You are on page 1of 62

46

คานา

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนา
การออกแบบการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยส่งเสริมความก้าวหน้า
ทางการเรียนรู้เกี่ยวกับจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว และมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้
กระบวนการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์หลายรูปแบบ โดยผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเอง ทาให้เกิดทักษะการเรียนรู้อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน
เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการเรียนรู้ สามารถ
นาผู้เรียนไปสู่จุดหมายตามศักยภาพ เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์นาความรู้
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ และ เป็นแนวทางสาหรับผู้ที่มีความสนใจต่อไป
ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียนพรานกระต่ายพิทยาคม คณะครูผู้เชี่ยวชาญ
ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านและขอบใจนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ทุกคน ที่ให้กาลังใจ
ตลอดมา ทาให้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เล่มนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี ขอขอบคุณเป็นอย่างสูง
ไว้ ณ โอกาสนี้

วชิราภรณ์ วงศ์รัตน์

46

สารบัญ

หน้า
คานา............................................................................................................................. ก
สารบัญ......................................................................................................................... ข
ส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์................................................................ ค
คาชี้แจง......................................................................................................................... 1
คู่มือครู.......................................................................................................................... 2
คู่มือนักเรียน................................................................................................................. 4
สาระการเรียนรู้........................................................................................................... 5
จุดประสงค์การเรียนรู้................................................................................................... 6
แบบทดสอบก่อนเรียน................................................................................................. 7
ใบความรู้ที่ 1................................................................................................................ 9
แบบฝึกทักษะที่ 1............................................................................................. 15
ใบความรู้ที่ 2................................................................................................................ 21
แบบฝึกทักษะที่ 2............................................................................................. 24
ใบความรู้ที่ 3................................................................................................................ 30
แบบฝึกทักษะที่ 3............................................................................................. 33
แบบทดสอบหลังเรียน.................................................................................................. 39
บรรณานุกรม............................................................................................................... 41
ภาคผนวก.................................................................................................................... 42
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน............................................................................ 43
เฉลยแนวคาตอบแบบฝึกทักษะที่ 1................................................................. 44
เฉลยแนวคาตอบแบบฝึกทักษะที่ 2................................................................. 49
เฉลยแนวคาตอบแบบฝึกทักษะที่ 3................................................................. 54
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน............................................................................. 59

46

ส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อน


ในรูปเชิงขั้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

1. ส่วนประกอบต้น มีดงั นี้


ปก
คานา
สารบัญ
ส่วนประกอบของแบบฝึกทักษะ
คาชี้แจง

2. คู่มือครู มีดังนี้
คาชี้แจงสาหรับครูผู้สอน

3. คู่มือนักเรียน มีดังนี้
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
เนื้อหา
แบบฝึกทักษะ
แบบทดสอบหลังเรียน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบและเฉลยแบบฝึกทักษะ
1
46

คาชี้แจง

เพื่อให้การศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน กลุ่มสาระ


การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
นักเรียน ควรปฏิบัติดังนี้

1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนก่อนที่จะศึกษา
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์

2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนให้เข้าใจ

3. ศึกษาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์แต่ละเรื่องตามลาดับให้ต่อเนื่องกัน หากมี
ข้อสงสัยหรือพบปัญหาให้ขอคาแนะนาหรือสอบถามจากครูผู้สอนเมื่อศึกษาเนื้อหาจบ
ในแต่ละใบความรู้แล้วให้ทาแบบฝึกทักษะเพื่อทบทวนความรู้

4. เมื่อศึกษาเนื้อหาและปฏิบัติกิจกรรมครบทุกกิจกรรมแล้วให้ทาแบบทดสอบ
หลังเรียนและตรวจคาตอบกับเฉลย

5. นักเรียนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยแนวคาตอบก่อนตอบคาถาม

6. เมื่อทาผิดควรย้อนกลับไปศึกษาเนื้อหาใหม่อีกครั้ง
2
46

คู่มือครู

คาชี้แจงสาหรับครูผู้สอนแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้แบ่งขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้

1. การทดสอบก่อนใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน


โดยนาแบบทดสอบก่อนเรียน วัดผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นแบบปรนัยจานวนชุดละ 10 ข้อ

2. การให้ความรู้กับนักเรียน เป็นขั้นที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียน
มีความเข้าใจในเนื้อหาในแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบ เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจ
ที่ดีขึ้น

3. นาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน มาใช้ในการสร้าง


ความเข้าใจในเนื้อหา ในแต่ละเล่ม

4. การให้นักเรียนได้ฝึกฝน เป็นการให้นักเรียนได้ทาแบบฝึกทักษะในแต่ละเล่ม

5. การทดสอบหลังเรียนแต่ละเล่ม เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักเรียน
ในแต่ละเล่ม
3
46

บทบาทผู้สอน

1. ทดสอบนักเรียนก่อนเรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ด้วยข้อสอบ
ปรนัย 30 ข้อ

2. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน โดยคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน


ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อให้นักเรียนเก่งได้ช่วยสอนนักเรียนที่เรียนอ่อน

3. ให้นักเรียนเลือกประธาน เลขานุการกลุ่ม ผู้สอนแนะนาบทบาทหน้าที่ของ


สมาชิก

4. เตรียมแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน กลุ่มสาระการเรียนรู้


คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้ผู้เรียนซึ่งประกอบไปด้วยคู่มือนักเรียน ดังนี้ คาชี้แจง
สาหรับผู้เรียน เนื้อหา แบบฝึกทักษะ แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนของ
แบบฝึกทักษะแต่ละเล่ม

5. ขณะที่นักเรียนใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน ผู้สอน


คอยดูแลชี้แนะและให้คาปรึกษาสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล และการทางานกลุ่ม
เพื่อเสนอแนะและปรับปรุงการทางานให้ดีขึ้น

6. ผู้สอน/ผู้เรียนเก็บคะแนนจากการทาแบบฝึกทักษะ และการทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรียนของแบบฝึกทักษะแต่ละเล่ม ตรวจผลงานนักเรียนและประเมินผล

7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนใช้เวลา 60 นาที
4
46

คู่มือนักเรียน
นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้

ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (รายบุคคล) จานวน 10 ข้อ ลงใน


กระดาษคาตอบ
ศึกษาเนื้อหาเล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
ทาแบบฝึกทักษะให้ครบทุกฉบับ
ตรวจคาตอบแบบฝึกทักษะจากเฉลย
นาผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน มาบันทึก
ลงในตารางเพื่อให้ทราบผลการเรียนและการพัฒนา
5
46

สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้

1. การสร้างจานวนเชิงซ้อน

2. สมบัติเชิงพีชคณิตของจานวนเชิงซ้อน

3. รากที่สองของจานวนเชิงซ้อน

4. กราฟและค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน

5. จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

6. รากที่ n ของจานวนเชิงซ้อน

7. สมการพหุนาม

ผลการเรียนรู้

1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจานวนเชิงซ้อน

2. นาสมบัติต่างๆเกี่ยวกับจานวนเชิงซ้อน การดาเนินการไปใช้แก้ปัญหาได้

3. นาความรู้เกี่ยวกับจานวนเชิงซ้อนไปแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว
ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็มดีกรีไม่เกินสาม และ
หารากที่ n ของจานวนเชิงซ้อน เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวกได้
6
46

จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้

1.1 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วได้
1.2 นักเรียนสามารถหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วได้
1.3 นักเรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้

ด้านทักษะกระบวนการ

2.1 การเชื่อมโยงศาสตร์เดียวกัน
2.2 การให้เหตุผล
2.3 การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย
และนาเสนอได้อย่างถูกต้อง ชัดเจนและรัดกุม

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

3.1 มีความรับผิดชอบ
3.2 มีความซื่อสัตย์
3.3 มีระเบียบวินัย
7
46

แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

คาสั่ง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกที่สุดในกระดาษคาตอบ (10 คะแนน)

1. รูปเชิงขั้วของ z  2  2i ตรงกับข้อใด
ก. 2 2  cos   i sin   ข.   
2 2  cos  i sin 
 3 3  4 4
     
ค. 4 cos  i sin  ง. 4 cos  i sin 
 3 3  4 4

2. รูปเชิงขั้วของ z  4  4i ตรงกับข้อใด
    3 3 
ก. 4 2  cos  i sin  ข. 4 cos  i sin 
 4 4  4 4 
 5 5   7 7 
ค. 4 2  cos  i sin  ง. 4 cos  i sin 
 4 4   4 4 

 
3. z  cos  i sin เป็นรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนในข้อใด
4 4
2 2 2 2
ก.  i ข.   i
2 2 2 2
2 2 2 2
ค.   i ง.  i
2 2 2 2

4. z  3cos   i sin   เป็นรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนในข้อใด


ก. 3i ข.  3i
ค. 3 ง.  3

5. z  4cos 120  i sin 120 เป็นรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนในข้อใด


ก. 2  2 3i ข. 2  2 3i
ค.  2  2 3i ง.  2  2 3i
8
46

     
6. เมื่อกาหนด z1  3 cos  i sin  และ z 2  4 cos  i sin 
 3 3  6 6
แล้ว z1 z 2 ตรงกับข้อใด
ก. 12 3i ข.  12 3i
ค. 12i ง.  12i

 
7. เมื่อกาหนด z1  cos   i sin  และ z 2  cos  i sin แล้ว z1 z 2
2 2
ตรงกับข้อใด
ก. cos   i sin  ข. cos
3
 i sin
3
2 2 2 2
ค. cos   i sin  ง. cos 2  i sin 2

8. 4cos 75  i sin 753cos10  i sin102cos 65  i sin 65


มีค่าตรงกับข้อใด
ก. 12 3  12i ข.  12 3  12i
ค.  12  12 3i ง. 12  12 3i

      z1
9. เมื่อกาหนด z1  8 cos  i sin  และ z 2  2 cos  i sin  แล้ว
 2 2  6 6 z2
ตรงกับข้อใด
ก. 2  2 3i ข. 2  2 3i
ค.  2  2 3i ง.  2  2 3i

3   1  
10. เมื่อกาหนด z1   cos  i sin  และ z2   cos  i sin 
2  6 6 2 3 3
z1
แล้ว ตรงกับข้อใด
z2
        
ก. 3 cos    i sin     ข. 3 cos  i sin 
  2  2   2 2
        
ค. 3 cos    i sin     ง. 3 cos  i sin 
  6  6   6 6
9
46

ใบความรู้ที่ 1
จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วได้

กาหนด z  x  yi สามารถเขียนกราฟของ z ได้ด้วย x, y  หรือด้วยเวกเตอร์


ที่มีจุดเริ่มต้นที่ 0 0,0 และมีจุดสิ้นสุดที่จุด A x, y  ในระนาบเชิงซ้อน ดังรูป
Y

Ax, y 

r y

 X
0
x

ให้ r แทนระยะทางระหว่างจุด O กับจุด A


จะได้ r = x y 2 2

y
หาค่า  ได้จาก tan  =
x
x y
จากรูป จะได้ cos  = และ sin  =
r r
x = r cos  และ y = r sin 
จาก z = x  yi
จะได้ z = r cos   ir sin 
หรือ z = r cos   i sin  

นั่นคือ
จานวนเชิงซ้อน z  x  yi เขียนในรูปเชิงขั้ว ได้เป็น
z  r cos   i sin   เมื่อ r z
10
46

ตัวอย่างที่ 1

จงเขียน จานวนเชิงซ้อน 3 i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทา
ให้ z  3 i จะได้ x 3 และ y 1
จากสูตร r = x2  y2

จะได้ r =  3 2
 12
= 3 1
= 4
= 2
y
หา  จาก tan  =
x
= 1
ซึ่ง   อยู่ในควอดรันต์ที่ 1
3,1
3

จะได้  =
6
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
  
จะได้ 3 i = 2 cos  i sin 
 6 6

  
ตอบ รูปเชิงขั้วของ 3 i คือ 2 cos  i sin 
 6 6
11
46

ตัวอย่างที่ 2

จงเขียนจานวนเชิงซ้อน  3 i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทา ให้ z   3 i จะได้ x 3 และ y  1


จากสูตร r = x2  y2

จะได้ r =  3  2
  1
2

= 3 1
= 4
= 2
y
หา  จาก tan  =
x
1
=
 3
= 1
ซึ่ง  3,1 อยู่ในควอดรันต์ที่ 3
3
7
จะได้  =
6
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
 7 7 
จะได้  3 i = 2 cos  i sin 
 6 6 

 7 7 
ตอบ รูปเชิงขั้วของ  3 i คือ 2 cos  i sin 
 6 6 
12
46

ตัวอย่างที่ 3

จงเขียนจานวนเชิงซ้อน 1  i ในรูปเชิงขั้ว
วิธีทา ให้ z  1  i จะได้ x  1 และ y 1
จากสูตร r = x2  y2
จะได้ r =  12  12
= 1 1
= 2
y
หา  จาก tan  =
x
1
=
1
= 1 ซึ่ง  1,1 อยู่ในควอดรันต์ที่ 2
3
จะได้  =
4
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
 3 3 
จะได้ 1  i = 2  cos  i sin 
 4 4 

 3 3 
ตอบ รูปเชิงขั้วของ 1  i คือ 2  cos  i sin 
 4 4 
13
46

ตัวอย่างที่ 4

จงเขียนจานวนเชิงซ้อน 8 ในรูปเชิงขั้ว
วิธีทา ให้ z  8 จะได้ x  8 และ y0
จากสูตร r = x2  y2
จะได้ r =  82  0 2
= 64
= 8
y
หา  จาก tan  =
x
0
=
8
= 0 ซึ่ง  8,0
อยู่บนแกน X ทางด้านลบ
จะได้  = 
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
จะได้ 8 = 8cos   i sin  

ตอบ รูปเชิงขั้วของ 8 คือ 8cos   i sin  


14
46

ตัวอย่างที่ 5

จงเขียนจานวนเชิงซ้อน 5i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทา ให้ z  5i จะได้ x0 และ y5


จากสูตร r = x2  y2
จะได้ r = 0 2  52
= 25
= 5
y
หา  จาก tan  =
x
= 5
ซึ่ง 0,5
0
อยู่บนแกน Y ทางด้านบวก

จะได้  =
2
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
  
จะได้ 5i = 5 cos  i sin 
 2 2

  
ตอบ รูปเชิงขั้วของ 5i คือ 5 cos  i sin 
 2 2
15
46

แบบฝึกทักษะที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของจานวนเชิงซ้อน
ในรูปเชิงขั้วได้

คาชี้แจง จงเขียนรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
(10 คะแนน) (ข้อละ 2 คะแนน)

1. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน 12i ในรูปเชิงขั้ว


16
46

2. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน  2  2i ในรูปเชิงขั้ว
17
46

3. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน 1 3i ในรูปเชิงขั้ว
18
46

4. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน  7  21i ในรูปเชิงขั้ว


19
46

1 1
5. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน  i ในรูปเชิงขั้ว
2 2
20
46

เกณฑ์การให้คะแนนการทาแบบฝึกทักษะ(อัตนัย)
พิจารณาจากการแสดงวิธีการหาคาตอบและความถูกต้องของคาตอบ
แบบฝึกทักษะที่ 1

แบบฝึกทักษะที่ 1 จานวน 5 ข้อ 10 คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

คะแนน ความหมาย ผลที่ปรากฏให้เห็น


การแสดงวิธีทาชัดเจน สมบูรณ์ คาตอบและวาด
2 ดีมาก
กราฟถูกต้องครบถ้วน
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจนดีนัก แต่อยู่ใน
1.5 ดี แนวทางที่ถูกต้อง คาตอบและวาดกราฟถูกต้อง
ครบถ้วน
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจน หรือไม่แสดงวิธีทา
คาตอบถูกต้องครบถ้วน หรือการแสดงวิธีทา
1 พอใช้
ชัดเจน สมบูรณ์ แต่คาตอบไม่ถูกต้อง ขาดการ
ตรวจสอบ วาดกราฟไม่ถูกต้อง
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจนดีนัก แต่อยู่ใน
แนวทางที่ถูกต้อง คาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่แสดง
0.5 ควรแก้ไข
วิธีทา และคาตอบที่ได้ไม่ถกู ต้อง แต่อยู่ใน
แนวทางที่ถูกต้อง วาดกราฟไม่ถูกต้อง
0 ต้องปรับปรุง ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์
21
46

ใบความรู้ที่ 2
การคูณของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

นักเรียนสามารถหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วได้

ทฤษฎีบท

ให้ z , เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่


1 z2
z = 1 r cos   i sin  
1 1 1

z = 2r cos   i sin  
2 2 2

จะได้ z z = 1 2 r r cos     i sin


1 2 1 2 1   2 

ตัวอย่างที่ 6
     
กาหนด z1  2 cos  i sin  และ z 2  3 cos  i sin 
 3 3  6 6
จงหา z1 z 2

         
วิธีทา z1 z 2 = 2 cos 3  i sin 3  3 cos 6  i sin 6 
     
       
= 6cos    i sin  
 3 6  3 6 
  
= 6 cos  i sin 
 2 2
= 60  i 
= 6i
ตอบ 6i
22
46

      
ตัวอย่างที่ 7 กาหนด z1  2 cos  i sin  และ z 2  4 cos  i sin 
 4 4  12 12 
จงหา z1 z 2

         
วิธีทา z1 z 2 = 2 cos 4  i sin 4  4 cos 12  i sin 12 
     
       
= 8cos    i sin  
  4 12   4 12 
 4 4 
= 8 cos  i sin 
 12 12 
  
= 8 cos  i sin 
 3 3
1 3 
= 8  i 
 2 2 
= 4  4 3i

ตอบ 4  4 3i

ตัวอย่างที่ 8

กาหนด z 1  10cos 27  i sin 27 และ z 2  8cos 63  i sin 63
จงหา z z 1 2

วิธีทา z1 z 2 = 10cos 27  i sin 278cos 63  i sin 63


= 80cos27  63  i sin27  63
= 80cos 90  i sin 90
= 800  i 
= 80i

ตอบ 80i
23
46

ตัวอย่างที่ 9

กาหนด z 1  5cos 120  i sin 120 และ z 2  8cos 30  i sin 30
จงหา z z 1 2

วิธีทา
z1 z 2 = 5cos120  i sin1208cos 30  i sin 30
= 40cos120  30  i sin120  30
= 40cos 150  i sin 150
 3 1 
= 40   i 
 2 2 
=  20 3  20i

ตอบ  20 3  20i
24
46

แบบฝึกทักษะที่ 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อนใน
รูปเชิงขั้วได้
คาชี้แจง จงหาค่าของจานวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ (10 คะแนน) (ข้อละ 2 คะแนน)

     5 5 
1. กาหนด z1  4 cos  i sin  และ z 2  5 cos  i sin  จงหา z1 z 2
 12 12   12 12 
25
46

 5 5   29 29 
2. กาหนด z1  2 cos  i sin  และ z 2  3 cos  i sin  จงหา z1 z 2
 36 36   18 18 
26
46

3. กาหนด z1  3cos 72  i sin 72 และ z 2  5cos 63  i sin 63 จงหา z1 z 2
27
46

 2 2   8 8 
4. กาหนด z1  12 cos  i sin  และ z 2  6 cos  i sin  จงหา z1 z 2
 5 5   5 5 
28
46

5. กาหนด z1  7cos 200  i sin 200 และ z 2  5cos 205  i sin 205 จงหา z1 z 2
29
46

เกณฑ์การให้คะแนนการทาแบบฝึกทักษะ(อัตนัย)
พิจารณาจากการแสดงวิธีการหาคาตอบและความถูกต้องของคาตอบ
แบบฝึกทักษะที่ 2

แบบฝึกทักษะที่ 2 จานวน 5 ข้อ 10 คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

คะแนน ความหมาย ผลที่ปรากฏให้เห็น


การแสดงวิธีทาชัดเจน สมบูรณ์ คาตอบและวาด
2 ดีมาก
กราฟถูกต้องครบถ้วน
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจนดีนัก แต่อยู่ใน
1.5 ดี แนวทางที่ถูกต้อง คาตอบและวาดกราฟถูกต้อง
ครบถ้วน
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจน หรือไม่แสดงวิธีทา
คาตอบถูกต้องครบถ้วน หรือการแสดงวิธีทา
1 พอใช้
ชัดเจน สมบูรณ์ แต่คาตอบไม่ถูกต้อง ขาดการ
ตรวจสอบ วาดกราฟไม่ถูกต้อง
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจนดีนัก แต่อยู่ใน
แนวทางที่ถูกต้อง คาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่แสดง
0.5 ควรแก้ไข
วิธีทา และคาตอบที่ได้ไม่ถกู ต้อง แต่อยู่ใน
แนวทางที่ถูกต้อง วาดกราฟไม่ถูกต้อง
0 ต้องปรับปรุง ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์
30
46

ใบความรู้ที่ 3
การหารของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

นักเรียนสามารถหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วได้

ทฤษฎีบท

ให้ z ,1 z2 เป็นจานวนเชิงซ้อน โดยที่


z1 = r cos   i sin  
1 1 1

z2 = r cos   i sin  
2 2 2

z1 r
จะได้ = cos     i sin 
1
1 2 1   2 
z2 r2

ตัวอย่างที่ 11
     
กาหนด z1  2 cos  i sin  และ z 2  3 cos  i sin 
 3 3  6 6
z1
จงหา
z2
  
2 cos  i sin 
วิธีทา z1
=  3 3
z2   
3 cos  i sin 
 6 6
2        
=  cos    i sin  
3 3 6  3 6 
2  
=  cos  i sin 
3 6 6
2 3 1 
=   i
3  2 2 
3 1
=  i
3 3
3 1
ตอบ  i
3 3
31
46

      
ตัวอย่างที่ 12 กาหนด z1  2 cos  i sin  และ z 2  4 cos  i sin 
 4 4  12 12 
z1
จงหา
z2
  
2 cos  i sin 
วิธีทา z1
=  4 4
z2    
4 cos  i sin 
 12 12 
2        
=  cos    i sin  
4   4 12   4 12 
1 2 2 
=  cos  i sin 
2 12 12 
1  
=  cos  i sin 
2 6 6
1 3 1 
=   i
2  2 2 
3 1
=  i
4 4
3 1
ตอบ  i
4 4

 4 4   2 2 
ตัวอย่างที่ 13 กาหนด z1  8 cos  i sin  และ z 2  2 cos  i sin 
 3 3   3 3 
z1
จงหา
z2
 4 4 
8 cos  i sin 
วิธีทา z1
=  3 3 
z2  2 2 
2 cos  i sin 
 3 3 
8   4 2   4 2 
= cos    i sin  
2   3 3   3 3 
 2 2 
= 4 cos  i sin 
 3 3 
 1 3 
= 4   i 
 2 2 
=  2  2 3i
ตอบ  2  2 3i
32
46

ตัวอย่างที่ 14 กาหนด z 1  5cos 230  i sin 230 และ z 2  4cos 170  i sin 170

จงหา z 1

z2

z1 5cos 230  i sin 230


วิธีทา =
z2 4cos 170  i sin 170

= 5
cos230  170  i sin230  170
4
= 5
cos 60  i sin 60
4
51 3 
=   i
4  2 2 
5 5 3
=  i
8 8
5 5 3
ตอบ  i
8 8
33
46

แบบฝึกทักษะที่ 3

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อน
ในรูปเชิงขั้วได้
คาชี้แจง จงหาค่าของจานวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ (10 คะแนน) (ข้อละ 2 คะแนน)

z1
1. กาหนด z1  8cos 5  i sin 5  และ z 2  4cos 3  i sin 3  จงหา
z2
34
46

 7 7   2 2  z1
2. กาหนด z1  6 cos  i sin  และ z 2  3 cos  i sin  จงหา
 5 5   5 5  z2
35
46

z1
3. กาหนด z1  cos 430  i sin 430 และ z 2  5cos 160  i sin 160 จงหา
z2
36
46

z1
4. กาหนด z1  9cos 415  i sin 415 และ z 2  6cos 115  i sin 115 จงหา
z2
37
46

 10 10   5 5  z1
5. กาหนด z1  5 cos  i sin  และ z 2  2 cos  i sin  จงหา
 3 3   3 3  z2
38
46

เกณฑ์การให้คะแนนการทาแบบฝึกทักษะ(อัตนัย)
พิจารณาจากการแสดงวิธีการหาคาตอบและความถูกต้องของคาตอบ
แบบฝึกทักษะที่ 3

แบบฝึกทักษะที่ 3 จานวน 5 ข้อ 10 คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

คะแนน ความหมาย ผลที่ปรากฏให้เห็น


การแสดงวิธีทาชัดเจน สมบูรณ์ คาตอบและวาด
2 ดีมาก
กราฟถูกต้องครบถ้วน
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจนดีนัก แต่อยู่ใน
1.5 ดี แนวทางที่ถูกต้อง คาตอบและวาดกราฟถูกต้อง
ครบถ้วน
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจน หรือไม่แสดงวิธีทา
คาตอบถูกต้องครบถ้วน หรือการแสดงวิธีทา
1 พอใช้
ชัดเจน สมบูรณ์ แต่คาตอบไม่ถูกต้อง ขาดการ
ตรวจสอบ วาดกราฟไม่ถูกต้อง
การแสดงวิธีทายังไม่ชัดเจนดีนัก แต่อยู่ใน
แนวทางที่ถูกต้อง คาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่แสดง
0.5 ควรแก้ไข
วิธีทา และคาตอบที่ได้ไม่ถกู ต้อง แต่อยู่ใน
แนวทางที่ถูกต้อง วาดกราฟไม่ถูกต้อง
0 ต้องปรับปรุง ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์
39
46

แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

คาสั่ง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกที่สุดในกระดาษคาตอบ (10 คะแนน)

1. z  4cos 120  i sin 120 เป็นรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนในข้อใด


ก.  2  2 3i ข.  2  2 3i
ค. 2  2 3i ง. 2  2 3i

2. z  3cos   i sin   เป็นรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนในข้อใด


ก. 3 ข. 3
ค.  3i ง. 3i

3. รูปเชิงขั้วของ z  2  2i ตรงกับข้อใด
ก. 4 cos   i sin   ข.   
4 cos  i sin 
 4 4  3 3
     
ค. 2 2  cos  i sin  ง. 2 2  cos  i sin 
 4 4  3 3

 
4. เมื่อกาหนด z1  cos   i sin  และ z 2  cos  i sin แล้ว z1 z 2
2 2
ตรงกับข้อใด
ก. cos 2  i sin 2 ข. cos   i sin 
ค. cos 3  i sin 3 ง. cos

 i sin

2 2 2 2

      z1
5. เมื่อกาหนด z1  8 cos  i sin  และ z 2  2 cos  i sin  แล้ว
 2 2  6 6 z2
ตรงกับข้อใด
ก.  2  2 3i ข.  2  2 3i
ค. 2  2 3i ง. 2  2 3i
40
46

 
6. z  cos  i sin เป็นรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนในข้อใด
4 4
2 2 2 2
ก.  i ข.   i
2 2 2 2
2 2 2 2
ค.   i ง.  i
2 2 2 2

3   1  
7. เมื่อกาหนด z1   cos  i sin  และ z2   cos  i sin 
2  6 6 2 3 3
z1
แล้ว ตรงกับข้อใด
z2
        
ก. 3 cos  i sin  ข. 3 cos    i sin    
 6 6   6  6 
        
ค. 3 cos  i sin  ง. 3 cos    i sin    
 2 2   2  2 

8. รูปเชิงขั้วของ z  4  4i ตรงกับข้อใด
ก. 4 cos 7  i sin 7  ข. 
4 2  cos
5
 i sin
5 

 4 4   4 4 
 3 3    
ค. 4 cos  i sin  ง. 4 2  cos  i sin 
 4 4   4 4

     
9. เมื่อกาหนด z1  3 cos  i sin  และ z 2  4 cos  i sin 
 3 3  6 6
แล้ว z1 z 2 ตรงกับข้อใด
ก.  12i ข. 12i
ค.  12 3i ง. 12 3i

10. 4cos 75  i sin 753cos10  i sin102cos 65  i sin 65


มีค่าตรงกับข้อใด
ก. 12  12 3i ข.  12  12 3i
ค.  12 3  12i ง. 12 3  12i
41
46

บรรณานุกรม

กนกวลี อุษณกรกุล และคณะ.(2555). คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.4 – 6 เล่ม 4.


กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
ทรงวิทย์ สุวรณธาดา. (2555). หนังสือเรียนเสริมคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 ภาคเรียนที่ 2.
กรุงเทพมหานคร : แม็ค.
เลิศ สิทธิโกศล. (2555). Math Review คณิตศาสตร์ ม.4 – 6 (เพิ่มเติม).
กรุงเทพมหานคร : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพมหานคร: สกสค.
สมัย เหล่าวานิชย์. (2554). Hi-ED’s Mathematics คณิตศาสตร์ ม.4 – 6 เล่ม 4
(รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.
ภาคผนวก
43
46

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

ข้อที่ คาตอบ
1. ข
2. ค
3. ก
4. ง
5. ง
6. ค
7. ข
8. ข
9. ก
10. ค
44
46

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของจานวนเชิงซ้อน
ในรูปเชิงขั้วได้
คาชี้แจง จงเขียนรูปเชิงขั้วของจานวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
(10 คะแนน) (ข้อละ 2 คะแนน)

1. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน 12i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทา
ให้ z  12i จะได้ x0 และ y  12
จากสูตร r = x2  y2
จะได้ r = 0 2  12 2
= 144
= 12
y
หา  จาก tan  =
x
= 12
ซึ่ง 0,12
0
อยู่บนแกน Y ทางด้านบวก

จะได้  =
2
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
  
จะได้ 12i = 12 cos  i sin 
 2 2

  
ตอบ รูปเชิงขั้วของ 12i คือ 12 cos  i sin 
 2 2
45
46

2. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน  2  2i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทา

ให้ z   2  2i จะได้ x 2 และ y 2


จากสูตร r = x2  y2

จะได้ r =  2    2 
2 2

= 22
= 4
= 2
y
หา  จาก tan  =
x
 2
=
 2
= 1 ซึ่ง  2 , 2  อยู่ในควอดรันต์ที่ 3
5
จะได้  =
4
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
 5 5 
จะได้  2  2i = 2 cos  i sin 
 4 4 

 5 5 
ตอบ รูปเชิงขั้วของ  2  2i คือ 2 cos  i sin 
 4 4 
46
46

3. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน 1 3i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทา
ให้ z  1 3i จะได้ x 1 และ y 3
จากสูตร r = x2  y2

จะได้ r = 
12   3 2

= 1 3
= 4
= 2
y
หา  จาก tan  =
x
 3
=
1
=  3 ซึ่ง 1, 3  อยู่ในควอดรันต์ที่ 4
5
จะได้  =
3
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
 5 5 
จะได้ 1 3i = 2 cos  i sin 
 3 3 

 5 5 
ตอบ รูปเชิงขั้วของ 1 3i คือ 2 cos  i sin 
 3 3 
47
46

4. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน  7  21i ในรูปเชิงขั้ว

วิธีทา
ให้ z   7  21i จะได้ x 7 และ y  21
จากสูตร r = x2  y2

จะได้ r =  7    21
2 2

= 7  21
= 28
= 2 7
y
หา  จาก tan  =
x
21
=
 7
=  3 ซึ่ง  7 , 21  อยู่ในควอดรันต์ที่ 2
2
จะได้  =
3
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
 2 2 
จะได้  7  21i = 2 7  cos  i sin 
 3 3 

 2 2 
ตอบ รูปเชิงขั้วของ  7  21i คือ 2 7  cos  i sin 
 3 3 
48
46

1 1
5. จงเขียนจานวนเชิงซ้อน  i ในรูปเชิงขั้ว
2 2

วิธีทา
1 1 1 1
ให้ z  i จะได้ x และ y
2 2 2 2
จากสูตร r = x2  y2
2 2
 1   1 
จะได้ r =    
 2  2
1 1
= 
2 2
1
=
4
1
=
2
y
หา  จาก tan  =
x
1
= 1
2

= 1 ซึ่ง  1
,
1 
 อยู่ในควอดรันต์ที่ 1
 2 2

จะได้  =
4
เนื่องจาก z = r cos   i sin  
1 1 1  
จะได้  i =  cos  i sin 
2 2 2 4 4

1 1 1  
ตอบ รูปเชิงขั้วของ  i คือ  cos  i sin 
2 2 2 4 4
49
46

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อนใน
รูปเชิงขั้วได้
คาชี้แจง จงหาค่าของจานวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ (10 คะแนน) (ข้อละ 2 คะแนน)

     5 5 
1. กาหนด z1  4 cos  i sin  และ z 2  5 cos  i sin  จงหา z1 z 2
 12 12   12 12 

วิธีทา
       5 5 
z1 z 2 = 4 cos 12  i sin 12  5 cos 12  i sin 12 
     
   5    5 
= 20cos    i sin  
  12 12   12 12 
 6 6 
= 20 cos  i sin 
 12 12 
  
= 20 cos  i sin 
 2 2
= 200  i 
= 0  20i
= 20i

ตอบ 20i
50
46

 5 5   29 29 
2. กาหนด z1  2 cos  i sin  และ z 2  3 cos  i sin  จงหา z1 z 2
 36 36   18 18 

วิธีทา
  5 5    29 29 
z1 z 2 = 2 cos 36  i sin 36  3 cos 18  i sin 18 
     
  5 29   5 29 
= 6cos    i sin  
  36 18   36 18 
 63 63 
= 6 cos  i sin 
 36 36 
 7 7 
= 6 cos  i sin 
 4 4 
 2 2 
= 6  i
 2 2 
= 3 2  3 2i

ตอบ 3 2  3 2i
51
46

3. กาหนด z1  3cos 72  i sin 72 และ z 2  5cos 63  i sin 63 จงหา z1 z 2

วิธีทา
z1 z 2 = 3cos 72  i sin 725cos 63  i sin 63
= 15cos72  63  i sin72  63

= 15cos 135  i sin 135

 2 2 
= 15   i 
 2 2 

15 2 15 2
=   i
2 2

15 2 15 2
ตอบ   i
2 2
52
46

 2 2   8 8 
4. กาหนด z1  12 cos  i sin  และ z 2  6 cos  i sin  จงหา z1 z 2
 5 5   5 5 

วิธีทา
  2 2    8 8 
z1 z 2 = 12 cos 5  i sin 5  6 cos  i sin 
     5 5 

  2 8   2 8 
= 72cos    i sin  
  5 5   5 5 

 10 10 
= 72 cos  i sin 
 5 5 

= 72cos 2  i sin 2 

= 721  0i 

= 72  0i

= 72

ตอบ 72
53
46

5. กาหนด z1  7cos 200  i sin 200 และ z 2  5cos 205  i sin 205 จงหา z1 z 2

วิธีทา
z1 z 2 = 7cos 200  i sin 2005cos 205  i sin 205
= 35cos200  205  i sin200  205

= 35cos 405  i sin 405

= 35cos360  45  i sin360  45

= 35cos 45  i sin 45

 2 2 
= 35  i 
 2 2 

35 2 35 2
=  i
2 2

35 2 35 2
ตอบ  i
2 2
54
46

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 3

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถหาคาตอบของจานวนเชิงซ้อน
ในรูปเชิงขั้วได้
คาชี้แจง จงหาค่าของจานวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ (10 คะแนน) (ข้อละ 2 คะแนน)

z1
1. กาหนด z1  8cos 5  i sin 5  และ z 2  4cos 3  i sin 3  จงหา
z2

วิธีทา
z1 8cos 5  i sin 5 
=
z2 4cos 3  i sin 3 

= 2cos5  3   i sin5  3 

= 2cos 2  i sin 2 

= 21  0i 

= 2  0i

= 2

ตอบ 2
55
46

 7 7   2 2  z1
2. กาหนด z1  6 cos  i sin  และ z 2  3 cos  i sin  จงหา
 5 5   5 5  z2

วิธีทา
 7 7 
6 cos  i sin 
z1
=  5 5 
z2  2 2 
3 cos  i sin 
 5 5 

6   7 2   7 2 
= cos    i sin  
3   5 5   5 5 

 5 5 
= 2 cos  i sin 
 5 5 

= 2cos   i sin  

= 2 1  0i 

=  2  0i

= 2

ตอบ 2
56
46

z1
3. กาหนด z1  cos 430  i sin 430 และ z 2  5cos 160  i sin 160 จงหา
z2

วิธีทา
z1 cos 430  i sin 430
=
z2 5cos 160  i sin 160

= 1
cos430  160  i sin430  160
5

= 1
cos 270  i sin 270
5

= 1
0  i 
5
1
= 0 i
5
1
=  i
5
1
ตอบ  i
5
57
46

z1
4. กาหนด z1  9cos 415  i sin 415 และ z 2  6cos 115  i sin 115 จงหา
z2

วิธีทา
z1 9cos 415  i sin 415
=
z2 6cos 115  i sin 115

= 9
cos415  115  i sin415  115
6

= 3
cos 300  i sin 300
2

31 3 
=   i
2  2 2 

3 3 3
=  i
4 4

3 3 3
ตอบ  i
4 4
58
46

 10 10   5 5  z1
5. กาหนด z1  5 cos  i sin  และ z 2  2 cos  i sin  จงหา
 3 3   3 3  z2

วิธีทา
 10 10 
5 cos  i sin 
z1
=  3 3 
z2  5 5 
2 cos  i sin 
 3 3 

5   10 5   10 5 
= cos    i sin  
2  3 3   3 3 

5 5 5 
=  cos  i sin 
2 3 3 

51 3 
=   i
2  2 2 

5 5 3
=  i
4 4

5 5 3
ตอบ  i
4 4
59
46

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 5 จานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว

ข้อที่ คาตอบ
1. ก
2. ก
3. ค
4. ค
5. ง
6. ง
7. ข
8. ข
9. ข
10. ค

You might also like