You are on page 1of 27

รายวิชา วิทยาศาสตร์

รหัสวิชา ว21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เรื่อง
การลาเลียงอาหารของพืช
ผู้สอน ครูจิราพร สมพงศ์
ี งอาหารของพืช
การลาเลย
หน่วยการเรียนรู ที
้ ่5
การลาเลียงน้ าและอาหารของพื ช
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะและหน้าที่ของโฟลเอ็มได้
2. เขียนแผนภาพที่อธิบายทิศทางการลาเลียง
สารในโฟลเอ็มได้
ระบบเนื้อเยื่อท่อลาเลียง ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
ท่อลาเลียงน้าและธาตุอาหาร (xylem)
กับท่อลาเลียงอาหาร (phloem)
รูปแสดงภาพตัดขวางของรากพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยว
ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่

ภาพจาก https://sites.google.com/site/vascularsystemoftheplant/
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

ภาพจาก https://jun75229.wordpress.com/2014/02/20/
ี เพลท
ซพ
โฟลเอ็ม เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้ำที่ ี ทว
ซพ ิ บ์เมมเบอร์

ลำเลียงอำหำรและสร้ำงควำมแข็งแรง คอมพาเนี ยนเซลล์

ให้แก่ลำต้นพืช โดยท่อลำเลียงอำหำร โฟลเอ็มพาเรงคิมา

ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด ดังนี้

ภาพจาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter4/p2_2.html
1. ซีพทิวบ์เมมเบอร์ (sieve tube member)
เป็นเซลล์ที่มีรูปร่ำงเป็นทรงกระบอกยำว เป็นเซลล์ที่มีชีวิต
ี เพลท
ซพ

ี ทิวบ์เมมเบอร์
ซพ
คอมพาเนี ยนเซลล์
โฟลเอ็มพาเรงคิมา

เป็นทางส่งผ่านของอาหารที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช โดยส่งผ่านอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ของลาต้นพืช
ภาพจาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter4/p2_2.html
2. คอมพาเนียนเซลล์ (companion cell)
เป็นเซลล์พำเรงคิมำชนิดหนึ่งทีอ่ ยู่ติดกับซีพทิวบ์ เป็นเซลล์ที่มีชีวิตตลอด
คอมพำเนียนเซลล์ติดต่อกับซีพทิวบ์ตรงบริเวณช่องทีผ่ นังเซลล์
ี เพลท
ซพ

ี ทิวบ์เมมเบอร์
ซพ
คอมพาเนี ยนเซลล์
โฟลเอ็มพาเรงคิมา

ภาพจาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter4/p2_2.html
3. โฟลเอ็มพาเรงคิมา (phloem parenchyma)
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต มีผนังเซลล์บำง มีรูเล็ก ๆ ที่ผนังเซลล์
ี เพลท
ซพ

ี ทิวบ์เมมเบอร์
ซพ
คอมพาเนี ยนเซลล์
โฟลเอ็มพาเรงคิมา

- สะสมอาหารที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
- ลาเลียงอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช
- เสริมความแข็งแรงให้กับท่อลาเลียงอาหาร
ภาพจาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter4/p2_2.html
4. โฟลเอ็มไฟเบอร์ (phloem fiber)
มีลักษณะคล้ำยกับไซเล็มไฟเบอร์ มีรูปร่ำงลักษณะยำว
มีหน้ำตัดกลมหรือรี ี เพลท
ซพ

ี ทิวบ์เมมเบอร์
ซพ
คอมพาเนี ยนเซลล์
โฟลเอ็มพาเรงคิมา

- ช่วยเสริมความแข็งแรงให้กับท่อลาเลียงอาหาร
- สะสมอาหารให้แก่พืช
ภาพจาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter4/p2_2.html
เมื่อพืชสร้างอาหารได้มาก พืชก็จะลาเลียง
อาหารไปเก็บไว้ในส่วนต่าง ๆ ของพืช
ึ เป็นท่ส
ส่วนของพืชซ่ง ี ะสมอาหารและ
ั เจน เชน
เห็นได้ชด ่ ผล เมล็ด ราก และลาต้น
1. ส่วนของผลทส
่ี ะสมอาหาร

ได้แก่ ผลไม้ชนิดต่าง ๆ เช่น


กล้วย ลาไย

เงาะ ขนุน
2. ส่วนของเมลด
็ ทส
่ี ะสมอาหาร

เช่น
ข้าว ข้าวโพด

ละหุ่ง ถั่วต่าง ๆ
3. ส่วนของรากทส
่ี ะสมอาหาร

เช่น
มันเทศ ผักกาดหัว

แครอท
4. ส่วนของลาตน ่ี ะสมอาหาร
้ ทส

เช่น
อ้อย
5. ส่วนของลาตน
้ ใตด ิ ทส
้ น ่ี ะสมอาหาร

เช่น
เผือก มันฝรัง

แห้ว หัวหอม
โฟลเอ็ม
ั ษณะตา
มีคุณลก ่ งกับ
็ ดังน้ี
ไซเลม
ภาพ www.freepik.com
@Watcartoon @rawpixel.com
ี ง
ั ราการลาเลย
1. อต

อัตราการลาเลียงอาหารในโฟลเอ็ม
สามารถเกิดได้ช้ากว่าอัตราการลาเลียงน้า
และแร่ธาตุในไซเล็มมาก
ี ง
ิ ทางการลาเลย
2. ทศ

ทิศทางการลาเลียงในโฟลเอ็ม สามารถเกิดขึ้นได้
ทั้งในแนวขึ้นและแนวลงในเวลาเดียวกัน ซึ่งต่างกับ
การลาเลียงในไซเล็ม ซึ่งจะเกิดในแนวขึ้นเพียงทิศทางเดียว
ี งของพืช
ิ ทางการลาเลย
ทศ

ภาพจาก http://www.katebrilakis.com/plant-pics.html
์ อ
3. เซลลต ี ต
้ งมีชว ิ

เซลล์ที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจะต้องเป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่
การลาเลียงจึงจะเกิดขึ้นได้ ส่วนเซลล์ที่ใช้ในการลาเลียงน้าและ
ธาตุอาหารมักจะเป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิต
ใบงาน
ี ง
ื่ ง การลาเลย
เรอ
อาหารของพืช
ภาพ www.freepik.com
@Watcartoon @rawpixel.com
ั่ โมงต่อไปทากิจกรรม
ชว
ื่ ง ธาตุอาหารบางชนิ ดท่ม
เรอ ี ี
ความสาคัญต่อการเจรญ
ิ เติบโตของพืช

You might also like