You are on page 1of 9

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค22103


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วย เลขยกกำลัง เวลา 20 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลังและการเปรียบเทียบ เวลา 2 ชั่วโมง
ผู้สอน นายรัตนสิน ศรีนาม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ
จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้
ค 1.1 ม.2/1 เข้าใจ และใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
1. สามารถเปรียบเทียบเลขยกกำลังโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย หรือน้อยไปหามากได้
ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
1. สามารถเขียนเลขยกกำลังที่มีฐานต่างกันแล้วไม่ทำให้ความหมาย หรือค่าของเลขยกกำลังนั้น
เปลี่ยนได้
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. ทำความเข้าใจหรือสร้างกรณีทั่วไปโดยใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษากรณี ตัวอย่างหลาย ๆ กรณี

3. สาระสำคัญ
สมบัติของเลขยกกำลัง

1. (am ) n = amn
2. (ab) n = anb n
 a  n an
3.   = n
b b
4. a0 = 1
5. 1n = 1
การเปรียบเทียบเลขยกกำลัง
- การทำฐานของเลขยกกำลังให้เท่ากันแล้วเปรียบเทียบที่เลขชี้กำลัง
- การทำเลขชี้กำลังให้เท่ากันแล้วเปรียบเทียบที่ฐาน

4. สาระการเรียนรู้

การเปรียบเทียบเลขยกกำลัง

เทคนิคการคิด แยกได้เป็น 2 กรณี


กรณีที่ 1 ทำฐานให้เท่ากันแล้วพิจารณาเปรียบเทียบเลขชี้กำลัง
ตัวอย่างที่ 1 จงเรียงลำดับ 316 ,314 ,35 ,320 จากน้อยไปหามาก
เนื่องจาก ฐานเท่ากันแล้ว จึงใช้การเปรียบเทียบเลขชี้กำลัง ซึ่ง 5 < 14 < 16 < 20
ดังนั้น จึงได้ว่า 35  314  316  320

ตัวอย่างที่ 2 จงเรียงลำดับ A = 716 ,B = (7 −2 )10 ,C = (75 ) −3 ,D = 7 −10 จากน้อยไปหามาก


พิจารณาโดยใช้สมบัติเลขยกกำลัง
A = 716
B = (7−2 )10 = 7 −20
C = (75 ) −3 = 7 −15
D = 7 −10
เนื่องจาก ฐานเท่ากันแล้ว จึงใช้การเปรียบเทียบเลขชี้กำลัง ซึ่ง -20 < -15 < -10 < 16
ดังนั้น จึงได้ว่า B  C  D  A

กรณีที่ 2 ทำเลขชี้กำลังให้เท่ากันแล้วพิจารณาเปรียบเทียบฐาน
ตัวอย่างที่ 3 จงเรียงลำดับ 38 ,78 ,138 ,4 8 จากน้อยไปหามาก
เนื่องจาก เลขชี้กำลังเท่ากันแล้ว จึงใช้การเปรียบเทียบฐาน ซึ่ง 3 < 4 < 7 < 13
ดังนั้น จึงได้ว่า 38  4 8  78  138
ตัวอย่างที่ 4 จงเรียงลำดับ A = 715 ,B = 520 ,C = 325 ,D = 910 จากน้อยไปหามาก
พิจารณาโดย หา ห.ร.ม. ของ 15, 20, 25, 10 คือ 5 และใช้สมบัติเลขยกกำลัง
A = 715 = (73 ) 5 = 343 5
B = 520 = (54 ) 5 = 6255
C = 3 25 = (35 ) 5 = 243 5
D = 910 = (92 ) 5 = 815
เนื่องจาก เลขชี้กำลังเท่ากันแล้ว จึงใช้การเปรียบเทียบฐาน ซึ่ง 81 < 243 < 343 < 625
ดังนั้น จึงได้ว่า D  C  A  B

ตัวอย่างที่ 5 จงเรียงลำดับ A = 645 ,B = 560 ,C = 730 ,D = 275 จากมากไปหาน้อย


พิจารณาโดย หา ห.ร.ม. ของ 45, 60, 30, 75 คือ 15 และใช้สมบัติเลขยกกำลัง
A = 645 = (63 )15 = 21615
B = 560 = (54 )15 = 62515
C = 730 = (72 )15 = 4915
D = 2 75 = (25 )15 = 3215
เนื่องจาก เลขชี้กำลังเท่ากันแล้ว จึงใช้การเปรียบเทียบฐาน ซึ่ง 625 > 216 > 49 > 32
ดังนั้น จึงได้ว่า B  A  C  D

5. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
1. ครูทบทวนนิยามของเลขยกกำลัง
2. ครูทบทวนสมบัติการคูณ และการหารของเลขยกกำลัง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน (30 นาที)
1. ครูขึ้นสมบัติใหม่ตามสาระสำคัญ
2. ครูยกตัวอย่างเลขยกกำลังที่ใช้สมบัติทั้ง 5 นั้น
3. ครูขึ้นการเปรียบเทียบเลขยกกำลังโดยการทำฐานให้เท่ากันแล้วเปรียบเทียบที่เลขชี้กำลัง
4. นักเรียนทำแบบฝึกหัดในเอกสารการสอนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของเลขยกกำลัง หน้า 5
แบบฝึกหัด 1 ข้อ 1 และ 3
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปบทเรียน (5 นาที)
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปนิยามของการเปรียบเทียบเลขยกกำลังโดยการทำฐานให้เท่ากัน

ชั่วโมงที่ 2 การเปรียบเทียบเลขยกกำลัง
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)
1. ครูทบทวนสมบัติของเลขยกกำลังโดยการถามตอบนักเรียน
2. ครูทบทวนการเปรียบเทียบเลขยกกำลังโดยการทำฐานให้เท่ากันแล้วเปรียบเทียบที่ฐาน

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน (30 นาที)


1. ครูขึ้นการเปรียบเทียบเลขยกกำลังโดยการทำเลขชี้กำลังให้เท่ากันแล้วเปรียบเทียบที่ฐาน
2. นักเรียนทำแบบฝึกหัดในเอกสารการสอนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สมบัติของเลขยกกำลัง หน้า 5
แบบฝึกหัด 1 ข้อ 2 4 5 6

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปบทเรียน (5 นาที)


1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการเปรียบเทียบเลขยกกำลังทั้งสองแบบ

6. การวัดและประเมินผล
ด้านความรู้ (K)
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
1. สามารถเปรียบเทียบเลขยก ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดใน
กำลังโดยเรียงลำดับจากมากไปหา เอกสารการสอน
น้อย หรือน้อยไปหามากได้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ผ่าน = ได้คะแนน
สมบัติของเลขยก 70% ขึ้นไป
กำลัง หน้า 5
แบบฝึกหัดที่ 1
ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
1. สามารถเขียนเลขยกกำลังที่มี ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดใน
ฐานต่างกันแล้วไม่ทำให้ความหมาย เอกสารการสอน
หรือค่าของเลขยกกำลังนั้นเปลี่ยน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ผ่าน = ได้คะแนน
ได้ สมบัติของเลขยก 70% ขึ้นไป
กำลัง หน้า 5
แบบฝึกหัดที่ 1

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
1. ทำความเข้าใจหรือสร้างกรณี ตรวจแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดใน
ทั่วไปโดยใช้ความรู้ที่ได้จาก เอกสารการสอน
การศึกษากรณี ตัวอย่างหลาย ๆ ผ่าน = ได้คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
กรณี 70% ขึ้นไป
สมบัติของเลขยก
กำลัง หน้า 5
แบบฝึกหัดที่ 1

7. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. แบบฝึกหัดทบทวนเลขยกกำลัง
บันทึกหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
• ด้านความรู้ (K)
- นักเรียนร้อยละ 60 สามารถเทียบเทียบเลขยกกำลังโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย หรือน้อยไปหา
มากได้
• ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
- นักเรียนร้อยละ 60 สามารถเขียนเลขยกกำลังที่มีฐานต่างกันแล้วไม่ทำให้ความหมาย หรือค่าของเลข
ยกกำลังนั้นเปลี่ยนได้
• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
- นักเรียนร้อยละ 60 สามารถทำความเข้าใจหรือสร้างกรณีทั่วไปโดยใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษากรณี
ตัวอย่างหลาย ๆ กรณีได้
ปัญหา/อุปสรรค
- นักเรียนมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการมองฐานของจำนวนบวกและจำนวนลบที่หน้าตาคล้ายกัน
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
- เน้นย้ำ และยกตัวอย่างหลาย ๆ กรณี

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………………………………….…
(นางสาววชิรญาณ์ สัจจากุล)
ตำแหน่ง ครูระดับปฏิบัติการ (ครูพี่เลี้ยง)
…………./…………………………/……….……

ลงชื่อ……………………………………………………………ผูส้ อน
(นายรัตนสิน ศรีนาม)
…………./…………………………/……….……
ภาคผนวก
แบบฝึกหัด 1
1. กำหนดให้ A = 2 25 , B = 224 , C = 226 และ D = 223 จงเรียงลำดับ A, B, C และ D จากมากไปหาน้อย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. กำหนดให้ M = 1000100 , N = 1010,000 , R = 1001,000 , S = 10,00010 จงเรียงลำดับ M, N, R และ S


จากค่าน้อยไปหาค่ามาก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2 3
3. จงแสดงวิธีการหาค่ามากที่สุดของ A = (23 ) 2 , B = 23 , C = (22 ) 3 และ D = 22
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. กำหนดให้ A = ( 3−3 ) ,B = ( 3 −4 ) ,C = ( 3 −2 )
−10 −10 −10
จงเรียงลำดับ A, B และ C จากค่ามากไปหา
น้อย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7 30
5. กำหนดให้ O = 7 , P = 7 x7 , Q = 12 , R = 714 x70 จงเรียงลำดับ O, P, Q และ R จากน้อยไปหา
15 4 6

7
มาก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. กำหนดให้ A = 510 , B = 415 , C = 2 25 , D = 320 จงเรียงลำดับ A, B, C และ D จากมากไปหาน้อย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

You might also like