You are on page 1of 15

CLS1105

การจัดการการผลิตและปฏิบัตกิ าร
ประสิทธิภาพการผลิต การ
แข่งขัน และกลยุทธ์
Piyamas Klakhaeng
 ประสิทธิภาพการผลิตและการวัด การใช้ทรัพยากรหรือปั จจัยใน
การผลิตอย่ามีประสิทธิภาพนัน้ เป้นความรับผิดชอบเบือ้ งต้น
ของ ผูบ้ ริหารฝ่ าปฏิบตั ิการ ประสิทธิภาพในการผลิตเป็ นการวัด
ความสัมพันธ์ระหว่าผลผลิต(outputs) และปั จจัย นาเข้า
และปั จจัยการผลิตนัน้
 ผลิตภาพการผลิต (Productivity) หมายถึง อัตราส่วนของผลผลิต
หารด้วยปั จจัยนาเข้าที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการซึ่งในการคานวณผลิต
ภาพการผลิตเป็ นไปตามสมการ ดังนี้

ผลิตภาพการผลิต = ผลผลิต Output / ปั จจัยนาเข้า Input

โดย ผลผลิต Output หมายถึง ราคาของสินค้าหรือบริการ หรือ


จานวน สินค้าหรือบริการ
ปั จจัยนาเข้า Input หมายถึง ค่าจ้างบุคลากร ค่าเครื่องจักร หรือ
หมายถึง จานวนชัว่ โมงแรงงาน
การผลิตสินค้าและบริการได้มาจากการแปรสภาพทรัพยากรการผลิต หากการแปร
สภาพเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากเพียงใด ผลผลิตที่ได้ก็จะมีปริมาณคุ ณภาพและ
มูลค่าเพิ่มมากขึ้ นเท่านั้น

การปรับปรุงประสิทธิภาพของการผลิตสามารถดาเนิ นการได้ 2 วิธี คือ


◦ การลดปั จจัยนาเข้าในขณะที่ผลผลิตยังคงเดิม
◦ การเพิ่มผลผลิตขณะที่ปัจจัยนาเข้ายังคงที่
1.การวั ด ประสิ ท ธิ ภ าพแบบปั จจัย เดี่ ย ว Single Factor
Productivity เป็ นการแสดงสัดส่วนของการใช้ทรัพยากร (ปั จจัยนาเข้า)
หนึ่ งอย่าง เพื่อการผลิตสินค้าหรือบริการ (ปั จจัยนาออก) ดังสมการ นี้
ถ้าหน่ วยของผลผลิตที่ผลิตได้ = 1,000 หน่ วย
จานวนชัว่ โมงแรงงานที่ใช้ = 250 ชัว่ โมง
ผลิตภาพ Productivity = 1,000/250
= 4 หน่วยต่อชั ่วโมงแรงงาน
2. การวัดผลิตภาพแบบพหุปัจจัย Multifactor Productivity
เป็ นการแสดงสัด ส่ ว นของการใช้ทรัพ ยากร (ปั จจัย น าเข้า ) หลายอย่าง หรื อ
ทั้งหมดทุกๆ ปั จจัย ได้แก่ แรงงาน วัตถุดิบ พลังงาน ทุน ฯลฯ เพื่อการผลิตสินค้า
หรือบริการ (ปั จจัยนาออก) ดังสมการนี้
 บริษัท dolly จากัด มีพนั กงานอยู่ 4 คน พนั กงานแต่ละคนทางาน 8
ชัว่ โมงต่อวัน (ค่าจ้างแรงงาน 640 บาทต่อวัน) ค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงาน
400 บาทต่อวัน บริษัท dolly จากัด ทาการประมวลผลข้อมูลและปิ ดงาน
วันละ 8 รายการ
 เมื่อไม่นานมานี้ บริษัทเพิ่งซื้ อระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งประมวลผลสู งสุดได้ถึง 14
รายการต่ อ วัน ถึ ง แม้ว่ า พนั ก งานจะมี ชั ว่ โมงการท างานและการจ่ า ยเงิ น
เช่นเดียวกัน แต่ทางบริษัทก็มีค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานเป็ นจานวนเงิน 800
บาทต่อวัน
ผลิตภาพด้านแรงงานในระบบเดิม
= 8 รายการต่อวัน / 32 ชัว่ โมงต่อแรงงาน (4 คน*8ชม.)
= 0.25 รายการต่อชัว่ โมงแรงงาน

ผลิตภาพด้านแรงงานในระบบใหม่
= 14 รายการต่อวัน / 32 ชัว่ โมงต่อแรงงาน
= 0.4375 รายการต่อชัว่ โมงแรงงาน
ผลิตภาพแบบพหุปัจจัยในระบบเดิม
= 8 รายการต่อวัน / 640 + 400 บาท
= 0.0077 รายการต่อบาท

ผลิตภาพแบบพหุปัจจัยในระบบใหม่
= 14 รายการต่อวัน / 640 + 800 บาท
= 0.0097 รายการต่อบาท
สรุป
 ผลิตภาพด้านแรงงาน เพิ่มขึ้ นจาก 0.25 เป็ น 0.4375

การเปลี่ยนแปลงเป็ น (0.437x100)/0.25 = 174.8 หรือเพิ่มขึ้ นเป็ น 175% ในผลิต


ภาพด้านแรงงาน
 ผลิตภาพแบบพหุปัจจัย เพิ่มขึ้ นจาก 0.0077 เป็ น 0.0097

การเปลี่ยนแปลงเป็ น (0.0097x100)/0.0077 = 125.97 หรือเพิ่มขึ้ นเป็ น 126% ใน


ผลิตภาพแบบพหุปัจจัย
การเพิ่มผลิตภาพนั้นต้องพึ่งพาองค์ประกอบของตัวแปรสาคัญ 3 อย่าง ได้แก่
แรงงาน มีผลให้ผลิตภาพเพิ่มขึ้ นประมาณ 10% ต่อปี
เงินทุน มีผลให้ผลิตภาพเพิ่มขึ้ นประมาณ 38% ต่อปี
การจัดการ มีผลให้ผลิตภาพเพิ่มขึ้ นประมาณ 52% ต่อปี
 การวั ด ผลิ ต ภาพ จะเป็ นตั ว ช่ ว ยให้ผู ้บ ริ ห ารสามารถประเมิ น ได้ว่ า หน่ ว ยงา น
ปฏิบตั ิงานได้ดีแค่ไหนเพียงใด

 การวัดผลิตภาพแบบพหุปั จจัย จะช่ วยให้ได้ข อ้ มูล สารสนเทศที่ ดีกว่าในด้านการ


แลกเปลี่ยนระหว่างปั จจัยต่าง ๆ แต่มกั จะเกิดปั ญหา ดังนี้
ด้านคุณภาพ
ด้านองค์ประกอบภายนอก
ด้านหน่ วยความแม่นยาของการวัด

You might also like