You are on page 1of 6

รายงานการทดลอง

เรื่อง การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า (Electroplating) และการสะเทิน (Neutralization)

กลุ่มที่ 101-PM2
นายธีรนพ พูลพร รหัสนักศึกษา 66010386
นายธีรเมธ ดนตรี รหัสนักศึกษา 66010389
นายธีรศักดิ์ จันทโรวาส รหัสนักศึกษา 66010391
นายนพกฤษฏิ์ มณีอิสริยาพร รหัสนักศึกษา 66010396
นายนพรัตน์ ค่าแพง รหัสนักศึกษา 66010397
นายนพวุฒิ วงศ์แพทย์ รหัสนักศึกษา 66010400
นายนฤพน จงศุภวิศาลกิจ รหัสนักศึกษา 66010406
นายสรยุทธ โสภาแปง รหัสนักศึกษา 66010836

รายงานเป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมีสำหรับวิศวกรรม (01006045)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ปีการศึกษา 2566
รายงานการทดลอง เรือ่ ง การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า และการสะเทิน
1. วัตถุประสงค์
1.1 เพื่ อ ให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในการจั ด สารเคมี (Chemical Handling) และทำปฏิ กิ ริ ย าเคมี
(Chemical Reaction) อย่างเหมาะสม ถูกต้อง และปลอดภัย
1.2 เพื่อใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์ของการปฏิบัติการทางเคมีได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง และปลอดภัย
1.3 เพื่ อ ประยุ ก ต์ ใช้ แ ละเชื่ อ มโยงความเข้ า ใจเรื่ อ งปฏิ กิ ริ ย าเคมี ป ริ ม าณสารสั ม พั น ธ์ (Chemical
Reaction and Reaction Stoichiometry) สารละลายที่ มี น้ ำ เป็ น ตั ว ทำละลาย (Aqueous Solution)
ของแข็ ง (Solid) ของเหลว (Liquid) พั น ธะเคมี (Chemical Bonding) ตลอดจนปฏิ กิ ริ ย าเคมี ไ ฟฟ้ า
(Electrochemistry) กับการสร้างชิ้นงานทางวิศวกรรมได้
1.4 เพื่อมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย สังคม และสิ่งแวดล้อม

2. วิธีการทดลอง
2.1 เตรียมลวดอะลูมิเนียมจำนวน 1 เส้น
2.2 เตรียมแผ่นอะลูมิเนียมที่ใช้ชุบ และตัดแผ่นอะลูมิเนียมให้มีความยาว 5 cm จำนวน 1 แผ่น จากนั้นใช้
กระดาษทรายหรือสก๊อตไบร์ทถูแผ่นอะลูมิเนียม เพื่อช่วยเปิดหน้าผิว
2.3 เตรียม 0.1 M NaOH Solution ปริมาตร 250 mL สำหรับเปิดหน้าผิวของแผ่นอะลูมิเนียม
2.3.1. ตวงน้ำ DI ปริมาตร 250 mL จากนั้นเทน้ำ DI ในบีกเกอร์ ขนาด 1000mL
2.3.2. ชั่งน้ำหนัก NaOH จากนั้นค่อยๆ เท NaOH ในน้ำ DI และคนให้ NaOH ละลายจนหมด
2.3.3. วัด pH ด้วยกระดาษวัดความเป็นกรดด่าง

2.3.4. จุ่มแผ่นอะลูมิเนียมใน 0.1 M NaOH Solution 5 min

1
2.4 เตรียม 2 M H2SO4 Solution ปริมาตร 100 mL
2.4.1 ตวง M H2SO4 Solution 100 mL จากนั้นค่อยๆ เท H2SO4 ในบีกเกอร์ ขนาด 250 mL

2.4.2 วัด pH ด้วยกระดาษวัดความเป็นกรดด่าง


2.5 เตรียมวัสดุอุปกรณ์การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
2.5.1. จุ่ ม แผ่ น อะลู มิ เนี ย มบริ เวณกลางบี ก เกอร์ ที่ บ รรจุ 2 M H2SO4 Solution และกำหนดเป็ น
Anode (ขั้วบวก)

2.5.2. พันลวดอะลูมิเนียมบริเวณขอบบีกเกอร์ และกำหนดให้เป็นขั้ว Cathode (ขั้วลบ)


2.5.3. ต่อขั้ว Anode และ Cathode
2.6 เตรียมเครื่อง Power Supply โดยใช้ความต่างศักย์ 12V

2
2.7 ชุบแผ่นอะลูมิเนียม 10,20 min พร้อมทั้งสังเกตและบันทึกผลการเปลี่ยนแปลง

2.8 เมื่อครบกำหนดเวลา ล้างแผ่นอะลูมิเนียมด้วยสารละลายเบกกิงโซดา เพื่อปรับค่า pH ให้เป็นกลาง

2.9 จุ่มแผ่นอะลูมิเนียมในสารละลายหมึกพิมพ์ ที่มีอุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส 10 min

2.10 จุ่มชิ้นงานแผ่นอะลูมิเนียมในน้ำเดือดเป็นเวลา 3 min เพื่อปิดหน้าผิว

3
2.11 วางแผ่นอะลูมิเนียมบนกระดาษเอกประสงค์

3. ผลการทดลองและวิเคราะห์
การทดลองที่ค่าความต่างศักดิ์ 12V

ชุบแผ่นอะลูมิเนียม 10 นาที ชุบแผ่นอะลูมิเนียม 20 นาที

**หมายเหตุ** เปรียบเทียบกับกลุ่ม 101-PM (กลุ่มที่ 4) ที่เวลา 20 นาที


การชุ บ แผ่ น อะลู มิ เนี ย มในบี ก เกอร์ ที่ บ รรจุ 2 M H2SO4 Solution ที่ เวลา 10 นาที พบว่ า สี ข อง
สารละลายหมึ ก พิ ม พ์ ติ ด กั บ แผ่ น อะลู มิ เนี ย ม สี บ นแผ่ น อะลู มิ เนี ย มเป็ น สี ฟ้ า อมน้ ำ เงิ น และการชุ บ แผ่ น
อะลูมิเนียมในบีกเกอร์ที่บรรจุ 2 M H2SO4 Solution ที่เวลา 20 นาที พบว่าสีของสารละลายหมึกพิมพ์ติดกับ
แผ่นอะลูมิเนียม สีบนแผ่นอะลูมิเนียมเป็นสีน้ำเงินเข้ม

4
4. สรุปผลการทดลอง
การชุ บ แผ่ น อะลู มิ เนี ย มในบี ก เกอร์ ที่ บ รรจุ 2 M H2SO4 Solution ที่ เวลา 10 นาที พบว่ า สี บ นแผ่ น
อะลูมิเนียมเป็นสีฟ้าอมน้ำเงิน และการชุบแผ่นอะลูมิเนียมในบีกเกอร์ที่บรรจุ 2 M H2SO4 Solution ที่เวลา
20 นาที พบว่าสีบนแผ่นอะลูมิเนียมเป็นสี น้ำเงินเข้ม สรุปได้ว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการชุบแผ่นอะลูมิเนียมใน
บีกเกอร์ที่บรรจุ 2 M H2SO4 Solution มีผลต่อการติดสีของสารละลายพิมพ์หมึก ยิ่ งใช้ระยะเวลาในการชุบ
มาก สีของสารละลายพิมพ์หมึกก็จะยิ่งเข้มมาก

5. คำถามท้ายรายงาน
1. ระบุขั้นตอนการเกิดฟองก๊าซและอธิบายที่มาของการเกิดฟองก๊าซในการทดลองการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
ขั้นตอนของการเกิดฟองก๊าซ
ตอบ เริ่มเกิดฟองก๊าซเมื่อให้ค่าความต่างศักดิ์ 12V กับแผ่นอะลูมิเนียมที่จุ่มอยู่ใน H2SO4 โดยฟองก๊าซเกิดจาก
กระบวนการ Anodization ผ่านกระบวนการเคมีไฟฟ้าเพื่อเหนี่ยวนำให้โลหะที่ละลายในสารอิเล็กโตรไลท์ไป
จับที่พื้นผิวของอะลูมิเนียม จึงเกิดฟองก๊าซ

2. เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนหรือความแตกต่างของชิ้นงานแผ่นอะลูมิเนียมที่ใช้ความต่างศักย์หรือ
เวลาตามที่กำหนดและแจ้งในห้องปฏิบัติการ
ตอบ ในการชุบแผ่นอะลูมิเนียมที่ค่าความต่างศักดิ์ 12V ที่เวลา 20 นาที มีสีของสารละลายหมึกพิมพ์เข้มกว่า
การชุบ แผ่ น อะลู มิ เนี ย มที่ เวลา 10 นาที เพราะระยะเวลาที่ ใช้ ในการชุ บ แผ่ น อะลู มิ เนี ย มมีผ ลต่อ การเกิ ด
กระบวนการ Anodization

3. สรุปขัน้ ตอนการการชุบโลหะอะลูมิเนียมด้วยไฟฟ้าด้วยความเข้าใจของนักศึกษาภายใน 300 คำ


ตอบ ถู แ ผ่ น โลหะแผ่ น อะลู มิ เนี ย ม จากนั้ น นำไปจุ่ ม ใน NaOH 5 นาที เพื่ อ เปิ ด หน้ า โลหะ ถั ด มานำแผ่ น
อะลูมิเนียมจุ่มบริเวณกลางบีกเกอร์ใน H2SO4 กำหนดให้เป็น ขั้วบวก ลวดอะลูมิเนียมเป็น ขั้วลบ จากนั้นต่อ
ขั้วบวกและขั้วลบกับเครื่อง Power Supply โดยใช้ความต่างศักย์ 12V แล้วชุบแผ่นอะลูมิเนียม 10 นาที เมื่อ
ครบเวลาในการชุบ แล้ว นำมาล้ างเบกกิ้งโซดาเพื่อปรับค่า pH ให้ เป็น กลาง ต่อมาจุ่มแผ่ นอะลู มิเนียม ใน
สารละลายพิมพ์หมึก อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส 10 นาที เมื่อครบเวลาในการชุบ นำมาจุ่มในน้ำเดือด 3 นาที
เพื่อทำการเปิดหน้าผิวโลหะ และเมื่อครบกำหนวดเวลาในการชุบ ให้นำแผ่นอะลูมิเนียมวางบนกระดาษเอก
ประสงค์

4. ระบุค่า pH ของของเสียจากการทดลองที่ 1 และหากต้องการสะเทินของเสียดังกล่าว ต้องใส่สารใดเพิ่มด้วย


ปริมาณเท่าไร
ตอบ ของเสียของ H2SO4 ปริมาตร 100 mL ค่า pH = 0.96 ต้องใส่สาร NaOH เพิ่มปริมาณ 0.384 g

You might also like