You are on page 1of 36

14/07/64

ั นทด
พรรณทิพย์ ชบขุ
ภาควิชาการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์
ี า
วิทยาล ัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสม

บทที่ 4 การเปลีย
่ นแปลงในระยะตงครรภ์
ั้ ปกติ

การปฏิสนธิและ
4.1 พ ัฒนาการทารกใน
ครรภ์
4.2 การเกิดรกและ
พ ัฒนาการของรก

การเปลีย
่ นแปลงทางสรีรวิทยา
4.3 ั
จิตสงคม และจิตวิญญาณของ
มารดาในระยะตงครรภ์
ั้

1
14/07/64

อ ธิ บ า ย
ว ัตถุประสงค์
การเปลีย
่ นแปลงระยะตงครรภ์
ั้ ปกติ
1 การปฏิสนธิและพ ัฒนาการทารกในครรภ์

2 การเกิดรกและพ ัฒนาการของรก

3 การเปลีย ั
่ นแปลงทางสรีรวิทยา จิตสงคม และ
จิตวิญญาณของมารดาในระยะตงครรภ์
ั้

การประเมินผล

ข้อสอบแบบต ัวเลือกตอบ
15 คะแนน

2
14/07/64

กำเนิดกุมำร
ก า ร ป ฏิ ส น ธิ แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร ท า ร ก ใ น ค ร ร ภ์

P re-embryonic ั
ปฏิสนธิ – 2 สปดาห์

stage

Embryonic
stage

3-8 สปดาห์

Fetal
stage ั
9 สปดาห์ จนคลอด

3
14/07/64

Fertilization
ก า ร ป ฏิ ส น ธิ

4
14/07/64

เจริญไปเป็น “รก”

germ layer

เจริญไปเป็น
“ต ัวอ่อน” B lastocyst

5
14/07/64

2 ❑ ทาหน้าทีเ่ ป็นแหล่ง
สะสมอาหารของต ัวอ่อน
❑ หมดหน้าทีเ่ มือ
่ ถุงร ังไข่
ระยะทีส่ องเจริญเต็มที่
1 ั
ประมาณสปดาห์ ท ี่ 9
ขณะฝังต ัวเกิดชอ่ งว่าง หล ังการปฏิสนธิ
2 แห่ง ระหว่าง inner
cell mass และ
trophoblast

Embryonic stage ้ เยือ


เนือ ั้
่ ชนกลาง (Mesoderm)
❑ ระบบโครงกระดูก ระบบกล้ามเนือ ้
Glayer
erm
ั 3
สปดาห์
ท ี่
❑ ระบบหมุนเวียนโลหิต
(ห ัวใจ เส้นเลือด เลือด ม้าม)
❑ ระบบข ับถ่าย (ไต)
❑ ระบบสืบพ ันธุ ์ (อ ัณฑะ ร ังไข่)

้ เยือ
เนือ ั้
่ ชนใน (Endoderm)
้ เยือ
เนือ ั้
่ ชนนอก (Ectoderm)
❑ ระบบทางเดินอาหาร (หลอดอาหาร,
ั้
❑ ผิวหน ังชนนอก ผม เล็ บ เลนส์ตา
กระเพาะอาหาร, ลาไส้, ต ับ, ต ับอ่อน)
❑ ระบบประสาท (สมอง,ไขส ันหล ัง)
❑ ระบบหายใจ (หลอดลม, ปอด)
❑ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า และส่วนกลาง
❑ ต่อมทอนซิล หูสว ่ นกลาง
❑ สารเคลือบฟัน ต่อมนา้ ลาย
❑ ต่อมไทรอยด์ พาราไทรอยด์ ไทม ัส
❑ ต่อมหมวกไตชนใน ั้ ต่อมใต้สมองส่วนท้าย
❑ กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ

6
14/07/64

Embryonic
stage


สปดาห์
ท ี่ 4
เกิดการงอต ัวเป็น c-shaped curve
❑ มีการเจริญของอว ัยวะต่างๆ เชน ่ ท่อประสาท กระดูกสนหลั ัง
❑ เมือ
่ สน ั
ิ้ สุดสปดาห์
ท ี่ 4 จะมีตม
ุ่ แขน ขา เริม
่ มีการเจริญของตา หู ปาก ลลล
❑ ความยาวจากห ัวถึงก้น ประมาณ 4-5 มม. หน ัก 400 มก.


สปดาห์
ท ี่
❑ เริม
5
่ มีการเจริญของเสน ้ ประสาทในสมอง
(cranial nerve) 5 คู่ ใน 10 คู่
Heart
❑ เริม่ มีสว่ นนิว้ มือนิว้ นิว้ เท้า สว่ นหูนน ้
ู ขึน
❑ ยาวประมาณ 7-8 มม. หน ัก 800 มก.


สปดาห์
ท ี่ 6
❑ อว ัยวะเจริญมากขึน ้ ลาต ัวเริม
่ ยืดออก
❑ เริม ้ กระดูกกะโหลกศรี ษะ
่ สร้างกล้ามเนือ
และขากรรไกร
❑ ห ัวใจ แบ่งห้องเรียบร้อย
❑ เริม ่ งปาก ชอ
่ สร้างชอ ่ งจมูก และริมฝี ปาก
❑ ยาวประมาณ 12 มม. หน ัก 1200 มก.

Embryonic
stage ั
สปดาห์
ท ี่ 7
❑ โครงสร้างทีส ่ าค ัญ สว่ นใหญ่เจริญเรียบร้อยแล้ว
❑ มองเห็นลูกตาชดเจนั มีการเจริญเกือบสมบูรณ์ของเบ้าตา
ลิน
้ และเพดานปาก
❑ เริม ั
่ มีการแยกออกจากก ันชดเจนของทางเดิ นอาหารและ
ลาไส ้ และทางเดินปัสสาวะ เชน ่ กระเพาะปัสสาวะแยกก ับ
ท่อปัสสาวะ
❑ เริม
่ มีความแตกต่างของตอมเพศในร ังไข่+อ ัณฑะ


สปดาห์

ท ี่ 8
อว ัยวะสาค ัญสร้างครบแล้ว
❑ รูปร่างเหมือนคน ใบหน้าชดเจน ั นิว้ มือ นิว้ เท้าแยกจากก ันได้
❑ เริม
่ สร้างอว ัยวะสบื พ ันธุภ
์ ายนอก แต่ย ังแยกเพศไม่ได้
❑ สายสะดือสมบูรณ์ มีระบบไหลเวียนเลือดในสายสะดือ
❑ กล้ามเนือ ้ ม ัดใหญ่เริม
่ หดต ัว สามารถเคลือ ่ นไหวได้
❑ ยาวประมาณ 2.5-3 ซม. หน ัก 2 กร ัม

7
14/07/64

Embryonic stage

ระยะ embryo stage


เป็นระยะทีส
่ าค ัญทีส
่ ด
ุ ของการเจริญเติบโต
และพ ัฒนาการของทารกในครรภ์
เพราะว่า....
ื้
ถ้าได้ร ับสารพิษ สงิ่ แวดล้อมไม่ด ี ติดเชอ
มีโอกาสเกิดความพิการของทารกได้


สปดาห์
ท ี่ 9-12 ั ้
❑ ใบหน้าชดเจนมากยิ ง่ ขึน
❑ แขนขายาว มีนวิ้ มือ+เล็บอ่อน
❑ เริม
่ มีการสร้างเม็ดเลือดแดงจากต ับ
❑ เริม่ มีการเคลือ
่ นไหว และตอบสนองต่อการกระตุน

❑ ยาวประมาณ 7-9 ซม. หน ัก 45 กร ัม


สปดาห์
ท ี่ 13-16
❑ เริม
่ สร้างขนอ่อน (lanugo hair) โดยเฉพาะทีศ ่ รี ษะ
❑ ผิวหน ังบางเห็นเสน ้ เลือดชดเจน

❑ สร้างเซลล์กล้ามเนือ ้ และเนือ
้ เยือ ้
่ มากขึน
❑ 16 wks แยกเพศได้
❑ ทารกสามารถกลืนนา้ หล่อเด็กได้ ลาไสม ้ ข
ี เี้ ทา (meconium)
❑ มีการเคลือ ่ นไหวของระบบหายใจ
❑ มีการเคลือ ่ นไหว จนมารดารูส ึ ได้
้ ก
❑ ยาวประมาณ 11-17 ซม. หน ัก 120 กร ัม

8
14/07/64


สปดาห์
ท ี่ 17-20
❑ มีขนอ่อนทว่ ั ต ัว มีผมบนศรี ษะ
❑ เริม
่ มีการสร้างขนคิว้ ขนตา และห ัวนม
เล็บ ยาวขึน้
❑ ดิน
้ จนมารดารูส ึ ได้
้ ก
❑ ฟัง FHS ได้ดว้ ย stechtoscope
❑ ยาวประมาณ 22-25 ซม. หน ัก 460 กร ัม



สปดาห์
ท ี่
ผมยาวขึน
21-24 ั
้ มีขนตา ขนคิว้ ชดเจน ❑

สปดาห์
ท ี่ 25-28
สร้าง subcutaneous fat
❑ เริม
่ มี reflex ของการกามือ ❑ ผิวแดงปกคลุมด้วยไข
❑ ถุงลมในปอดเริม ่ ทางาน ❑ ตาไวต่อแสง
❑ ยาวประมาณ 28-34 ซม. ❑ เปิ ด-ปิ ดลูกตาได้
หน ัก 650-820 กร ัม ❑ ปอดเริม ่ แลกเปลีย
่ นก๊าซ
❑ หากคลอดตอนนีจ ้ ะมีชวี ต
ิ ❑ ชาย-ลูกอ ัณฑะลงถุงอ ัณฑะ
อยูไ่ ด้ประมาณ 2-3 ชม. ❑ ยาวประมาณ 35-38 ซม. หน ัก 1,200 กร ัม
❑ หากคลอดมีโอกาสรอด แต่อาจต้องพึง่ NICU


สปดาห์
ท ี่ 29-32 ้ +ไขม ัน
❑ เพิม
่ น.น.ของกล้ามเนือ
❑ ผิวหน ังตึง-มีไขม ันใต้ผวิ หน ัง
❑ ระบบประสาทสว ่ นกลางเจริญเต็มที่
❑ ทารกจะสะสมเหล็ก+แคลเซย ี ม+ฟอสฟอร ัส
❑ ยาวประมาณ 33-43 ซม. หน ัก 2,000 กร ัม
❑ หากคลอดตอนนีจ ้ ะมีชวี ต
ิ อยูไ่ ด้

สปดาห์ 37-40
ท ี่

สปดาห์ท ี่ 33-36
❑ ร่างกาย แขนขาเจริญเต็มที่
❑ ผิวหน ังตึง เป็นสช
❑ เสน
ี มพู เล็บยาวพ้นปลายมือ
้ ผมยาว 3-4 ซ.ม. มีขนอ่อนทีไ่ หล่ แขน
❑ ชาย-ลูกอ ัณฑะลงถุงอ ัณฑะ หญิง-labia
❑ ขนอ่อนจะเริม
่ หายไป majora ชด ิ ก ันทงั้ 2 ข้าง
❑ เล็บยาวถึงปลายนิว้ ❑ ทารกจะร้องท ันทีเมือ ่ คลอด และลืมตา
❑ มี surfactant ป้องก ันถุงลมแฟบ ❑ มีการเคลือ่ นไหวของแขน ขา เท้า
❑ ยาวประมาณ 42-48 ซม. หน ัก ❑ คลอดครบกาหนด ต ัวยาว 48-52 ซม.
2,500-2,700 กร ัม หน ัก 3,000-3,500 กร ัม

9
14/07/64

การเกิ ดรก
และพัฒนาการของรก

Placenta
Trophoblast
สร้าง primary villi เข้าไปฝังต ัว
ในเยือ
่ บุมดลูก (endometrium)
เจริญไปเป็น “รก”

10
14/07/64

ล ักษณะรกครบกาหนด
❑ กลม แบน
❑ กว้าง 15-20 ซม.
❑ หน ัก 1/5-1/6 ของ นน.ทารก หรือประมาณ 500 กร ัม

รกด้านมารดา (maternal surface)


Placenta
❑ ยึดเกาะผน ังมดลูก มีสแ ี ดงเหมือนเปลือกลิน
้ จี่ ปกคลุมด้วย
decidua บางๆ และจะแยกก ันเป็นก้อน เรียกว่า
cotyledon มีประมาณ 15- 20 ก้อนแต่ละก้อนจะมีรอ ่ งกนั้
อยูเ่ รียกว่า placenta Plus

รกด้านทารก (fetal surface)


❑ สเี ทา ม ัน ปกคลุมด้วย amnion มีสายสะดือติดอยู่ มีหลอด
เลือดกระจายจากตาแหน่งทีร่ กเกาะ ทีข ่ อบ เห็นเป็นวงส ี
ขาวโดยรอบเกิดจากการเชอ ื่ มติดก ันของ decidua vera
และ decidua capsularis เรียกว่า closing ring of
wrinkle waldeyer

11
14/07/64

ห ่ องรก (
น้าทีข Placenta )

กระบวนเมตาบอลิซม
❑ การสงเคราะห์
ั ไกลโคเจน กลูโคส และกรดไขม ัน เพือ
่ เป็นสารอาหาร และแหล่ง
พล ังงานให้แก่ทารก
การแลกเปลีย ี
่ นสารอาหาร ก๊าซ และของเสย
❑ สารอาหาร ก๊าซ และของเสยี จะเกิดการแลกเปลีย่ นระหว่างทารกก ับมารดาในรก โดย
แลกเปลีย ่ ผ่านทางหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดาตามทีก
่ น และสง ่ ล่าวข้างต้น
การสร้างฮอร์โมน
❑ รกจะเจริญ และพ ัฒนาหล ังจากต ัวอ่อนเข้าฝังในเยือ่ บุโพรงมดลูก ซงึ่ จะทาหน้าที่
สร้างฮอร์โมนสาค ัญทีเ่ กีย
่ วข้องก ับการตงครรภ์
ั้ หลายชนิด ได้แก่ Estrogen
Progesterone (สามารถสร้างได้สง ู สุด 250 มก./ว ัน) hCG hCS hPL ลลล
่ ารก
กรองแยกสารพิษไม่ให้เข้าสูท
❑ สารพิษหรือยาบางชนิดทีม่ ารดาร ับประทานเข้าไป บางสว่ นจะถูกกรอง และสก ัดกนั้
่ ารก แต่ยาบางชนิดทีม
ไม่ให้ไหลเข้าสูท ่ ารก
่ โี มเลกุลขนาดเล็กก็สามารถผ่านเข้าสูท
่ ก ัน
ได้เชน

P lacenta
Grade 0 Grade 2

Grade 1 Grade 3

12
14/07/64

Fmembranes
etal ❑ สว่ นของ ectoderm จะเจริญขึน
embryonic plate เปลีย
จึงเรียกว่า “เยือ
้ แล้วแยกออกจาก
่ นไปเป็นผน ังด้านในของโพรงนา้ ครา
้ ทารกชนใน” amnion
่ หุม ้ ั

❑ ทางด้าน endoderm จะมี yolk sac และ


บางสว่ นของ mesoderm จะเปลีย่ นไป


เป็น body stalk

❑ เมือ
่ amnion เจริญขึน้ จะมีการขยายต ัว
ล้อมรอบ embryo ทาให้ embryo งอต ัว
และจะไปเบียด yolk sac ให้เข้าไปชด ิ ก ับ
body stalk และหุม้ รวมก ันเข้าไว้
กลายเป็น “สายสะดือ”

❑ ด ังนน
ั้ amnion ทีข ่ ยายต ัวเต็มทีจ่ ะมาอยู่
แนบชด ิ แต่ไม่สนิทก ับ chorionic tissue
จึงเกิดเป็นเยือ ่ หุม้ ทารก 2 ชน ั้ คือ “เยือ
่ หุม

ทารกชนนอก ั้ ”chorion” และ เยือ่ หุม้
ทารกชนใน ั้ ั้
ซงึ่ ทงั้ 2 ชนสามารถแยกออก
จากก ันได้

F etal
membranes
❑ เป็นเยือ
มดลูก
่ ชนิดนอกทีต
่ ด
ิ ก ับผน ัง

❑ มีล ักษณะหนา ไม่ใส ไม่เรียบ


ั้
เพราะมีชนของ Decidual
capsularis และ Decidua
vera ลอกติดมาด้วย
❑ เยือ ่ หุม ั้ ฉ
้ ทารกชนนี ้ ก
ี ขาดง่าย
ซงึ่ อาจหลุดค้างอยูใ่ นโพรง
มดลูก

C horion เยือ
่ หุม ั้
้ ทารกชนนอก

13
14/07/64

Fmembranes
etal

❑ เป็นเยือ
่ หุม ั้
้ ทารกชนใน หุม
้ ต ัวทารก สายสะดือ และนา้ ครา
่ ไว้ ติดอยูก
่ ับรกทางด้าน
ทารก หรือด้าน Chorionic plate
❑ สามารถลอก Amnion แยกออกจากชน ั้ Chorionic โดยตลอด และลอกออกจาก

Amnion
Chorionic plate ไค้จนถึงทีเ่ กาะของสายสะดือ
❑ ล ักษณะเป็นม ัน สขี าวขุน
่ และเหนียวมาก แต่บางและ เยือ
่ หุม ั้
้ ทารกชนใน
ใสกว่าชน ั้ Chorion มาก ม ักไม่มก ี ารฉีกขาดหลุดค้าง
อยูใ่ นมดลูกเพราะไม่ตด ิ ก ับผน ังมดลูก

F etal
membranes

หน้าที่
❑ สร้างและเก็บนา้ ครา

❑ ผลิต prostaglandin
meconium staining
ความผิดปกติของเยือ
่ หุม
้ ทารก
❑ meconium staining พบใน Post term
❑ เยือ
่ หุม ื้ ใน
้ เด็กอ ักเสบ (Chorioamnionitis) เกิดการติดเชอ
ครรภ์ ม ักเกิดในกรณีทถ ี่ ง
ุ นา้ ครา
่ แตกเป็นเวลานาน

14
14/07/64

Umbilical
cord
❑ ยาวเฉลีย ่ ประมาณ 50 ซม.
(30-100 ซม.)
❑ เสน้ ผ่าน ศก. 1-2.5 ซม.
❑ มีสารเมือกสข ี าวใสหุม

ล้อมรอบเรียกว่า
Wharton’s jelly
❑ มีเสน้ เลือด vein 1 เสน ้

artery 2 เสน มองเห็นได้
ด้วยตา

ั้
❑ หากสายสะดือ สนเกิ
นไป อาจทาให้เกิดโรคลอกต ัวก่อนกาหนด
❑ หากสายสะดือ ยาวเกินไป อาจเกิดสายสะดือย้อย หรือสายสะดือพ ันก ัน หรือพ ันคอได้

Umbilical
cord

15
14/07/64

Umbilical
cord
A. centralis insertion
B. lateralis insertion
C. Marginalis insertion
D. Membranous insertion

ล ักษณะ
❑ สร้างขึน ้ พร้อมก ับการก่อต ัวของโพรงนา้ ครา
(amniotic cavity)
❑ ผลิตจากสารค ัดหลง่ ั amnion และสารนา้ ทีซ
เลือด ผิวทารก ปัสสาวะทารก

ึ จาก
่ ม
A niotic
fluid
❑ มีฤทธิเ์ ป็นด่างอ่อน pH 7.2 ประกอบด้วยนา้ 98%

หน้าที่ ปริมาณ
❑ ทาให้ทารกมีการเคลือ ่ นไหวสะดวก ั
❑ อายุครรภ์ 6 สปดาห์ มีนา้ ครา ่ 8 มล.
❑ ป้องก ันการกระทบกระเทือนซงึ่ จะเป็น ั
❑ อายุครรภ์ 12 สปดาห์ มีนา้ ครา ่ 50-80 มล.
อ ันตรายแก่ทารก ั
❑ อายุครรภ์ 16 สปดาห์ มีนา้ ครา ่ 200 มล.
❑ ร ักษาอุณหภูมข ิ องทารกให้คงที่ แหล่งให้ ❑ อายุครรภ์ 20 สปดาห์ั มีนา้ ครา ่ 400 มล.
อาหารแก่ทารก
❑ อายุครรภ์ 36-38 สปดาห์ ั นา้ ครา ่ 1,000 มล.
❑ ควบคุมแรงด ันในโพลงมดลูก ชว ่ ยหล่อลืน

❑ อายุครรภ์ 40 สปดาห์ ั มีนา้ ครา ่ น้อยกว่า
ขณะคลอด
1,000 มล. เล็กน้อย
❑ แรงด ันนา้ ในโพรงนา้ ครา่ มีสว่ นชว ่ ยขยาย

❑ หล ัง 42 สปดาห์ ปริมาณนา้ ครา ่ ลดลงเรือ
่ ยๆ
ปากมดลูกเมือ ่ เวลาเจ็บครรภ์คลอด
อาจจะพบเพียง 200-300 มล.

16
14/07/64

A niotic
fluid

ไดนามิคของนา้ ครา
่ (มล.) ในครรภ์ใกล้ครบกาหนด
https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=1088:2015-02-22-12-27-31&catid=38&Itemid=480

A niotic
fluid

❑ ภาวะนา้ ครา
่ มาก/ครรภ์แฝดนา้
(Polyhydramnios or
Hydramnios) มีนา้ ครา
่ >1500 ml

่ มีขเี้ ทาปน
❑ นา้ ครา ❑ ภาวะนา้ ครา่ น้อย (Oligohydramnios)
(meconium staining) มีนา้ ครา
่ <500 ml
34

17
14/07/64

การเปลีย ั
่ นแปลงทางสรีรวิทยา และจิตสงคม
ของมารดาในระยะตงครรภ์
ั้

18
14/07/64

การเปลีย
่ นแปลงทางสรีรวิทยาระยะตงครรภ์
ั้

19
14/07/64

อ ื พ ันธุ ์
ว ัยวะสบ
่ งคลอด (vagina)
ชอ
❑ เยือ้ บุผวิ มีสคี ลา้ ขึน้ นุม่ มีสารค ัดหลง่ั หรือตกขาวใสเพิม่ ขึน้ เรียกว่าเป็น
“leucorrhea of pregnancy” และมีสภาวะเป็นกรด pH อยูร่ ะหว่าง
3.5-6 คอมดลูก ขยายและนุม ้ เรียกว่า Hegar’s sign
่ ขึน
Chadwick sign
ปากมดลูก (cervix)
❑ มีสคี ลา้ หรือ Chadwick sign นุม่ ขึน้ มีมกู ปากมดลูกเยอะ และจะมี
ล ักษณะ eversion ของเยือ
่ บุภายในทีข
่ ยายรุกออกมาด้านนอก
ท่อนาไข่ (fallopian tubes) และร ังไข่ (ovary)
❑ มีขนาดใหญ่ขนึ้ ร ังไข่จะไม่ตกไข่ตลอดการตงครรภ์
ั้ แต่ร ังไข่จะสร้าง
hCG และ relaxin ตลอดการตงครรภ์ ั้ ้ เป็นเสมือนเนือ
ร ังไข่อาจโตขึน ้
งอก ซงึ่ มีทงชนิ
ั้ ดต ัน (luteoma) และ ถุงนา้ (hyperreactio
luteinalis) ทีจ ่ ะหายไปได้เองหล ังคลอด หรือมี decidua reaction ที่
เห็นเป็นเนือ้ เยือ่ นูนแดงคล้ายพ ังผืดที่ serosa ได้ สว่ นท่อนาไข่ทโี่ ตขึน ้
จะเคลือ่ นไหวได้นอ ้ ยลง เยือ
่ บุภายในแบนราบได้
eversion ของปากมดลูก

อ ื พ ันธุ ์
ว ัยวะสบ
มดลูก(uterus)
❑ ขนาดใหญ่ขนึ้ โดยปริมาตรจะเพิม่ ขึน้ จาก 10 ml เป็น
1100 ml นา้ หน ักเพิม ้ 30 เท่า
่ ขึน
❑ เสน้ เลือดไปเลีย้ งเพิม่ ขึน้ ไหลเวียนเพิม่ ขึน้ 500 ml
❑ เซลล์กล้ามเนือ้ มดลูกขยายใหญ่ขนึ้ และยืดยาวออก
(hypertrophy) แต่ไม่ได้เพิม
่ ปริมาณเซลล์มากน ัก
(hyperplasia)
❑ หมุนเบนไปทางขวา (dextrorotation) ไปกดเสน้
เลือด inferior vena cava ซงึ่ จะสง
่ ผลกระทบอืน
่ ๆ
ตามมา
❑ 6 wk เริม่ มี Braxton-Hick’s contraction 20 wk
้ false labor pain
มดลูกหดต ัวมากขึน

20
14/07/64

อ ื พ ันธุ ์
ว ัยวะสบ
เต้านม และห ัวนม
(Breasts and nipple)

❑ ใหญ่ขนึ้ ค ัดตึง จากฮอร์โมน


estrogen&progesterone
❑ ลานนม ขยายใหญ่ขนึ้ มีสคี ล้าขึ
้ น ้
❑ ต่อมไขม ัน Montagomery’s
tubercles เป็นตุม่ นูน คล้ายห ัวสวิ
ื้ ป้องก ันห ัวนมแตก
่ ชน
ให้ความชุม
❑ 12 wk : pre colostum ออกมาได้
เล็กน้อย

หั วใจและหลอดเลือด
การเปลีย
่ นแปลงทางกายวิภาค
❑ ห ัวใจยกสูงขึน้ และเอียงไปทางซา้ ย วางต ัวอยูใ่ น
แนวนอนมากขึน ้ ทาให้ apex ชไี้ ปทางด้านข้าง
ซงึ่ เกิดจากกะบ ังลมยกสูงขึน ้ เพราะอว ัยวะในชอ ่ ง
ท้องโดนมดลูกทีโ่ ตเบียดขึน ้ มาด้านบน ทาให้
กะบ ังลมถูกด ันต ัวให้ยกสูงขึน้ ด้วย

❑ ขนาดของห ัวใจโดยรวมโตขึน้ ร้อยละ 12


้ ห ัวใจทีห
จากกล้ามเนือ ้
่ นาขึน

❑ ปริมาตรภายในทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามมา โดยประมาณ


80 มิลลิลต
ิ ร

21
14/07/64

หั
การเปลีย
วใจและหลอดเลือด
่ นแปลงการทางาน
❑ Blood volume การ ขยายปริมาตร ของเลือดเริม่ เมือ่ GA 6-8 wk
และจะเพิม ้ อย่างรวดเร็วในไตรมาสทีส
่ ขึน ่ องและค่อย ๆ คงทีใ่ นไตร
มาสสุดท้ายที่ GA 30-32 wk เพิม ่ สูงสุดคิดเป็นร้อยละ 45
เม็ดเลือดแดง เพิม ่ ชา้ กว่า Plasma gdbfphysiological anemia
❑ Cardiac output เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 30-50 เพิม่ สูงสุดในชว่ งอายุ

ครรภ์ 20-24 สปดาห์ โดยกว่าครึง่ หนึง่ เกิดตงแต่
ั้ ในไตรมาสแรก
ซงึ่ เป็นผลจากการเพิม ่ ของ stroke volume สว่ นในชว ่ งครึง่ หล ัง
เป็นผลจากการเพิม ้ ของ heart rate ในขณะที่ stroke
่ ขึน
volume ลดลงสูป ่ กติ

❑ Stroke volume เปลีย


่ นแปลงตามปริมาตรของเลือดที่ เพิม ้ และ systemic vascular resistance
่ ขึน
ทีล ้ เรียบของหลอดเลือด ซงึ่ เป็น vasodilation effect จาก
่ ดลงจากการคลายต ัวของกล้ามเนือ
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน และการมี arteriovenous shunting ไปย ัง uteroplacental circulation
❑ Heart rate เพิม่ ขึน้ ในระหว่างตงครรภ์
ั้ ประมาณ 15 bpm/min ทงนี
ั้ อ้ าจสูงขึน
้ อีกถ้ามีปจ
ั จ ัยกระตุน

อืน ่ ออกกาล ังกาย เครียด การเปลีย
่ เชน ่ นอแปลงทางอารมณ์ หรือยา เป็นต้น

หั
การเปลีย
วใจและหลอดเลือด
่ นแปลงการทางาน
❑ Blood pressure จะ ลดลง ในระหว่างการตงครรภ์
ั้ ตงแต่
ั้ อายุ

ครรภ์ 8 สปดาห์ จนตา่ สุดในชว ั
่ ง 24-28 สปดาห์ ซงึ่ diastolic
จะลดลงมากกว่า systolic ลดลงถึง 10 mmHg และจะกล ับมาสู่

ระด ับปกติตอนอายุครรภ์ 36 สปดาห์
❑ Peripheral vascular resistance จะ ลดลง ในไตรมาสแรก
ลดลงตา ่ สุดร้อยละ 34 ในชว ั
่ งอายุครรภ์ 14 สปดาห์ และจะค่อย ๆ
เพิม ้ เมือ
่ ขึน ่ ครรภ์ครบกาหนด เกิดจากการหลง่ ั nitric oxide
prostacyclin หรือ adenosine ทีจ ่ ัดเป็น vasodilator ตอนชว่ ง
คลอดจะลดตา ่ ลงมาได้ถงึ ร้อยละ 40

จากการเปลีย ่ นแปลง ทาให้สตรีตงครรภ์


ั้ ม ักมีอาการวิงเวียน ปวดศรี ษะเล็กน้อย หรืออาจเป็นลม
่ ึ
หน้ามืดได้ ซงเรียกว่า “inferior vena cava syndrome” เกิดจากมีการกดท ับ inferior vena
cava เลือดผ่าน shunt ไปย ัง paravertebral circulation และไปย ังห ัวใจได้ไม่ด ี

22
14/07/64

ทางเดินหายใจ

ต่
อมไร้ทอ

23
14/07/64

ต่ อมไร้ทอ

hCG ทาหน้าทีป่ ระค ับประคอง corpus


luteum (สร้าง progesterone แทน
่ งแรก
รก) ในชว

progesterone ทาหน้าทีผ ่ ดุงการ


ตงครรภ์
ั้ ทาหน้าทีย
่ ับยง....
ั้ มีผลใน
ทางตรงข้ามก ับ estrogen

estrogen ทาหน้าทีก ่ ระตุน


้ .......ให้
ร่างกายมีการเปลีย
่ นแปลงเพือ ่ รองร ับ
การตงครรภ์
ั้ ั
ถูกสงเคราะห์ มากทีส ่ ด

ขณะตงครรภ์
ั้

ต่ อมไร้ทอ

❑ สร้างหล ังปฏิสนธิ 8-10 ว ัน : สร้างโดย trophoblast


❑ ชว่ ยคงสภาพ corpus luteum ให้ทา้ งานอีก 8-10 week
❑ 3 เดือนมีปริมาณ 50,000 – 100,000 IU/L
❑ 20 wk เหลือ 10,000-20,000 IU/L
❑ กระตุน้ สร้าง relaxin : กระดูก ข้อต่อ คลายต ัว นุม่ ขึน้
❑ กด immune ของมารดา ทีจ่ ะ reject ต่อ fetal antigen
❑ ใชท้ ดสอบการตงครรภ์
ั้

Human Chorionic Gonadotropin (HCG)

24
14/07/64

ต่ อมไร้ทอ

❑ รกสร้างตงแต่ ั้ 6-12 wks. เพิม ้ 100 เท่า
่ ขึน
❑ บอกถึงหน้าทีข่ องรก สุขภาพของทารกในครรภ์
❑ เพิม่ ขนาดกล้ามเนือ้ มดลูก เพิม่ ปริมาณเลือดทีม่ าเลีย้ งมดลูก รก ทารก
❑ พิม่ การคง่ั ของน้าและโซเดี
้ ยม ท้าให้ปริมาณเลือดเพิม ้
่ ขึน
❑ ท้าให้เนือ้ เยือ่ เกีย่ วพ ันอ่อนต ัว เอ็นยืดขยายต ัวมากขึน้ - ปวดหล ัง, ห ัวเหน่า
❑ เพิม่ การสะสมของเม็ดส ี – ผิวคล้า้ Chloasma และ Lineมีการเพิม่ จ้านวน
Fibrinogen ประมาณ 50% - เลือดแข็งต ัวเร็ว
❑ กระตุน้ การท้างานของท่อน้านม ้ ต่อมน้านม
้ ห ัวนม – เต้านมค ัดตึง ขยาย
❑ ลดการหลง่ั ของน้าย่
้ อย (HCl, pepsin) ในกระเพาะอาหาร- อาหารไม่ยอ ่ ไส ้
่ ย คลืน
❑ กระตุน้ การหดร ัดต ัวของมดลูก
❑ กระตุน้ การสร้างสารค ัดหลง่ั ในชอ่ งคลอด
❑ มีผลต่ออารมณ์ ท้าให้อารมณ์แปรปรวน ความต้องการทางเพศเพิม่ ขึน้ a nigra
E
strogen

ต่ อมไร้ทอ

❑ 10 wk แรก สร้างจาก CL รกเริม่ สร้างเมือ่ 7 wk
❑ ปริมาณ เพิม่ ขึน้ 10 เท่า
❑ กระตุน้ เยือ่ บุผน ังมดลูกให้หนาต ัวขึน้ เพือ่ รองร ับการฝังต ัวของไข่
❑ ท้าให้กล้ามเนือ้ เรียบต่างๆ คลายต ัว เชน่ มดลูกคลายต ัว
❑ กระเพาะอาหาร-ท้องอืด ท้องผูก, ท่อปัสสาวะคลายต ัว-ปัสสาวะคง่ั
❑ กระตุน้ ท่อ และต่อมน้านม ้ - เต้านมค ัดตึง
❑ มีผลต่อ CNS ท้าให้รสู ้ กึ อ่อนเพลีย เหนือ่ ยง่าย
❑ อุณหภูมกิ ายสูงขึน้ 0.4-1.0 °F ท้าให้เหงือ่ ออกง่าย
P rogesterone

25
14/07/64

26
14/07/64

27
14/07/64

28
14/07/64

29
14/07/64

30
14/07/64

มีความ
ให้ความสนใจต่อ ภาคภูมใิ จ และ
ทารกในครรภ์ ความวิตกก ังวล
มีความรูส้ กึ ไม่ มากขึน ้ ร ับรูก
้ าร เกีย
่ วก ับการ

แน่ใจ/สบสนก ับ มีต ัวตนของ คลอด การเลีย ้ ง
การตงครรภ์
ั้ ทารก วางแผน ทารก
อารมณ์ ดูแลตนเองและ
่ นแปลงง่าย บุตร
เปลีย

การเปลีย ั
่ นแปลงทางจิตสงคมของหญิ
งตงครรภ์
ั้

31
14/07/64

32
14/07/64

33
14/07/64

34
14/07/64

35
14/07/64

36

You might also like