You are on page 1of 14

ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้ า

สมาชิก

• น.ส.สุ ชานาฎ ทานะราช ทศ.1/1


• น.ส. บัณฑิตา สาเมาะ ทศ.1/1
• น.ส. กันติชา อินชัย ทศ.1/1
• น.ส. ธวัลรัตน์ ลาภิยะ ทศ.1/1
สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจากไฟฟ้าเกิดจาก 2 สาเหตุ ได้ แก่

1. สาเหตุจากตัวผูป้ ฏิบตั ิงาน


1.1ขาดความรู ้ที่แท้จริ งเกี่ยวกับหลักการและกฎทางไฟฟ้ า
1.2ขาดความระมัดระวังตัว เพราะไม่เห็นถึงความอันตรายของไฟฟ้ า
และเพราะใกล้ชิดกับไฟฟ้ าจนเคยชิน
1.3ขาดสานึกที่วา่ ธรรมชาติของไฟฟ้ ามองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
และหยัง่ รู ้ดว้ ยประสาทสัมผัสอื่น ๆ ไม่ได้จะรู ้เมื่อสัมผัสเท่า
2. จากระบบการบริ หารจัดการทางวิศวกรรม
2.1 ขาดความต่อเนื่องทางเทคนิคเกี่ยวกับไฟฟ้ า ไม่มีแบบแปลนไฟฟ้ าที่ถกู ต้องประจา
2.2 มีการต่อเติมระบบไฟฟ้ าอย่างไม่เป็ นระบบและบ่อยครั้งไม่ถูกหลักวิชาการหรื อเมื่อต่อ
เติม ก็ไม่ได้เพิ่มเติมในแบบแปลน
2.3 ขาดช่างเทคนิคที่มีความสามารถและมีจานวนไม่เพียงพอกับงาน บางโรงงานไม่มีช่าง
ไฟฟ้ าประจาหรื อมีนอ้ ย จนทาให้ทางานไม่ทนั ขาดการเอาใจใส่ จากผูบ้ งั คับบัญชชา
2.4 เข้าใจผิดว่า ไฟฟ้ าเป็ นเรื่ องที่ใคร ๆ ก็ทาได้จึงมองข้ามความสาคัญชของช่างไฟฟ้ า
2.5 อุปกรณ์ไฟฟ้ าในประเทศมีราคาแพง มีของเลียนแบบที่ถกู กว่าอยูม่ ากจึงมีการใช้ของที่มี
คุณภาพต่ากว่ามาตรฐานโดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ ทาให้ระบบไฟฟ้ าในโรงงานไม่มีมาตรฐาน
เพียงพอ
2.6 ในการซ่อมแซมเครื่ องจักรกลที่มีไฟฟ้ าอยูด่ ว้ ย มักทาโดยไม่มีระบบล็อกเอาต์
2.7 ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างฝ่ ายผลิตกับซ่อมบารุ ง ทาให้เข้าใจผิดในการสั่งงาน
ข้ อควรระวังในการทางานเกีย่ วกับไฟฟ้า
1. เมื่อพบว่าฝาครอบกล่องสวิตช์ชารุ ดเสี ยหาย ควรรี บ เปลี่ยนและซ่อมแซมทันที
2. รักษาความสะอาดเรี ยบร้อยของบริ เวณที่มีสวิตช์อยู่
3. ตรวจสอบภายในแผงสวิตช์ ตูค้ วบคุมไม่ให้มีเศษที่นา ไฟฟ้ าอยู่ ห้ามนาฟิ วส์ออกจากตูค้ วบคุม
4. ควรใช้ฟิวส์ให้ถกู ขนาดและสับสวิตช์เมื่อทาการแก้ไขซ่อมแซม
5. ตรวจสอบสวิตช์ตดั ตอนเป็ นประจาทุกเดือน
6. ต้องสับสวิตช์ให้วงจรไฟฟ้ าเปิ ด เมื่อตรวจสอบหรื อซ่อมแซม
7. การส่ งสัญชญชาณในการเปิ ด – ปิ ดสวิตช์ควรทาด้วยความระมัดระวัง
8. ห้ามเปิ ดสวิตช์เมื่อมือเปี ยกน้ า
9. การสลักเกลียวเพื่อยึดสายไฟ ควรขันให้แน่น
10. การเปิ ดสวิตช์ให้เครื่ องทางาน ควรแน่ใจว่าไม่มีอะไรติดอยูข่ า้ งในเครื่ องจักร
ความปลอดภัยในการใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ ไฟฟ้า
1) ตรวจสอบสายไฟฟ้ า ถ้าชารุ ดให้ใช้เทปพันเป็ นฉนวนหุ ม้ ให้เรี ยบร้อยและตรวจจุดต่อสายไฟด้วย
2) ไม่ต่อเครื่ องใช้ไฟฟ้ ากับเต้าเสี ยบพร้อมกันหลายเครื่ อง
3) อุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้ ควรตรวจสอบบริ เวณจุดข้อต่อขั้วที่ติดอุปกรณ์สายไฟฟ้ าด้วยความระวัง
4) รักษาสภาพเครื่ องมือที่เคลื่อนย้ายได้ให้อยูใ่ นสภาพดีตลอด
5) ดวงโคมไฟฟ้ าต้องมีที่ครอบป้ องกันหลอดไฟ
6) ห้ามจับสายไฟขณะที่ไฟฟ้ าไหลอยู่
7) อย่าแขวนสายไฟบนของมีคม เช่น มีด เลื่อย ใบพัด เป็ นต้น
8) การใช้เครื่ องมือทางไฟฟ้ าควรต่อเปลือกหุ ม้ ที่เป็ นโลหะลงสู่ ดิน
9) การใช้มอเตอร์ หม้อแปลง ควรมีผรู้ ับผิดชอบควบคุมในการเปิ ด – ปิ ดใช้งาน 1
10) ในส่ วนที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ควรมีป้าย ไฟสัญชญชาณ ธงสี แดง เทปแดง ติดแสดงไว้
11) ถ้าเกิดเหตุการณ์ผิดปกติกบั อุปกรณ์ ควรแจ้งให้ผรู ้ ับผิดชอบทราบ
12) ห้ามปลดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายทางไฟฟ้ าออก เว้นแต่ได้รับอนุญชาต
11) ถ้าเกิดเหตุการณ์ผิดปกติกบั อุปกรณ์ ควรแจ้งให้ผรู ้ ับผิดชอบทราบ
12) ห้ามปลดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายทางไฟฟ้ าออก เว้นแต่ได้รับอนุญชาต
13) ควรหมัน่ ทาความสะอาดให้ปราศจากฝุ่ นละออง
14) ควรระวังไฟฟ้ าที่มีความต่างศักย์สูง
15) ควรเอาใจใส่ ดูแลสายไฟฟ้ าแรงสู งตรวจสภาพอยูเ่ สมอ
ข้ อควรปฏิบัติในการซ่ อมอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
1) ก่อนปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ าให้ถือว่า อุปกรณ์เหล่านั้นมีไฟจ่ายอยู่ จนกว่าจะ ได้ทาการ
ทดสอบจนแน่ใจก่อน
2) อย่าปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ าในขณะมือเปี ยกหรื อยืนอยูบ่ นพื้นที่เปี ยก
3) ควรสวมถุงมือฉนวนทุกครั้งเมื่อปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ า
4) ถ้าจาเป็ นต้องปฏิบตั ิงานในที่ ๆ ไม่สามารถตัดไฟออกได้ จะต้องกั้นเขตหรื อป้ องกันไม่ให้ผอู ้ ื่นเข้าใกล้ได้
5) จะต้องปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับไฟฟ้ าเรื่ องใด ต้องรู ้และเข้าใจในเรื่ องที่ตอ้ งปฏิบตั ิก่อนหากไม่รู้หรื อไม่ เข้าใจควร
สอบถามผูร้ ู้หรื อให้ผรู้ ู้เป็ นผูท้ าให้
6) เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ปฏิบตั ิงาน หากมีส่วนชารุ ดหรื อไม่สมบูรณ์ ไม่ควรนามาใช้งาน
7) ไม่ควรทาการตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้ า-อิเล็กทรอนิ กส์ใด ๆ ขณะที่ยงั มีแหล่งจ่ายไฟฟ้ าต่ออยู่
8) เมื่อทาการแก้ไขจุดเสี ยภายในอุปกรณ์ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิ กส์ใด ๆ ไม่ควรวางมือด้านใดด้านหนึ่ งกับตัวถังซึ่ ง
ทาด้วยโลหะ
อันตรายทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ กบั ผู้ทที่ างานเกีย่ วกับอุปกรณ์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
อาจเกิดขึ้น ในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1 การช็อก (Shock)
- สาเหตุเกิดจากการที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่านร่ างกาย ทาให้เกิดการกระตุกบริ เวณกล้ามเนื้อ อย่างรุ นแรง โดยเฉพาะจะเกิดขึ้นกับบริ เวณ
เส้นประสาท ซึ่งความรุ นแรงนี้จะขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณ ของกระแสไฟฟ้ าที่ร่างกายได้รับ(การสัมผัส ในบริ เวณที่ใกล้กบั หัวใจจะเป็ นอันตราย
มากที่สุด)
2 แผลไหม้ (Burns)
- สาเหตุเกิดจากการที่มีกระแสไฟฟ้ าปริ มาณมาก ๆ ไหลผ่านร่ างกายเมื่อร่ างกายไปสัมผัสกับ ตัวนาไฟฟ้ า หรื อเมื่อร่ างกายไป
สัมผัสกับผิวของอุปกรณ์ใด ๆ ที่มีความร้อน นอกจากนั้นความร้อนปริ มาณ มาก ๆ ที่เกิดจากประกายไฟเมื่อเกิดมีการลัดวงจร
ไฟฟ้ า ก็อาจทาให้เกิดแผลไหม้แก่ผทู ้ าการตรวจซ่อมได้ ซึ่ งในกรณี น้ ีจะต้องไปรับการรักษาโดยทันที
3 การระเบิด (Explosion)
-สาเหตุเกิดจากประกายไฟที่เกิดขึ้นไปทาให้ก๊าซที่จุดติดไฟได้ง่ายเกิดจุดติดไฟขึ้นมาก ดังนั้น เมื่อทางานในบริ เวณที่มีก๊าซที่สามารถ
จุดติดไฟได้ง่าย จะต้องใช้ความระมัดระวัง
4 การบาดเจ็บที่ดวงตา (Eye Injuries)
-สาเหตุเกิดจากสายตาถูกกระทบด้วยแสงอัลตราไวโอเล็ตที่มีความเข้มสู ง ซึ่ งลาแสงนี้เกิดจาก ประกายไฟที่เกิดจากการจุดระเบิด ใน
กรณี น้ ีจะทาให้สายตาพร่ ามัวชัว่ ขณะและรู ้สึกปวดเมื่อเวลาผ่านไป

5 การบาดเจ็บของร่ างกาย
พลังงานที่เกิดขึ้นจากไมโครเวฟและ อุปกรณ์กาเนิดสัญชญชาณความถี่วทิ ยุ
สามารถทาอันตรายแก่มนุษย์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บริ เวณ ที่มีปริ มาณของเลือด
น้อย เช่น ดวงตา เป็ นต้น
วิธีช่วยคนถูกไฟดูด ซึ่งต้องปฏิบตั ิโดยทันทีเพื่อช่วยให้ผถู้ ูกไฟฟ้ าดูดหลุดออกจากสายไฟฟ้ าให้เร็วที่สุด ไฟ แต่ถา้ ปิ ดสวิตช์ไฟ
ไม่ได้ให้ใช้วธิ ีดงั ต่อไปนี้ คือการปิ ดสวิตช์
1)อย่าจับต้องร่ างกายผูเ้ คราะห์ร้ายโดยตรงให้สวมถุงมือยาง แล้วยืนบนพื้นที่ไม่เป็ นตัวนาไฟฟ้ า
2) ใช้ผา้ หรื อเชือกทาเป็ นบ่วงสอดแขนหรื อขาของผูถ้ ูกไฟดูดแล้วลากออกมาหรื อคล้องสายไฟฟ้ าแล้ว ดึงสายไฟฟ้ าจากคน
3) ใช้เท้าที่มีรองเท้ายางสวมใส่ ถีบตัวผูถ้ ูกไฟฟ้ าดูดให้หลุดออกไปจากสายไฟฟ้ า
4) ใช้ขวานคม ๆ ที่มีดา้ มเป็ นไม้ ฟันสายไฟอย่างแรงให้สายไฟขาดทันที
5) ในกรณี ตดั วงจรไฟฟ้ ายากให้ใช้วสั ดุที่เป็ นฉนวนไฟฟ้ า เช่น ไม้แห้งหรื อแท่งฉนวนแห้งดึงตัวผูถ้ ูก
6) ทาการช่วยหายใจด้วยการผายปอดและนวดหัวใจให้ทนั ที
7) รี บพาไปพบแพทย์โดยด่วน
จบการนาเสนอ

You might also like