You are on page 1of 42

Faculty of Economics

Kasetsart University

เอกสารประกอบการบรรยาย
วิชา เศรษฐศาสตรเบื้องตน
(Introduction to Economics: 01108101)
บทที่ 11 รายไดประชาชาติ (National Income)
ภาคปลาย ปการศึกษา 2553 รศ.ดร. สันติยา เอกอัคร
Faculty of Economics บทที่ 11 รายไดประชาชาติ Kasetsart University

11.1 ความนํา
11.2 นิยาม
11.3 แนวความคิดและวิธีการคํานวณ
รายไดประชาชาติ

2
Faculty of Economics บทที่ 11 รายไดประชาชาติ Kasetsart University

11.4 โครงสรางของมูลคาผลิตภัณฑประชาชาติมวลรวม
(GNP)แบงตามภูมิภาค
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกใหทราบอะไรบาง
11.6 รายไดที่แทจริง

11.7 สรุปทายบท

3
Faculty of Economics 11.1 ความนํา Kasetsart University

9 รายไดประชาชาติเปนตัวชี้ใหเห็นขนาดของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจทีร่ ะบบเศรษฐกิจนัน้ มีอยู
9ประเทศที่มีรายไดสูงหมายถึงมีกจิ กรรมทาง ศก. อยูมาก
9รายไดประชาชาติมีคาใกลเคียงอื่น ๆ เชน
- ผลิตภัณฑประชาชาติมวลรวม (Gross National Product: GNP)
- ผลิตภัณฑภายในประเทศมวลรวม
(Gross Domestic Product: GDP)
- ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (Net National Product: NNP)
วิธีการคิดคํานวณมีอยูหลายวิธี 4
Faculty of Economics 11.2 นิยาม Kasetsart University

9 รายไดประชาชาติ หมายถึง รายไดทั้งมวลที่เกิดกับ


คนในชาตินั้นในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่กําหนด
(ปกติ 1 ป)
9 ผลิตภัณฑประชาชาติมวลรวม (GNP) หมายถึง
มูลคาผลิตภัณฑขั้นสุดทายที่ประชาชนของชาติใด
ชาติหนึ่งผลิตขึ้นไดในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เปนการ
พิจารณาทางดานมูลคากําลังผลิตของประชาชาติ

5
Faculty of Economics 11.2 นิยาม Kasetsart University

9 ผลิตภัณฑภายในประเทศมวลรวม (GDP) หมายถึง


มูลคาผลิตภัณฑขั้นสุดทายซึ่งผลิตไดภายในประเทศนัน้ ๆ ใน
ระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่กาํ หนด
ไมรวมมูลคาผลิตภัณฑที่ประชาชนของประเทศนัน้ ไปผลิต
ไดในตางประเทศ

6
Faculty of Economics 11.2 นิยาม Kasetsart University

ดังนัน้
9 นั่นคือ GNP = GDP + รายไดสุทธิจากตางประเทศ

9รายไดสุทธิจากตางประเทศ = รายไดของชาวไทยที่ไป
ทํางานในตางประเทศ - รายไดของชาวตางประเทศที่มา
ทํางานในประเทศไทย
7
Faculty of Economics 11.2 นิยาม Kasetsart University

9 ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ ณ ราคาตลาด(NNP at M.P.)


หมายถึง มูลคาผลิตภัณฑประชาชาติมวลรวมทีห ่ ักเอาคา
เสื่อมราคา ที่เกิดขึ้นกับสินคาประเภททุนออกแลว

นั่นคือ NNP at m.p. = GNP - คาเสือ่ มราคา

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th


8
Faculty of Economics 11.2 นิยาม Kasetsart University

9 ผลิตภัณฑประชาชาติ ณ ราคาทุน (NNP at f.c.) หมายถึง


มูลคาผลิตภัณฑประชาชาติมวลรวมที่ หัก คาเสื่อมราคา
และภาษีทางออมและรายการอื่น ๆ เชน เงินสวนเกินที่เกิด
แกรัฐวิสาหกิจ เงินอุดหนุนที่คดิ ใหแกธุรกิจ
9นั่นคือ NNP at f.c. = GNP - คาเสื่อมราคา –
(ภาษีทางออม – เงินอุดหนุน)
9NNP at f.c. คือ รายไดประชาชาตินนั่ เอง
รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 9
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9 สมมติวากิจกรรมทางเศรษฐกิจแบงเปน 2 ดาน คือ


การผลิตและการบริโภค
- ผูผลิต ผลิตสินคาจากปจจัยการผลิต
ขายผลผลิต จายคาตอบแทนใหกับเจาของปจจัยการผลิต
- ผูบริโภค เปนเจาของปจจัยการผลิต
รายไดจากการขายปจจัยการผลิต ซื้อสินคาและบริการ
รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 10
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9 รูปที่ 11.1 ตารางแสดงการหมุนเวียนของรายไดและรายจาย


ในการซื้อสินคาและบริการ
รายจายในการซื้อสินคาและบริการ

สินคาและบริการ

ผูผลิต ผูบริโภค หรือ เจาของ


ปจจัยการผลิต
ปจจัยการผลิต (ที่ดิน, แรงงาน, ทุน)
รายไดจากคาตอบแทนปจจัยการผลิต(คาเชา, คาจาง, ดอกเบี้ย)
11
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9 สรุป: มูลคาของสินคาและบริการที่ผลิตขึ้นในระบบ
เศรษฐกิจ = รายจายในการซื้อสินคาและบริการนั้น = รายรับ
หรือรายไดของเจาของปจจัยการผลิต

12
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9 สามารถคํานวณไดหลายวิธี ไดแก
1. วิธีการคํานวณทางดานรายได (income approach)
2. วิธีการคํานวณจากทางดานคาใชจายในการซือ้ สินคาและ
บริการที่ผลิตขึ้นไดโดยภาคเศรษฐกิจตาง ๆ (expenditure
approach)
3. วิธีการคํานวณจากมูลคาผลผลิตของแตละสาขา
(product Approach)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 13


Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9 1. วิธีการคํานวณทางดานรายได : การนําเอารายไดของ
เจาของปจจัยการผลิตในรูปของคาจาง(เงินเดือน) คาเชา
ดอกเบีย้ และกําไร มารวมเขาดวยกัน

9ผลรวมของรายไดประเภทตาง ๆ คือ รายไดประชาชาติ ซึ่ง


เปนวิธีที่ตรงที่สดุ ในการคํานวณ

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 14


Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9 2. วิธีการคํานวณจากทางดานคาใชจาย : การคํานวณโดยใช
ขอมูลในระบบเศรษฐกิจ 2 ภาค คือ การผลิตและการบริโภคที่
สมมติขึ้นจากรายจาย
- ดานผูบริโภค (Consumption – C)
- ดานผูผลิต : การลงทุน(Investment – I)
9 คาใชจายรวม (C+I) เปนมูลคารวมของสินคาที่ระบบ
เศรษฐกิจผลิตขึ้น ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ(GNP)
รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 15
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9รายไดประชาติจากวิธีการคํานวณทางดานคาใชจาย
ตองทราบ “คาเสื่อมราคา” เสียกอน

9 สินคาประเภททุนทั้งหลายจะเสื่อมสภาพเมื่อเวลาผานไป ดังนัน้ แต


ละปตอ งมีการลงทุนสรางสินคาประเภททุนเพื่อ
¾ ทดแทนสวนที่สึกหรอ
¾ เพิ่มขนาดของทุน

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th


16
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9 เมื่อรวมมูลคาการลงทุนทัง้ สองประเภทจะได
มูลคาการลงทุนรวม(Gross Investment)

นั่นคือ การลงทุน = การลงทุนเพื่อชดเชยคาเสือ่ มราคา +


ขนาดของทุนที่เพิ่มขึ้น(Net Investment)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th


17
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9ดังนัน้ เมื่อผลรวมรายจายเปน GNP จะได


รายไดประชาชาติ = GNP – เสื่อมราคา
3. วิธีการคํานวณจากมูลคาผลผลิตของแตละสาขา :
ทําไดโดยแบงระบบเศรษฐกิจทั้งมวลออกเปนสาขา เชน
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม บริการ ฯลฯ แลวนํา
มูลคาสินคาและบริการขั้นสุดทาย (final goods and services)
ที่ผลิตขึ้นไดในแตละสาขามารวมกัน
รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 18
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9มูลคาของสินคาและบริการขั้นสุดทายตองไมมีปญหาเรื่อง
การนับซ้ํา (double counting)
9 ผลที่ไดจากการคํานวณทั้งสามวิธีอาจไมเทากัน แตเมื่อ
พิจารณาจากพื้นฐานแนวคิดดังกลาววา การคํานวณในแตละ
วิธีควรใกลเคียงกัน สําหรับสวนแตกตางที่เกิดขึ้นอาจเกิดขึ้น
จากปจจัยอื่น ๆ นั้น นักเศรษฐศาสตร เรียกวา ขอผิดพลาดทาง
สถิติ ซึ่งจะเปนสวนทีท่ ําใหการคํานวณแตละวิธีเทากัน
รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 19
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

9วิธีการคํานวณและสิ่งที่ไดกระทําอยูในปจจุบนั สามารถแสดง
วิธีการคํานวณรายไดประชาชาติในแบบตาง ๆ จากสํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)
ดังตารางที่ 11.1, 11.2 และ 11.3
www.nesdb.go.th

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 20


Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

หน ว ย : พั น ล า นบาท
รายการ 2517 2520 2522
ตารางที่ 11.1 เงิ น ค า ตอบแทนแรงงาน(ค า จ า ง) 63.9 92 137.6

รายได รายได จ ากการเกษตร, อาชี พ อื่ น ๆ และ การประกอบใน


รู ป อื่ น ๆ ที่ ไ ม ใ ช บ ริ ษั ท ได รั บ โดยครั ว เรื อ น 127 174.6 246
ประชาชาติ รายได จ ากทรั พ ย สิ น ที่ ไ ด รั บ โดยครั ว เรื อ นและสถาบั น ที่
ไม ห วั ง กํ า ไรเอกชน 24.2 34.4 49.6
แยกตาม - ค า เช า 17.5 22.1 30.2

รายได ณ - ดอกเบี้ ย
- เงิ น ป น ผล
5.6
1.2
10.5
1.9
16.4
3
ระดับราคา เงิ น ออมของบริ ษั ท 6.4 7.8 12.4
ภาษี ท างตรงของบริ ษั ท 2.8 4.7 7.8
ตลาดป รายได ข องรั ฐ บาลที่ ไ ด จ ากทรั พ ย สิ น และการประกอบการ
2.6 2.3 2.9
2517 - 22 - กํ า ไรของรั ฐ วิ ส าหกิ จ 0.8 0.5 1.8
- ค า เช า ดอกเบี้ ย และเงิ น ป น ผล 1.7 0.9 1.1
หั ก ดอกเบี้ ย หนี้ ส าธารณะ 3.4 4.6 7.8
หั ก ดอกเบี้ ย หนี้ ข องผู บ ริ โ ภค 1.3 2.5 4.9
รายได ป ระชาชาติ (NI) 222.1 308.3 443.6
21
ที่ ม า : สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ " รายได ป ระชาชาติ " 2521 และ 2523
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

หน ว ย : พั น ล า นบาท
รายการ 2517 2521 2522
ตารางที่ 11.2 ค า ใช จ า ยในการบริ โ ภคของเอกชน(C) 178.0 290.8 353.4

รายได ค า ใช จ า ยของรั ฐ บาล(G)


ค า ใช จ า ยในการลงทุ น (I)
26.0
59.1
57.0
120.1
66.9
144.4
ประชาชาติ มู ล ค า สิ น ค า ในสต อ คที่ เพิ่ ม ขึ้ น จากป ก อ น 8.3 13.3 15.9
รายได จ ากการส ง สิ น ค า และบริ ก ารออกไปต า งประเทศ 60.6 85.8 131.8
จากคาใชจาย รายจ า ยในการซื้ อ สิ น ค า และบริ ก ารจากต า งประเทศ 68.1 119.7 165.8
มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ นประเทศมวลรวม(GDP) 263.9 447.4 546.6
ในราคา บวก ความผิ ด พลาดทางสถิ ติ 7.4 -3.2 9.7

ปจจัยตั้งแตป มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ภ ายในประเทศมวลรวม(GDP)ปรั บ แล ว


บวก รายได สุ ท ธิ อื่ น ๆ จากต า งประเทศ
271.3
0.8
444.2
-2.2
556.3
-9.8
2517-22 มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระชาชาติ (GNP) 272.1 442.0 546.5
ลบ ภาษี ท างอ อ ม บวก เงิ น อุ ด หนุ น 32.2 52.3 60.9
ลบ ค า เสื่ อ มราคาของทุ น -17.8 34.6 41.9
รายได ป ระชาชาติ (NI) หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระชาชาติ สุ ท ธิ ณ
ระดั บ ราคาทุ น 222.1 355.1 443.6
มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระชาชาติ ม วลรวมต อ หั ว (บาท) (Percapita
GNP) 6,674 9,799 11,843
22
ที่ ม า : สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ "รายได ป ระชาชาติ " ป 2521 และ 2523
Faculty of Economics 11.3 แนวความคิดและวิธีคํานวณ Kasetsart University

หน ว ย : พั น ล า นบาท
รายการ 2517 2521 2522
ตารางที่ 11.3 1. การเกษตร 24.7 120.4 147.1

มูลคาผลิตภัณฑ 2. เหมื อ งแร


3. อุ ต สาหกรรม
4.5
39.3
9.8
85.0
12.6
109.7
ประชาชาติมวล 4. ก อ สร า ง 10.7 24.9 29.2
5. ไฟฟ า - น้ํ า ประปา 2.8 5.0 6.1
รวมและรายได 6. ขนส ง และคมนาคม 16.0 25.6 37.8

ประชาชาติ 7. ขายส ง และขายปลี ก


8. ธนาคาร การประกั น ภั ย อสั ง หาริ ม ทรั พ ย
54.0
12.8
88.0
22.4
102.8
31.4
ระดับราคา 9. ที่ อ ยู อ าศั ย 4.2 5.8 6.3
10. การบริ ห ารราชการและป อ งกั น ประเทศ 10.5 18.8 21.6
ปจจุบันตั้งแตป 11. การบริ ก าร 21.8 38.0 51.5

2517 - 22 แบง มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ภ ายในประเทศมวลรวม(GDP)


บวก รายได สุ ท ธิ จ ากต า งประเทศ
271.3
0.8
444.2
-2.2
556.3
-9.8
โดยเขตประเภท มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระชาชาติ ม วลรวม(GNP) 272.1 442.0 546.5
หั ก ภาษี ท างอ อ ม บวก เงิ น อุ ด หนุ น 32.2 52.3 60.9
อุตสาหกรรม หั ก ค า เสื่ อ มราคาของทุ น 17.8 34.6 41.9
รายได ป ระชาชาติ หรื อ NNP* ณ ราคาทุ น 222.1 355.1 443.6
NNP* ณ ราคาทุ น = Net National Product of Factor Cost 23
ที่ ม า : สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ "รายได ป ระชาชาติ " ป 2521 และ 2523
11.4 โครงสรางของ GNP แบงตามภูมิภาค

9โครงสรางมูลคาผลิตภัณฑประชาชาติของแตละภาคนี้เกิดขึ้น
จากปจจัยหลายอยาง เชน ความอุดมสมบูรณของ
ทรัพยากรธรรมชาติ
9จากตารางที่ 11.4 มูลคาผลิตภัณฑประชาชาติมวลรวมตอหัว
ในป พ.ศ. 2522 สําหรับแตละภาค ถาไมนับ กทม. ภาค
ตะวันออกเปนภาคทีป่ ระชาชนมีมูลคาผลิตภัณฑประชาชาติ
มวลรวมตอหัวสูงทีส่ ุดและเมื่อเปรียบเทียบกันระหวางป พ.ศ.
2518-22 ภาคตะวันออกมีอัตราการเพิ่มสูงสุด
24
11.4 โครงสรางของ GNP แบงตามภูมิภาค
มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ภ าคมวลรวม(GRP) ตาม อั ต รา มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ มู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ
ภาคตามภู มิ ศ าสตร
ราคาในป พ.ศ. 2515 (ล า นบาท) ภาคมวลรวมต อ หั ว ภาคมวลรวมต หั ว
ตารางที่ 11.4 พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2522 %
ความ
(บาท) พ.ศ. 2522 (บาท) พ.ศ. 2522
เจริ ญ
มูลคา ต อ ป (% )
(ตามราคาป พ.ศ.
2522)
(ตามราคาป พ.ศ.
2515)
ผลิตภัณฑ ใต 22,840 33,482 11.76 9.32 12,683 5,858
ตะวั น ออก 24,017 38,273 13.44 11.87 23,774.2 11,469.3
ประชาชาติ เหนื อ 32,819 42,502 14.93 5.90 8,781 4,477
ตะวั น ตก 21,976 30,166 10.59 7.45 15,722.8 8,003.6
มวลรวม แยก กลาง(ไม ร วม กทม.) 16,474 20,417 7.17 4.79 12,623.2 6,384.4

ตามภูมิภาค อี ส าน
กทม.
34,391
50,997
41,804
78,103
14.68
27.43
4.31
10.63
4,991
30,161
2,647
15,622

พ.ศ. 2518 ผลิ ต ภั ณ ฑ


ภายในประเทศมวล
และ 2522 รวมหรื อ GDP
ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระชาชาติ
203,514 284,741 100.00 7.98 - -

มวลรวมหรื อ GNP 203,339 279,341 - - 12,067 6,054


ที่ ม า : กองบั ญ ชี ป ระชาชาติ , สํ า นั ก งานคณ ะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ , ผลิ ต ภั ณ ฑ และจั ง หวั ด , ฉบั บ ป พ.ศ. 2522
หมายเหตุ ผลิ ต ภั ณ ฑ ภาคมวลรวม(GRP) คื อ Gross Regional Product
ผลิ ต ภั ณ ฑ ภายในประเทศมวลรวม(GDP) คื อ Gross Domestic Product
25
ผลิ ต ภั ณ ประชาชาติ ม วลรวม คื อ Gross National Product
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกอะไรบาง

9ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกใหทราบถึงสถานการณทาง
เศรษฐกิจสวนรวมของประเทศดังตอไปนี้
1. รายไดประชาชาติและมูลคาผลิตภัณฑประชาชาติ
บงบอกถึง ความสามารถในทางเศรษฐกิจของประเทศ
รายไดประชาชาติสูง ความสามารถทางเศรษฐกิจสูง
รายไดประชาติไมบอกถึงระดับความเปนอยูของประชาชนโดย
แจงชัด ถาประเทศมีรายไดประชาชาติสูง และมีจํานวน
ประชากรมาก ระดับความเปนอยูของคนจะต่ํา เชน
อินเดีย จีน 26
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกอะไรบาง

2. ถานําเอา GNP หรือรายไดประชาชาติ (NI) แตละป


ติดตอกัน(โดยคํานวณตามราคาคงที่ – ปใดปหนึ่ง) มาพิจารณา
จะทราบถึงความเติบโตทางเศรษฐกิจ
3. รายไดตอ หัว(Income per capita) หรือมูลคา
ผลิตภัณฑประชาชาติมวลรวมตอหัว(GNP per Capita) แสดง
ถึงความมั่งคั่งหรือยากจนของประชาชนอยางคราว ๆ

ประเทศที่มีรายไดตอ หัวสูง ประชาชนมีความเปนอยูด ี


27
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกอะไรบาง

4. มูลคาของผลผลิตแตละภาคเศรษฐกิจ(Sector) บอกให
ทราบถึงวาประเทศนัน้ มีรายไดจากอะไร เชน
การเกษตรมีสวนรอยละ 30 ใน GNP
ประเทศไทยใน การอุตสาหกรรมรอยละ 22 ใน GNP
อดีต
การคาสงกับการคาปลีกประมาณรอยละ 20 ใน GNP

ประเทศไทยในอดีตมีเศรษฐกิจหนักไปทางการเกษตร
28
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกอะไรบาง

4. มูลคาของผลผลิตแตละภาคเศรษฐกิจ(Sector) บอกให
ทราบถึงวาประเทศนัน้ มีรายไดจากอะไร เชน
การเกษตรมีสวนรอยละ 11 ใน GNP
ประเทศไทยใน การอุตสาหกรรมรอยละ 35 ใน GNP
ปจจุบนั
การคาสงกับการคาปลีกประมาณรอยละ 15 ใน GNP

ประเทศไทยในปจจุบนั มีเศรษฐกิจหนักไปทางอุตสาหกรรม
29
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกอะไรบาง

9การนําตัวเลขรายไดประชาชาติไปใชตอ งทําความเขาใจถึง
ขอจํากัดบางประการของตัวเลข ดังนี้
1. ตัวเลขรายไดประชาชาติ ไมไดรวมรายไดของคนที่เปน
แมบาน ทั้ง ๆ ที่ทํางานหนักแตไมไดเงินเดือน
2. ตัวเลขรายไดประชาชาติจะรวมเฉพาะมูลคาสินคาและ
บริการ โดยไมรวมคาของการพักผอนหยอนใจของประชาชน

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th


30
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกอะไรบาง

3. ถาพิจารณาถึงอัตราสวนของสินคาที่ผลิต เชน
ผลิตสินคาเพื่อปองกันประเทศ มากกวา สินคาเพื่อการอุปโภค
ถึงแมรายไดประชาชาติเพิ่มสูงขึ้นกวาปกอน ไมไดแสดงวา
ประชาชนมีมาตรฐานความเปนอยูด ีขนึ้
4. ตัวเลขรายไดประชาชาติไมไดรวมความพอใจของ
ประชาชานที่ไดรบั จากการทํางาน

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th


31
11.5 ตัวเลขรายไดประชาชาติบอกอะไรบาง

5. รายไดประชาชาติ รวมเฉพาะมูลคาของสินคาทีผ่ ลิตขึ้น


ในปปจจุบนั เทานั้น ดังนัน้ สินคาคงทนถาวรที่ผลิตในปกอน ๆ
แตยังใชไดในปปจจุบนั จึงไมรวมในตัวเลขรายไดประชาชาติป
ปจจุบนั
9 สรุปวา ถึงแมตัวเลขรายไดประชาชาติมีขอจํากัดหลาย
ประการแตก็มีประโยชนทสี่ ามารถทําใหมองเห็นแนวโนมของ
การผลิตสินคาและบริการในประเทศ และเปรียบเทียบระหวาง
ประเทศตาง ๆ ได
32
Faculty of Economics 11.6
11.6 รายไดที่แแททจจริริงง Kasetsart University

9รายไดที่แทจริง หมายถึง รายไดทวี่ ดั ในรูปสินคาและบริการที่


ประชาชนจะไดรบั จริง ๆ ในรอบปนนั้ ๆ ถือไดวาเปนอํานาจ
ซื้อที่แทจริงของรายไดที่เปนตัวเงินนัน่ เอง
9 รายไดที่แทจริงแตละป มาจากการเปรียบเทียบกับระดับราคา
สินคาโดยสวนรวมทั้งประเทศ ซึ่งตองใชดชั นีราคาสินคาโดย
ใชปใ ดปหนึ่งเปนปฐาน (base year) ในการเปรียบเทียบ

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 33


Faculty of Economics 11.6 รายไดที่แทจริง Kasetsart University

9ประเทศไทยมีการหาเลขดัชนีที่สําคัญ 2 ประเภทคือ
1. ดัชนีราคาผูบริโภค คือ ดัชนีราคาขายปลีก แบงเปนสินคาและบริการออกเปน 7
หมวดใหญ โดยใชน้ําหนักในการคํานวณไมเทากัน ไดแก
- อาหารและเครื่องดื่ม(43.68 %) - พาหนะและบริการขนสง(7.37%)
- เครื่องนุงหม (8.10 %) - การบันเทิง การอาน
- การตรวจคารักษาและ การศึกษา (8.18 %)
บริการสวนบุคคล (6.40 %) - ยาสูบและเครื่องดื่ม
- เคหสถาน เครื่องเรือน มีแอลกอฮอล (3.95 %)
เครื่องใชในบาน (22.32 %)
34
Faculty of Economics 11.6 รายไดที่แทจริง Kasetsart University

แผนภาพแสดงดัชนีราคาผูบริโภคแบงตามน้ําหนักในการคํานวณ
ยาสูบและเครื่องมีแอลกอฮอล
การบันเทิง การอาน การศึกษา 3.95%
8.18%
พาหนะและบริการขนสง 7.37%
อาหารและเครื่องดื่ม
เคหสถาน เครื่องเขียน 43.68%

เครื่องใชในบาน
22.32%

การตรวจคารักษาและบริการ 6.40% เครื่องนุงหม


8.10%
35
Faculty of Economics 11.6 รายไดที่แทจริง Kasetsart University

2. ดัชนีราคาขายสง แบงเปน 5 หมวด ไดแก


- ผลิตผลเกษตรกรรม (43.68 %)
- อาหาร (8.10 %)
- เครื่องดื่ม (6.7 %)
- สิ่งทอและผลิตภัณฑสิ่งทอ (9.8 %)
- วัตถุกอสราง (7.0 %)

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 36


Faculty of Economics 11.6 รายไดที่แทจริง Kasetsart University

ตารางที่ 11.5 คาดัชนีราคาผูบริโภค (2519 = 100)


ป ดัชนีรวม หมวดอาหาร อืน่ ๆ (นอกจากอาหาร)
ดัชนีรวม % เปลี่ยนแปลง ดัชนีรวม % เปลี่ยนแปลง ดัชนีรวม % เปลี่ยนแปลง
2515 63.5 4.9 58.6 7.1 70.4 2.3
2516 73.4 15.5 70.5 20.3 77.3 9.8
2517 91.2 24.3 91.1 29.2 91.1 17.8
2518 96.0 5.3 95.8 5.2 96.2 5.6
2519 100.0 4.2 100.0 4.4 100.0 4.0
2520 107.6 7.6 109.4 9.4 104.9 4.9
2521 116.1 7.9 119.1 8.9 112.0 6.8
2522 127.6 9.9 129.9 9.1 123.8 10.5
2523 152.7 19.7 155.4 19.6 148.3 19.8
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รายงานเศรษฐกิจและการเงิน 2523. 37
Faculty of Economics 11.6 รายไดที่แทจริง Kasetsart University

9การเทียบหารายไดทแี่ ทจริงจากรายไดที่เปนเงินนั้น ทําไดโดย


พิจารณาวาในปใดปหนึ่งเปนฐาน ดัชนีราคาเทากับ 1 หรือ 100
แลวเทียบกับปอื่น ๆ วาเปนเทาใดถามากกวา 1 หรือ 100 แสดง
วาระดับราคาทั่วไปสูงขึ้น โดยเทียบดังนี้

รายไดที่แทจริง = รายไดที่เปนตัวเงิน
ดัชนีราคา

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 38


Faculty of Economics 11.6 รายไดที่แทจริง Kasetsart University

- เชน พ.ศ. 2523 มีรายได 600 ลานบาท ดัชนีราคาป 2523 เทากับ 1.5
หรือ 150 ดังนัน้
รายไดที่แทจริง = 600 หรือ 600 x 100
1.5 150
= 400 ลานบาท

แสดงวา รายได 600 ลานบาทในป 2523 มีคาเทากับ 400 ลานบาทในป 2519

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 39


Faculty of Economics 11.6 รายไดที่แทจริง Kasetsart University

9 ปญหาในการคํานวณเลขดัชนี มีดังนี้
- สินคาหรือผลผลิตบางชนิดบางปมี บางปไมมี การตีราคาในป
ศูนยหรือปฐานจึงทําไดยาก
- ราคาสินคาและบริการในรอบขวบป มิใชราคาเดียว แต
เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะสินคาที่เก็บไมได
- สินคาประเภทเดียวกันคุณภาพก็ไมทรงตัว
- นิสยั ผูบริโภคแตละคน แตละปกอ็ าจเปลี่ยนแปลงไป เชน เคย
ซักผาเองก็สง จางซัก เปนตน
รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 40
Faculty of Economics 11.7 สรุปทายบท Kasetsart University

9 รายไดประชาชาติเกิดจากการผลิตโดยรวมเอาปจจัยการผลิต
ที่ดนิ แรงงาน ทุน และการประกอบการเขาดวยกัน
9 สามารถคํานวณรายไดประชาชาติทั้งทางดานรายได รายจาย
และมูลคาผลิตภัณฑทผี่ ลิตได
9 รายไดตอหัวของประชากรไทยแตกตางกันไปตามภาค
ภูมิศาสตร

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 41


Faculty of Economics 11.7 สรุปทายบท Kasetsart University

9 ตัวเลขแสดงความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งก็คืออัตรา
การเพิ่ม ของ GNP หรือ GDP

9 รายไดประชาชาติสามารถบอกใหเราทราบถึงระดับกิจกรรม
ของระบบเศรษฐกิจ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจและฐานะ
ทางเศรษฐกิจของประเทศทีก่ ําลังพิจารณาอยู

รศ.ดร.สันติยา เอกอัคร ภาควิชาเศรษฐศาสตร fecosye@ku.ac.th 42

You might also like