และ 4:1 ซึ่งมีค่าอยู่ในช่วง 0.68-0.68 กิโลกรัมต่อตาราง
เมตรวินาที ตามลาดับ จากการเปรียบเทียบคุณสมบัติต่าง ๆ ของกากมันและกากมันผสมกับทราย
แมวที่ใช้กันสามารถสรุปได้ว่า กากมันผสมที่อัตราส่วน 2:1 และ 4:1 เหมาะสมในการนามาพัฒนาเป็น
ผลิตภัณฑ์ทรายแมว

คาสาคัญ: กากมันสาปะหลัง, การทาแห้ง, การดูดซึมนา, ทรายแมว

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 (3)

Thesis Title
e . 2 : 1 0 DEVELOPMENT OF ABSORBEMT CAT LITTER

Author
.U 4t h 2 2 MATRRIAL FROM CASSAVA WASTE
Miss Nidarat Chetjai
Degree

7 / T 5 6
Major Field/Faculty/University
2
Master of Engineering
Energy and Environmental Technology

4 4 5 0 7 / Management
Engineering

. 1 0 / Thammasat University

10 มื่อ 2
Thesis Advisor Associate Professor Malee Santikunaporn, Ph.D.
Academic Years 2019

เ ABSTRACT

Cat litter is a material used for absorbing the moisture and odor of fecal
waste, in particular, the cat litter made from biodegradable natural material, which is
gaining popularity. Cassava waste, which was large amount of agricultural residues from
the cassava flour production process, was used as the main material for processing to
add value as absorbent cat litter. Cassava waste and cassava waste mixed with
activated carbon at the weight ratios of 2:1, 4:1 and 6:1 were tested the forming ability,
water absorption, drying and odor absorption. The results suggested that cassava waste
and mixed cassava wastes were easily formed without significant difference. The water
absorption of cassava waste was 0. 67± . 01 % , which was higher than mixed cassava
residues while its odor absorption was at the lowest level. For mixed cassava wastes,
the higher amount of activated carbon, the lower water absorption would be, while
its odor absorption was better. For the drying rate testing, it was found that the drying
rate of cassava waste was at the highest rate of 1.09 kg/m2s, followed by the mixtures
at the ratios of 2: 1 and 4: 1 of 0. 678- 0. 68 kg/ m2s. The comparison of main physical
properties of cassava waste and mixed cassava wastes with commercial cat litters, it
could be concluded that the mixed cassava wastes at the ratios of 2: 1 and 4: 1 were
suitable for developing into cat litter product.

Keywords: Cassava residue, Drying, Absorption, Cat litter

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 (4)

e . 2 : 1 0 กิตติกรรมประกาศ

.U 4t h 2 2
การจัดทาวิทยานิพนธ์เรื่อง “การพัฒนาวัสดุดูดซึมของเสียแมวจากกากมันสาปะหลัง ”

7 T 2 5 6
ในครังนีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์ และการชีแนะอันเป็นประโยชน์จาก
/
คณาจารย์ทุกท่านผู้วิจัยขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.มาลี สันติคุณาภรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษา

4 4 5 7 /
วิทยานิพนธ์ เป็นอย่างสูงที่ให้ความกรุณารับเป็นที่ปรึกษาและเสียสละเวลาให้คาปรึกษาคาแนะนาที่ดี

0
/
ในการแก้ไขปัญหาทังในด้านข้อมูล ด้านวิชาการ และด้านเทคนิคต่าง ๆ ตลอดจนตรวจแก้ไขความ

. 1 0
เรียบร้อยของวิทยานิพนธ์ฉบับนีขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชราภรณ์ วุฒิเจริญมงคล

10 มื่อ 2
ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ อัศวเทศานุภาพ กรรมการ
สอบวิทยานิพนธ์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.สกนธ์ คล่องบุญจิต ที่ให้ความกรุณาสละเวลามาเป็น
เ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ภายนอก รวมทังให้คาแนะนาและเสนอแนะแนวทางอันเป็นประโยชน์
สาหรับการทาวิทยานิพนธ์ฉบับนี

นอกจากนีข้าพเจ้าขอขอบคุณ คุณวีรญา กุลพรพันธ์ ที่ให้การสนับสนุนกากมันสาปะหลัง


และซังข้าวโพดมาใช้เป็นวัตถุดิบในงานวิจัยนี รวมถึงเจ้าหน้าที่ในห้องทดลองที่ให้การสนับสนุนทัง
ความสะดวกและการช่วยเหลือต่าง ๆ ในการใช้ห้องและอุปกรณ์การทดลอง

หากผลการศึกษานีมีข้อผิดพลาดประการใด ข้าพเจ้าขออภัยมา ณ ที่นีด้วย

นางสาวนิดารัตน์ เชตุใจ

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 (5)

e . 2 : 1 0 สารบัญ

.U 4t h 2 2 หน้า

7 / T
บทคัดย่อภาษาไทย

2 5 6 (1)

4 4 5 0 7 /
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (2)

. 1 0 /
กิตติกรรมประกาศ (4)

10 มื่อ 2
สารบัญตาราง (6)

เ สารบัญภาพ (7)

รายการสัญลักษณ์และคาย่อ (8)

บทที่ 1 บทนา 1

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
1.3 ขอบเขตการศึกษา 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3

บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4

2.1 ทรายแมว 4
2.1.1 ทรายแมวชนิดไม่จับเป็นก้อน 4
2.1.2 ทรายแมวชนิดจับเป็นก้อน 4
2.1.3 ทรายแมวชนิดย่อยสลายทางชีวภาพได้ 4
2.1.4 ทรายแมวชนิดซิลิก้าเจล 4
2.2 วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร 5
2.1.1 มันสาปะหลัง 5
2.1.2 ข้าวโพด 10
2.1.3 แกลบ 11
2.3 การทาแห้ง 12
2.4 การดูดซึมนา 15
2.5 ถ่านกัมมันต์ 15

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 (6)

e . 2 : 1 0
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 16

.U 4t h
บทที่ 3 วิธีการวิจัย
2 2 19

7 / T 5 6
3.1 แบบสอบถามการใช้ทรายแมวจากผู้ใช้จริง
2
21

4 4 5 0 /
3.2 การทดสอบคุณสมบัติการซึมนา
7
3.3 ความสามารถในการขึนรูป
21
23

. 1 0 / 3.4 ความสามารถในการคงรูป 24

10 มื่อ 2
3.5 การซับกลิ่น 25
3.6 การทาแห้ง 26

เ บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 28

4.1 ปัญหาและลักษณะทรายแมว 28
4.2 การดูดซึมนาของกากมัน กากมันผสมและซังข้าวโพด 29
4.3 การขึนรูปของกากมันและกากมันผสม 31
4.4 การคงรูปของกากมันและกากมันผสม 32
4.5 การทาแห้งของกากมันและกากมันผสม 34
4.6 การดูดซับกลิ่นของกากมันและกากมันผสม 35

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 40

5.1 สรุปผลการศึกษา 37
5.2 ข้อเสนอแนะ 38

รายการอ้างอิง 39

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ผลการทดสอบการซับกลิ่น 43
ภาคผนวก ข แบบสอบถามการใช้ทรายแมวจากเว็บไซด์ออนไลน์ 61

ประวัติผู้เขียน 64

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 (7)

e . 2 : 1 0 สารบัญตาราง

ตารางที่
.U 4t h 2 2 หน้า

7
2.1
/
2.2T 2 5 6
ส่วนประกอบหลักในหัวมันสาปะหลัง
ส่วนประกอบหลักกากมันสาปะหลัง
6
8

4 4 5 2.3
2.4
0 7 /
ส่วนประกอบหลักของซังข้าวโพด
ส่วนประกอบหลักของแกลบ
11
12

. 1 0 /
2.5 คุณลักษณะทางกายภาพและเคมีของถ่านกัมมันต์ชนิดผงและเม็ด 16

10 มื่อ 2 3.1
4.1
ระดับความรู้สึกของกลิ่นที่ใช้
ตารางสรุปปัญหาและลักษณะทรายแมวจากแบบสอบถาม
29
31

เ 4.2
4.3
4.4
การแตกหักของเม็ดกากมันที่ขึนรูปโดยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์
ลักษณะการแตกหักของการทดสอบ Drop Test
ร้อยละการแตกหักของเม็ดกากมันที่ขึนรูปโดยเครื่องอัดเม็ดจากการทดสอบ
35
36
37
Drop Test
4.5 อัตราทาแห้งของกากมันและกากมันผสม 38

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 (8)

e . 2 : 1 0 สารบัญภาพ

ภาพที่
.U 4t h 2 2 หน้า
1.1
2.1
7 / T 2 5 6
ทรายแมวที่มีขายในท้องตลาด
ทรายแมวแต่ละประเภท
2
5

4 4 5
2.2
2.3
0 7 /
ขันตอนการคัดแยกกากมันสาปะหลัง
ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรของไทยปี 2561
7
9

. 1 2.4
0 / ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในอาเซียนระหว่างปี 2558-2561 9

10 มื่อ 2
2.5 กราฟระหว่างอัตราการทาแห้ง (Drying rate) และความชืน (Moisture
content)
10

เ 3.1
3.2
3.3
ผังสรุปการดาเนินงานวิจัย
วัสดุทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ทรายแมวที่นามาใช้ในการศึกษา
การทดสอบคุณสมบัติการซึมนา
20
22
22
3.4 เครื่องอัดเม็ดที่ใช้ 23
3.5 การทดสอบอัตราการแตกหัก โดยใช้ตะแกรงขนาด 4 และ 2.8 มิลลิเมตร 24
3.6 การทดสอบด้วยวิธีการทา Drop Test 25
3.7 ลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาการซับกลิ่น 26
3.8 ตู้อบระบบลมร้อน (Convection dryer) 27
4.1 การเปรียบเทียบความสามารถในการซึมนาของวัสดุต่าง ๆ ที่อุณหภูมิห้อง 30
4.2 ความสามารถในการซึมนาของกากมันผสมที่อัตราส่วนต่าง ๆ ที่อุณหภูมิห้อง 30
4.3 กากมันกับถ่านกัมมันต์ที่ผ่านการอัดเม็ด 31
4.4 ขนาดความยาวเฉลี่ยของเม็ดกากมันที่ผ่านการทดสอบร้อยละการแตกหัก 32
4.5 ความสัมพันธ์ของความชืนกับเวลาของกากมันและกากมันผสม 35
4.6 ความสามารถในการซับกลิ่นของกากมันและกากมันผสมที่อัตราส่วนต่าง ๆ 36

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 (9)

e . 2 : 1 0
รายการสัญลักษณ์และคาย่อ

.U 4t h
สัญลักษณ์/คาย่อ 2 2
คาเต็ม/คาจากัดความ หน่วย

7 / T
CW
2 5 6 กากมันสาปะหลัง -

4 4 5 AC

0 7 / ถ่านกัมมันต์ -

. 1 0 / Ms นาหนักของวัสดุที่ซึมนาได้ กิโลกรัม (kg)

10 มื่อ 2
Md นาหนักของวัสดุแห้ง กิโลกรัม (kg)
MC Moisture content %
Mw นาหนักของวัสดุเปียก กิโลกรัม (kg)
เ A
t
พืนที่ที่ใช้ในการระเหย
ระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบ
ตารางเมตร (m2)
วินาที (s)
d.b Dry basis %
w.b wet basis %

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 1

e . 2 : 1 0 บทที่ 1

.U 4t h 2 2 บทนา

7 / T 2 5 6
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา

4 4 5 0 7 / ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังที่สาคัญที่สุดในเอเชียโดยมีสัดส่วนสูงถึง

. 1 /
ร้อยละ 37 และเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังมากที่สุดในโลก ร้อยละ 50 ของหัวมันสาปะหลัง
0
10 มื่อ 2
ถูกนาไปผลิตเป็นมันเส้นหรือมันอัดเม็ดซึ่งไม่มีผลพลอยได้เกิดขึนในกระบวนการ ส่วนที่เหลื ออีกร้อย
ละ 50 ถูกนาไปผลิตเป็นแป้งมันซึ่งมีเปลือกมันและกากมันเป็นผลพลอยได้ (พิชัย เอี่ยวเล็กและกฤช

เ สมนึก, 2558) เปลือกมันถูกนาไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกเห็ดและทาเป็นอาหารสัตว์ ส่วนกาก


มันดิบซึ่งมีความชืนสูงถึงร้อยละ 70-80 ทาให้นาไปใช้ประโยชน์ได้ยากและมีราคาต่า 3.0-3.2 บาทต่อ
กิโลกรัม (สมาคมโรงงานผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังไทย, 2562) นอกจากนี กากมันยังก่อให้เกิดปัญหา
มลภาวะในโรงงานในกรณีที่การระบายกากมันออกจากโรงงานไม่ทัน เนื่องจากกากมันมีปริมาณแป้ง
ซึ่งเป็นแหล่งอาหารที่ดีของจุลินทรีย์สูง เมื่อกากมันถูกย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อมส่งผลให้
เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนต่อชุมชนรอบข้าง
การเพิ่มมูลค่าของวัสดุทางการเกษตรได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการ
นามาพัฒนาเป็นตัวดูดซึมสารประเภทต่าง ๆ (สุดารัตน์ สมบัติศรี และคณะ, 2558) เช่น ตัวทาละลาย
และโลหะหนัก และการพัฒนาเป็นเชือเพลิงทดแทน (พิชัย เอี่ยวเล็กและกฤช สมนึก, 2558) เช่น ถ่าน
อั ด แท่ ง อย่ า งไรก็ ต ามการเพิ่ ม มู ล ค่ า ของวั ส ดุ ก ารเกษตรดั ง กล่ า วควรค านึ ง ถึ ง ความยุ่ ง ยากของ
กระบวนการ ต้น ทุน ประโยชน์ การนามาใช้ ปริมาณและแหล่ งที่ ม าของวั ส ดุ ตัว ดูดซึมจากวั ส ดุ
การเกษตรได้ รั บ ความนิ ย มสู ง จากผู้ ใ ช้ เนื่ อ งจากปลอดภั ย ราคาถู ก และไม่ เ ป็ น พิ ษ ต่ อ ผู้ ใ ช้ แ ละ
สิ่งแวดล้อม วัสดุชีวภาพที่มีอยู่ในท้องตลาดส่วนใหญ่ถูกนามาใช้ในกระบวนการบาบัดของเสีย แต่
ทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจคือ การพัฒนาเศษวัสดุทางการเกษตรเพื่อนามาใช้เป็นผลิตภัณฑ์ทรายแมว
ทรายแมวเป็นวัสดุที่ถูกนามาใช้ประโยชน์ในการดูดซึมสิ่งปฏิกูลของแมวและกาจัดกลิ่น
ทรายแมวในปัจจุบันทามาจากวัสดุประเภทต่าง ๆ ซึ่งมีข้อดีและข้อด้อยแตกต่างกันดังแสดงในภาพที่
1.1 ทรายแมวที่มีส่วนผสมของแร่แมกนีเซียมออกไซด์ซึ่งมีความสามารถในการดูดซึมนาได้ดี แต่ไม่เกิด
การจับตัวเป็นก้อนเมื่อเปียก ทาให้ไม่เป็นที่นิยมใช้ ทรายแมวที่มีส่วนผสมของเบนโทไนท์ซึ่งจะจับตัว
เป็นก้อนเมื่อเปียก ทรายแมวชนิดซิลิกาเจลมีนาหนักเบา และดับกลิ่นได้นานกว่าชนิดอื่น มีฝุ่นน้อย
มากจนถึงไม่มีแต่ราคาค่อนข้างสูง และทรายแมวชีวภาพซึ่งสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติเป็น
ทรายที่ทาจากพืชชนิดต่าง ๆ เช่น ก้อนขีเลื่อย (Clump sawdust) เศษไม้สน (Pine wood ) ข้าว
บาร์เลย์ (Barley) ซึ่งจะมีนาหนักเบาแต่ติดขนแมวได้ง่าย ซึ่งในเชิงพาณิชย์ได้มีการอัดเม็ดทรายแมว
แต่ละประเภทให้มีความหลากหลายและสะดวกแก่การใช้

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 2

e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 / ภาพที่ 1.1 ทรายแมวที่มีขายในท้องตลาด

. 1 0 /
10 มื่อ 2
อย่ างไรก็ตามในปั จ จุ บันสารดูด ซึม ที่เป็ นวัส ดุท างธรรมชาติ และเป็น ที่นิย มใช้ นั นคื อ
ถ่านกัมมันต์ ซึ่งเป็นถ่านที่ผ่านกระบวนการคาร์บอไนซ์ โดยการเผาและอัดแรงดันที่อุณหภูมิสูงๆ ซึ่ง

เ จะทาให้ถ่านมีความพรุนสูงและดูดซึมสารได้ดี
จากการที่กากมัน ส าปะหลั งมีปริมาณมากและเพียงพอในการนามาผลิ ตเป็นวัส ดุที่มี
ประโยชน์ ดังนันงานวิจัยนีจึงศึกษาการนาเศษวัสดุทางการเกษตรมาประยุกต์ใช้เป็นทรายแมวเทียบ
กับทรายแมวที่ใช้กันในปัจจุบัน โดยการศึกษาค่าการซึมนา การทาแห้งและการซับกลิ่น

1.2 วัตถุประสงค์

ในการศึกษาครังนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนาเศษวัสดุทางการเกษตรมาประยุกต์ใช้
เป็นทรายแมวชนิดย่อยสลายทางชีวภาพได้ (Biodegradable litter) โดยศึกษาความสามารถในการ
ขึ นรู ป การคงรู ป การซึ ม น า (Absorption) การท าแห้ ง (Drying) และการซั บ กลิ่ น (Odor
absorption) เทียบกับทรายแมวที่ใช้ในปัจจุบัน

1.3 ขอบเขตการศึกษา

1.3.1 การหาอัตราส่วนที่เหมาะสมของกากมันสาปะหลังและถ่านกั มมันต์ในการทดสอบ


ทัง 5 คุณสมบัติ อัตราส่วนโดยนาหนักของกากมันสาปะหลังต่อถ่านกัมมันต์ คือ 2:1 4:1 และ 6:1
1.3.2 ศึกษาการซึมนาของกากมันสาปะหลังและทรายแมว 3 ชนิด ได้แก่ ทรายแมวจาก
สน ทรายแมวเบนโทไนท์และทรายแมวซิลิกาเจล
1.3.3 ศึกษาอัตราการแห้งของกากมันสาปะหลังและทรายแมว 3 ชนิด ได้แก่ ทรายแมว
จากสน ทรายแมวเบนโทไนท์และทรายแมวซิลิกาเจล
1.3.4 ศึกษาการอัดเม็ดกากมันสาปะหลัง และกากมันผสมให้เป็นทรายแมวชนิ ดย่ อย
สลายทางชีวภาพได้

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 3

. 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
e : 1 0
.U 4t h 2 2
1.4.1 สามารถใช้ประโยชน์และสามารถเพิ่มมูลค่าของกากมันสาปะหลังซึ่งเป็นเศษวัสดุ

7 / T 2 5 6
อุตสาหกรรมทางเกษตรกรรมได้

5 /
1.4.2 กากมันสาปะหลังสามารถดูดซึมของเสียจากแมวได้ดี

14 4 / 0 7
.
10 มื่อ 2 0

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 4

e . 2 : 1 0 บทที่ 2

.U 4t h 2 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

7 / T 2 5 6
ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาวัสดุดูดซึมของเสียแมวจากกากมันสาปะหลัง ผู้วิจัยได้
รวบรวมวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ไว้ดังนี

4 4 5 7 /
(1) ทรายแมว

0
/
(2) วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

. 1 0 (3) การทาแห้ง

10 มื่อ 2 (4) การดูดซึมนา


(5) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เ 2.1 ทรายแมว

ทรายแมว คือ วัส ดุ ดูดซึม ที่ใช้ร องรั บการขั บถ่ ายและกลบกลิ่ น ปฏิ กูล ของแมว ซึ่ง มี
ประโยชน์ในเรื่องของการควบคุมสุขอนามัยและสามารถจัดเก็บของเสียจากแมวได้ง่ายขึน โดยทราย
แมวในท้องตลาดที่นิยมใช้มีด้วยกัน 4 ประเภท ได้แก่

2.1.1 ทรายแมวชนิดไม่จับเป็นก้อน (Non-clumping conventional litter)


ทรายแมวชนิดนีจะมีแร่ที่มีสารแมกนีเซียมออกไซด์เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งแร่
แมกนีเซียมออกไซด์ (MgO) มีสมบัติดูดซึมนาได้ ซึ่งทรายแมวชนิดนีจะไม่จับตัวเป็นก้อนเมื่อชืนหรือ
เปียกนา จึงจัดเก็บออกยาก เมื่อไม่เก็บนาน ๆ ก็จะส่งกลิ่น
2.1.2 ทรายแมวชนิดจับเป็นก้อน (Clumping litter)
ทรายแมวชนิดจับเป็นก้อนนันจะมีสารเบนโทไนท์ (Bentonite) เป็นองค์ประกอบ
หลัก ซึ่งสารเบนโทไนท์เมื่อสัมผัสความชืนหรือนา จะจับตัวเป็นก้อนแข็ง ทาให้สามารถแยกเฉพาะ
ส่วนที่เป็นก้อนออกมาได้ง่าย
2.1.3 ทรายแมวชนิดย่อยสลายทางชีวภาพได้ (Biodegradable litter)
ทรายแมวทีใ่ ช้ส่วนประกอบจากธรรมชาติในการผลิต เช่น เศษไม้สน (Pinewood
pellet) ข้าวบาร์เลย์ (Barley) เศษขีเลื่อย (Clump sawdust) เต้าหู้ (Tofu) เป็นต้น แต่ทรายแมว
ชนิดนีจะมีราคาค่อนข้างสูงกว่าทรายแมวชนิด อื่น ๆ และลักษณะของทรายแมวบางชนิดที่ทาจาก
เปลือกไม้หรือเศษขีเลื่อยจะมีนาหนักเบามาก เมื่อใช้สาหรับเลียงแมวขนยาว อาจจะติดพันขนของ
แมวจนเลอะเทอะออกจากกระบะทรายได้
2.1.4 ทรายแมวชนิดซิลิก้าเจล (Siliga gel litter)
ทรายแมวชนิ ดซิลิ ก้าเจล หรือมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า คริส ตัล ลิ ทเทอร์ (crystal
litter) เป็นวัสดุประเภทโซเดียมซิลิเกต (sodium silicate) มีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ สามารถเก็บกลิ่น
ได้นานและทรายชนิดนีนาหนักเบาจึงอาจจะติดขนแมวออกมาได้เช่นกันเหมือนกับทรายแมวชนิดย่ อย
สลายทางชีวภาพ

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 5

e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 / (ก) (ข) (ค) (ง)

. 1 0 / ภาพที่ 2.1 ทรายแมวแต่ละประเภท

10 มื่อ 2
(ก) ทรายแมวชนิดไม่จับเป็นก้อน
(ข) ทรายแมวชนิดจับเป็นก้อน

เ (ค) ทรายแมวชนิดย่อยสลายทางชีวภาพได้
(ง) ทรายแมวชนิดซิลิก้าเจล

2.2 วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

2.2.1 มันสาปะหลัง
มัน ส าปะหลั งเป็นพืช เศรษฐกิจที่มี ความส าคัญชนิดหนึ่ง ของไทย เป็นพืช ที่ท า
รายได้ให้เกษตรกรไทยรองจาก ยางพารา ข้าวและอ้อย ถึงแม้ประเทศไทยจะไม่ใช่ประเทศที่ผลิตมัน
สาปะหลังได้มากที่สุดในโลก แต่เนื่องจากมีปริมาณการใช้ในประเทศน้อย จึงส่งผลให้มีการส่งออกไป
ขายต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่
1. ข้อมูลทั่วไปของมันสาปะหลัง
มันสาปะหลัง มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Manihot esculenta (L.) Crantz หรือ
ชื่อสามัญตามท้องถิ่นต่าง ๆ คือ Cassava, Tapioca, Yuca, Mandioa จัดเป็นพืชหัวที่มีความสาคัญ
ทางเศรษฐกิจทังต่อประเทศไทยและโลก มันสาปะหลังมีถิ่นกาเนิดจากทางตอนเหนือของประเทศ
อาร์เจนตินา ถึงทางตอนใต้ของประเทศสหรัฐอเมริกาและมีการแพร่กระจายไปสู่ทวีปแอฟริกาใต้ และ
เอเชีย (ยุวดี มาทอง, 2559) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของมันสาปะหลัง เป็นไม้พุ่มยืนต้น ลักษณะลา
ต้นสูงแตกต่างกัน ตามสายพันธุ์และสภาวะแวดล้ อม โดยอาจสูงถึง 1-5 เมตร ลักษณะของใบมัน
สาปะหลังเป็นแบบใบเดี่ยว (Single leaf) สีของใบแตกต่างกันตามพันธุ์เช่นเดียวกับสีของลาต้น ระบบ
รากของมันสาปะหลังสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ รากจริง (True or wiry root) และรากสะสม
(Modified or storages roots) รากสะสมนีจะเจริญกลายเป็นหัวมันสาปะหลัง โดยทั่วไปในต้นมัน
สาปะหลังต้นหนึ่งจะมีรากสะสมอาหารหรือหัวอยู่ประมาณ 5-20 หัวต่อต้น โดยองค์ประกอบทางเคมี
ในหัวมันสาปะหลังสดดังแสดงในตารางที่ 2.1 ซึ่งมันสาปะหลังเป็นพืชที่เก็บสะสมอาหารไว้ในราก เมื่อ
พืชมีการสร้างอาหารจากใบและส่วนที่เป็นสีเขียวแล้ว จะสะสมไว้ในรูปของคาร์โบไฮเดรตหรือแป้งไว้
ในราก องค์ประกอบส่วนใหญ่ในรากนันนอกจากนาแล้วก็มีแป้ง ซึ่งมีถึงร้อยละ 70-80 เปอร์เซ็นต์ เมื่อ
หัวมันสาปะหลังถูกนาเข้าสู่กระบวนการเพื่อเปลี่ยนให้เป็นแป้งมันสาปะหลังดิบจะได้ส่วนที่เป็นกาก
เหลือออกมา (ปริฉัตร พฤกษะวัน, 2553)

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 6

ตารางที่ 2.1
e . 2 : 1 0
.U 4 h 2 2
ส่วนประกอบหลักในหัวมันสาปะหลังสด
t
องค์ประกอบในหัวมันสาปะหลัง ปริมาณ (ต่อ 100 กรัมน้าหนักหัวมัน)
นา

7 / T 2 5
เนือ (ปริมาณแป้ง) 6 60.21 – 75.32
25.87 – 41.88

4 4 5
เปลือก

0 7 /
ไซยาไนด์ (ppm)
4.08 – 14.08
2.85 – 39.27

. 1 0 / องค์ประกอบในหัวมันสาปะหลัง ปริมาณ (ต่อ 100 กรัมน้าหนักแห้งเนื้อมัน)

10 มื่อ 2
แป้ง (Strach)
คาร์ โ บไฮเดรตที่ ไ ม่ ใ ช่ แ ป้ ง (Carbohydrate
71.90 – 85.00
3.59 – 8.66

เ without starch)
เส้นใย (Cellulose)
โปรตีน (Protein)
1.77 – 3.95
1.57 – 5.78
เถ้า (Ash) 1.20 – 2.80
ไขมัน (Fats) 0.06 – 0.43
หมายเหตุ.จาก ปริฉัตร พฤกษะวัน. (2553). การผลิตกรดแอล (+) แลกติกจากกากมันสาปะหลังโดย
เชือรา Rhizopus oryzae. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

2. กากมันสาปะหลัง
กากมันสาปะหลัง ซึ่งเป็นของเหลือทิงจากกระบวนการผลิตแป้งมันสาปะหลังดัง
ภาพที่ 2.2 ลักษณะโดยทั่วไป คือ มีความละเอียด สีขาวครีม และมีความชืนสูงประมาณร้อยละ 75
ปริมาณกากมีประมาณร้อยละ 10-15 ของนาหนักหัวมันเริ่มต้น ซึ่งมีลักษณะที่ละเอียด สีขาวและมี
ความชื นสู ง ประมาณร้ อ ยละ 75 จากตารางที่ 2.2 ในกากมั น ส าปะหลั ง ยั ง คงมี ป ริ ม าณของ
คาร์โบไฮเดรตอยู่ร้อยละ 55-56 ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลัก โดยมีแป้งอยู่ ประมาณร้อยละ 50-60 ของ
นาหนักแห้ง ซึ่งแป้งในส่วนนีจะอยู่ในลิกโนเซลลูโลส และมีเส้ นใยอยู่ร้อยละ 10-15 นอกจากนียังมี
โปรตีน ไขมันและแร่ธาตุ (นันทพร ตรีภพนาถ, 2554) ด้วยเหตุนีจึงสามารถนากากมันสาปะหลังมาใช้
ประโยชน์ในด้านอื่นๆ ได้ เช่น วัสดุ ดูดซึมของเสี ยจากแมว การผลิตอาหารสั ตว์ วัสดุ ดูดซึม นาใน
กระถางต้นไม้ เป็นต้น

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 7

e . 2 : 1 0 Cassava root

.U 4t h 2 2
T 6
Soaking Drying Peeling

5 7 / / 2 5
14 4 / 0 7 Peeling Soaking

.
10 มื่อ 2 0 Washing

เ Slicing/Mashing

Drying

Grinding

Drying

Sieving

Cassava root meal

ภาพที่ 2.2 ขันตอนการคัดแยกกากมันสาปะหลัง จาก พิพัฒน์ เหลืองลาวัณย์และ วิศิษฐิพร สุขสมบัติ.


กากมันสาปะหลังกับการใช้ประโยชน์ในอาหารโคนม. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2562, จาก
http://sutir.sut.ac.th:8080/jspui/bitstream/123456789/2085/1/BIB1286_F.pdf

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 8

ตารางที่ 2.2
e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
ส่วนประกอบหลักกากมันสาปะหลัง
องค์ประกอบในกากมันสาปะหลัง ปริมาณโดยน้าหนักแห้ง %

7 / T 2 5 6
คาร์โบไฮเดรต
เซลลูโลส
55.46
10.98

4 4 5 0 7 /
โปรตีน
เถ้า
1.57
2.09

. 1 0 / ไขมัน 0.15

10 มื่อ 2 อื่นๆ -
หมายเหตุ.จาก กล้าณรงค์ ศรีรอด, เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. (2550). เทคโนโลยีของแป้ง. กรุงเทพฯ:

เ สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

3. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจของมันสาปะหลัง
จากรายงานขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) พ.ศ. 2559
ทั่วโลกผลิตมันสาปะหลังได้ 281.89 ล้านตัน และประเทศไทยผลิตได้มากที่สุดเป็นอันดับสองรองจาก
ประเทศอินโดนีเซีย จากภาพที่ 2.3 และ 2.4 ในปริมาณผลผลิตภาคการเกษตรเพื่ออุตสาหกรรมใน
ประเทศไทยจะเห็นว่าปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังจะมีปริมาณมากสุด รองลงมาได้แก่ ข้าวโพดและ
ปาล์มนามัน ซึ่งมันสาปะหลัง เป็นพืชไร่ที่ปลูกง่าย ต้องการนาน้อย สามารถทนความแห้งแล้งได้ดี โดย
ในปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีเนือที่เพาะปลูกมันสาปะหลัง 8.92 ล้านไร่ และได้ผลผลิตถึง 30.5 ล้าน
ตั น (ส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร, 2562) และนั บ เป็ น ประเทศที่ มี ก ารส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น
สาปะหลังในรูปของมันเส้นและมันอัดเม็ดเป็นอันดับหนึ่งไปยังประชาคมยุโรป (มากกว่า 60%) ส่วนที่
เหลือส่งออกในรูปแป้งมันสาปะหลังไปยังประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาไต้หวัน จีน และเกาหลีใต้ รวม
มูลค่าของการส่งออกทังหมดมากกว่า 80,000 ล้านบาทต่อปี

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 9

e . 2 : 1 0 ผลผลิต (ตัน)

.U 4t h 2 2 2,364,070

7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 / 15,534,984 มันสาปะหลัง

/
29,368,185 ข้าวโพด

. 1 0
10 มื่อ 2
4,820,962 ปาล์มนามัน
สับปะรด


ภาพที่ 2.3 ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรของไทยปี 2561 จาก สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร.
ข้อมูลการผลิตสินค้าเกษตร. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2562, จาก http://oae.go.th

ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในอาเซียน
อื่นๆ
ฟิลิปปินต์
กัมพูชา
จีน 2561
อินเดีย 2560
เวียดนาม 2559
อินโดนีเซีย 2558
ไทย
0 5000 10000 15000 20000 25000 30000 35000
ตัน
ภาพที่ 2.4 ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในอาเซียนระหว่างปี 2558-2561 จาก Food and
Agriculture Organization of the United Nations. Food Outlook (Biannual report on
global food markets). สืบค้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2562, จาก http://fao.org.

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 10

. 2
2.2.2 ข้าวโพด
e : 1 0
.U 4t h 2 2
ข้ า วโพดเป็ น ธั ญ พื ช เศรษฐกิ จ ที่ ส าคั ญ ที่ ใ ช้ เ ป็ น อาหารของมนุ ษ ย์ แ ละสั ต ว์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวโพดเลี ยงสั ตว์เป็นวัตถุดิบหลั กในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสั ตว์ ความ

7 T 5 6
ต้องการใช้ข้าวโพดเลียงสัตว์ทังตลาดในประเทศ และตลาดต่างประเทศมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึนอย่าง

/
ต่อเนื่อง ซึ่งข้าวโพดที่ปลูกในประเทศไทยจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ ข้าวโพดฝักสด และ
2
4 4 5 0 /
ข้าวโพดเลียงสัตว์ โดยข้าวโพดฝักสดปลูกเพื่อใช้สาหรับบริโภคและส่งออก ส่วนข้าวโพดเลียงสัตว์เป็น
7
พืชที่มีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ เนื่องจากใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ ซึ่ง

. 1 0 /
จังหวัดที่เป็นแหล่งปลูกข้าวโพดที่สาคัญของประเทศไทย ได้ แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ นครราชสีมา เลย

10 มื่อ 2
ลพบุรี และนครสวรรค์ (โชคชัย และเกตุอร, 2561)

เ 1. ข้อมูลทั่วไปของข้าวโพด
ข้าวโพด (Corn) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Zea mays Linn. เป็นพืชตระกูลหญ้า
มีอายุสันเพียงฤดูเดียว เจริญเติบโตได้ง่ายๆ ผลเป็นฝัก มีลักษณะทรงกระบอก หุ้มด้วยกาบบาง ๆ
หลายชันรอบฝัก ฝักอ่อนมีสีเขียว ฝักแก่กาบจะแห้ง มีสีนาตาล ข้างในมีเส้นคล้ายเส้นไหมยาว หุ้ม
เมล็ดอยู่ประปราย และมีเมล็ดเรียงอยู่สม่าเสมอ เมล็ดมีลักษณะทรงกลมแบนเล็ก ๆ มีเยื่อหุ้มเมล็ดผิว
เรียบบางใส เมล็ดมีสีนวล สีเหลือง สีขาว หรือสีม่วงดา ตามสายพันธุ์ มีรสชาติหวานมัน เมล็ดอ่อนมี
เนือนุ่มฉ่านา เมล็ดแก่จะแข็งมาก ลาต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่า นศูนย์กลางของลาต้น
0.5 - 2.0 นิว เมล็ดจากฝักใช้เป็นอาหารคนและสัตว์ มีถิ่นกาเนิดอยู่ในทวีปอเมริกา มีปลูกกันในหลาย
ประเทศทั่วโลก
2. ชนิดของข้าวโพด
โดยทั่วไปข้าวโพดจัดออกเป็น 5 กลุ่ม คือ
- ข้าวโพดเลียงสัตว์หรือข้าวโพดไร่ (Field Corn) ประเทศไทยนิยมปลูกข้าวโพด
เลียงสัตว์แบบที่มีสีเหลืองเข้ม มีการปลูกข้าวโพดเลียงสัตว์เกือบตลอดทังปี กระจายในพืนที่ภาคกลาง
ตอนกลางของประเทศ ภาคอีสานตอนบน และภาคเหนือ ข้าวโพดชนิดนีเมื่อเมล็ดแห้งแล้วตรงส่วนหัว
บนสุดจะมีรอยบุ๋มลงไป ซึ่งเป็นส่วนของแป้งสีขาว ข้าวโพดชนิดนีมีหลายสายพันธุ์ซึ่งมีโปรตีนน้อยกว่า
พวกข้าวโพดหัวแข็ง ข้าวโพดพันธุ์นีส่วนบนสุดของเมล็ดมักมีสี เหลื องจัดและเมื่อแห้งจะแข็ง มาก
ภายในเมล็ดมีสารที่ ทาให้ข้าวโพดมีสีเหลืองจัดเป็นสารให้สีที่ชื่อ คริปโทแซนทิน (Cryptoxanthin)
สารนีเมื่อสัตว์ได้รับร่างกายสัตว์จะเปลี่ยนสารนีให้เป็นวิตามินเอ นอกจากนีสารนียังช่วยให้ไข่แดงมีสี
แดงเข้ม ช่วยให้ไก่มีผิวหนัง ปาก เนือ และแข้งมีสีเหลืองเข้มขึน (โชคชัย และเกตุอร, 2561)
- ข้าวโพดหวาน (Sweet Corn) เป็นข้าวโพดที่คนใช้รับประทาน ไม่มีการแปรรูป
เมล็ดมักจะใสและเหี่ยวเมื่อแก่เต็มที่ เพราะมีนาตาลมาก ก่อนที่จะสุกจะมีรสหวานมากกว่าชนิดอื่น ๆ
- ข้าวโพดแป้ง (Flour Corn) เมล็ดมีสีหลายชนิด เช่น ขาว (ขุ่น ๆ หรือปนเหลือง
นิด ๆ) หรือสีนาเงินคลา หรือมีทังสีขาวและสีนาเงินคลาในฝักเดียวกัน เนื่องจากกลายพันธุ์ พวกที่มี
เมล็ดสีคลาและพวกกลายพันธุ์เรียกว่าข้าวโพดอินเดียนแดง (Squaw Corn) หรือเรียกได้อีกชื่อว่า
ข้าวโพดพันธุ์พืนเมือง (Native Corn) พวกข้าวโพดสีคลานีจะมีไนอาซิน สูงกว่าข้าวโพดที่มีแป้งสีขาว

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 11

e . 2 : 1 0
- ข้าวโพดเทีย น (Waxy Corn) เป็นข้าวโพดที่คนใช้รับประทาน จะมีแป้งที่มี

.U 4t h 2 2
ลั ก ษณะเฉพาะคื อ นุ่ ม เหนี ย ว เพราะในเนื อแป้ ง จะประกอบด้ ว ยแป้ ง พวกอะไมโลเพกทิ น
(Amylopectin) ส่ ว นข้ า วโพดอื่ น ๆ มี แ ป้ ง แอมิ โ ลส (Amylose) ประกอบอยู่ ด้ ว ย จึ ง ท าให้ แ ป้ ง

7 T
ค่อนข้างแข็ง

/ 2 5 6 - ข้าวโพดคั่ว (Pop Corn) เป็นข้าวโพดที่ใช้รับประทานโดยไม่มีการแปรรูป เมล็ด

4 4 5 0 /
ค่อนข้างแข็ง มีสีและขนาดแตกต่างกัน หากเมล็ดมีลักษณะแหลมเรียกว่า ข้าวโพดข้าว (Rice Corn)
7
ถ้าเมล็ดกลม เรียกว่า ข้าวโพดไข่มุก (Pearl Corn)

. 1 0 / 3. ซังข้าวโพด

10 มื่อ 2
ซังข้าวโพดคือส่วนหนึ่งของข้าวโพดที่เหลือจากการสีเมล็ดข้าวโพดออกไป ซึ่งเป็น
วัสดุเหลือทิงทางการเกษตรซึ่งประเทศไทยมีปริมาณการเพาะปลูกข้าวโพด 4,611,000 ตันต่อปี และ

เ ได้ซังข้าวโพดประมาณ 1,732,846 ตันต่อปี (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , 2555) โดยส่วน


ใหญ่เกษตรกรจะไม่ได้ใช้ประโยชน์จากซังข้าวโพด บางรายทิงให้ย่อยสลายไปเอง หรือในบางรายก็
นามาเผาทิงเพือ่ เตรียมพืนที่ปลูกในฤดูกาลถัดไป ส่วนประกอบหลักของซังข้าวโพดดังตารางที่ 2.3
ตารางที่ 2.3
ส่วนประกอบหลักของซังข้าวโพด
องค์ประกอบในซังข้าวโพด น้าหนัก (Wt%)
คาร์บอน 49.32
ไฮโดรเจน 5.35
ไนโตรเจน 0.63
ออกซิเจน 44.70
หมายเหตุ. จาก İlknur Demira. (2011). Bio-oil production from pyrolysis of corncob (Zea
mays L.). Journal of Cell Science, 36, p. 43-49

2.2.3 แกลบ
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการปลู กข้าวมากเป็นอันดับ 6 ของโลกทังยั งเป็น
ประเทศที่ มี ก ารส่ ง ออกข้ า วออกที่ สุ ด เป็ น อั น ดั บ ต้ น ๆ ของโลก (สมพร อิ ศ วิ ล านนท์ , 2557) ใน
กระบวนการผลิตข้าวเมื่อได้ข้าวเปลือกมาจะต้องทาการสีข้าวเพื่อนาเปลือกด้านนอกออกให้ เหลื อ
เฉพาะเมล็ดข้าวสาร โดยสิ่งที่เหลือทิงจากการสีข้าวก็คือแกลบข้าว (Rise husk) แกลบมีรูปร่างเล็ก
ยาวไม่ เ กิ น 5 มิ ล ลิ เ มตรและหนาไม่ เ กิ น 2 มิ ล ลิ เ มตร สี เ หลื อ งมี ค วามชื นไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 15 ซึ่ ง
ส่วนประกอบหลักของแกลบแสดงตารางที่ 2.4 อย่างไรก็ตามแกลบมีจานวนมากในประเทศไทย ใน
อดีตแกลบกลับไม่ได้มีการนามาใช้ประโยชน์นอกเหนือ จากการทาลายโดยการเผาหรือปล่อยให้ ย่อย
สลายไปเองตามธรรมชาติ แต่สาหรับปัจจุบันแกลบถูกนามาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น นาไปเป็น
เชือเพลิงชีวมวลที่สาคัญชนิดหนึ่งในการผลิตไฟฟ้าจากการเผา ใช้เป็นเชือเพลิงสาหรับผลิตอิฐดินเผา
ใช้เป็นวัสดุสาหรับปลูกพืชหรือคลุมดิน ใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุอิฐบล็อกในการก่อสร้าง เป็นต้น

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 12

ตารางที่ 2.4
e . 2 : 1 0
.U 4 h
ส่วนประกอบหลักของแกลบ
t 2 2
องค์ประกอบของแกลบ น้าหนัก (Wt%)

7 / T 2 5 6
Cellulose
Lignin
43.30
22.00

4 4 5 0 7 / D-Xylose
L - Arabinose
17.52
6.53

. 1 0 / Methyl glucoronic acid 6.53

10 มื่อ 2 D - galactose 2.37


หมายเหตุ. จาก İlknur Demira. (2011). Bio-oil production from pyrolysis of corncob (Zea

เ mays L.). Journal of Biomass and Bioenergy, 36, p. 43-49

2.3 การทาแห้ง (Drying)

การทาแห้ ง (Drying) คือ การดึงความชืนซึ่ ง ก็คื อ ปริ ม าณน าออกจากเนื อวั ส ดุ โ ดยมี
จุดประสงค์เพื่อความเหมาะสมต่อการเก็บรักษา สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานโดยไม่เสียหายเนื่องจาก
การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และประหยัดเนือที่ เนื่องจากการทาแห้งทาให้มีปริมาตรและนาหนักที่
ลดลง ระหว่างการทาแห้ งมีกระบวนการถ่ายเทเกิดขึนคือ การถ่ายเทความร้อนจากสิ่ งแวดล้ อม
ภายนอกไปยังผิวหน้าของวัสดุและการถ่ายเทมวลจากข้างในไปยังผิวของวัสดุ เนื่องมาจากการถ่ายเท
ความชืนสู่สิ่งแวดล้อม (เทวรัตน์ ตรีอานรรค, 2556) แบ่งเป็น การพาความร้อนและการนาความร้อน
ในการทาแห้งวัสดุโดยทั่วไปจะใช้อากาศร้อนเป็นตัวกลางในการทาแห้งโดยที่การถ่ายเทความร้อน
จากอากาศไปยังวัสดุจะเกิดขึนพร้อม ๆ กันความร้อนส่วนใหญ่จะถูกไปใช้ในการระเหยนา ออกจากผิว
วัสดุถ้าผิววัสดุมีปริมาณนาอยู่เป็นจานวนมากอุณหภูมิและความเข้มข้นของไอนาที่ผิวก็จะคงที่ ซึ่ง
ส่งผลให้อัตราการอบแห้งคงที่ถ้าอุณหภูมิความชืนและความเร็วของอากาศมีค่าคงที่ เมื่อผิวของวัสดุมี
ปริมาณนาลดลงมากแล้วอุณหภูมิและความเข้มข้นของไอนาที่ผิวของวัสดุย่อมเปลี่ยนแปลงไปโดยที่
อุณหภูมิจะสูงขึนและความเข้มข้นไอนาจะลดลงซึ่งส่งผลให้อัตราการอบแห้งลดลง ซึ่งอัตราการอบ
เป็นตัวแปรอีกตัวหนึ่งที่สามารถบอกให้เราทราบถึงระยะเวลาที่ใช้ในการอบแห้ง ซึ่งเป็นค่าที่แสดงถึง
ค่าความชืนที่ระเหยออกไปได้ต่อหน่วยเวลา หน่วยอาจเป็นปอนด์นาต่อชั่วโมง หรือกิโลกรัมนาต่อ
ชั่วโมง (วิเชียร ดวงสีเสน, 2555) ภาพที่ 2.5 แสดงการเปลี่ยนแปลงความชืนและอัตราการอบแห้ง
เทียบกับเวลาภายใต้อุณหภูมิความชืนและความเร็วของอากาศคงที่ความชืนที่อยู่ระหว่างช่วงอัตรา
การอบแห้งคงที่และช่วงอัตราการอบแห้งลดลง จากกราฟจะเห็นอัตราการทาแห้ง (Drying rate) และ
ความชืน (Moisture content) แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 13

e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 /
. 1 0 /
10 มื่อ 2

ภาพที่ 2.5 กราฟระหว่างอัตราการทาแห้ง (drying rate) และความชืน (moisture content) จาก
Food Network Solution. Drying rate. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2562, จาก
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0663/drying.

- ช่วงการปรับสภาวะเบืองต้น (Initial adjustment period -AB ) เป็นช่วงเริ่มต้นที่


วัสดุที่ใช้ในการอบแห้ง มีความชืนเริ่มต้น (A) ยังสูงอยู่ ผิวของวัสดุจะมีลักษณะเปียกชืนมาก เกิดการ
ถ่ายเทความร้อนระหว่างตัวกลางลมร้อนกับวัสดุ ทาให้อุณหภูมิพืนผิววัสดุ มีค่าใกล้เคียงกับอุณหภูมิ
กระเปาะเปียก (Wet bulb temperature) ของกระแสลมร้อนที่ใช้เป็นตัวกลาง อัตราการทาแห้ง
ค่อยๆ เพิ่มขึน จนถึงช่วงอัตราทาแห้งคงที่ (Constant rate)
- ช่ ว งอั ต ราการแห้ ง คงที่ (Constant rate period-BC) เป็ น ช่ ว งที่ น าภายในวั ส ดุ
เคลื่อนที่มาที่ผิวหน้า พลังงานความร้อนที่วัสดุได้รับจะใช้ในการระเหยนาออกจากของวัสดุ อย่ าง
ต่อเนื่อง ความชืนเฉลี่ยของวัสดุจะลดลงเป็นสัดส่วนกับเวลาในการอบแห้ง จุดสุดท้ายของช่วงการ
อบแห้ งความเร็ ว คงที่ อัตราเร็ ว ในการอบแห้ งจะเริ่มลดลง ความชืนของวัส ดุ ณ เวลานี เรียกว่า
ความชืนวิกฤต (Critical moisture content)
- ช่วงอัตราการอบแห้งลดลง (Falling rate period CD และ DE) เป็นช่วงที่ความชืน
ในวัสดุเหลือน้อยจนแพร่ไปยังผิวหน้าของวัสดุอย่างไม่ต่อเนื่อง ผิวหน้าของวัสดุเริ่มแห้ง ทาให้อุณหภูมิ
ที่ผิวของวัสดุสูงขึนเรื่อย ๆ อัตราการอบแห้ง ลดลงความชืนจะลดลงเรื่อย ๆ จนถึงค่าความชืนสมดุล
(Equilibrium moisture content, XE) ซึ่งเป็นความชืนที่ต่าสุด ภายใต้สภาวะที่ใช้อยู่ในขณะนัน ที่
ความชืนนี อัตราการทาแห้งเป็นศูนย์ นาในวัสดุไม่สามารถระเหยออกมาได้อีก
อัตราการทาแห้งโดยทั่วไป ที่ใช้ลมร้อนเป็นตัวกลางในการส่งผ่านความร้อนจะเกิดขึ นช้า
หรือเร็วนันมีปัจจัยที่สาคัญซึ่งมีผลต่ออัตราการอบแห้ง คือ (วิเชียร ดวงสีเสน, 2555)
2.3.1 ลักษณะทางธรรมชาติของวัสดุ เป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด ถ้าสภาพทางธรรมชาติของ
วัสดุเอืออานวยต่อการส่ งผ่านความร้อนไปยังโมเลกุลของนาภายในเนือวัสดุและเอืออานวยต่อการ
เคลื่อนที่ของไอนาออกจากวัสดุ เช่น วัสดุที่มีโครงสร้างเป็นรูพรุน โมเลกุลของนาในเนือวัสดุสามารถ
เคลื่อนที่ออกมาได้ง่ายทาให้อัตราการอบแห้งเร็วขึน

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 14

. 2 : 1 0
2.3.2 ความชืนของอากาศร้อน หากความชืนของอากาศร้อนมีค่ามากจะมีผลให้ ก าร
e
.U 4t h 2 2
เคลื่อนที่ของน าและการระเหยของไอนาออกจากเนือวัสดุได้ยาก ความชืนจะขึ นอยู่กับอัตราการ
อบแห้งที่เวลาใด ๆ หากลมร้อนมีความชืนสูงจะทาให้ความสามารถในการดึงนาในวัสดุต่อหนึ่งหน่วย

7 T 2 5 6
ปริมาตรของลมร้อนลดลง นั่นคืออัตราการอบแห้งจะลดลง (Hield and Josly, 1967)
/ 2.3.3 นาหนักของวัสดุต่อหน่วยพืนที่ ในช่วงอัตราการอบแห้งคงที่อัตราการอบแห้งจะ

4 4 5 7 /
ขึนอยู่กับลักษณะของพืนผิววัสดุ โดยความหนาของวัสดุไม่มีอิทธิ พลต่ออัตราการอบแห้งในช่วงนี เมื่อ

0
. 1 /
ถึงช่วงอัตราการอบแห้งลดลงการแพร่ของนาจากภายในสู่พืนผิวของวัสดุซึ่งเกิดการระเหยจะเป็นตัว

0
10 มื่อ 2
ควบคุมอัตราการอบแห้ ง คานวณอัตราการอบแห้ ง แสดงในสมการที่ (2.1) (Khani Moghanaki,
khoshandam, M.H. Mirhaj, 2013)

เ Drying rate 
 M d  dMC 

A  dT 
  100 (2.1)

เมื่อ MC คือ ปริมาณความชืน (Moisture content)


Md คือ นาหนักของวัสดุแห้ง; กิโลกรัม
A คือ พืนที่ที่ใช้ในการระเหย; ตารางเมตร
T คือ ระยะเวลาที่ใช้; วินาที

2.3.4 ความชืนในวัสดุ เป็นตัวบอกปริมาณของนาที่มีอยู่ในวัสดุเมื่อเทียบกับมวลของวัสดุ


ชืนหรือแห้ง
- ความชืนมาตรฐานเปียก หมายถึง การเทียบปริมาณความชืนกับนาหนักรวมของ
ของแข็ง
(w  d )
Mw  100 (2.2)
w

เมื่อ Mw คือ ความชืนมาตรฐานเปียก % (wet basic; w.b)


w คือ นาหนักของวัสดุเปียก; กิโลกรัม
d คือ นาหนักของวัสดุแห้ง; กิโลกรัม

- ความชืนมาตรฐานแห้ง หมายถึง การเทียบปริมาณความชืนกับของแข็งเท่านัน


(w  d )
Md   100 (2.3)
d

เมื่อ Md คือ ความชืนมาตรฐานแห้ง % (dry basic; d.b)


w คือ นาหนักของวัสดุเปียก; กิโลกรัม
d คือ นาหนักของวัสดุแห้ง; กิโลกรัม

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 15

. 2 : 1 0
2.4 การดูดซึมน้า (Water Absorption)
e
.U 4t h 2 2
การดูดซึมนา คือ ปริมาณนาที่ถูกดูดซึมเข้าไปจนเต็มช่องว่างที่นาซึมผ่านได้ (Capillary

7 T 5 6
pores) ของมวลรวม แสดงค่าเป็นเปอร์เซ็นต์ของนาหนักนาที่อยู่ในช่องว่างต่อนาหนักของมวลรวมที่

/
สภาพอบแห้ง (กฤติยา วงค์เลน, 2555) ความสามารถในการซึม นาของวัสดุคานวณได้จากสมการที่
2
4 4 5
(2.4)

0 7 /
. 1 0 / (M s  M d )
(2.4)

10 มื่อ 2
Absorption (%)   100
Ms

เ เมื่อ Ms คือ นาหนักของวัสดุที่ซึมนาได้; กิโลกรัม


Md คือ นาหนักของวัสดุแห้ง; กิโลกรัม

2.5 ถ่านกัมมันต์

ถ่านกัมมันต์เป็นตัวดูดซึมที่สามารถผลิตได้จากการนาวัสดุทางธรรมชาติหรืออินทรีย์วัตถุ
มาผ่านกระบวนการเผาไหม้จนได้ผลิตภัณฑ์สีดาในรูปคาร์บอนอสัณฐาน (Amorphous Carbon) ซึ่ง
ประกอบด้วย คาร์บอน ร้อยละ 80-90 และธาตุอื่น ๆ เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน กามะถัน ไนโตรเจน
เป็นส่วนประกอบหลัก โครงสร้างของถ่านกัมมันต์จะมีลักษณะรูพรุนจานวนมากและมีพืนที่ผิ ว สู ง
ปริมาตรรูพรุน (Pore volume) มีค่าประมาณ 0.20 ถึงมากกว่า 1.00 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัม
และพืนที่ผิว (Surface area) ประมาณ 600 ถึงมากกว่า 2,400 ตารางเมตรต่อกรัม ซึ่งขึนอยู่กับชนิด
ของวัสดุ โดยถ่านกัมมันต์สามารถจาแนกได้เป็นชนิดผง (Powder) และชนิดเกร็ด (Granular) โดย
ชนิดผงละเอียด สามารถกระจายตัวในนาได้ดี แต่ไม่สามารถนากลับมาใช้ซาได้ ต่างจากชนิดเกร็ดที่จะ
สามารถนากลับมาใช้ซาได้อีก คุณลักษณะทางกายภาพและเคมีของถ่านกัมมันต์ชนิดผงและเกร็ด
แสดงดังตารางที่ 2.5 จากคุณสมบัติดังกล่าวเห็นได้ว่าถ่านกัมมันต์มีความสามารถในการดูดซึมสูงในทัง
ของเหลวและแก๊สที่มสี ารไฮโดรคาร์บอนประกอบ (ธีรดิตถ์ โพธิตันติมงคล, 2560)

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 16

ตารางที่ 2.5
e . 2 : 1 0
.U 4 h
คุณลักษณะ 2 2
คุณลักษณะทางกายภาพและเคมีของถ่านกัมมันต์ชนิดผงและเม็ด
t เกณฑ์มาตรฐานกาหนด

7 / T
ค่าไอโอดีน
2 5 6 ชนิดผง
≥ 600
ชนิดเกล็ด
≥ 600

4 4 5 0 /
ความหนาแน่นปรากฏ
7
(ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัม)
0.20 ถึง 0.75 ≥ 0.20

. 1 0 /
ความชืน (ร้อยละ) - ≤ 8.0

10 มื่อ 2
ความแข็ง (ร้อยละ) - ≥ 70.0
หมายเหตุ.จาก ธีรดิตถ์ โพธิตันติมงคลและ ปิยธิดา อุระชื่น. (2556). ถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือใช้ทาง

เ การเกษตรโดยการกระตุ้นทางเคมี เพื่อการประยุกต์ใช้กาจัดสารมลพิษในนา.วารสารหน่วยวิจัย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 8(1), 196-214

ถ่านกัมมันต์ที่ผลิตในประเทศไทย ส่วนใหญ่มาจากวัสดุชีวมวล หรือ มาจากวัสดุเหลือทิง


ทางการเกษตร เช่น กะลามะพร้าว กะลาปาล์มนามัน ซังข้าวโพด แกลบ ขีเลื่อย เป็นต้น ซึ่งคุณสมบัติ
หลักของการผลิตถ่านกัมมันต์ ขึนอยู่กับชนิดและคุณสมบัติของวัตถุดิบที่ใช้ควรเป็นวัตถุดิบที่มีปริมาณ
คาร์บอนสูง ………………
……………………………………
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารน าวั ส ดุ ท างการเกษตรต่ า ง ๆ อาทิ ซั ง ข้ า วโพด ธั ญ พื ช กากมั น


สาปะหลัง มาศึกษาเพื่อเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มากมาย อาทิ การศึกษาการเพิ่มมูลค่าของธัช
พืช ให้ เป็ น ทรายแมวแบบย่ อยสลายทางชี ว ภาพของ Vaughnan, Berhow, Winkler-Moser and
Lee (2011) โดยการสกัดไฟโตเคมิคอลด้ว ยเฮกเซน เป็นเวลา 24 ชั่ว โมง เพื่อกาจัดนามัน และ
ส่วนประกอบอื่น ๆ ที่ไม่ชอบนา จากนันธัญพืชที่ได้ส กัดแล้วจะนาไปเข้าเตาอบแห้ งเป็นเวลา 24
ชั่วโมงที่ 45 องศาเซลเซียส เพื่อกาจัดเฮกเซนออก โดยจะมีการเติมกลีเซอรอล กัวกัม และคอปเปอร์
ซัลเฟตลงไป ซึ่งกลีเซอรอลจะเป็นตัวช่วยยับยังฝุ่นของธัญพืชสกัดและเป็นตัวผสานระหว่างธัญพืช
กับกัวกัม ขณะที่กัวกัมจะเป็นสารให้ความหนืดเพิ่มความคงตัวและช่วยในการอุ้มนา และคอปเปอร์
ซัลเฟตจะช่วยในเรื่องการลดกลิ่นของปั สสาวะแมว จากการศึกษาพบว่าธัชพืช ที่สกัดด้วยเฮกเซนมี
ศักยภาพในการนาไปทาทรายแมวชนิดย่อยสลายทางชีวภาพได้ โดยการเติมกลีเซอรอลนันสามารถ
เป็นตัวช่วยยับยังฝุ่นและเป็น ตัวผสานธัชพืชสกัดกับกัวกัมได้ดี ขณะที่การเติมกัวกัมเป็นสารให้ความ
หนืดช่วยในการอุ้มนา พบว่าเปอร์เซ็นต์การจับตัวของนาเพิ่มขึนเมื่อเทียบกับธัญพืช ที่ไม่ได้สกัด และ
การเติมคอปเปอร์ซัลเฟต สามารถช่วยลดกลิ่นของปัสสาวะแมวลงได้สูงสุดถึง 67.30 % ในขณะที่
Richards JC (1991) ได้ ศึ ก ษาการน าถ่ า นหิ น ชนิ ด ร่ ว น (Peat) 4 ชนิ ด ได้ แ ก่ Moss Peat,
Herbaceous Peat, Wood Peat และ Mixture Peat มาทาเป็นทรายแมว โดยนาไปอบแห้ งเพื่อ
ควบคุม Moisture Content ให้อยู่ระหว่าง 6-16 % ต่อนาหนัก จากนันจะนาถ่านหินชนิดร่วนแต่ละ

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 17

. 2 : 1 0
ชนิด ไปร่อนผ่านตะแกรง No.4, 6, 10, 12, 18 และ 40 และเติมนามันถั่วเหลืองเพื่อลดการกระจาย
e
.U 4t h 2 2
ของฝุ่ น ในการทดสอบนั นจะหาค่ า การซึ ม น า (Water absorption) และการซั บ กลิ่ น (Odor
Absorption) ของถ่านหินชนิดร่วนเทียบกับทรายแมวในท้องตลาด โดยการทดสอบการซึมนา จะใช้

7 T 5 6
วัสดุทดสอบ 1000 มิลลิลิตร ผสมกับนากลั่น 1000 มิลลิลิตร เป็นเวลา 30 นาที ขณะที่การทดสอบ

/
การซับกลิ่นจะใช้สารละลายแอมโมเนียซึ่งมีความคล้ายคลึงกั บของเสียจากแมวมาทดสอบ จากผล
2
4 4 5 0 /
การศึกษาการซึมนาพบว่าถ่านหินชนิดร่วนที่นามาทดสอบมีความสามารถในการซึมนาใกล้เคียงกับ
7
ทรายแมวในท้องตลาด คือ ซึมนาได้ถึง 50 % และจากผลการทดสอบการซับกลิ่นของถ่านหินชนิด

. 1 0 /
ร่วนเป็นเวลา 10 นาที พบว่าสามารถซับกลิ่นได้เท่ากันกับทรายแมวในท้องตลาดที่นามาร่วมทดสอบ

10 มื่อ 2
คือ ประมาณ 5 ppm
การผลิตทรายแมวจากแป้ง (Starch) Vidal E. Sotillo (2001) สามารถทาได้โดยการนา

เ แป้ง (Starch) จากกระบวนการทาแป้งข้าวโพด (Corn flour) 40 % และข้าวสาลี (Wheat) 60 %


มาผสมกันในเครื่องปั่นใบมีดที่อัตราประมาณ 45 rpm ซึ่งส่วนผสมทังหมดจะถูกนาไปอัดเม็ด โดยใช้
ความร้อนจากไอนา 3 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ที่ความดัน 12,070 กิโลปาสคาล เพื่อเจลลาติไนซ์จนแป้ง
พองตัวและหนืดจนสามารถขึนรูปเป็นเม็ดผ่านเครื่ องอัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9.70 มิลลิเมตรได้
จากนันนาทรายแมวจากแป้งผสมที่อัดเม็ดแล้วไปทดสอบการซึมนา โดยใส่ทรายแมวอัดเม็ดลงในบี ก
เกอร์ 50 กรัม และเทนาลงไป 250 มิลลิลิตร เป็นเวลา 5 นาที พบว่าค่าการซึมนาของทรายแมวจาก
แป้งผสมมีค่าสูงสุดอยู่ที่ 209.40 กรัม ซึ่งข้อดีของทรายแมวจากแป้ง คือ สามารถย่อยสลายได้ตาม
ธรรมชาติ เนื่องจากเป็นวัสดุจากธรรมชาติและไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์
การทดสอบกลิ่น Lötsch, Reichmann, and Hummel (2001) ได้ทาการทดสอบการ
ระบุกลิ่นโดยใช้ชุดทดสอบการรับกลิ่นด้วยการสูดดม (Sniffin’ Sticks) โดยผู้ทดสอบที่มีสุขภาพดี
จานวน 1,012 คน แยกเป็นเพศชาย 522 คน เพศหญิง 490 คน อายุระหว่าง 5-86 ปี ทดสอบโดย
การดมเป็นเวลา 3 วินาที ซึ่งกลิ่นที่ใช้ทดสอบมี 16 ประเภท อาทิเช่น กระเทียม กล้วย มะนาว ส้ม
สาระแหน่ กุห ลาบ เป็ น ต้น ในการวิเคราะห์ ใช้โ ปรแกรม SPSS 9.0 พบว่า 16 ประเภทกลิ่ นที่ใช้
ทดสอบ กระเทียม นามันสน และแอปเปิ้ล ผู้ทดสอบสามารถระบุกลิ่นได้น้อยว่า 55 % ขณะที่กลิ่น
อื่นๆ ผู้ทดสอบสามารถระบุกลิ่นได้มากกว่า 70 % มากไปกว่านันการทดสอบยังพบว่าความสามารถ
ในการระบุกลิ่นลดลงอย่างมีนัยสาคัญเมื่ออายุเพิ่มขึน อย่างไรก็ตาม Briner and Simmen (2000)
ได้ทดสอบการคัดแยกกลิ่น 8 ชนิด ได้แก่ กาแฟ วนิลา สับปะรด ควัน ลูกพีช กุหลาบ มะพร้าว และ
นาส้มสายชู โดยใช้แผ่นดิสเกตต์ ซึ่งมีอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีจานวน 102 คน และผู้ป่วยที่มีปัญหา
ด้านการรับกลิ่น 22 คน ในการทดสอบให้อาสาสมัครทังหมดดมกลิ่นจากแผ่นดิสเกตต์ พร้อมทังตอบ
แบบสอบถามแบบ 3 ตั ว เลื อ ก โดยคะแนนที่ ไ ด้ มี ตั งแต่ 0-8 คะแนน จากผลการทดสอบพบว่ า
อาสาสมัครทุกคนที่สุขภาพดีได้คะแนนการทดสอบ 7-8 คะแนน ในขณะที่ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการรับ
กลิ่นมีคะแนนอยู่ระหว่าง 0 ถึง 5 คะแนน จึงทาให้เห็นว่าการทดสอบการดมกลิ่นโดยแผ่นดิสเกตต์ ที่
พัฒนาขึนนีสามารถนามาทดสอบและแยกแยะผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการรับกลิ่นได้
สาหรับประเทศไทย เทวรัตน์ ตรีอานรรค และคณะ (2556) ได้ศึกษาต้นแบบการลด
ความชืนกากมันสาปะหลังโดยใช้ระบบอบแห้งแบบโรตารี่ พบว่ากากมันสาปะหลังจากโรงงานแป้งมัน
ส าปะหลั ง มี ค วามชื นเริ่ ม ต้ น 81.10 % (w.b.) ในพื นที่ 400 ตารางเมตร สามารถตากกากมั น

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 18

. 2 : 1 0
สาปะหลังได้ 17,100 กิโลกรัม ได้กากมันสาปะหลังแห้งปริมาณ 3,665 กิโลกรัม ที่ความชืน 11.82 %
e
.U 4t h 2 2
(w.b.) หลังจากตากเป็นเวลา 12 วัน โดยแต่ละวันมีการกลับกอง 8 ครัง ส่วนการลดความชืนโดยใช้
เครื่องอบแห้งแบบโรตารี่ พบว่ากากมันสาปะหลังที่ผ่านเครื่องเอ็กซ์ทรูเดอร์ซึ่งมี ความชืน 68.50 %

7 T 5 6
(w.b.) จานวน 40 กิโลกรัม (หรือคิดเป็น 14 % ของถังอบ) สามารถถูกลดความชืนให้เหลือ 13.80 %

/
(w.b.) ได้ภายในระยะเวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที ปริมาณกากมันสาปะหลังที่ได้นีคิดเป็น 61.23 % ของ
2
4 4 5 0 /
ปริมาณกากมันสาปะหลังแห้งทังหมด ซึ่ง ธนธัช มุขขันธ์ และคณะ (2554) ก็ได้ทาการศึกษา การ
7
อบแห้งมันเส้นด้วยเครื่องอบแห้งหมุนแบบกะ พบว่าอุณหภูมิที่ใช้ในการอบแห้งมันเส้นมีผลต่ออัตรา

. 1 0 /
การอบแห้ งเป็ น อย่ างมากโดยอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อ การอบแห้ งมันเส้ นคื อ 110 องศาเซลเซีย ส

10 มื่อ 2
เนื่ อ งจากให้ อั ต ราการอบแห้ ง สู ง ที่ สุ ด และไม่ เ กิ ด การเสี ย สภาพของมั น เส้ น เนื่ อ งจากความร้อน
นอกจากนียังพบว่าปริมาณการบรรจุมันเส้นลงในถังอบแห้งมีผลต่อความสามารถในการอบแห้ง โดย

เ พบว่าที่ความจุต่าสุด คือ 100 กิโลกรัม มันเส้นสด สามารถลดความชืนมันเส้นได้เร็วที่สุด นอกจากนี


วิเชียร ดวงสีเสน (2555) ก็ได้ศึกษาการอบแห้งกากมันสาปะหลังโดยใช้เครื่องอบแห้งแบบตะแกรง
หมุน พบว่ากากมันสาปะหลังสดที่ออกจากโรงงานแป้งมันสาปะหลังมีลักษณะชืนมากและจับตัวกัน
เป็นก้อนโดยมีความชืนเฉลี่ยคือ 372.53 % (d.b.) และมีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 712.50 กิโลกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อผ่านการลดความชืนทางกล พบว่ากากมันส าปะหลังมีความชืนลดลงเหลื อ
216.11 % (d.b.) และมี ค่ า ความหนาแน่ น เท่ า กั บ 571.45 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร สภาวะที่
เหมาะสมในการอบแห้งคือ ความเร็วรอบ 6 rpm อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส และนาหนักป้อนกาก
มันสาปะหลัง 40 กิโลกรัม (14% ของปริมาตรถัง) จะใช้เวลาในการอบแห้งคือ 1.5 ชั่วโมง อัตราการ
อบแห้ง 7.84 กิโลกรัมนาหนักแห้งต่อชั่วโมง ความสินเปลือง

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 19

e . 2 : 1 0 บทที่ 3

.U 4t h 2 2 วิธีการวิจัย

7 / T 2 5 6
จากการศึกษาข้อมูลของทรายแมวพบว่า ทรายแมวในท้องตลาดมีมากกว่า 4 ประเภท
อาทิเช่น ทรายแมวเบนโทไนท์ ทรายแมวจากสน ทรายแมวคริสตัล ทรายแมวภูเขาไฟ ทรายแมวจาก

4 4 5 7 /
เต้าหู้ เป็นต้น จากการหาข้อมูลพบว่า คุณสมบัติพืนฐานของทรายแมวที่ดีนัน อย่างแรกคือต้องไม่

0
/
แตกหักง่าย เนื่องจากเป็นสาเหตุของการเกิดฝุ่นที่ไม่พึงประสงค์ขณะใช้งาน รองลงมาได้แก่ คุณสมบัติ

. 1 0
การซึมของเสีย ผู้วิจัยจึงได้นาคุณสมบัติเหล่านีมาใช้ศึกษาในส่วนของเศษวัสดุอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อ

10 มื่อ 2
ประยุกต์เป็นทรายแมว ได้แก่ ซังข้าวโพด กากมันสาปะหลัง และถ่านกัมมันต์
การพัฒนาวัสดุดูดซึมของเสียแมวจากกากมันสาปะหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการ
เ ประยุกต์เศษวัสดุทางการเกษตรเป็นทรายแมวชนิดย่อยสลายทางชีวภาพได้ โดยการศึกษาการขึนรูป
อัตราการแตกหัก ค่าการซึมนา การทาแห้ง และการซับกลิ่น วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการทดลอง คือ กาก
มันสาปะหลัง (Cassava waste; CW) ซึ่งได้มาจากลานมัน จังหวัดอุดรธานี ซังข้าวโพด (Corncob) ที่
ได้มาจากโรงงานผลิตข้าวโพด จังหวัดลพบุรี ถ่านกัมมันต์และสารละลายแอมโมเนียมไบคาร์บอเนต
(NH4HCO3) เป็นเกรดที่มีอยู่ในท้องตลาด และผลิตภัณฑ์ทรายแมวที่ทามาจากสน เบนโทไนท์และ
คริสตัลซึ่งถูกนามาใช้เป็นตัวเปรียบเทียบ การดาเนินงานวิจัยสามารถสรุปได้ตามภาพที่ 3.1

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 20

e . 2 : 1 0
ศึกษาข้อมูลทรายแมว

.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6 แบบสอบถามจากผู้ใช้จริง

4 4 5 0 7 /
. 1 0 / ทบทวนวรรณกรรม คุณสมบัติเด่นของทรายแมว

10 มื่อ 2 การดูดซึมนา
การดูดซับกลิ่น

เ ศึกษาคุณสมบัติของเหลือทิงทางการเกษตร เม็ดไม่แตกง่าย

ซังข้าวโพด กากมันสาปะหลัง ถ่านกัมมันต์

ทดสอบคุณสมบัติ

การขึนรูป การคงรูป การซึมนา การซับกลิ่น การทาแห้ง

ทดสอบการใช้งาน

ภาพที่ 3.1 ผังสรุปการดาเนินงานวิจัย

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 21

. 2 : 1 0
3.1 แบบสอบถามการใช้ทรายแมวจากผู้ใช้จริง
e
.U 4t h 2 2
เพื่อให้ได้ข้อมูลและปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรายแมวจริง ผู้วิจัยจึงได้ทาการศึกษาปัญหา

7 T 5 6
ของการใช้ทรายแมวในปัจจุบัน โดยในการใช้ทรายแมวแต่ละประเภทมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน

/
ออกไป ซึ่งผู้ที่ใช้ทรายแมวเป็นประจาจะรู้ถึงปัญหาจากการใช้ทรายแมวมากที่สุด จึงมีการออกแบบ
2
4 4 5 0 /
แบบสอบถามเพื่อหาปัญหาหลักๆ จากการใช้ทรายแมวแต่ละประเภท โดยแบบสอบถามที่ใช้เป็น
7
แบบสอบถามออนไลน์ ที่สามารถส่งให้ผู้ทาแบบสอบถามได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว คือ เว็บไซด์

. 1 0 /
https: / / docs. google. com/ forms/ d/ 1 mrAm1 _ZQYZfwfnPdCumIo2 Xp6 - IrIS-

10 มื่อ 2
pu3FkBxFGsM0/viewform?edit_requested=true ซึ่งส่งให้ผู้ตอบส่วนใหญ่คือผู้ที่เลียงแมว ผู้วิจัย
ได้ส่งแบบสอบถามเข้าไปในกลุ่มสาหรับผู้ที่เลียงแมวโดยเฉพาะของทางเพจออนไลน์ในหลายๆ กลุ่ม

เ โดยมีรายละเอียดของคาถามดังต่อไปนี
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล
- เพศ
- อายุ
- ประเภทที่อยู่อาศัย
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ทรายแมวในปัจจุบัน
- ประเภทของทรายแมวที่ใช้ในปัจจุบัน
ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านปัญหาการใช้ทรายแมว
- ปัญหาจากการใช้ทรายแมว
- ลักษณะของทรายแมวที่ต้องการ
ตอนที่ 4 ข้อมูลทั่วไปในการจัดการทรายแมวที่ใช้แล้ว
- วิธีการจัดการทรายแมวที่ใช้แล้ว

3.2 การทดสอบคุณสมบัติการซึมน้า

การซึมนาเป็นคุณสมบัติขันพืนฐานของการประยุกต์การทาทรายแมว เนื่องจากการใช้
งานต้องดูดซึมสิ่งปฏิกูลของแมว การทดสอบคุณสมบัติการซึมนานันเศษวัสดุอุตสาหกรรมเกษตร คือ
กากมันสาปะหลังและซังข้าวโพดที่ผ่านการทาแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ แล้วและถูกนาไปปั่นให้
ละเอียดและคัดขนาดแล้ว รวมทังผลิตภัณฑ์ทรายแมวทัง 3 ชนิด ถูกนามาชั่งนาหนักตามที่กาหนด
แล้วใส่ภาชนะ จากนันค่อยๆ หยดนากลั่นที่อุณหภูมิห้องจนกระทั่งวัสดุดังกล่าวถึงจุดอิ่มตัวและไม่
สามารถซึมนาได้ วัดปริมาณนาที่ใช้และชั่งนาหนัก (Vidal E. Sotillo, 2001) การทดสอบดังกล่าวถูก
ทาทังหมด 5 ครัง ต่อวัสดุ ความสามารถในการดูดซึมนาของวัสดุดังกล่าวถูกนามาเปรียบเทียบกับ
ทรายแมวที่มีขายในปั จจุบันซึ่งได้แก่ ทรายแมวจากสน ทรายแมวเบนโทไนท์ และทรายแมวคริสตัล
ดังภาพที่ 3.2 ความสามารถในการซึมนาของวัสดุคานวณได้จากสมการที่ (3.1)

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 22

e . 2 : 1 0
Absortion (%) 
(M s  M d )
 100 (3.1)

.U 4t h 2 2 Ms
เมื่อ Ms คือ นาหนักของวัสดุที่ซึมนาได้; กิโลกรัม

T 6
Md คือ นาหนักของวัสดุแห้ง; กิโลกรัม

5 7 / / 2 5
14 4 / 0 7
.
10 มื่อ 2 0 (ก) ซังข้าวโพด (ข) กากมันสาปะหลัง


(ค) ทรายแมวจากสน (ง) ทรายแมวเบนโทไนท์ (จ) ทรายแมวคริสตัล
ภาพที่ 3.2 วัสดุทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์ทรายแมวที่นามาใช้ในการศึกษา

นอกจากนี ผู้วิจัยยังได้ทดสอบคุณสมบัติการซึมนาของกากมันผสมซึ่งมีส่วนผสมของกาก
มันสาปะหลังกับถ่านกัมมันต์ ที่แตกต่างกัน 3 อัตราส่วน คือ ที่อัตราส่วนระหว่างกากมันกับถ่านกัม
มันต์ต่อนาหนักเท่ากับ 2:1 4:1 และ 6:1 เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการนามาใช้ผลิตเป็นวัสดุดูด
ซึมของเสียแมวดังภาพที่ 3.3

ซังข้าวโพด

เศษวัสดุทางการเกษตร กากมันสาปะหลัง

ถ่านกัมมันต์
การทดสอบการซึมนา
ทรายแมวจากสน

ทรายแมวจากท้องตลาด ทรายแมวเบนโทไนท์

ทรายแมวคริสตัล

ภาพที่ 3.3 การทดสอบคุณสมบัติการซึมนา

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 23

. 2
3.3 ความสามารถในการขึ้นรูป
e : 1 0
.U 4t h 2 2
จากที่ ก ล่ า วไปข้ า งต้ น คุ ณ สมบั ติ ข องทรายแมวที่ ส าคั ญ อี ก ด้ า น คื อ ไม่ แ ตกหั ก ง่ า ย

7 T 5 6
เนื่องจากจะทาให้เกิดฝุ่นฟุ้งกระจายขณะใช้งาน แต่ด้วยลักษณะของเศษวัสดุทางการเกษตรที่ นามาใช้

/
อาทิ กากมันสาปะหลัง มีลักษณะเป็นก้อนแข็งคล้ายกรวด จึงต้องนามาบดให้ละเอียดก่อนการทดสอบ
2
4 4 5 0 /
ในการขึนรูปของกากมันและกากมันผสมได้ถูกศึกษาโดยการใช้อุปกรณ์ขึนรูป 2 แบบ คือ การขึนรูป
7
โดยใช้เครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์ตามท้องตลาดที่มีกาลังมอเตอร์ 3 HP โดยสามารถขึนรูปมีลักษณะ

. 1 0 /
ทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเม็ด 3.00 มิลลิเมตร พืนที่หน้าตัด 0.07 ตารางเซนติเมตร

10 มื่อ 2
ขนาดความยาวของเม็ดเฉลี่ย 2.00-3.00 เซนติเมตร และการขึนรูปด้วยมือโดยใช้เครื่องอัดเม็ดแบบ
ไฮโดรลิค ขนาด 15 ตัน รุ่น GS25011 โดยใช้แม่พิมพ์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเม็ดเท่ากับ 8.00

เ มิลลิเมตร พืนที่หน้าตัด 0.50 ตารางเซนติเมตร ความหนา 0.50 เซนติเมตร ดังแสดงในภาพที่ 3.4

(ก) เครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์ตามท้องตลาด (ข) เครื่องอัดเม็ด Graseby Specac


ภาพที่ 3.4 เครื่องอัดเม็ดที่ใช้

การขึนรูปกากมันและกากมันผสมด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์ทาโดยผสมกากมันหรือ
กากมันผสมที่บดละเอียดกับนากลั่นเล็กน้อยเพื่อให้มีความชืนพอเหมาะในการจับตัวเป็นเม็ด แล้วนา
ส่วนผสมดังกล่าวใส่ในเครื่องอัดเม็ด หลังจากอัดเม็ดเสร็จแล้วเม็ดกากมันที่ได้จะมีความชืน ดังนันก่อน
นาไปใช้งานต้องนาวัสดุดังกล่าวไปตากแดดเป็นเวลา 1 วัน สาหรับการอัดเม็ดด้วยเครื่อง Graseby
Specac นันเป็นเครื่องอัดเม็ดแบบคันโยก เริ่มจากการเตรียมแม่พิมพ์และชั่ง กากมันหรือกากมันผสม
ปริมาณ 0.60 กรัม เทใส่แม่พิมพ์ และทาการอัดด้วยแรงขนาด 5 ตัน นาน 3 นาที

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 24

. 2 : 1 0
หลังจากการขึนรูป เม็ดกากมันและกากมันผสมถูกนามาทดสอบร้อยละการแตกหักของ
e
.U 4t h 2 2
การขึนรูปดังแสดงในภาพที่ 3.5 เพื่อหาเม็ดที่ไม่ได้ขนาดตามที่กาหนด โดยใช้ตะแกรงร่อน 2 ขนาด
คือ ตะแกรงร่อนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรู ตะแกรง 4.00 และ 2.80 มิลลิเมตร ซึ่งหากตัวอย่าง

7 T 5 6
สามารถผ่านตะแกรงร่อนขนาด 2.80 มิลลิเมตรไปได้ ถือว่าไม่สามารถนาไปใช้งานได้ ในส่วนของการ

/
ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดไฮโดรลิคนันขนาดเม็ดที่ได้มีขนาดเท่ากันทุกเม็ดจึงไม่นามาทดสอบในขันตอน
2
4
นี
4 5 0 7 /
การทดสอบหาร้อยละการแตกหักของการขึนรูป ทาโดย นากากมันที่ขึนรูปโดยเครื่อง

. 1 0 /
อัดเม็ดอาหารสัตว์ จานวน 50 กรัม มาร่อนผ่านตะแกรงดังกล่าว จากนันทาการชั่งนาหนักเม็ดกากมัน

10 มื่อ 2
ที่สามารถผ่านตะแกรงขนาด 4.00 และ 2.80 มิลลิเมตรได้ แล้วนามาคานวณหาร้อยละการแตกหัก
โดยทาการทดสอบซา 3 ครังเพื่อนามาหาค่าเฉลี่ย ดังแสดงในสมการที่ (3.1)

เ ร้อยละการแตกหัก =
นาหนักของกากมันขึนรูปที่แตกหัก
นาหนักกากมันขึนรูปทังหมด
× 100 (3.1)

ภาพที่ 3.5 การทดสอบอัตราการแตกหัก โดยใช้ตะแกรงขนาด 4.0 และ 2.8 มิลลิเมตร

3.4 ความสามารถในการคงรูป

เม็ดกากมันที่ขึนรูปแล้วควรมีความคงรูปของเม็ด ไม่แตกหักได้ง่าย ดังนันเม็ดกากมันและ


เม็ดกากมันผสมจึงถูกนามาทดสอบความคงรูปด้วยวิธีการ Drop test นาเม็ดกากมันและกากมันผสม
ที่ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดแบบไฮโดรลิคและเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์ที่ได้ผ่านการทดสอบการแตกหัก
จานวน 30 กรัม ทาการปล่อยให้ตกจากที่สูงในระยะความสูงต่าง ๆ ดังนี 1 2 และ 3 เมตร ตามลาดับ
ดังแสดงในภาพที่ 3.6

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 25

e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6 1 เมตร

4 4 5 0 7 / 2 เมตร

. 1 0 /
10 มื่อ 2
3 เมตร
ภาพที่ 3.6 การทดสอบด้วยวิธีการทา Drop Test

เ หลังจากนันทาการร่อนตัวอย่างที่ถูกปล่อยลงมาด้วยตะแกรงร่อนขนาด 4.00 และ 2.80


มิ ล ลิ เ มตร น าตั ว อย่ า งที่ ผ่ า นตะแกรงขนาด 4.00 และ 2.80 มิ ล ลิ เ มตร ไปชั่ ง น าหนั ก เพื่ อ น ามา
คานวณหาร้อยละการแตกหัก ดังแสดงในสมการที่ (3.1)

3.5 การซับกลิ่น

ความสามารถในการซับกลิ่นเป็นปัจจัยสาคัญในการตั ดสินใจเลือกใช้ทรายแมวของผู้
เลียงแมว การทดสอบการซับกลิ่นใช้การวัดระดับความรู้สึกของคนที่มีต่อกลิ่น (Sensory test) โดยใช้
การวัดระดับความรู้สึกซึ่งถูกแบ่งออกเป็น 6 ระดับ (กาญจนา สวยสม, 2558) ดังแสดงในตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1
ระดับความรู้สึกของกลิ่นที่ใช้
ระดับ ความรู้สึกของกลิ่นที่ได้รับ
0 ไม่มีกลิ่น
1 กลิ่นอ่อนมาก
2 กลิ่นอ่อน
3 กลิ่นที่รับได้
4 กลิ่นแรง
5 กลิ่นแรงมาก
หมายเหตุ.จาก กาญจนา สวยสม. (2558). เทคนิคการเก็บตัวอย่างกลิ่นและการตรวจวิเคราะห์กลิ่น.
สืบค้นเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2562, จาก http://env.anamai.moph.go.th/download /2558/.pdf

วัสดุที่ใช้ในการทดสอบมี 5 ชนิด ซึ่งได้แก่ กากมันสาปะหลัง ถ่านกัมมันต์ และกากมัน


ผสมกับถ่านกัมมันต์ที่อัตราส่วนต่อนาหนัก 2:1 4:1 และ 6:1 สารที่ใช้ทดสอบ ได้แก่ สารละลาย

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 26

. 2 : 1 0
แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต (NH4HCO3) ซึ่งมีกลิ่นคล้ายปัสสาวะแมว เริ่มจากนาวัสดุที่ใช้ทดสอบใส่ใน
e
.U 4t h 2 2
ภาชนะที่ มี ฝ าปิ ด ขนาด 26 × 11 × 8 ลู ก บาศก์ เ ซนติ เ มตร และฉี ด สารละลายแอมโมเนี ย มไบ
คาร์ บ อเนตลงบนวัส ดุที่ทดสอบแต่ล ะประเภทให้ ทั่ว ปริ มาณ 3 มิล ลิ ลิ ตร โดยกลิ่ นจะไม่ส ามารถ

7 T 2 5 6
กระจายออกมาจากภาชนะในระหว่างทดสอบได้ จากนันผู้ทดสอบทัง 20 คนจะทาการวัดระดับ
/
ความรู้สึกที่มีต่อกลิ่นทุก ๆ 30 นาที เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ดังแสดงในภาพที่ 3.7

4 4 5 0 7 /
. 1 0 /
10 มื่อ 2

ภาพที่ 3.7 ลักษณะของอุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาการซับกลิ่น

3.6 การทาแห้ง (Drying Rate)

นาวัสดุที่ต้องการทดสอบมาชั่งนาหนักตามต้องการ หยดนากลั่นลงในวัสดุดังกล่ าวจน


เปียกพอดีและชั่งนาหนัก หลังจากนันนาเข้าตู้อบชนิดเป่าลมร้อน (รุ่น CE 130 ยี่ห้อ Gunt Hamburg)
ดังภาพที่ 3.8 สภาวะที่ใช้ในการทาแห้งคือที่ ความเร็วลมคงที่ที่ 1.10 เมตรต่อวินาที อุณหภูมิ 70
องศาเซลเซียส ทาการบันทึกค่านาหนักของวัสดุทุก 5-15 นาที คานวณหาปริมาณความชืนในวัสดุ
และอั ต ราการท าแห้ ง ตามสมการที่ (3.2) และ (3.3) (Khani Moghanaki, khoshandam, M.H.
Mirhaj, 2013)

( Mw  M d )
MC (%)   100 (3.2)
Mw

 M d  dMC 
Drying rate     100 (3.3)
A  dT 

เมื่อ MC คือ ปริมาณความชืน (Moisture content)


Mw คือ นาหนักของวัสดุเปียก; กิโลกรัม

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 27

Md
. 2 : 1 0
คือ นาหนักของวัสดุแห้ง; กิโลกรัม
e
A
t
.U 4t h 2 2
คือ พืนที่ที่ใช้ในการระเหย; ตารางเมตร
คือ ระยะเวลาที่ใช้; วินาที

7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 /
. 1 0 /
10 มื่อ 2

1.drying channel, 2.drying plates, 3.transparent door, 4.process schematic, 5.air


velocity sensor, 6.measuring point for humidity and temperature, 7.digital balance,
8.bracket for drying plates, 9.measuring point with humidity and temperature sensor,
10.switch cabinet with digital displays, 11.fan
ภาพที่ 3.8 ตู้อบระบบลมร้อน (Convection dryer)
ที่มา: จาก Gunt Hamburg. (2019). Convection drying. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2562, จาก
https: / / www. gunt. de/ en/ products/ process- engineering/ thermal- process-
engineering/ drying- and- evaporation/ convection- drying/ 083. 13000/ ce130/ glct- 1: pa-
148:ca-240:pr-12

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 28

e . 2 : 1 0 บทที่ 4

.U 4t h 2 2 ผลการวิจัยและอภิปรายผล

7 / T 2 5 6
4.1 ปัญหาและลักษณะทรายแมว

4 4 5 0 7 /
จากการสอบถามปัญหาและลักษณะทรายแมวที่ต้องการโดยการตอบแบบสอบถามจาก

/
ผู้ใช้ทรายแมวจานวนทังสิน 200 คน สามารถสรุปได้ดังตารางที่ 4.1

. 1 0
10 มื่อ 2
ตารางที่ 4.1
ตารางสรุปปัญหาและลักษณะทรายแมวจากแบบสอบถาม
เ ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล
เพศ ชาย
49.10 %
หญิง
50.90 %
อายุ ช่วงอายุ 31-40 ปี ช่วงอายุต่ากว่า 30 ปี
40.20 % 42.90 %
ประเภทที่อยู่อาศัย บ้านพักอาศัย คอนโด/อพาทเมนต์
67.70 % 31.30 %

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ทรายแมวในปัจจุบัน
ทรายแมวเบนโทไนท์ 47.60 %
ทรายแมวเปลือกไม้สน 16.20 %
ประเภทของทรายแมว
ทรายแมวภูเขาไฟ 12.40 %
ไม่ทราบประเภท 19.00 %

ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านปัญหาการใช้ทรายแมว
ฝุ่น ฟุ้งกระจาย 52.30 %
กลิ่นเหม็น 38.50 %
ปัญหาจากการใช้ทรายแมว
ติดขนแมว 2.80 %
ทาให้แมวเกิดโรค 3.70 %
ซับของเสียได้ดี 33.30 %
ดูดซับกลิ่นได้ดี 28.80 %
ลักษณะของทรายแมวที่
ทาความสะอาดง่าย 25.50 %
ต้องการ
เป็นมิตรต่อแมวและ 14.40 %
สิ่งแวดล้อม

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 29

. 2 : 1 0
ตอนที่ 4 ข้อมูลทั่วไปในการจัดการทรายแมวที่ใช้แล้ว
e
.U 4t h 2
การจัดการทรายแมวที่ใช้แล้ว2 ทิงถังขยะ
ถมต้นไม้
69.20 %
18.60 %

7 / T 2 5 6 อื่นๆ 12.20 %

4 4 5 0 7 /
จากตารางที่ 4.1 สามารถสรุปได้ว่า ปัญหาส่วนใหญ่ของการใช้งานทรายแมว คือ ฝุ่น
ละอองฟุ้งกระจายและการซับกลิ่นที่ยังไม่ดีพอ ดังนัน การพัฒนาทรายแมวจากเศษวัสดุอุตสาหกรรม

. 1 0 /
ทางการเกษตรซึ่งได้แก่ กากมันสาปะหลัง และซังข้าวโพด ซึ่งถือเป็นทรายแมวชนิดย่อยสลายทาง

10 มื่อ 2
ชีวภาพได้จะถูกศึกษาคุณสมบัติต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ การขึนรูป การคงรูป การซึมนา การซับกลิ่นและการ
ทาแห้ง ต่อไป

เ 4.2 การดูดซึมน้าของกากมัน กากมันผสมและซังข้าวโพด

กากมันสาปะหลังและซังข้าวโพดเป็นเศษวัสดุทางการเกษตรที่ถูกนามาศึกษาเพื่อแปรรูป
เป็นผลิตภัณฑ์ทรายแมวชนิดชีวภาพที่สามารถย่อยสลายเองได้ ความสามารถในการดูดซึมของเหลว
เป็ น คุณสมบั ติที่ส าคัญของทรายแมว ดั งนันงานวิจัยนีจึงศึกษาการดูดซึมนาของวัส ดุดังกล่าว ซัง
ข้าวโพดบดมีลักษณะเป็นของแข็งขนาดเล็กความหนาแน่นต่ากว่ากากมันบดซึ่งมีความหนาแน่นสูง
ดังนันเมื่อนาวัสดุทัง 2 ชนิด มาทดสอบความสามารถในการดูดซึมของเหลวซึ่งในที่นีคือ นากลั่น
พบว่า ซังข้าวโพดมีความสามารถในการซึมนาเท่ากับ 0.22±0.03 ซึ่งต่ามากเมื่อเทียบกับกากมันที่มี
ความสามารถในการดูดซึมนาเท่ากับ 0.67±0.01 สาหรับผลิตภัณฑ์ทรายแมวที่ทาจากวัสดุอื่น ได้แก่
สน คริสตัล เบนโทไนท์ พบว่าความสามารถในการดูดซึมนามีค่าอยู่ระหว่าง 0.60 – 0.49 ทรายแมวที่
ทาจากสนมีความสามารถในการซึมนาสูงที่สุดซึ่งเท่ากับ 0.60±0.04 เมื่อเปรียบเทียบความสามารถใน
การซึมนาของกากมันกับทรายแมวที่ทามาจากสน เบนโทไนท์และคริสตัล พบว่า ความสามารถในการ
ดูดซึมนาเรียงลาดับได้ดังนี กากมัน > สน > คริสตัล > เบนโทไนท์ ดังแสดงในภาพที่ 4.1 ดังนันจึง
สามารถนากากมันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการทาทรายแมว เนื่องจากมีความสามารถในการดูดซึมนาดี
มากซึ่งสามารถเทียบเคียงกับทรายแมวที่มีใช้ในปัจจุบัน สาหรับซังข้าวโพดซึ่งมีความสามารถในการ
ดูดซึมนาต่ามาก จึงไม่เหมาะในการทาเป็นผลิตภัณฑ์ทรายแมว

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 30

e . 2 : 1 0
.U 4t h
Activated crabon
Carbon

Casava waste
2 2
7 / T 2 5 6 Corncob

4 4 5 0 7 / Crystal

. 1 0 / Bentonite

10 มื่อ 2 Pine
Pind wood

เ 0.00 0.10 0.20 0.30 0.40 0.50 0.60

Absortion ratio; g of water/g. of wet material


ภาพที่ 4.1 การเปรียบเทียบความสามารถในการซึมนาของวัสดุต่าง ๆ ที่อุณหภูมิห้อง
0.70 0.80

ภาพที่ 4.2 แสดงความสามารถในการดูดซึมนาของกากมันผสมเทียบกับกากมันอย่ าง


เดียว กากมันผสมถ่านกัมมันต์ ในทุกอัตราส่วนมีความสามารถในการดูดซึมนาลดลง ทังนีเนื่องจาก
ความสามารถในการดูดซึมนาของถ่านกัมมันต์มีค่าต่ากว่าของกากมัน เมื่อนาวัตถุดิบทังสองอย่างมา
ผสมเข้ากัน ความสามารถในการดูดซึมนาจึงต่าลง ความสามารถในการซึมนาของกากมันผสมที่
อัตราส่วนระหว่างกากมันกับถ่านกัมมันต์เท่ากับ 2:1 มีความสามารถในการซึมนาเท่ากับ 0.55±0.01
ซึ่งถือว่าสูงเมื่อเทียบกับกากมันผสมที่อัตราส่วน 4:1 และ 6:1 ซึ่งมีความสามารถในการดูดซึมเท่ากับ
0.45±0.01 และ 0.41±0.02 ตามลาดับ ทังนีค่าดังกล่าวสามารถเทียบเคียงกับวัสดุชนิดอื่นที่นามาใช้
ทาทรายแมว

6:1
CW:AC ratio

4:1

2:1

1:0

0.00 0.20 0.40 0.60 0.80

Absortion ratio; g of water/g. of wet material

ภาพที่ 4.2 ความสามารถในการซึมนาของกากมันผสมที่อัตราส่วนต่าง ๆ ที่อุณหภูมิห้อง

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 31

. 2 : 1 0
4.3 การขึ้นรูปของกากมันและกากมันผสม
e
.U 4t h 2 2
วัสดุดูดซึมของเสียโดยส่วนใหญ่ควรมีลักษณะเป็นเม็ด ที่มีความแน่นพอสมควร เพื่อไม่ให้

7 T 5 6
เกิดการแตกหักและฟุ้งกระจายในขณะใช้งาน ดังนันในงานวิจัยนีจึงศึกษาความสามารถในการขึนรูป

/
ของกากมันและกากมันผสมโดยเลือกใช้การขึนรูป 2 วิธีคือ การขึนรูปเป็นเม็ดจากเครื่องอัดเม็ดอาหาร
2
4 4 5 0 /
สัตว์ที่ใช้โดยทั่วไป และการขึนรูปโดยใช้เครื่องอัดไฮโดรลิคด้วยมือ ภาพที่ 4.3 แสดงลักษณะของกาก
7
มันและกากมันผสมที่ผ่านการขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์และเครื่องอัดไฮโดรลิค กากมันและ

. 1 0 /
กากมันผสมสามารถทาให้เป็นเม็ดได้โดยง่าย ไม่แตกต่างกัน เม็ดกากมันมีสีธรรมชาติของกากมัน แต่

10 มื่อ 2
กากมันผสมจะมีสีค่อนข้างดาเนื่องจากมีถ่านกัมมันต์ผสมอยู่


(ก) กากมัน (ข) กากมันผสมที่อัตราส่วน 2:1

(ค) กากมันผสมอัตราส่วน 4:1 (ง) กากมันผสมอัตราส่วน 6:1


ภาพที่ 4.3 กากมันกับถ่านกัมมันต์ที่ผ่านการอัดเม็ด
(ซ้ายขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์ ขวาขึนรูปด้วยเครื่องอัดไฮโดรลิค)

จากการทดสอบหาร้อยละการแตกหักโดยใช้ตะแกรงร่อนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรู
ตะแกรง 4.00 และ 2.80 มิลลิเมตร พบว่าเม็ดกากมันที่ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์ที่สามารถ
ผ่านตะแกรงร่อนขนาด 4.00 มิลลิเมตร มีค่าร้อยละการแตกหั กเท่ากับ 20.60 และเม็ดกากมั น ที่
สามารถผ่านตะแกรงร่อนขนาด 2.80 มิลลิเมตร มีค่าร้อยละการแตกหักเท่ากับ 10.00 ดังแสดงใน
ตารางที่ 4.2 อย่างไรก็ตามร้อยละการแตกหักของเม็ดกากมั นที่ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์
ทังหมดเท่ากับ 30.60 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง ส่วนเม็ดกากมันที่ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดไฮโดร
ลิคนันไม่ถูกนามาทดสอบ เนื่องจากมีความหนาแน่นสูงและไม่แตกหักง่ายเมื่อเทียบกับกากมันที่ขึนรูป
ด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 32

ตารางที่ 4.2
e . 2 : 1 0
.U 4 h
ขนาดตะแกรง 2 2
การแตกหักของเม็ดกากมันที่ขึ้นรูปโดยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์
t น้าหนักเม็ดกากมัน ขนาดความยาวเฉลี่ย
ร้อยละการแตกหัก

7 / T 2 5 6
เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรง
บนตะแกรง (กรัม) ของเม็ด (เซนติเมตร)

/
34.70 2.00-3.00 69.40

4 4 5
ขนาด 4 มิลลิเมตร

0 7
เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรง

. 1 0 /
ขนาด 2.8 มิลลิเมตร
10.30 1.00-1.50 20.60

10 มื่อ 2
ถาดรอง 5.00 0.50 10.00

เ จากตารางจะเห็นว่า ขนาดความยาวเฉลี่ยของเม็ดกากมันสาปะหลังส่ วนใหญ่มีขนาด


เฉลี่ยอยู่ที่ 2.00-3.00 เซนติเมตร ซึง่ ต่างจากขนาดของเม็ดที่แตกหักจนสามารถผ่านตะแกรงขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางรูตะแกรง 4.00 และ 2.80 มิลลิเมตร ได้ โดยมีขนาดความยาวเฉลี่ยของเม็ด เท่า กับ
1.00-1.50 และ 0.50 เซนติเมตร ดังภาพที่ 4.4

(ก) กากมันขึนรูปขนาดเฉลี่ย (ข) กากมันขึนรูปขนาดเฉลี่ย (ค) กากมันขึนรูปขนาดเฉลีย่


2.00-3.00 เซนติเมตร 1.00-1.50 เซนติเมตร 0.50 เซนติเมตร
ภาพที่ 4.4 ขนาดความยาวเฉลี่ยของเม็ดกากมันที่ผ่านการทดสอบร้อยละการแตกหัก

4.4 การคงรูปของกากมันและกากมันผสม

ผลการทดสอบกากมันที่ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์และการขึนรูปด้วยเครื่องอัด
ไฮโดรลิคโดยการ Drop test ถูกแสดงในตารางที่ 4.3 กากมันที่ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสั ตว์ที่
ความสูง 1 เมตร ไม่มีการแตกหัก ในขณะที่การทดสอบในระดับความสูงที่ 2 เมตร พบว่าเม็ดกากมัน
ขึนรูปเริ่มมีการแตกหักบางส่วน และเมื่อเพิ่มความสูงที่ 3 เมตร เม็ดกากมันแตกหักจนเริ่มสังเกตเห็น
ชินเล็ก ๆ กระจายมากขึน ในส่วนของการทดสอบเม็ดกากมันและกากมันผสมในแต่ละอัตราส่วนที่ขึน
รูปด้วยเครื่องอัดไฮโดรลิคจะเห็นว่า ไม่มีการแตกหักในทุก ๆ ระดับความสูงที่ใช้ทดสอบ มีเพียงเศษผง
หลุดออกมาเล็กน้อยเท่านัน นอกจากนีเมื่อคานวนหาร้อยละการแตกหักพบว่า ที่ระดับการทดสอบ 1

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 33

. 2 : 1 0
2 และ 3 เมตร เม็ดกากมันขึนรูปที่สามารถผ่านตะแกรงขนาด 4.00 มิลลิเมตรไปได้มีค่าร้อยละการ
e
.U 4t h 2 2
แตกหั กเท่ า กับ 13.17 17.00 และ 26.34 ตามล าดับ ในขณะที่ เ ม็ด กากมัน ขึ นรูป ที่ ส ามารถผ่ า น
ตะแกรงขนาด 2.80 มิลลิเมตรได้มีร้อยละการแตกหักที่ 1 2 และ 3 เมตร เท่ากับ 1.17 2.17 และ

7 T 5 6
3.17 ตามลาดับ จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า เม็ดกากมันที่ขึนรูปด้วยเครื่องอัดเม็ดอาหารสัตว์

/
สามารถแตกหักได้ง่ายแต่ไม่มีลักษณะเป็นผงละเอียด
2
4 4 5 0 7
ตารางที่ 4.3 /
. 1 0 /
ลักษณะการแตกหักของการทดสอบ Drop Test

10 มื่อ 2
ระยะ
1 เมตร 2 เมตร 3 เมตร
ความสูง

เ การแตกหักของเม็ด
กากมันที่ขึนรูปโดย
เครื่องอัดเม็ดอาหาร
สัตว์

การแตกหักของเม็ด
กากมันที่ขึนรูปโดย
เครื่องไฮโดรลิค

การแตกหักของเม็ด
กากมันผสม 2:1 ที่
ขึนรูปโดยเครื่อง
ไฮโดรลิค

การแตกหักของเม็ด
กากมันผสม 4:1 ที่
ขึนรูปโดยเครื่อง
ไฮโดรลิค

การแตกหักของเม็ด
กากมันผสม 6:1 ที่
ขึนรูปโดยเครื่อง
ไฮโดรลิค

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 34

ตารางที่ 4.4
e . 2 : 1 0
.U 4
ระดับความสูง h 2 2
ร้อยละการแตกหักของเม็ดกากมันที่ขึ้นรูปโดยเครื่องอัดเม็ดจากการทดสอบ Drop Test
t น้าหนักเม็ดกากมัน ร้อยละการ

6
ขนาดตะแกรง

7 /
ทดสอบ
T 2 5
บนตะแกรง (กรัม) แตกหัก

5 /
เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรงขนาด

7
25.70 85.67

14 4 / 0
4 มิลลิเมตร

.
1 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรงขนาด

10 มื่อ 2 0 2.8 มิลลิเมตร


ถาดรอง
3.95
0.35
13.17
1.17

เ 2 เมตร
เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรงขนาด
4 มิลลิเมตร
เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรงขนาด
24.25

5.10
80.83

17.00
2.8 มิลลิเมตร
ถาดรอง 0.65 2.17
เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรงขนาด
22.10 73.67
4 มิลลิเมตร
3 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางรูตะแกรงขนาด
7.90 26.34
2.8 มิลลิเมตร
ถาดรอง 0.95 3.17

4.5 การทาแห้งของกากมันและกากมันผสม

จากผลการศึกษาข้างต้นพบว่า กากมันและกากมันผสมมีความสามารถในการดูดซึมนา
ในระดับดีที่สามารถเทียบเคียงกับผลิตภัณฑ์ทรายแมวที่มีจาหน่ายในท้องตลาด ดังนันทังกากมันและ
กากมันผสมถูกนามาศึกษาการทาแห้งเพื่อหาอัตราการทาแห้ง เนื่อ งจากลักษณะการใช้งานของทราย
แมวนั่นเอง กล่าวคือ ทรายแมวดูดซึมสิ่งปฏิ กูลเหลวแล้วยังไม่ถูกนาไปทิง เมื่อทิงไว้ภายในกระบะ
ทรายเป็นเวลานานอาจส่งผลกระทบต่อการใช้งานของวัสดุนัน จากภาพที่ 4.5 จะเห็นว่า เส้นกราฟ
ปริมาณความชืนของกากมันมีความแตกต่างจากกากมันผสมอย่างชัดเจน กากมันมีปริมาณความชืน
ลดลงอย่างเห็นได้ชัดในช่วงระยะเวลา 50 นาที หลังจากนันปริมาณความชืนค่อยๆ ลดลงตามเวลา แต่
สาหรับกากมันผสมทัง 3 อัตราส่วนนัน จะเห็นได้ว่าลักษณะของเส้นกราฟที่แสดงปริมาณความชืนกับ
เวลามีเปลี่ยนแปลงคล้ายกัน ปริมาณความชืนค่อยๆ ลดลงเมื่อเวลาเพิ่มขึน

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 35

e . 2 : 1
80.0
0
.U 4t h 2 270.0

60.0
1:0 2:1 4:1 6:1

T 6
Moisture content; %

5 7 / / 2 5 50.0

40.0

14 4 / 0 7 30.0

.
10 มื่อ 2 0 20.0

10.0

เ 0.0
0 50 100 150
Drying time; min
200 250 300

ภาพที่ 4.5 ความสัมพันธ์ของความชืนกับเวลาของกากมันและกากมันผสม

จากตารางที่ 4.5 แสดงอัตราการทาแห้งของกากมันและกากมันผสม อัตราการทาแห้งของ


กากมันมีค่าสูงกว่าของกากมันผสม อัตราการทาแห้งในช่วงคงที่ของกากมันมีค่าเท่ากับ 1.09 กิโลกรัม
ต่อตารางเมตรวินาที ในขณะที่อัตราการทาแห้งของกากมันผสมที่อัตราส่วน 2:1 4:1 และ 6:1 มีค่า
เท่ากับ 0.68 0.68 และ 0.48 ตามลาดับ

ตารางที่ 4.5
อัตราทาแห้งของกากมันและกากมันผสม
อัตราการทาแห้ง
วัสดุ
(กิโลกรัมต่อตารางเมตรวินาที)
กากมัน 1.09
กากมันผสมกับถ่านกัมมันต์ที่อัตราส่วน 2:1 0.68
กากมันผสมกับถ่านกัมมันต์ที่อัตราส่วน 4:1 0.68
กากมันผสมกับถ่านกัมมันต์ที่อัตราส่วน 6:1 0.48

4.6 การดูดซับกลิ่นของกากมันและกากมันผสม

จากการทดสอบการดูดซับกลิ่นของกากมันและกากมันผสมโดยวิธีการดมกลิ่น พบว่า
กากมันสาปะหลังที่ไม่ได้ผสมถ่านกัมมันต์สามารถดูดซับกลิ่นได้น้อยมากซึ่งอยู่ในระดับ 5 คือ มีกลิ่น
แรงมาก ตังแต่เริ่ มการทดสอบจนกระทั่ ง จบการทดสอบ (12 ชั่ว โมง) ส าหรับกากมันผสมทัง 3
อัตราส่วน ระดับการซับกลิ่นอยู่ที่ระดับ 2-3 คือ มีกลิ่นค่อนข้างอ่อน เมื่อเวลาผ่านไป 6 ชั่วโมง แต่เมื่อ
ทดสอบการดูดซับกลิ่นของถ่านกัมมันต์ ปรากฏว่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี (ระดับ 1) คือ กลิ่นอ่อนมาก

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 36

. 2 : 1 0
จึงเหมาะสาหรับนามาใช้เป็นตัวช่วยดูดซับกลิ่นในการเตรียมทรายแมว เมื่อเรียงลาดับความสามารถ
e
.U 4t h 2 2
ในการกาจัดกลิ่นของกากมันผสมพบว่า ที่อัตราส่วน 2:1 สามารถกาจัดกลิ่นได้ดีกว่าที่อัตราส่วน 4:1
และ 6:1 ตามล าดั บ ดังแสดงในภาพที่ 4.6 ดังนันถ่านกัมมันต์ส ามารถนามาใช้ในการกาจัดกลิ่น

7 T 5 6
ร่วมกับกากมันในการทาทรายแมวได้ เนื่องจากมีความสามารถในการกาจัดกลิ่นดีมากเมื่อเทียบกับ

/
กากมันที่ไม่ได้ผสมถ่านกัมมันต์
2
4 4 5 0 7 /
/
CW5

. 1 0
5

10 มื่อ 2
4
3
2


CW:AC=6:1 3 AC
1 1
0

2 2
CW:AC=4:1 CW:AC=2:1

ระดับการซับกลิ่น

ภาพที่ 4.6 ความสามารถในการซับกลิ่นของกากมันและกากมันผสมที่อัตราส่วนต่าง ๆ

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 37

e . 2 : 1 0 บทที่ 5

.U 4t h 2 2สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

7 / T 2 5 6
จากการศึกษาปั ญหาของทรายแมวโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ให้ ผู้ ที่ใช้ทรายแมว
ทังหมด 200 ท่านร่วมแสดงความคิดเห็น พบว่ามีปัญหาจากฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย การซับกลิ่นได้น้อย

4 4 5 7 /
การซับของเสียแมวที่ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เป็นต้น จึงได้มีการนาปัญหาดังกล่าวมาใช้ศึกษาการ

0
/
ประยุกต์เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อเป็นทรายแมวชนิดย่อยสลายทางชีวภาพได้ โดยนาเศษ

. 1 0
วัสดุทางการเกษตร 2 ชนิด คือ กากมันสาปะหลัง ซังข้าวโพดและถ่านกัมมันต์ มาทดสอบคุณสมบัติ

10 มื่อ 2
ด้านความสามารถในการขึนรูป การคงรูป การซึมนา การซับกลิ่นและการทาแห้ง

เ 5.1 สรุปผลการศึกษา

จากการทาแบบสอบถามออนไลน์โดยผู้ใช้ทรายแมวพบว่า คุณสมบัติของทรายแมวที่ดีที่
ผู้ใช้ทรายแมวเลือกมากที่สุดคือ ด้านประสิทธิภาพการซึมของเสียแมวซึ่งคิดเป็นร้อยละ 33.30 จาก
การศึกษาการซึมนาของเศษวัสดุทางการเกษตรทัง 2 ชนิด ได้แก่ กากมันสาปะหลังและซังข้าวโพด
รวมทังถ่านกัมมันต์และผลิตภัณฑ์ทรายแมวที่ทาจากสน เบนโทไนท์ และคริสตัล พบว่า ซังข้าวโพดมี
ความสามารถในการซึมนาต่ามากเท่ากับ 0.22±0.03 ต่างจากกากมันที่มีความสามารถในการดูดซึม
นาเท่ากับ 0.67±0.01 จึงไม่เหมาะในการนาซังข้าวโพดมาประยุกต์ใช้เป็นทรายแมว สาหรับผลิตภัณฑ์
ทรายแมวจากวัสดุอื่น ได้แก่ สน คริสตัล เบนโทไนท์ พบว่าความสามารถในการดูดซึมนามีค่าอยู่
ในช่วง 0.60-0.49 โดยความสามารถในการดูดซึมนาเรียงลาดับได้ดังนี กากมัน > สน > คริสตัล >
เบนโทไนท์ จึงนากากมันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการทาทรายแมว ทังนีเมื่อนากากมันมาผสมกับถ่านกัม
มันต์พบว่าที่อัตราส่วน 2:1 ถือว่าเหมาะสมในการนามาใช้เป็นวัสดุเพื่อพัฒนาเป็นทรายแมว เนื่องจาก
ความสามารถในการซึมนาใกล้เคียงกับทรายแมวที่ใช้กันในปัจจุบัน เท่ากับ 0.55±0.01 นอกจากนี
ความสามารถในการขึนรูปของกากมันและกากมันผสมสามารถขึนรูปเป็นเม็ดได้ง่ายทังแบบใช้เครื่อง
อัดเม็ดอาหารสัตว์และเครื่องอัดเม็ดไฮโดรลิค มากไปกว่านันอัตราการทาแห้งของกากมันมีค่าค่อนข้า ง
ดี แต่เนื่องจากความสามารถในการซับกลิ่นของกากมันมีค่าต่ามากซึ่งอยู่ในระดับ 5 คือ มีกลิ่นแรงมาก
จึงยังไม่สามารถนามาใช้ทาเป็นผลิตภัณฑ์ทรายแมวได้ แต่เมื่อมีการใช้ถ่านกัมมันต์ร่วมกับกากมัน
ส่งผลให้ความสามารถในการดูดซับกลิ่นดีขึน กากมันผสมกับถ่านกัมมันต์ที่อัตราส่วน 2:1 4:1 และ
6:1 ความสามารถในการซับกลิ่นเปลี่ยนจากระดับ 5 เป็นระดับ 2-3 คือ มีกลิ่นค่อนข้างอ่อน

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 38

5.2 ข้อเสนอแนะ
e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
การซับกลิ่นของผลิตภัณฑ์ทรายแมวเป็นคุณสมบัติที่สาคัญ ดังนันงานวิจัยนีควรศึกษา

7 T 5 6
การซับกลิ่นโดยใช้วัสดุอื่นนอกจากการเติมถ่านกัมมันต์ เนื่องจากทาให้ผลิตภัณฑ์ทรายแมวมีสีดา และ

/
ทาให้เกิดความสกปรกต่อแมวและพืนที่เมื่อนาไปใช้งาน นอกจากนีควรศึกษาด้านความเป็นพิษ การ
2
4 4 5 0 7 /
ระคายเคืองและความชอบของแมวต่อไป

. 1 0 /
10 มื่อ 2

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 39

e . 2 : 1 0 รายการอ้างอิง

.U 4t h
หนังสือและบทความในหนังสือ
2 2
7 / T 2 5 6
กล้ าณรงค์ ศรี ร อด, เกือกูล ปิ ย ะจอมขวัญ. (2550). เทคโนโลยีของแป้ง . กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์

4 4 5 0 7 /
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมพร อิศวิลานนท์. (2557). มองสถานการณ์ข้าวไทยผ่านตลาดการค้าข้าวโลก. กรุงเทพฯ: สานักงาน

. 1 0 /กองทุนสนับสนุนการวิจัย.

10 มื่อ 2
บทความวารสาร

เ สุดารัตน์ สมบัติศรี , พนิดา ธงกิ่ง, ปวีณัสฎ์ นามสาลี , ณัฏฐ์คณิน ศุภเมธานนท์ , วีณา รองจะโปะ.
(2558). การดูดซึมไอออนตะกั่วด้วยกากมันสาปะหลังดัดแปลง. วารสารนเรศวรพะเยา, 8(3),
166-169
พิชัย เอี่ยวเล็กและกฤช สมนึก , (2558). การใช้ประโยชน์จากกากกาแฟเพื่อผลิตเป็นเชือเพลิงเหลว
และเชือเพลิ ง แข็ง. ARPN Journal of Engineering and Applied Sciences, 16, 7049-
7052
สันติ แนวทอง, ศิริธร ศิริอมรพรรณ, ศักดิ์ชัย ดรี, นเรศ มีโส. (2553). การเปรียบเทียบการอบแห้งชา
โมโรเฮยะด้ว ยอากาศความชืนสั มพั ทธ์ต่ าและอากาศร้ อนที่อุ ณหภู มิต่ าและอุ ณหภู มิ สู ง .
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 3(41)
ธีรดิตถ์ โพธิตันติมงคลและ ปิยธิดา อุระชื่น. (2556). ถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดย
การกระตุ้ น ทางเคมี เพื่ อ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ก าจั ด สารมลพิ ษ ในน า. วารสารหน่ ว ยวิ จั ย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 8(1), 196-214
ธีรดิตถ์ โพธิตันติมงคล, ปิยธิดา อุระชื่น. (2560). การกาจัดตะกั่วในนาเสียอุตสาหกรรมโดยใช้ถ่านกัม
มั น ต์ จ ากไม้ ม ะขามที่ ผ่ า นการกระตุ้ น ด้ ว ยกรดฟอสฟอริ ก . วารสารวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี. 25(2).
Steven F. Vaughna, Mark A. Berhowa, Jill K. Winkler- Moser, Edward Lee. ( 2011) .
Formulation of a biodegradable, odor-reducing cat litter from solvent-extracted
corn dried distillers grains. Industrial Crops and Products, 34 (2011), 999–1002
Khani Moghanaki, khoshandam, M. H. Mirhaj, ( 2013) . Calculation of moisture content
and drying rate during microwave drying. Journal of Scientific Research, 746-
749.
Treesilvattanakul K. (2016). Deterministic factors of Thai cassava prices: multi uses of
cassava from food, feed, and fuel affecting on Thai cassava price volatility.
Proceedings of the international conference on agro-industry (ICoA) 2015. 7-9
November 2015. Matsuyama. Japan. p. 12-16.

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 40

. 2 : 1 0
İlknur Demira. (2011). Bio-oil production from pyrolysis of corncob (Zea mays L.).
e
.U 4t h 2 2
Journal of Biomass and Bioenergy, 36, p. 43-49
Margaret Cloff, Hildegarde Heymann. (1991). Physical and sensory characteristics of cat

7 / T 2 5 6
litter. Journal of Sensory Studies. p. 255-266

4 4 5
สิทธิบัตร

0 7 /
. 1 0 /
Richards JC, inventor; Richards JC. , assignee. Cat litter. United States Patent US

10 มื่อ 2
5060598.1991 Oct 29.
Sotillo VE, inventor; Sotillo VE., assignee. Method for producing a cat litter from grain

เ milling byproducts. United States Patent US 6220206 B1. 2001 Apr 24.

วิทยานิพนธ์

ยุ ว ดี มาทอง, (2559). การใช้ ป ระโยชน์ เ ปลื อ กและกากมั น ส าปะหลั ง ในการผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพ.
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ปริฉัตร พฤกษะวัน. (2553). การผลิตกรดแอล(+)แลกติกจากกากมันสาปะหลังโดยเชื้อรา Rhizopus
oryzae. (วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต ). สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ชีว ภาพ. จุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
นันทพร ตรีภพนาถ. (2554). การผลิตเยื่อจากกากมันสาปะหลังเพื่อการทดแทนเยื่อรีไซเคิลในการ
ผลิตกระดาษลอนลูกฟูก. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สาขาวิชาเทคโนโลยีเยื่อและ
กระดาษ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิเชียร ดวงสีเสน, เทวรัตน์ ตรีอานรรค, นัยวัฒน์ สุขทั่ง , วีรชัย อาจหาญ. (2555). การศึกษาการ
อบแห้ งกากมัน ส าปะหลั งโดยใช้เครื่ องอบแห้ งแบบตะแกรงหมุน . (วิทยานิพนธ์ปริญ ญา
มหาบัณฑิต). สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและอาหาร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
สิ ริ จิ ตติ์ แสงอุ่น อุรั ย . (2544). การศึกษาจลศาสตร์ ก ารดูด ติ ดผิ ว และการคายอลู มิเ นีย มของดิ น .
( วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ป ริ ญ ญ า ม ห า บั ณ ฑิ ต ) . ส า ข า วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม .
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Hans Rudolf Briner, Daniel Simmen. ( 2000) . Smell diskettes as screening test of
olfaction. Department of Otorhinolaryngology. University of Zürich, Switzerland.
กฤติยา วงค์เลน. (2555). อิทธิพลของการดูดซึมนาและอุณหภูมิขึนรูปต่อสมบัติเชิงกลของวัส ดุรี
ไซเคิลจากเศษเมลามีน . (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 41

สื่ออิเล็กทรอนิกส์
e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
สมาคมโรงงานผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังไทย. (2562). ราคามันสาปะหลัง. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 เมษายน

7 / T 5 6
2562, จาก http://thaitapioca.org/
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562). ข้อมูลการผลิตสินค้าเกษตร. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม
2
4 4 5 0 /
2562, จาก http://oae.go.th
7
พิมเพ็ญ พรเฉลิมพงศ์, นิธิยา รัตนาปนนท์. (2562). อัตราการทาแห้ง (drying rate). สืบค้นเมื่อวันที่

. 1 0 /3 มกราคม 2562, จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0663/

10 มื่อ 2
กาญจนา สวยสม. (2558). เทคนิคการเก็บตัวอย่างกลิ่นและการตรวจวิเคราะห์กลิ่น. สืบค้นเมื่อวันที่
6 มีนาคม 2562, จาก http://env.anamai.moph.go.th/download /2558/.pdf

เ G.U.N.T. Gerätebau GmbH. (2019). CE 130 Convection drying. สื บค้นเมื่อวั นที่ 8 มีนาคม
2562, จาก https://www.gunt.de/en/products/process-engineering/thermal-
process-engineering/drying-and-evaporation/convection-drying/
Food and agriculture organization of the United Nations. (2016). Production quantities
of cassava by country. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2562, จาก
http://www.fao.org/faostat/en/#data/QC.
Karen Becker. (2015). Common types of cat litter. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2562, จาก
https://healthypets.mercola.com/sites/healthypets/archive/2015/03/23/comm
on-types-cat-litter.aspx
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2562). ทิศทาง อนาคต และแนวทางส่งเสริมมันสาปะหลังไทย.
สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2562, จาก http://prp.trf.or.th/trf-policy-brief/
สถานภาพเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร. โครงการศึกษาแนวทางบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตรเพื่อใช้เป็นเชือเพลิงและลดการเกิดหมอกควัน. สานักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ 2554, สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2562, จาก
http://webkc.dede.go.th/testmax/

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9
e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 /
. 1 0 /
10 มื่อ 2
เ ภาคผนวก

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 43

e . 2 : 1 0 ภาคผนวก ก

.U 4t h 2 2 ผลการทดสอบการซับกลิน่

7 / T 2 5 6
ประสาทสัมผัสด้านการรับรู้กลิ่น คือ การได้กลิ่นด้วยสัมผัสทางจมูก ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์

5 /
ไม่สามารถปิดรับได้ เนื่องจากมนุษย์ต้องหายใจและในการหายใจทุกครัง ย่อมหมายถึง การได้รับรู้ถึง

14 4 / 7
กลิ่นที่แทรกเข้ามากับหายใจด้วย อย่างไรก็ตามผู้ที่ใช้ทรายแมวต้องประสบกับปัญญาด้านกลิ่นจาก
0
การขับถ่ายของแมวจึงได้มีการทดสอบการรับกลิ่นโดยผู้ทดสอบ ทัง 20 คน ได้ผลการทดสอบดังนี
.
10 มื่อ 2 0
ตารางที่ ก.1


ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันสาปะหลังบดละเอียด
ผู้ ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5
ที่ ที่
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
1 3
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
2 4
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 44

ตารางที่ ก.1
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันสาปะหลังบดละเอียด (ต่อ)
t 2
ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5
ที่

7 / 2
1 นาที5 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที

.
10 มื่อ 2 0
5
90 นาที
120 นาที


8
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที  
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
6 9
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
7 10
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 45

ตารางที่ ก.1
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันสาปะหลังบดละเอียด (ต่อ)
t 2
ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5
ที่

7 / 2
1 นาที5 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 0
11
90 นาที
120 นาที


14
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
12 15
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
13 16
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 46

ตารางที่ ก.1
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันสาปะหลังบดละเอียด (ต่อ)
t 2
ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5
ที่

7 / 2
1 นาที5 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที

.
10 มื่อ 2 0
17
90 นาที
120 นาที


19
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
18 20
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 47

ตารางที่ ก.2
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของถ่านกัมมันต์บดละเอียด
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที 

30 นาที 

.
60 นาที 60 นาที

10 มื่อ 2 01
90 นาที
120 นาที

 4
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
2
120 นาที  5
120 นาที 
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
3
120 นาที  6
120 นาที 
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 48

ตารางที่ ก.2
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของถ่านกัมมันต์บดละเอียด (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที 

30 นาที 

.
60 นาที 60 นาที

10 มื่อ 2 07
90 นาที
120 นาที

 10
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
8
120 นาที  11
120 นาที 
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
9
120 นาที  12
120 นาที 
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 49

ตารางที่ ก.2
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของถ่านกัมมันต์บดละเอียด (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที 

30 นาที 

.
60 นาที 60 นาที

10 มื่อ 2 013
90 นาที
120 นาที

 16
90 นาที
120 นาที 


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
14
120 นาที  17
120 นาที 
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
15
120 นาที  18
120 นาที 
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 50

ตารางที่ ก.2
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของถ่านกัมมันต์บดละเอียด (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่น
ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที  30 นาที 

.
60 นาที  60 นาที 

10 มื่อ 2 019
90 นาที
120 นาที


20
90 นาที
120 นาที

เ 180 นาที
210 นาที
240 นาที



180 นาที
210 นาที
240 นาที


310 นาที  310 นาที 


12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

ตารางที่ ก.3
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 2:1
ผู้ ระดับกลิ่น
ผู้ ระดับกลิ่น
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5
ที่ ที่
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
1 2
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 51

ตารางที่ ก.3
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 2:1 (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 03
90 นาที
120 นาที


6
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
4 7
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
5 8
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 52

ตารางที่ ก.3
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 2:1 (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที

.
10 มื่อ 2 0 9
90 นาที
120 นาที


12
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
10 13
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที   30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
11 14
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 53

ตารางที่ ก.3
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 2:1 (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่นผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 015
90 นาที
120 นาที 

18
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
16 19
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
17 20
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 54

ตารางที่ ก.4
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 4:1
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที 
 30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 01
90 นาที
120 นาที


4
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
2 5
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
3 6
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 55

ตารางที่ ก.4
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 4:1 (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที 
 30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 07
90 นาที
120 นาที


10
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
8 11
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
9 12
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 56

ตารางที่ ก.4
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 4:1 (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 013
90 นาที
120 นาที


16
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
14 17
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
15 18
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 57

ตารางที่ ก.4
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 4:1 (ต่อ)
t 2 ระดับกลิ่นผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที 
 30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 019
90 นาที
120 นาที 

20
90 นาที
120 นาที 


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

ตารางที่ ก.5
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 6:1
ผู้ ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5
ที่ ที่
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
1 2
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 58

ตารางที่ ก.5
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 6:1 (ต่อ)
t 2
ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที

.
10 มื่อ 2 03
90 นาที
120 นาที


6
90 นาที
120 นาที


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
4 7
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
5 8
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 59

ตารางที่ ก.5
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 6:1 (ต่อ)
t 2
ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที 
 30 นาที
60 นาที 

.
10 มื่อ 2 0 9
90 นาที
120 นาที 

12
90 นาที
120 นาที 


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
10 13
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
11 14
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 60

ตารางที่ ก.5
e . 2 : 1 0
ผู้
.U 4 h 2
ผลการทดสอบการรับกลิ่นของกากมันผสมถ่านกัมมันต์ อัตราส่วนต่อน้าหนัก 6:1 (ต่อ)
t 2
ระดับกลิ่น ผู้ ระดับกลิ่น

T 6
ทดสอบ ระยะเวลา ทดสอบ ระยะเวลา

/
0 1 2 3 4 5 0 1 2 3 4 5

5 7
ที่

/ 2 5
1 นาที 
ที่
1 นาที 

14 4 / 0 7
30 นาที
60 นาที


30 นาที
60 นาที

.
10 มื่อ 2 015
90 นาที
120 นาที 

18
90 นาที
120 นาที 


180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
16 19
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 
1 นาที  1 นาที 
30 นาที  30 นาที 
60 นาที  60 นาที 
90 นาที  90 นาที 
120 นาที  120 นาที 
17 20
180 นาที  180 นาที 
210 นาที  210 นาที 
240 นาที  240 นาที 
310 นาที  310 นาที 
12 ชั่วโมง  12 ชั่วโมง 

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 61

e . 2 : 1 0
ภาคผนวก ข

.U 4t h 2 2
แบบสอบถามการใช้ทรายแมวจากเว็บไซด์ออนไลน์

7 / T 2 5 6
เพื่อให้ได้ข้อมูลและปัญหาที่เกิดจากการใช้ทรายแมวจริง ผู้วิจัยจึงได้ทาการศึกษาปัญหา

4 4 5 0 /
ของการใช้ทรายแมวในปัจจุบัน โดยแบบสอบถามที่ใช้เป็นแบบสอบถามออนไลน์ที่สามารถส่งให้ผู้ทา
7
แบบสอบถามได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยมีรายละเอียดของคาถามดังต่อไปนี

. 1 0 /
10 มื่อ 2

ภาพที่ ข.1 แบบสอบถามการใช้ทรายแมวจากเว็บไซด์ออนไลน์

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 62

e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 /
. 1 0 /
10 มื่อ 2

ภาพที่ ข.1 แบบสอบถามการใช้ทรายแมวจากเว็บไซด์ออนไลน์ (ต่อ)

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 63

e . 2 : 1 0
.U 4t h 2 2
7 / T 2 5 6
4 4 5 0 7 /
. 1 0 /
10 มื่อ 2

ภาพที่ ข.1 แบบสอบถามการใช้ทรายแมวจากเว็บไซด์ออนไลน์ (ต่อ)

Ref. code: 25626010036066CVA


. 27
0 19 : 4 9 64

e . 2 : 1 0 ประวัติผู้เขียน

ชื่อ
.U 4t h 2 2 นางสาวนิดารัตน์ เชตุใจ

7 / T
วันเดือนปีเกิด
วุฒิการศึกษา
2 5 6 10 เมษายน 2536
ปีการศึกษา 2557: วิทยาศาสตรบัณฑิต

4 4 5 0 7 / (เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน)

. 1 0 / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

10 มื่อ 2
ตาแหน่ง พนักงานวิเคราะห์ข้อมูล บริษัท Business Services
Alliance จากัด ภายใต้ บริษัท ปตท.จากัด (มหาชน)
ทุนการศึกษา 2562: ทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเพื่อทาวิจัยระดับ
เ บัณฑิตศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ

นิดารัตน์ เชตุใจ, ชาญณรงค์ อัศวเทศานุภาพ, และ มาลี สันติคุณาภรณ์. (2563). การพัฒนาวัสดุ


ดูดซับของเสียแมวจากการมันสาปะหลัง. เอกสารเสนอเพื่อจัดพิมพ์.

ประสบการณ์ทางาน 2560 - ปัจจุบัน : พนักงานวิเคราะห์ข้อมูล


บริษัท Business Services Alliance จากัด ภายใต้
บริษัท ปตท.จากัด (มหาชน)
2559 - 2560 : ผู้ช่วยผู้ตรวจตรวจประเมินอาชีวอนามัย
ความปลอดภัยสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ
บริษัท Business Services Alliance จากัด ภายใต้
บริษัท ปตท.จากัด (มหาชน)
2558 - 2559: ผู้ช่วยวิจัย
คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Ref. code: 25626010036066CVA

You might also like