You are on page 1of 9

0 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตกรณีค่าสังเกตที่จัดเป็นคู่ได้ (Paired Observations)

ประชากรเป็นคู่ตัวอย่างเช่น คะแนนสอบ CAL , PROB&STAT หรือ น้ำหนัก, ความสูง

ประชากร ประชาก d = X – Y
1 ร2
x1 y1 d1
: : :
xi yi di
: : :
xn yn dn

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


1 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

ทฤษฎีบทที่ 5.7.4 ให้ d1, d 2 , ... , d n เป็นผลต่างของค่าสังเกต n คู่ (n < 30) ผลต่าง n ค่านี้จะทำให้เกิดตัวอย่าง
ชนิดสุ่มที่มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต d และความแปรปรวน s d2 จากประชากรปกติซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต µ D และความ
d - µD
แปรปรวนที่ไม่ทราบค่า s d2 การแจกแจงของค่าสถิติ D จะได้ t = เป็นค่าของตัวแปรสุ่ม t ซึ่งมีการ
sd
n
แจกแจงที โดยมีระดับขั้นความเสรี n = n – 1

d - µD
หมายเหตุ ถ้า n ³ 30 แล้ว Z = sd
แจกแจงปกติมาตรฐาน
n

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


2 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

สรุปการหาช่วงความเชื่อมั่น (1 - a)100% ของ µ1 - µ 2


กรณีที่ประชากร 2 ชุดไม่เป็นอิสระต่อกัน (ข้อมูลเก็บเป็นคู่ ๆ)
การหาช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ย ของประชากรไม่เป็นอิสระต่อกันและความแปรปรวนไม่เท่ากันเช่นข้อมูลที่
เกิดเป็นคู่
sd s
ช่วงความเชื่อมั่น (1 - a)100% ของค่า µ D คือ d - t a < µD < d + t a d
2 n 2 n
ระดับขั้นความเสรี n = n - 1
s sd
หรือ d -za d < µD < d + z a เมื่อขนาดของตัวอย่าง n ³ 30
2 n 2 n

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


3 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

ตัวอย่างที่ 1 จากตัวอย่างสุ่มของนิสติ ที่เรียนสถิติ 10 คน เก็บคะแนนการสอบย่อยครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ของ


นิสิตทั้ง 10 คนนั้น ปรากฏผลดังนี้
คนที่ คะแนนสอบครั้งที่ คะแนนสอบครั้งที่
1 (X) 2 (Y)
1 76 81
2 60 52
3 85 87
4 58 70
5 91 86
6 75 77
7 82 90
8 64 63
9 79 85
10 88 83
จงหาช่วงความเชื่อมั่น 98% สำหรับผลต่างที่แท้จริง ในการสอบย่อยทั้ง 2 ครั้ง

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


4 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

วิธีทำ คำนวณค่า d i = x i - y i และ d i2

คนที่ คะแนนสอบครั้งที่ 1 (X) คะแนนสอบครั้งที่ 2 (Y) di d i2


= xi - yi
1 76 81 –5 25
2 60 52 8 64
3 85 87 –2 4
4 58 70 – 12 144
5 91 86 5 25
6 75 77 –2 4
7 82 90 –8 64
8 64 63 1 1
9 79 85 –6 36
10 88 83 5 25
– 16 392

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


5 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)
sd 6.3805 6.3805
sd = 40.7111 = 6.3805 = =
3.1623
= 2.0177 ระดับขั้นความเสรี = n - 1 = 10 - 1 = 9
n 10

เพราะว่า (1 - a)100 = 98 เพราะฉะนัน้ a = 0.01 และ t a = t 0.01 = 2.821


2 2

ช่วงความเชื่อมั่น 98% สำหรับ µ D คือ


sd sd
d-ta < µD < d + t a
2 n 2 n

- 1.6 - (2.821)(2.0177) < µD < -1.6 + (2.821)(2.0177)


- 1.6 - 5.6919 < µD < -1.6 + 5.6919
- 7.2919 < µD < 4.0919

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


6 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างของสารประเภทที่มีเหล็ก 5 ตัวอย่าง นำมาวิเคราะห์หาปริมาณเหล็กด้วยวิธีแบ่งออกเป็น


สองตัวอย่างย่อย และใช้วิธีการวิเคราะห์หาปริมาณเหล็ก ปรากฏผลดังนี้
ตัวอย่างวิธีวิเคราะห์ 1 2 3 4 5
รังสีเอ็กซ์ 2.0 2.0 2.3 2.1 2.4
เคมี 2.2 1.9 2.5 2.3 2.4
สมมติว่าประชากรมีการแจกแจงปกติ จงทดสอบว่าทั้งสองวิธีให้ผลทัดเทียมกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.01
วิธีทำ ให้ µ1 และ µ 2 แทนค่าเฉลี่ยของปริมาณเหล็กซึ่งวิเคราะห์ได้โดยวิธีเคมีและรังสีเอ็กซ์ตามลำดับ
เพราะว่าเราต้องการทดสอบว่าทั้งสองวิธีให้ผลทัดเทียมกัน เพราะฉะนัน้ กำหนดสมมติฐาน
ขั้นที่ 1 H 0 : แย้งกับ H1 :
ขั้นที่ 2 กำหนดระดับนัยสำคัญ a =
ขั้นที่ 3 จากข้อมูลที่สุ่มมาได้ คำนวณค่าของ d และ s d2 ได้ดังนี้

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


7 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

รังสีเอ็กซ์ เคมี di d i2
2.0 2.2 –0.2 0.04
2.0 1.9 0.1 0.01
2.3 2.5 –0.2 0.04
2.1 2.3 –0.2 0.04
2.4 2.4 0.0 0.00
–0.5 0.13

d = s d2 = sd =

ขั้นที่ 4 เพราะว่า ประชากรมีการแจกแจงปกติ ข้อมูลมีการเก็บแบบเป็นคู่ ๆ และ ตัวอย่างมีขนาดเล็ก


เพราะฉะนั้นเลือกใช้ค่าสถิติ

ขั้นที่ 5 คำนวณค่าสถิติจากตัวอย่าง

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)


8 การประมาณและทดสอบสมมติฐานค่าผลต่างของค่าเฉลี่ย(Paired)

ขั้นที่ 6 ค่าวิกฤตคือ และ


บริเวณวิกฤต คือ
ขั้นที่ 7 สรุปผล
เพราะว่า 𝑡"#$ = อยู่ในบริเวณวิกฤต
เพราะฉะนั้น
และสรุปว่าทั้งสองวิธีให้ผลในการวิเคราะห์หาปริมาณเหล็กได้ทัดเทียมกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.01

เอกสารประกอบการสอน Prob/Stat (รศ.ทิพวัลย์)

You might also like