You are on page 1of 7

www.environnet.in.

th
ภูเขาไฟระเบิด

นิยาม

เปนภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รายแรงอยางหนึ่ง การระเบิดของภูเขาไฟนั้นแสดงใหเหนวาใตผิวโลกของเราลง
ไประดับหนึ่ง มีความรอนสะสมมอยูมากโดยเฉพาะที่เรียกวา"จุดรอน" ณ บริเวณนี้มีหินหลอมละลายเรียก แมกมา
และเมื่อมันถูกพนขึ้นมาตามรอยแตกหรือปลองภูเขาไฟ เราเรียกวา ลาวา

สาเหตุของการเกิดภูเขาไฟระเบิด

กระบวนการระเบิดของภูเขานั้นยังไมเปนที่เขาใจกระจางชัดนัก นักธรณี วิทยาคาดวามีการสะสมของง


ความรอนอยางมากบริเวรนั้น ทําใหมีแมกมา ไอนํา และแกส สะสมตัวอยูมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งกอใหเกิดความดัน ความ
รอนสูง เมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะระเบิดออกมา อัตราความรุนแรงของการระเบิด ขึ้นอยูกับความรุนแรงการะเบิด รวมทั้ง
ขึ้นอยูกับความดันของไอ และความหนืดของลาวา ถาลาวาคนมากๆ อัตราการรุนแรงของการระเบิดจะรุนแรงมาก
ตามไปดวย
เวลาภูเขาไฟระเบิด มิใชมีแตเฉพาะลาวาที่ไหลออกมาเทานั้น ยังมีแกสไอนํา ฝุนผงเถาถานตางๆ ออกมา
ดวย มองเปนกลุมควันมวนลงมา พวกไอนําจะควบแนนกลายเปนนํา นําเอาฝุนละอองเถาตางๆที่ตกลงมาดวยกัน
ไหลบากลลายเปนโคลนทวมในบริเวณเชิงเขาตําลงไป ยิ่งถาภูเขาไฟนั้นมีหิมะคลุมอยู มันจะละลายหิมะ นําโคลนมา
เปนจํานวนมากได เชน ในกรณีของภัยพิบัติที่เกิดในประเทศโคลัมเบียเมื่อไมนานนี้
แหลงที่มา:คณาจารยคณะวิทยาศาสตร.สารานุกรม วิทยาศาสตร.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพจุฬาลงกรณ,2534

โทษของภูเขาไฟระเบิด ทําใหเกิด

1. แรงสั่นสะเทือน มีทั้งการเกิดแผนดินไหวเตือน แผนดินไหวจริง และแผนดินไหวติดตาม ถาประชาชนไปตั้งถิ่น


ฐานอยูในเชินภูเขาไฟอาจหนีไมทันเกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพยสิน
2. การเคลื่อนที่ของลาวา อาจไหลออกมาจากปากปลองภูเขาไฟเคลื่อนที่รวดเร็วถึง 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง มนุษย
และสัตวอาจหนีภัยไมทันเกิดความสูญเสียอยางใหญหลวง
3. เกิดฝุนภูเขาไฟ เถา มูล บอมบภูเขาไฟ ระเบิดขึ้นสูบรรยากาศ ครอบคลุมอาณาบริเวณใกลภูเขาไฟ และลมอาจ
พัดพาไปไกลจากแหลงภูเขาไฟระเบิดหลายพันกิโลเมตร ภูเขาไฟพินาตูโบระเบิดที่เกาะลูซอนประเทศฟลิปปนส

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
www.environnet.in.th
ฝุนภูเขาไฟยังมาตกทางจังหวัดภาคใตของประเทศไทย เชน จังหวัดสงขลา นราธิวาส และปตตานี เกิดมลภาวะ
ทางอากาศและแหลงน้ํากินน้ําใชของประชาชน รวมทั้งฝุนภูเขาไฟไดขึ้นไปถึงบรรยากาศขั้นสตราโตสเฟยร ใช
เวลานานหลายป ฝุนเหลานั้นตึงจะตกลงบนพื้นโลกจนหมด
4. เกิดคลื่นซึนามิ ขณะเกิดภูเขาไประเบิด โดยเฉพาะภูเขาไฟใตทองมหาสมุทร คลื่นนี้จะโถมเขาหาฝงสูงขนาดตึก
3 ชั้นขึ้นไป กวาดทุกสิ่งทั้งผูคนและสิ่งกอสรางลงสูทะเล เปนที่นาหวาดกลัวยิ่งนัก
5. หลังจากภูเขาไฟระเบิด มีฝุนเถาภูเขาไฟตกทับถมอยูใกลภูเขาไฟ เมื่อฝนตกหนัก อาจจะเกิดน้ําทวมและโคลน
ถลมตามมาจากฝุนและเถาภูเขาไฟเหลานั้น
ประโยชนของภูเขาไฟระเบิด

1. การระเบิดของภูเขาไฟชวยปรับระดับของเปลือกโลกใหอยูในภาวะสมดุล
2. การเคลื่อนที่ของลาวาจากการระเบิดของภูเขาไฟ ทําใหหินอัคนีและหินชั้นใตที่ลาวาไหลผานเกิดการแปรสภาพ
เชน หินแปรที่แข็งแกรงขึ้น
3. แหลงภูเขาไฟระเบิด ทําใหเกิดแหลงแรที่สําคัญขึ้น เชน เพชร เหล็ก และธาตุอื่นๆ อีกมาก
4. แหลงภูเขาไฟจะเปนแหลงดินดีเหมาะแกการเพาะปลูก เชน ดินที่อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี เปนตน
5. แหลงภูเขาไฟ เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ เชน อุทยาแหงชาติฮาวาย ในอเมริกา หรือแหลงภูกระโดง ภูอังคาร
ในจังหวัดบุรีรัมย ของไทย เปนตน
6. ฝุน เถาภูเขาไฟที่ลองลอยอยูในอากาศชั้นสตราโตสเฟยร ทําใหบรรยากาศโลกเย็นลง ปรับระดับอุณหภูมิของ
บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยรของโลกที่กําลังรอนขึ้น แกสคารบอนไดออกไซด หรือการเกิดปฏิกิริยาเรือนกระจก
และการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ําแอลนิโน ที่ทําใหอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกสูงขึ้นนั้น ลดต่ําลง

สถิติการเกิดภูเขาไฟระเบิดครั้งสําคัญ

ไดมีการบันทึกการระเบิดครั้งสําคัญของภูเขาไฟในอดีตจนถึงปจจุบันไวในตาราง
ป ค.ศ. ชื่อภูเขาไฟ จํานวนผูเสียชีวิต
79 ภูเขาไฟวิสุเวียส-อิตาลี 16,000
1169 ภูเขาไฟเอ็ตนา เกาะซิซิลี –อิตาลี 15,000
1631 ภูเขาไฟวิสุเวียส-อิตาลี 4,000
1669 ภูเขาไฟเอ็ตนา เกาะซิซิลี –อิตาลี 20,000
1772 ภูเขาไฟปาปนดายัง-อินโดนีเซีย 3,000
1792 ภูเขาไฟอุนเซ็นดาเกะ-ญี่ปุน 10,400
1815 ภูเขาไฟแทมโบโล-อินโดนีเซีย 12,000
26-28 ส.ค.1883 ภูเขาไฟกรากะตัว-อินโดนีเซีย 35,000
8 เม.ย. 1902 ภูเขาไฟซานตามาเรีย-กัวเตมาลา 1,000

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
www.environnet.in.th
8 พ.ค. 1902 ภูเขาไฟปเล-เกาะมารตินีก 10,000
1911 ภูเขาไฟทาอาล-ฟลิปปนส 1,400
1919 ภูเขาไฟเคบัด-ชวา-อินโดนีเซีย 5,000
18-21 ม.ค. 1951 ภูเขาไฟเลมิงตัน-นิวกินี 3,000
26 เม.ย. 1966 ภูเขาไฟเคลัด-ชวา-อินโดนีเซี 1,000
18 พ.ค. 1980 ภูเขาไฟเซ็นต เฮเลนส-สหรัฐอเมริกา 60
13 พ.ย. 1985 ภูเขาไฟเนวาโดเดลรูซ-โคลัมเบีย 22,940
24 ส.ค. 1986 ภูเขาไฟในแคเมอรูน 1,700+
รวม 17 ประมาณ 191,500

จากตารางจะเห็นไดวา การระเบิดของภูเขาไฟครั้งสําคัญไดทําลายชีวิตผูคนไปแลวเกือบ 2 แสนคน นับวาเปน


จํานวนไมนอยในป ค.ศ. 1985 ประชาชนชาวโคลัมเบียสูญเสียชีวิตเปนหมื่นเชนกัน ใน 17 ครั้ง 11 ครั้งเปนการ
ระเบิดของภูเขาไฟซึ่งอยูในประเทศเขตรอน ไดแก ดินแดนประเทศอินโดนีเซีย ฟลิปปนส นิวกีนี เกาะมารตินีก
อยูในหมูเกาะอินดีสตะวันตกและกัวเตมาลา (ละติจูด 15° เหนือ) ประเทศโคลัมเบีย (ละติจูด 5° เหนือ) และ
ประเทศแคเมอรูน (ละติจุด 5° เหนือ)
เปนที่นาสังเกตวาประเทศในเขตรอนมักจะประสบภัยจากธรรมชาติหลายประเทศ ตลอดจนภูเขาไฟระเบิด
ดวย ซ้ําประเทศเหลานี้เปนประเทศกําลังพัฒนา สถิติประชากรประสบภัยยังอยูในอัตราสูงเพราะขาดการเตือนภัยที่ดี
และการอพยพประชากรทําไดลําบากเพราะความไมสะดวกของเสนทางคมนาคม ตลอดจนการพยากรณภัยพิบัติไม
คอยได รับ ความเชื่อถื อเท าที่ ค วร หรือขาดการประชาสั ม พัน ธที่ ดี เปรีย บเที ย บกับ ประเทศที่ เจริญ แลว เชน สหรัฐ
อเมริกากลับมีผูเสียชีวิตเพียง 60 คน เทานั้น แตกตางกันอยางสิ้นเชิง ดังนั้น ถาการพยากรณและเตือนภัยภูเขาไฟ
ระเบิดกระทําอยูอยางมีประสิทธิภาพ อาจทําใหจํานวนผูเสียชีวิตลดลงอยางมาก
ภูเขาไฟบางลูกอาจทําลายชีวิตผูคนหลายหมื่นคน ในการระเบิดเพียงครั้งเดียว ถามีการตายจํานวน 2-3
พันคน จากการระเบิดของภูเขาไฟมักจะเกิดขึ้นโดยตางป ตางสถานที่กันและอีกหลายปผานไปอาจไมมีใครเสียชีวิต
จากภูเขาไฟระเบิดเลยก็ได ตางจากแผนดินไหวทาแตละปมีคนตายเปนพันๆคน เกือบทุกป เชน แผนดินไหวที่เคยเกิด
เมื่อป ค.ศ.1928,1950และ1976 ที่มีคนตายถึง 100,000 คน
การเกิดแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิด ที่ทําใหเกิดภัยพิบัติอยางมหาศาล ประชาชนทั้งหลายอมไดสดับ
ตรับฟงมาอยางมากมาย แตเพราะเหตุใดเขาเหลานั้นยังคงเลือกที่จะอยูในสถานที่อันตรายทั้งที่รูแลววาอีกไมนาน
อาจเกิดแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิด ที่ทําลายบานเรือนหรือแมแตชีวิตของตนเองได เมื่อเหตุการณเหลานี้เกิดขึ้น
คงมีแตความเลวราย เพราะเหตุใด คําตอบมีดังนี้
1)ประชาชนรูจากประสบการณวาแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิด เกิดในเขตเดียวกันของโลก และจะนํามา
ซึ่งความเสียหายอยางใหญหลวง เขาเขาเชื่อวาความสูญเสียยังคงเหลือคนดีอยูบาง คงไมเสียหายจนหมด

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
www.environnet.in.th
2)ประชาชนรักถิ่นที่อยูมีความรูสึกผูกพัน ถาจะตองอพยพยายถิ่นดวยเหตุทางเศรษฐกิจหรือเหตุผลอื่นใด
ยอมมีความเสียใจพอๆกับบานเรือนถูกทําลายทีเดียว
3)ประชาชนชอบอยูในที่เดิม เวนแตวาตั้งใจออกไปหาที่อยูใหมที่มั่นคงกวาได
ดังนั้น ผูคนจํานวนหลายรอยลานคน ยังคงอาศัยอยูในพื้นที่ที่ลอแหลมตออันตรายของเขตเกิดแผนดินไหว
และภูเขาไฟระเบิด ทั้งๆที่รูโดยไมเปลี่ยนแปลง ถึงแมวาจะตองการพื้นที่ก็ไมสามารถยายออกไปได เพราะพื้นที่โลกที่
เหมาะแกการอยูอาศัยมีจํากัด แผนดินโลกรอนเกินไปเสียแลว

การพยากรณภูเขาไฟระเบิด

ถึงแมแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิดจะอยูในเขตเดียวกัน แตก็มีความแตกตางกันทําใหการพยากรณแผน
ดินไหวและภูเขาไฟระเบิดตองแตกตางกันไปดวย ดังนี้
1)หลังจากเกิดแผนดินไหว เราอาจจะบูรณะบานเรือนสิ่งกอสรางขึ้นมาใหมได แตภูเขาไฟเมื่อระเบิดแลวพื้น
ที่ในเขตภูเขาไฟจะเต็มไปดวยธารลาวา ฝุนเถา ภูเขาไฟหรือพื้นที่ที่ถูกซึนามิกวาดผูคนสิ่งกอสรางลงทะเลไป ซึ่งไม
สามารถบูรณะพื้นที่ขึ้นมาใหมได ความหวังจึงมีเพียงวาทําอยางไรจะใหผูคนอพยพออกจากเขตภูเขาไฟไปจนหมด
เพื่อหลีกเลี่ยงภัยพิบัติ
2)การพยากรณภูเขาไฟระเบิดที่แมนยํานั้น ทําไมไดงายๆเหมือนแผนดินไหวเพราะแผนดินไหวมีจุดโฟกัสอยู
ลึกลงไปในเปลือกโลก ยังเปนสัญญาณใหรูลวงหนาไดวาจะเกิดแผนดินไหวเมื่อไร ตางจากภูเขาไฟระเบิดเมื่อหินหนืด
หรือแมกมาขึ้นมาถึงพื้นผิวโลกแลวเทานั้นเราถึงทราบวาภูเขาไฟจะระเบิด ซึ่งยากที่จะรูได เพราะไมมีสัญญาณเตือน
ไวลวงหนา
3)แผนดินไหวอาจจะหยุดไปเปนชวงเวลาหลายสิบป เนื่องจากผิวโลกกําลังอยูในระหวางสะสมแรงเคน จน
กวาเมื่อแรงเคนถึงที่สุด การสั่นสะเทือนแบบแผนดินไหวจึงจะเกิดขึ้นใหม สวนการเกิดภูเขาไฟระเบิดเมื่อหินหนืด
เคลื่อนตัวขึ้นมาที่ผิวโลก จะมีการเปลี่ยนแปลงทางฟสิกสและเคมีในมวลหินหนืด ใหเห็นเปนอยางดีมากพอจะแปล
ความหมายได ซึ่งนักภูเขาไฟวิทยา (volcanologist) สามารถอานความหมายไดอยางถูกตอง และพยากรณไดวาเมื่อ
ไรภูเขาไฟจะระเบิดไดไมยากนัก
4)นักภูเขาไฟวิทยาสามารถคาดการณไดไมยากนักวา ภูเขาไฟจะระเบิดเมื่อไรแตปรชาชนมักไมคอยรับรู
ยกเวนพวกที่เขาไปอยูใกลๆเชิงภูเขาไฟมากๆกรณีภูเขาไฟเอ็ตนาในเกาะซิซิลีประเทศอิตาลีระเบิด มีเหตุผล 2 ขอวา
เพราะเหตุใดผูคนถึงไมคอยสนใจการพยากรณภูเขาไฟระเบิด
ก)ภูเขาไฟลูกนั้นไมเคยเกิดการระเบิดที่รุนแรงมากอนเลย พอที่จะทําอันตรายคนในทองถิ่นนั้น
ข)ภูเขาไฟลูกนั้น มีการระเบิดมากเพียง 3-5 ครั้ง ใน 100 ครั้งไมผลักดันใหผูคนอพยพ ประมาณแลวระเบิด
เพียงรอยละ 5 ไมทําใหเกดการตื่นกลัว ยกเวนบางกรณี ที่ผูคนไปอยูกันหนาแนนที่เชิงภูเขไฟขึ้นไปใกลปากปลอง
อยางนากลัวอันตราย

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
www.environnet.in.th
การเตือนภัยแกประชาชน

1)ตองมีการพยากรณภูเขาไฟวาจะเกิดระเบิดขึ้น และทําอันตรายกับประชาชนหรือไม โดยพยากรณใหชัด


เจนวาจะเกิดในสัปดาหใด เดือนอะไรจะตองมีการอพยพหรือไม อาจมีบางคนไมอยากอพยพจะกวาจะมีการระเบิด
เสียกอน และผูคนจะกลับมาอยูบานของตนไดเร็วที่สุดเมื่อไร
2)การพยากรณควรเริ่มตนดวยการสังเกต เก็บขอมูล และวิเคราะหขอมูลดวยนักภูเขาไฟวิทยาที่มีประสบ
การณอยางจริงจัง เพราะภูเขาไฟไมระเบิดบอยนัก ประชาชน 2-3 พันลานคนของโลกหารูไมวาไดตั้งถิ่นฐานอยูบนเชิง
ภูเขาไฟที่ดับหรือไมดับก็ตาม ดังนั้น การเตือนภัยลวงหนาควรจะชวยลดจํานวนคนที่ตกเปนเหยื่อของภูเขาไฟใหเกิด
ความสูญเสียนอยที่สุดชวยสงวนชีวิตและทรัพยสินของสังคมไดมากที่สุด ดังนั้น จึงควรใหเกิดความรูวาภูเขาไฟอยูที่
ไหน จะระเบิดขึ้นไดหรือไม เมื่อไร เราควรจะคุมครองชีวิตและทรัพยสินของตนไดอยางไรเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น
3)การประชาสัมพันธ การพยากรณและเตือนภัยแผนดินไหวทางวิทยุและโทรทัศนถึงแมจะไมใชหนทางที่ดี
ที่สุด แตก็เปนหนทางที่ควรปฏิบัติอยางยิ่ง
4)สุดทายหนทางที่ควรปฏิบัติอีกประการหนึ่ง คือ ใหความรูแกประชาชนไมวาจะเปนการศึกษาในระบบ
หรือการศึกษานอกระบบ ทําไดตลอดเวลาทั้งกอน ระหวางและหลังประสบภัยพิบัติ เมื่อประชาชนรูเรื่องภัยพิบัติจาก
ภูเขาไฟระเบิด นับวาการเตือนภัยจากภูเขาไฟระเบิดมีความสําเร็จไปครึ่งทางแลว ดีกวาใหประชาชนตกอยูในความ
มืดเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หนังสืออิเล็กทรอนิกส

ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร ( ฟสิกส 1 (ความรอน)

ฟสิกส 2 กลศาสตรเวกเตอร
โลหะวิทยาฟสิกส เอกสารคําสอนฟสิกส 1
ฟสิกส 2 (บรรยาย( แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c
ฟสิกสพิศวง สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ต
ทดสอบออนไลน วีดีโอการเรียนการสอน
หนาแรกในอดีต แผนใสการเรียนการสอน
เอกสารการสอน PDF กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร
แบบฝกหัดออนไลน สุดยอดสิ่งประดิษฐ
การทดลองเสมือน

บทความพิเศษ ตารางธาตุ ) ไทย1) 2 (Eng)


พจนานุกรมฟสิกส ลับสมองกับปญหาฟสิกส

ธรรมชาติมหัศจรรย สูตรพื้นฐานฟสิกส

การทดลองมหัศจรรย ดาราศาสตรราชมงคล
แบบฝกหัดกลาง

แบบฝกหัดโลหะวิทยา แบบทดสอบ

ความรูรอบตัวทั่วไป อะไรเอย ?

ทดสอบ)เกมเศรษฐี ( คดีปริศนา

ขอสอบเอนทรานซ เฉลยกลศาสตรเวกเตอร
คําศัพทประจําสัปดาห
ความรูรอบตัว

การประดิษฐแของโลก ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกส
นักวิทยาศาสตรเทศ นักวิทยาศาสตรไทย
ดาราศาสตรพิศวง การทํางานของอุปกรณทางฟสิกส
การทํางานของอุปกรณตางๆ
การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. การวัด 2. เวกเตอร
3. การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ 4. การเคลื่อนที่บนระนาบ
5. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 6. การประยุกตกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7. งานและพลังงาน 8. การดลและโมเมนตัม
9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
11. การเคลื่อนที่แบบคาบ 12. ความยืดหยุน
13. กลศาสตรของไหล 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน
15. กฎขอที่หนึ่งและสองของเทอรโมไดนามิก 16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
17. คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง
การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. ไฟฟาสถิต 2. สนามไฟฟา
3. ความกวางของสายฟา 4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน
5. ศักยไฟฟา 6. กระแสไฟฟา
7. สนามแมเหล็ก 8.การเหนี่ยวนํา
9. ไฟฟากระแสสลับ 10. ทรานซิสเตอร
11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ 12. แสงและการมองเห็น
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 14. กลศาสตรควอนตัม
15. โครงสรางของอะตอม 16. นิวเคลียร
การเรียนการสอนฟสิกสทั่วไป ผานทางอินเตอรเน็ต

1. จลศาสตร )kinematic) 2. จลพลศาสตร (kinetics)


3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง
5. ของไหลกับความรอน 6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา
7. แมเหล็กไฟฟา 8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง
9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร

ฟสิกสราชมงคล

You might also like