You are on page 1of 76

กระสุน ๑

วิชากระสุน ( CARTRIDGES )
๑ กล่าวทั่วไป
ในคู่มือเล่มนี้ จะอธิบายถึงกระสุนปืนเล็ก (SMALL ARM AMMUNITION) และกระสุนปืนใหญ่
(ARTILLERY AMMUNITION) บางชนิด ที่กองทัพอากาศใช้งานอยู่เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานให้กับผู้ศึกษา
สามารถนาความรู้พื้นฐานไปค้นคว้าต่อไป
๒. ความมุ่งหมาย
๒.๑ ให้ ผู้เริ่มเรียนวิชากระสุน เข้าใจ การแบ่งประเภทกระสุนปืนเล็กและกระสุนปืนใหญ่ ที่มีใช้อยู่
ใน กองทัพอากาศ เข้าใจ คุณลักษณะ, ส่วนประกอบที่สาคัญของกระสุน การนากระสุนปืนเล็ก กระสุนปืน
ใหญ่ไปใช้งาน รู้ การทางานของกระสุน รู้ ถึงความปลอดภัยในการเก็บรักษา และ รู้ การตรวจสภาพ
กระสุน รวมทั้ง เข้าใจ คาจากัดความต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระสุน
๒.๒ ให้ ผู้ที่ได้เคยเรียนรู้วิชากระสุนมาบ้างแล้ว เข้าใจ การแบ่งประเภทของ กระสุนปืนเล็กและ
กระสุนปืนใหญ่ ที่มีใช้อยู่ในกองทัพอากาศ เข้าใจ คุณลักษณะ, ส่วนประกอบที่สาคัญของกระสุน, การ
นากระสุนปืนเล็ก กระสุนปืนใหญ่ไปใช้งาน และเข้าใจ การทางานของกระสุน เข้าใจ ความปลอดภัยในการ
เก็บรักษา และ การตรวจสภาพกระสุน รวมทั้ง เข้าใจ คาจากัดความต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระสุน

๓. กระสุนปืนเล็ก SMALL ARMS AMUNITION หมายถึงกระสุน ที่ใช้ยิงด้วยอาวุธปืน


ซึ่งมีเ ส้น ผ่า ศูน ย์กลางลูกกระสุน หรื อ กว้า งปากลากล้อง หรื อ คาลิเ บอร์ ตั้ งแต่ .๖๐ นิ้ ว
หรือ ๑๕ .๒๔ มม. ลงมา ปัจจุบันอาวุธขนาดนี้ไม่มีใช้แล้ว กระสุนปืนเล็กขนาดใหญ่ที่ยังมีใช้
กับอาวุธปืนกลขนาด .๕๐ นิ้ว ( GUN, MACHINE, CAL..50 BROWNING M2 HB Q.C.B. )
กระสุนปืนเล็ก จัดอยู่ในประเภท FIXED AMMUNITION หมายเหตุ ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางของลูก
กระสุน หรือ กว้างปากลากล้องปืน มากกว่า .๖๐ นิ้ว (๑๕.๒๔ มม.) ขึ้นไป เรียกว่า กระสุนปืนใหญ่
แต่ไม่นากฎเกณฑ์นี้ไปใช้กับ กระสุนปืนลูกซองทุกประเภท

ส่วนประกอบของกระสุนปืนเล็ก (COMPONENTS OF SMALL ARMS


๓.๑
AMMUNITION) กระสุนปืนเล็กพร้อมนัด ประกอบด้วยส่วนประกอบใหญ่ ๆ ๔ ส่วน คือ
๓.๑.๑ ลูกกระสุน ( BULLET )
๓.๑.๒. ดินส่งกระสุน ( PROPELLANT )
๓.๑.๓ ชนวนท้ายปลอกกระสุน ( PRIMER )
๓.๑.๔. ปลอกกระสุน ( CARTRIDGE CASE )

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒

๓.๒ การแบ่งประเภทของกระสุนปืนเล็ก
๓.๒.๑ แบ่งตาม ลักษณะ การจุดตัวของชนวนท้ายปลอกกระสุน

รูปที่ ๑ Center – Fire & Rim – Fire Case


๓.๒.๑.๑ ชนวนอยู่กลางจานท้ายปลอกกระสุน ( CENTER FIRE ) แบ่งลักษณะ
จานท้ายปลอกกระสุน ได้ ๓ อย่าง
- มีขอบจานท้าย (RIMMED)
- ไม่มีขอบจานท้าย (RIMLESS)
- กึ่งมีขอบจานท้าย (SEMI – RIMMED)
๓.๒.๑.๒ ชนวนอยู่ที่ขอบจานท้ายปลอกกระสุน ( RIMMED FIRE ) เช่นกระสุน
ขนาด .๒๒ มม.
๓.๒.๒ แบ่งตาม ความมุ่งหมายในการใช้งาน
๓.๒.๒.๑ แบ่งตาม การใช้งานทั่วไป (SERVICE TYPE) มี ๖ ชนิด โดยใช้
การทาสีทปี่ ลายลูกกระสุน เป็นเครื่องหมายบอกให้รู้ถึง ชนิดของกระสุน และการนากระสุนไปใช้งาน
- กระสุนธรรมดา (BALL) ปลายลูกกระสุน ไม่ทาสี ใช้สาหรับยิง
สังหารบุคคลหรือเปูาหมายที่เป็นวัสดุอ่อน
- กระสุนเพลิง (INCENDIARY = INC.) ปลายลูกกระสุน ทาด้วย
สีน้าเงินหรือสีฟ้า ใช้ยิงเพื่อให้เกิดเพลิง ใช้สาหรับยิงเครื่องบินและเปูาที่เป็นวัสดุติดไฟง่าย
- กระสุนส่องวิถี (TRACER = TR.) ปลายลูกกระสุน ทาด้วยสีแดง
หรือสีส้ม ช่วยให้พลยิง เห็นวิถีของลูกกระสุนเป็นสีแดงเข้มหรือส้มขณะทาการยิง เพื่อช่วยให้พลยิงปรับ
ความแม่นยาในการยิง ใช้ยิงเพื่อให้สัญญาณ และใช้ยิงเพื่อชี้เปูาหมาย
- กระสุนเจาะเกราะ (ARMOR-PIERCING = AP) ปลายลูกกระสุน
ทาด้วยสีดา ใช้ยิงทาลายเครื่องบินที่มีโครงสร้างแข็ง หรือยานยนต์หุ้มเกราะบาง ๆ หรือกาแพงที่ปูองกัน
กระสุนธรรมดา ( BALL ) ได้

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓
- กระสุนเจาะเกราะเพลิง (ARMOR-PIERCING, INCEND = AP-
I ) ปลายลูกกระสุน ทาด้วยสีบรอนซ์เงิน เป็นกระสุนที่รวมอานาจ ของกระสุนเจาะเกราะ และกระสุน
เพลิง เข้าด้วยกัน ใช้สาหรับยิงเครื่องบินและเปูาที่เป็นวัสดุติดไฟง่าย
- กระสุ น เจาะเกราะเพลิ ง ส่ อ งวิ ถี (ARMOR-PIERCING,
INCENDIARY- TRACER = API – T ปลายลูกกระสุน ทาสีแดง ถัดลงมาทาสีบรอนซ์เงิน เป็นกระสุนที่
รวมอานาจของ กระสุน เจาะเกราะเพลิง และ กระสุนส่องวิถี เข้าด้วยกัน ใช้สาหรับยิงเครื่องบินและเปูาที่
เป็นวัสดุติดไฟง่าย
๓.๒.๒.๒ แบ่งตามการใช้งานพิเศษ (SPECIAL TYPE) มีหลายชนิด
ลักษณะและความมุ่งหมายการใช้งาน แตกต่างกันดังนี้
- กระสุนฝึกบรรจุ (DUMMY) ใช้สาหรับการฝึกบรรจุ เพื่อใช้
ประกอบการแนะนา และ/หรือ การปรับวงรอบการทางานของอาวุธ ปลอกกระสุนเจาะรูไว้ ๒ - ๓ รู ไม่มี
ดินส่งกระสุน ไม่มีชนวนท้ายปลอกกระสุน ( Primer ) เป็นกระสุนที่ ไม่มีวัตถุระเบิด
- กระสุนซ้อมรบ (BLANK) ไม่มีลูกกระสุน บรรจุด้วยดินส่ง
กระสุนชนิดพิเศษ ปากปลอกกระสุนเม้มเป็นจีบ (ROSE-PETAL CRIM or ROSETTE CRIMP)
ปัจจุบัน กระสุนซ้อมรบอาจมีรูปร่างคล้ายกระสุนจริง สร้างด้วย พลาสติกหรือไม้ เพื่อใช้ในการยิงซ้อมรบ
หรือใช้ในการยิงแสดงการเคารพ (SALUTES) หรือใช้ในการยิงสาธิต การใช้อาวุธ(DEMONSTATION)
- กระสุนยิงลูกระเบิดขว้าง (GRENADE CARTRIDGE) เป็น
กระสุนพิเศษที่ ไม่มีลูกกระสุน ใช้แรงดันจากการจุดตัวของดินส่ง กระสุน ดันลูกระเบิดขว้างซึ่งประกอบกับ
รางยิงลูกระเบิด (LAUNCHER-EQUIPPED RIFLE) ที่ปากกระบอกปืน ปากปลอกกระสุนเม้มเป็นจีบ
(ROSE-PETAL CRIM or ROSETTE CRIMP) และปิดด้วย RED LACQUER เพื่อกันความชื้นให้ดินส่ง
กระสุนและปูองกันไม่ให้ดินส่งกระสุนหลุดจากปลอกกระสุน
- กระสุนทดสอบแรงดัน (HIGH-PRESSURE TEST) ใช้ในการ
ทดสอบสมรรถนะ ของอาวุธปืน ปลอกกระสุนสร้างด้วยโลหะแข็งและเหนียว
- กระสุนกระทบแตก ( FRANGIBLE AMMUNITION ) ใช้
ฝึกยิงเครื่องบิน หรือจรวดเปูา เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูาจะแตกออกทันที ไม่ทาความเสียหายให้แก่เปู า ใช้
สาหรับฝึกยิงเท่านั้น

๓.๓ ส่วนประกอบของกระสุนปืนเล็ก กระสุนปืนเล็กเป็นกระสุนครบนัด ( Fixed


ammunition is used in all small arms) ประกอบด้วย
๓.๓.๑ ลูกกระสุน ( BULLET ) ใช้เรียกส่วนประกอบของกระสุนปืนเล็ก ที่วิ่งออกจาก
ปากลากล้องปืนเล็กไปสู่เปูาหมาย มีการเรียกชื่อส่วนต่าง ๆ ของกระสุนปืนเล็กดังนี้
๓.๓.๑.๑ JACKET ทาด้วยโลหะอ่อน หุ้มอยู่รอบลูกกระสุน ( GILDING
METAL ) หรือ เรียกว่ารองลูกกระสุน ขณะที่ลูกกระสุนหมุนอยู่ในลากล้องปืน JACKET จะฝังตัวไปตาม
ร่องเกลียวภายในลากล้อง ป้องกันแก็สที่เกิดจากการเผาไหม้ของดินส่งกระสุ น ผ่านด้านท้ายของลูก
กระสุนออกมาทางปากลากล้อง เพื่อรักษาแรงดันของแก็สที่มีต่อลูกกระสุนไว้ ทาให้ลูกกระสุน หมุนจนพ้น
ปากลากล้องออกไป

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔

รูปที่ ๒ Center Fire Cartridge Component Identification

๓.๓.๑.๒ CANNELURE ร่องเม้มปากปลอกกระสุน มีลักษณะเป็น ร่องเล็ก ๆ ตาม


แนวรอบรองลูกกระสุน ซึ่งอยู่ประมาณกึ่งกลางค่อนไปทางด้านท้ายลูกกระสุน ใช้เป็นส่วนที่รองรับการเม้ม
ของ LIP เพื่อให้ปลอกกระสุนยึดติดกับลูกกระสุน และปูองกันความชื้นให้กับดินส่งกระสุนอีกด้วย
๓.๓.๑.๓ CORE แกนของลูกกระสุน ซึ่งอาจทาขึ้นจากตะกั่ว, เหล็กอ่อนหรือเหล็กแข็ง
ก็ได้ แล้วแต่ชนิดของลูกกระสุน
๓.๓.๑.๔ POINT FILLER ช่องบรรจุ เป็นที่ว่างส่วนหน้าของลูกกระสุนระหว่าง
ปลายของ CORE กับ JACKET ซึ่งอาจจะบรรจุตะกั่ว, LEAD ANTIMONY หรือ INCENDIARY MIXTURE ก็
ได้ แล้วแต่ชนิดของลูกกระสุน
๓.๓.๑.๕ TAIL ท้ายลูกกระสุน มี ๒ แบบ คือ CONICAL TAPER OR BOAT
TAILED เป็นการออกแบบส่วนท้ายของลูกกระสุน ให้ เรียวลงประมาณ ๕ – ๙ องศา เพื่อช่วยให้
ลูกกระสุนเพรียวลม (STREAM LINE) ขึ้น และลดแรงดูดของกระแสอากาศที่มีต่อท้ายลูกกระสุน ส่วนลูก
กระสุนที่มีท้ายตัดตรง เรียกว่า CYLINDRICAL O R SQUARE BASE
๓.๓.๑.๖ OGIVE โค้งลูกกระสุน ส่วนปลายหน้าสุด ของรองลูกกระสุน ช่วยให้ลูก
กระสุนเพรียวลม และเพิ่มประสิทธิภาพในการทะลุทะลวงเปูาหมาย
๓.๓.๑.๗ MEPLAT มนลูกกระสุน ส่วนปลายรอบลูกกระสุนถัดจาก OGIVE เพื่อ
ช่วยลดการแฉลบ (RICOCHET) ของลูกกระสุน อย่างไรก็ดี MEPLATไม่อาจปูองกันการ RICOCHET ได้
ทั้งหมด (การเกิด RICOCHET เป็นการแฉลบของลูกกระสุน ออกจากพื้นผิวหน้าของเปูาหมาย)

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕
Projectiles for Small Arms. Depending on their application, these
projectiles with a caliber of up to 0.6 inches ( = 15.24 mm ) are either
soft core, or steel core projectiles. They consist of a bullet jacket made of a
metal which can be deep drawn [ brass or copper ( base zinc alloy ) mild
steel ] and the associated core.
For standard infantry ammunition (service ammunition) soft core
bullets, with a core made of hard lead, are used for the most part (Figure
1101a.)
For engaging lightly armored or protected targets, bullets with a steel
core or a hard core of tungsten carbide inserted in a lead filler are used
(Figure 1101b.)
Steel core bullets with tracers, or with a phosphorus insert ( for
incendiary effect ) are used against aircraft (Figure 1101c and d).

Bullets for small arms generally have no special driving band the slightly
over-caliber projectile jacket presses itself into the rifling when inserted, and
accepts the spin over its entire guide length For securing the bullet in the
propellant charge case, they are provided with a cannelure to which the edge
of the case (lip) is crimped.

รูปที่ ๓ ตัวอย่างลูกกระสุนปืนเล็ก

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖

๓.๓.๒ ดินส่งกระสุน ( PROPELLANTX ) ในกระสุนปืนเล็ก ตามธรรมดาใช้ SMOKELESS


POWDER ซึ่ง เป็ น วั ต ถุ ร ะเบิ ด แรงต่ า (LOW EXPLOSIVE) มี ๒ แบบคื อ ดิ น ฐานเดี่ ย ว
( SINGLE BASE ) เมื่อจุดตัว การลุกไหม้ช้า เหมาะที่จะใช้กับปืนที่มีลากล้องยาว และดินฐานคู่
( DOUBLE BASE ) เมื่อจุดตัว การลุกไหม้เร็ว เหมาะที่จะใช้กับปืนที่มีลากล้องสั้น ดินส่งกระสุนมี
รูปร่างหลายแบบ ได้แก่ FLAKES, SHEETS, PELLETS, BALL GRAINS, PERFORATED
TUBULAR GRAINS เมื่อดินส่งกระสุนได้รับประกายไฟจากการจุด ของ PRIMER COMPOSITION ผ่าน
PRIMER VENT ดินส่งกระสุนก็จะจุดตัว เกิดแรงดันจานวนมหาศาล ผลักท้ายลูกกระสุนให้เคลื่อนตัววิ่งไป
ข้างหน้าอย่างรวดเร็ว ดินส่งกระสุนปืนเล็กที่ใช้ในปัจจุบันคือ
๓.๓.๒.๑ I M R Propellant (Improved Military Rifle) เป็นดินฐานเดี่ยว
ลักษณะคล้ายหลอด (Tubular) มีความคงทนต่ออุณหภูมิสูง และปูองกันความชื้นได้ดี

๓.๓.๒.๒ Ball-Grain Propellant ดินส่งกระสุน รูปทรงกลม (Spherical


Pellets) หรือ Ball มีเส้น ผ่าศูนย์กลาง ๐.๐๒ – ๐.๐๓ นิ้ว
๓.๓.๓ ชนวนท้ายปลอกกระสุน (PRIMER) เป็นส่วนที่ มีอัตราเร็วในการจุดตัวสูงสุด ของ
กระสุนแต่ละนัด ความมุ่งหมายของชนวนท้ายปลอกกระสุน ใช้เป็นตัวจุดเริ่มแรก สาหรับกระสุนปืน
เล็กอาจจุ ดตัวด้วย การกระแทกจากเข็มแทงชนวน หรือด้ว ยการสั่นสะเทือน หรือด้ว ยแรงเสี ยดสี
PRIMER มีส่วนประกอบ ๔ ส่วน คือ
๓.๓.๓.๑ PRIMER CUP เป็นถ้วยทองเหลืองซึ่งบรรจุ PRIMER COMPOSITION
๓.๓.๓.๒ PRIMER COMPOSITION หรือ PRIMER MIXTURE คือสารเคมีซึ่งเป็นวัตถุ
ระเบิดแรงสูง ชนิดที่มีความไวมาก (Primary HE.) ซึง่ มีความไวต่อการกระแทก,เสียดสีและความร้อน
๓.๓.๓.๓ ANVIL ทาด้วยแผ่นทองเหลืองบาง ๆ รูปตัว V เป็นตัวรองรับ PRIMER
MIXTURE เมื่อถูกแรงกระแทกจากเข็มแทงชนวน
๓.๓.๓.๔ PAPER DISC เป็นชิ้นแผ่นกระดาษซึ่งเรียกว่า LACQUERED MANILA
ประกอบอยู่เพื่อ ปูองกันการล่วงหล่น และความชื่นจากภายนอกให้กับ PRIMER MIXTURE

รูปที่ ๔
ชนวนท้าย
ปลอกกระสุน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗
หมายเหตุ ปัจจุบันรูปร่างของ PRIMER มีหลายแบบ แต่แบบพื้นฐานของ PRIMER มี 2 แบบคือ
- BOXER PRIMER คิดค้นโดย British Major General Edward Mounier Boxer เป็นแบบที่
นิยมใช้ใน U.S.A มี PRIMER VENT (FLASH HOLE or FIRE HOLE) 1 ช่อง ใช้กับกระสุน ๒๐ มม.
- BERDAN PRIMER (European Style) คิดค้นโดย U.S. Col. Hiram Berden เป็นที่นิยมใน
EUROP ใช้ในกระสุนกีฬา มี PRIMER VENT ( FLASH HOLE ) 2 ช่อง ใช้กับกระสุน ๒๓ มม.

๓.๓.๔ ปลอกกระสุน ( Cartridge case ) มี ๒ แบบ


แบบแรก (a) เรียกว่า COLLAR CASE ไม่มี EXTRACTING GROOVE
กระสุนถูกบรรจุเข้าในรังเพลิงทั้งนัด เหลือ COLLAR ขอบจานท้าย (RIMMED) ไว้นอกรังเพลิง เป็นปลอก
กระสุนแบบ มีขอบจานท้าย ( RIMMED )

รูปที่ ๕ Cartridge Case

แบบที่สอง (b) เรียกว่า CASE WITH SHOULDER SEATING กระสุนถูกบรรจุ


เข้าในรังเพลิงจนกระทั่ง SHOULDER ของปลอกกระสุนยันกับมุมลาดในรังเพลิงเหลือ Headไว้นอกรังเพลิง
เป็นปลอกกระสุนแบบไม่มีขอบจานท้าย ( RIMLESS ) หรือแบบ กึ่งมีขอบจานท้าย ( SEMI – RIMMED )

ข้อสังเกต ปลอกกระสุน ต้องไม่เกิดสนิมง่าย เมื่อสัมผัสกับดินส่งกระสุน เริ่มแรกที่


ผลิตกระสุน ปลอกกระสุนทาด้วยทองเหลือง (BRASS CASE) เพราะง่ายในการสร้างและทองเหลืองไม่ทา
ปฏิกิริยากับดินส่งกระสุนได้ง่าย ต่อมาได้ปรับปรุงปลอกกระสุน ทาด้วยเหล็ก (STEEL CASE) ใช้กับ
กระสุนปืนอัตโนมัติ มีความเป็นไปได้ว่าในอนาคต ปลอกกระสุนอาจทาด้วย โลหะผสม (ALUMINUM
ALLOY) ปลอกกระสุนเป็นที่บรรจุ ชนวนท้ายปลอกกระสุน (PRIMER) ดินส่งกระสุน
(PROPELLANT) และยึดเข้ากับลูกกระสุน (BULLET) เพื่อทาเป็นกระสุนพร้อมนัด (COMPLETED
ROUND)

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๘
ส่วนประกอบของปลอกกระสุน

รูปที่ ๖ Cartridge Case Component

๓.๓.๔.๑ MOUTH ส่วนเปิดด้านปากปลอกกระสุน ใช้สาหรับบรรจุดินส่งกระสุน


โลหะที่นามาทาปลอกกระสุน ต้องให้ส่วนที่เป็นปากปลอกง่ายในการเม้มกับ CANNELURE ที่ลูกกระสุน
เพื่อยึดลูกกระสุนไว้ให้เป็นกระสุนครบนัด
๓.๓.๔.๒ LIP ส่วนที่เป็นขอบวงกลมรอบ MOUTH ของปลอกกระสุนใช้เครื่องจักร
เม้ม LIP อัดเข้าไปใน CANNELURE ของลูกกระสุน เพื่อให้ปลอกกระสุนและลูกกระสุนยึดติดกัน ให้แน่น
และยังเป็นการปูองกันความชื้นในอากาศกระทาต่อดินส่งกระสุนอีกด้วย
๓.๓.๔.๓ NECK ส่วนของปลอกกระสุนซึ่งลาดจาก LIP ไปยัง SHOULD ER มี
หน้าที่ ประคองลูกกระสุน ต่อจาก Lip ให้เป็นกระสุนครบนัด
๓.๓.๔.๔ SHOULDER มุมหัก อยู่ส่วนท้ายของ NECK ซึ่งทาให้ปลอกกระสุนมี
รูปร่างเพรียวขึ้น และพอดีกับรังเพลิงของอาวุธที่ใช้ยิง
๓.๓.๔.๕ BODY ลาตัวปลอกกระสุน (WALL) อยู่ระหว่าง SHOULDER กับ HEAD
ของปลอกกระสุน
๓.๓.๔.๖ HEAD เป็น ส่วนหนาที่สุดของปลอกกระสุน อยู่ด้านท้ายของ
ปลอกกระสุน ประกอบด้วย ร่องขอรั้งปลอกกระสุน (EXTRACTING GROOVE ) และจาน
ท้ายปลอกกระสุน ( BASE OF CARTRIDGE CASE ) ซึ่งเป็นทีอ่ ยู่ของ ช่องบรรจุชนวนท้ายปลอก
( PRIMER POCKET ) และช่องชนวนท้ายปลอก ( PRIIMER VENT )
๓.๓.๔.๗ EXTRACTING GROOVE เป็นร่องตัดลึกรอบส่วนนอกของ HEAD
เพื่อให้ขอรั้งปลอกกระสุน หรือส่วนหน้าลูกเลื่อนของอาวุธยิง ยึดจานท้ายปลอกกระสุนได้
๓.๓.๔.๘ PRIMER POCKET เป็นช่องว่างอยู่ส่วนกลาง ของ HEAD เพื่อบรรจุ
ชนวนท้ายปลอกกระสุน (PRIMER)
๓.๓.๔.๙ PRIMER VENT ( FLASH HOLE or FIRE HOLE ) เป็นช่องว่างอยู่
ส่วนกลางของ HEAD ต่อจาก PRIMER POCKET กับส่วนท้ายของ PROPELLANT CAVITY เมื่อชนวนท้าย
ปลอกกระสุนจุดตัว เปลวไฟจาก PRIMER COMPOSITION จะผ่านช่องนี้ เข้าไปจุด ดินส่งกระสุน
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๙
๓.๓.๔.๑๐ PROPELLANT CAVITY คือช่องว่างภายในปลอกกระสุนทั้งหมด ซึ่ง
ใช้เป็นส่วนที่บรรจุดินส่งกระสุน แต่ในทางปฏิบัติ จะไม่มีการบรรจุดินส่งกระสุนเต็มปลอกกระสุน
๓.๓.๔.๑๑ WALL ทั่ว ๆไป เป็นความหนาของทองเหลือง หรือเหล็ก ปัจจุบันอาจ
ใช้วัสดุอย่างอื่น เช่น กระดาษอัด หรือ พลาสติก เริ่มจาก SHOULDER ถึง HEAD ของผนังปลอกกระสุน
๓.๓.๔.๑๒ CARTRIDGE CASE ส่วนที่เป็นปลอกกระสุนทั้งหมด ตั้งแต่ LIP,
NECK, SHOULDER, BODY, HEAD ปลอกกระสุนปืนเล็กส่วนมาก นิยมใช้ทองเหลือง (BRASS) เพราะ
เป็นโลหะเนื้ออ่อน เมื่อใช้เครื่องจักรอัด LIP ให้ยึดกับ CANNELURE จะยึดติดกันได้ดี และเกิดสนิมยาก
เมื่อสัมผัสกับ ดินส่งกระสุน ภายในปลอกกระสุน ต้องไม่เกิดสนิมง่ายเมื่อสัมผัสกับดินส่งกระสุน จึงต้อง
เคลือบภายในด้วยสารที่ปูองกันสนิม ก่อนที่จะบรรจุดินส่งกระสุน ปลอกกระสุนมีหลายรูปแบบ

รูปที่ ๗ Typical cartridge case

BOTTLE NECKED เป็นปลอกกระสุนที่มีใช้อยู่ทั่วๆไป ตั้งแต่ SHOULDER ไปถึง MOUTH จะ


ลดขนาดลง เพื่อให้พอเหมาะกับขนาดของลูกกระสุน
BELTED RIMLESS รูปร่างคล้ายกับ Bottle Necked แต่ส่วนท้ายปลอกกระสุนจะเป็นสัน
กลมรอบปลอกกระสุน ขนานไปกับ Extracting Groove
RIMLESS ขอบจานท้ายกว้างพอดีกับปลอกกระสุน โดยรอบของ Head จะมีร่องลึก
( Extracting Groove ) ให้ขอรังปลอกกระสุนฝังลงไป เพื่อนากระสุนเข้ารังเพลิง และ/หรือ รั้งปลอก
กระสุน หรือกระสุนที่ไม่ได้ยิงออกจากรังเพลิง

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๐
SEMI RIMLESS ( SEMI RIMMED ) มีร่องรอบที่ HEAD ของปลอกกระสุน แต่เส้นผ่าศูนย์กลาง
ของ จานท้ายปลอกกระสุนจะยาว ( ใหญ่ ) กว่าปลอกกระสุน
REDUCED RIMLESS ( REBATED ) มีร่องรอบที่ HEAD ของปลอกกระสุน แต่เส้นผ่าศูนย์กลาง
ของ จานท้ายปลอกกระสุน จะสั้น ( เล็ก )กว่า ปลอกกระสุน
STRAIGHT CASE ผนังปลอกกระสุนตั้งแต่ Extracting Groove ถึง Mouth ขนานกันไปตลอด

๓.๔ กระสุนปืนเล็ก (SMALL- ARM AMMUNITION) มีไว้ใช้ยิงกับปืนเล็ก บางชนิดดังนี้


๓.๔.๑ CAL. .22 LONG RIFLE BALL CARRIDGE , Rimmed-fire Cartridge ,Soft -
nose lead bullet ใช้กับ Rifles and Pistols ใช้สาหรับการฝึกยิงของนักแม่นปืน ( Marksmanship )

รูปที่ ๘ Cal. .22 Long Rifle

๓.๔.๒ CAL. .22 HORNET BALL CARTRIDGE กระสุนแบบ M 39 Contain 45


grain กระสุน แบบ M 65 Contain 35 grain ใช้กับปืน M4 Survival Rifle และ M6 survival
rifle/shotgun กระสุน .22 Hornet M 39 Soft –point Cartridge ไม่ใช้กับชุดยังชีพ

รูปที่ ๙ Cal. .22 Hornet Ball Cartridge

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๑

รูปที่ ๑๐ กระสุนขนาด ๕.๕๖ มม.

๓.๔.๓ CAL 5.56 MM. RIFLE CARRIDGE เป็นกระสุนทางทหารที่มีน้าหนักเบา ลูก


กระสุนขนาด ๕.๕๖ มม.กระสุนโตประมาณ .223 caliber ใช้สังหารบุคคลและเปูาหมายที่เปราะบาง ใช้กับ
RIFLE M16 series กระสุนมีหลายชนิด เช่น M 193 ball, M195 grenade cartridge, M196
tracer, M197 high-pressure test, M199 dummy, M200 blank, M232 dummy, inert
load

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๒

รูปที่ ๑๑ กระสุนขนาด . ๓๐ นิ้ว คาร์ไบด์

๓.๔.๔ CAL. .30 CARBINE CARRIDGE ใช้สังหารบุคคลและเปูาหมายที่ไม่มี


เกราะ ใช้กับปืน CARBINE M1 / M 2 series กระสุนมีหลายชนิด เช่น M1 ball, M6 grenade
cartridge, M13 dummy, M16 and M27 tracer, M18 high-pressure test M6 grenade
cartridge, ปากปลอกเม้มเหมือนกับ CAT. .5.56 MM. M195 GRENADE
๓.๔.๕ CAL. 7.62 MM. CARRIDGE เป็นกระสุนที่ปรับปรุง ให้เป็น
มาตรฐานสาหรับปืนเล็กยาวอัตโนมัติ ในกองทัพของกลุ่มประเทศ NATO (กระสุน7.62 MM.สั้นและเบา
กว่า กระสุนขนาด .30 Rifle ซึ่งเลิกใช้แล้ว ) ใช้กับ M14 Rifle, GAU-2 mini-gun และ M60
Ground Machine Gun กระสุนมีหลายชนิด เช่น M80 ball, M993 armor-piercing, M60 tracer,
M64 grenade cartridge, M82 blank, M63 dummy and M172 dummy inert

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๓

รูปที่ ๑๒ กระสุนขนาด ๗.๖๒ นิ้ว

๓.๔.๖ CAL. 9 MM. BAII CARRIDGE กระสุน 9 MM. ball M1 เป็นกระสุนที่มี


ความเร็วสูง ใช้กับปืน Smith and Wesson semi-Automatic Pistol และใช้กับปืนกลมือ
SUBMACHINE GUN CAL. 9 MM.

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๔

รูปที่ ๑๓ กระสุนขนาด ๙ มม.

๓.๔.๗ CAL. .38 SPECIAL REVOLVER CARRIDGE ใช้ Wad-cutter , Flat


Nose Bullet เป็นลูกกระสุนที่เหมาะกับการใช้ฝึกยิงกับเปูากระดาษ เพราะลูกกระสุนตัดกระดาษได้
เรียบ ( To cut a clean hole in paper target) กระสุนชนิดนี้ลดปริมาณดินส่งกระสุนลง เพื่อให้
เหมาะกับการฝึกยิงระยะกลางและการแข็งขัน กระสุนชนิดนี้ ใช้กับ ปืน Cal..38 Smith and Wesson
และปืน Colt Revolver สาหรับการฝึกยิง และ/หรือ สาหรับนักแม่นปืน ( Marksmanship )

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๕

รูปที่ ๑๔ กระสุนขนาด .๓๘

๓.๔.๘ CAL. .45 AUTOMATIC PISTOL CARRIDGE ใช้กับปืนพก


Automatic Pistol M1911series และ ปืนกลมือ M1,M3 และ THOMSON ปัจจุบันปืนกลมือทั้ง ๓ แบบ
เลิกใช้ราชการแล้ว

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๖

รูปที่ ๑๕ กระสุนขนาด .๔๕

๓.๔.๙ CAL. .50 กระสุนขนาด .๕๐“ เป็นกระสุนแบบชนวนท้ายปลอกกระสุนอยู่


ตรงกลาง (CENTER FIRE) ไม่มีขอบจานท้าย (RIMLESS) ใช้กับปืนกลพื้นดินชนิดลากล้องหนา
( Browning Machine Gun Cal. .50 Heavy Barrel) เท่านั้น และเคยใช้กับปืนกลอากาศ ระหว่าง
สงครามโลกครั้งที่ 2 และใช้ต่อ ๆ มา ซึ่งปัจจุบันไม่ใช้ราชการใน ทอ. แล้ว การ แบ่งประเภทของกระสุน
ตามการใช้งานทั่วไป (SERVICF TYPE) มี ๖ ชนิด
๓.๔.๙.๑ Ball M33 กระสุนธรรมดา ผลิตในปี 1951 ใช้แทนกระสุน .50
BALL M2 ซึง่ ผลิตในปี 1950 เพื่อใช้งานทั่วไป สังหารบุคคล และทาลายเปูาหมายที่ทาด้วยโลหะบาง ๆ
ลูกกระสุนไม่ทาสี ลูกกระสุนประกอบด้วยส่วนสาคัญ GLIDING METAL JACKET, SOFT STEEL
CORE, INERT POINT FILLER และ CONICAL TAPER TAIL ( BOAT TAILED ) มีระยะยิงไกลสุด
๓,๒๐๐ หลา
๓.๔.๙.๒ Armor - Piercing AP.M2 กระสุนเจาะเกราะ ผลิตขึ้น
แทนกระสุนธรรมดา (Ball M2) เพื่อใช้ยิง เครื่องบิน ยานยนต์หุ้มเกราะ หรือเปูาหมายอื่น ๆ ที่ทนต่อ
กระสุ น ธรรมดาได้ ปลายลู กกระสุน ทาสีด า ลู ก กระสุ นประกอบด้ ว ย GLIDING METAL JACKET,
HARDENED CORE ซึ่งชุบด้วย Tungsten or Manganese , POINT FILLER บรรจุANTIMONY-LEAD
ALLOY เพื่อเพิ่มความแข็งให้กับลูกกระสุนทาให้การเจาะเกราะมีประสิทธิภาพมากขึ้น TAIL แบบ BOAT
TAIL ใช้ยิงเครื่องบิน ยานยนต์หุ้มเกราะ และกาแพงคอนกรีต ระยะยิงไกลสุด ๓,๒๐๐ หลา

๓.๔.๙.๓ Tracer TR.M1 , TR.M10 and TR.M17 กระสุนส่องวิถี ผลิตขึ้น


เพื่อช่วยให้เกิดความแน่นอน สาหรับการส่งสัญญาณ สาหรับทาให้เกิดเพลิงไหมต่อเปูาหมายในระยะใกล้
และสาหรับความแม่นยาในการยิง เพราะพลยิงสามารถปรับกระสุนวิถี ซึ่ง มองเห็นลูกกระสุนวิ่ง เข้าหา
เปูาหมายได้ด้วยตัวเอง
TR M1 ปลายลูกกระสุนทาสีแดง ใช้ยิงกับ Machine Gun สาหรับการฝึกยิงเท่านั้นวัตถุส่องวิถี
เริ่มจุดตัวที่ระยะ ๒๕๐ หลา ส่องวิถีอยู่นานระยะ ๑,๖๐๐ – ๑,๘๐๐ หลา

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๗
TR M10 ปลายลูกกระสุนทาสีส้ม เคยใช้สาหรับปืนกลอากาศ มีลักษณะและวัตถุประสงค์
เช่นเดียวกับ TR M1 แต่จะจุดให้แสงส่องวิถีสลัวเร็วกว่า (ที่ระยะ ๒๒๕ หลา ) และจะส่องวิถีอยู่นาน
กว่า .50 TR- M1 ระยะ ๑,๖๐๐ – ๑,๙๐๐ หลา
TR M17 ปลายลูกกระสุนทาสีน้าตาลแดง ใช้ในการรบแทน TR M1 ใช้กับ ปืนกลอากาศ
วัตถุส่องวิถีจุดตัวที่ระยะ ๒๕๐ หลา จากปากลากล้อง ระยะให้แสงส่องวิถีสว่างประมาณ ๒,๔๕๐ หลา นาน
กว่า .50 TR- M1 และ .50 TR - M10
๓.๔.๙.๔ Incendiary M1 and M23 กระสุนเพลิง ผลิตขึ้นเพื่อใช้ยิง
เครื่องบินและเปูาหมายที่เกิดเพลิงได้ ลักษณะภายนอกที่มองเห็นเหมือนกัน แต่ .50 Inc. M23 มี
ความเร็วสูงกว่า .50 Inc. M1 และส่วนผสม incendiary ก็มีคุณภาพดีกว่า .50 Inc. M1 ท้าย
ลูกกระสุนแบบ Cylindrical ( Square base ) .50 Inc. M1 ใช้กับปืนกลภาคพื้น .50 Inc .50 M23
เคยใช้กับปืนกลอากาศ

รูปที่ ๑๖ กระสุนขนาด .๕๐

๓.๔.๙.๕ กระสุนเจาะเกราะเพลิง AP - I M8 & AP I - T49


API - M8 ปลายลูกกระสุนทาด้วยสีอลูมิเนียม ผลิตใช้แทนกระสุน INC- M1 และ
AP – M2 ใช้กับปืนกลภาคพื้น ลูกกระสุนเหมือนกับ AP M2 แต่ POINT FILLER บรรจุส่วนผสมที่ทาให้
เกิดเพลิงแทน ANTIMONY-LEAD ALLOY ท้ายลูกกระสุนแบบ CONICAL TAPER
API – T 49 ปลายลูกกระสุน ทาด้วยสีอลูมิเนียมคาดสีน้าเงิน ใช้กับปืนกล
อากาศ
มีความเร็วมากกว่ากระสุน API M8 ท้ายลูกกระสุนแบบ SQUAR BASE ( CYLINDRICAL )

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๘
๓.๔.๙.๖ กระสุนเจาะเกราะเพลิงส่องวิถี API - T. M20 มีลักษณะคล้ายกับ
กระสุน API - M8 บรรจุวัตถุส่องแสงไว้ตอนท้ายลูกกระสุนเท่านั้น ปลายลูกกระสุนทาด้วยสีแดง คาดด้วยสี
อลูมิเนียมใช้
กับ BROWNING MACHINE GUN CAL. .50 HEAVY BARREL วัตถุส่องวิถีจะจุดตัวที่ระยะ ๑๐๐ หลา
จากปากลากล้อง จะส่องวิถีอยู่เป็นระยะทาง ๑,๖๐๐ หลา

๓.๔.๑๐ .410 – GAUGE ใช้กับอาวุธปืนยังชีพ M6 Survival Rifle / Shotgun ปลอก


กระสุนทาด้วย aluminum

รูปที่ ๑๗ กระสุน .410 – Gage

๓.๔.๑๑ 12-GAUGE SHOTGUN CARTRIDGE ใช้เพื่อการสู้รบและการรักษาการ ใช้


กับปืนลูกซอง (Shotgun) ปลอกกระสุนอาจทาด้วย ทองเหลือง หรือพลาสติก หรือพลาสติกรวมกับ
ทองเหลือง

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๑๙

รูปที่ ๑๘ กระสุนปืนลูกซองที่ ๑๘/๑ ส่วนประกอบ กระสุนปืนลูกซอง

รูปที่ ๑๙ อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกระสุนปืนเล็ก

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๐
๓.๕ อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกระสุนปืนเล็ก
๓.๕.๑ CLIP ตับกระสุน เป็นอุปกรณ์ที่รวมกระสุนขนาดเดียวกันไว้ด้วยกัน เพื่อความง่าย
ในการนาไปใช้ยิง หรือนาไปบรรจุเข้าซองกระสุน กระสุนแต่ละนัดเรียงอยู่ในรางซึ่งมีแหนบยันที่จานท้าย
ปลอกกระสุนไว้ เช่น
๓.๕.๑.๑ STRIPPER CLIP CAL. 5.56 MM. ( 10 RDS. ) ตับกระสุนขนาด
5.56 มม.บรรจุกระสุนบนราง
๓.๕.๑.๒ CLIP CAL. 7.62 MM. ( 5 RD. ) ตับกระสุน ขนาด 7.62 มมบรรจุ
กระสุนบนราง
๓.๕.๑.๓ FILLER CAL. 7.62 MM. ( 5 RDS. ) รางบรรจุกระสุน ลักษณะคล้าย
ตับกระสุน ( CLIP) บรรจุกระสุนบนราง
๓.๕.๑.๕ CLIP CAL. .30 RIFLE ( 8 RD.) ในหนึ่งตับกระสุน บรรจุกระสุน
ขนาด . 30 RIFLE จานวน ๘ นัด เรียงแถวเหลื่อมกันไม่มีแหนบยันที่จานท้าย เพื่อนากระสุนไปบรรจุในช่อง
บรรจุกระสุนของปืน ปัจจุบันทั้งปืนและกระสุน ไม่ใช้ราชการแล้ว
๓.๕.๒ MAGAZINE ซองบรรจุกระสุน มีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกัน บรรจุกระสุนเพื่อ
นาไปบรรจุในช่องบรรจุกระสุนของปืน ศึกษาเพิ่มเติมได้จากวิชาอาวุธศึกษา ( Small arms ) แต่ละชนิด

๓.๕.๓ LINK ข้อต่อสายกระสุน ใช้กระสุนพร้อม (ครบ) นัด เป็นตัวยึดระหว่างข้อต่อ


แต่ละอัน เพื่อประกอบเป็นสายกระสุน (BELT) เพื่อนาไปบรรจุในช่อง บรรจุกระสุนของปืนกล หรือปืนกล
อากาศ มีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกัน ปัจจุบัน LINK ทาด้วยโลหะ ส่วนสายผ้าเลิกใช้แล้ว ศึกษาเพิ่มเติม
ได้จากวิชาอาวุธศึกษา แต่ละชนิด

๓.๖ หมายเลขงาน (LOT NUMBER )


กระสุ น ที่ถูก ผลิ ตขึ้น ภายใต้การควบคุมสภาพการผลิ ต ควบคุมวัส ดุที่ ใช้ในการผลิ ตเหมือนกั น
โรงงานผู้ผลิตจะกาหนด หมายเลขงานของกระสุน ขึ้น ซึ่งจะไม่ปรากฏอยู่ที่กระสุนแต่ละนัด แต่จะมีปูาย
หรือเขียนติดไว้ที่หีบห่อบรรจุกระสุน โดยมีความมุ่งหมายหลัก ๓ ประการ
๓.๖.๑ REPORT ON CONDITION เพื่อรายงานสภาพการเก็บรักษาของกระสุน
๓.๖.๒ REPORT ON FUNCTION เพื่อรายงานสภาพการใช้งานของกระสุน
๓.๖.๓ REPORT ON ACCIDENT เพื่อรายงานการเกิดอุบัติเหตุของกระสุน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๑
รูปที่ ๒๐ การเขียนตัวอักษรบนกระสุน

รูปที่ ๒๐/๑ การเขียนตัวอักษรบนกระสุน

๓.๗ หมายเลขงานการบรรจุหีบห่อใหม่ (REPACKED LOT.NO.)


ในการเข้าสายกระสุน อาจจะมีกระสุนมากกว่า ๑ ชนิด ดังนั้นก็จะมีหมายเลขงานหลายชุด ซึ่ง
จะต้องเขียนหมายเลขไว้ที่ หีบห่อนั้น ๆ พร้อมทั้งจะต้องเขียนลงในบัญชีคุมด้วย ดังนั้นเพื่อปูองกันความ
สับสน ผู้บรรจุ (REPACKER) จึงกาหนดหมายเลขงานของกระสุนที่เข้าสายกระสุนใหม่ขึ้นแทนหมายเลขงาน
เดิม ซึ่งจะปรากฏอยู่ที่หีบ ห่อและที่ปูายภายในหี บห่ อด้วย หมายเลขงานของการบรรจุหีบห่อใหม่
(REPACKED LOT.NO.) จะประกอบด้วยคาว่า REPACKED LOT. ตามด้วยตัวย่อของผู้บรรจุหีบห่อ ใหม่
ตัวอักษรต่อมาเป็น B หรือ L หมายถึง BELTED หรือ LINKED แล้วต่อมาเป็นหมายเลขตามที่ผู้บรรจุหีบห่อ
กาหนด ตัวอย่าง เช่น REPACKED LOT SL-L-17344 เป็นต้น (SL = SALTLAKE CITY, L = LINKED)

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๒
๓.๘ เกรดของกระสุนปืนเล็ก (GRADING OF SMALL – ARMS AMMUNITION)
กระสุนปืนเล็กที่สร้างจากโรงงานนั้น ก่อนที่จะนาไปใช้งาน จะต้องผ่านการตรวจ และยิงทดสอบ
ก่อน เนื่องจากมีอาวุธหลายชนิด ซึ่งสามารถใช้กระสุนขนาดเดียวกันได้ เช่นปืนเล็กยาว ปืนกลภาคพื้นดิน
หรือปืนกลอากาศ เป็นต้น เพื่อให้กระสุนที่สามารถใช้แทนกันได้ในปืนหลายชนิด ถูกใช้ให้ตรงกับความมุ่ง
หมายในการสร้าง หรือสาหรับปืนชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นจึงต้องกาหนด GRADE ของกระสุนขึ้น
แต่ทั้งนี้มิใช่หมายความว่า GARDE หนึ่งจะดีกว่าอีก GRADE หนึ่ง แต่จะต้องใช้ได้ดีเฉพาะชนิดของอาวุธที่
กาหนดให้ใช้ได้เท่านั้น อาวุ ธชนิดหนึ่ง อาจใช้กับกระสุนหลาย ๆ GRADE ก็ได้ สาหรับ GRADE ของ
กระสุนปืนเล็กมีดังนี้
GRADE AC หรือใช้แทนด้วยสัญลักษณ์ (#) ใช้กับกระสุนปืนกลอากาศ ( ปกอ.) และ
ปืนต่อสู้อากาศยาน (ปตอ.) ถือว่าเป็นกระสุนเกรดสูง
GRADE MG ใช้กับกระสุน ปืนกลภาคพื้น
GRADE R ใช้กับกระสุน ปืนเล็กยาว
GRADE 1 ใช้กับกระสุน ปืนลูกโม่ ปืนพกและปืนกลมือ
GRADE 2 ใช้กับกระสุน ปืนพก ปืนกลมือ
GRADE 3 ใช้กับกระสุน ทีใ่ ช้ราชการไม่ได้ทุกชนิด
หมายเหตุ กระสุนเกรดสูง ใช้แทนกระสุนเกรดต่าได้ แต่กระสุนเกรดต่าจะใช้แทนกระสุนเกรดสูงไม่ได้

๓.๙ การปรนนิบัติบารุงกระสุนปืนเล็ก
๓.๙.๑ เอกลักษณ์ของกระสุนต้องมีแสดงไว้ให้ตรวจสอบได้ เช่น แบบ ขนาด หมายเลขงาน
ของกระสุน การทาสีที่ปลายลูกกระสุน การประทับตราสัญลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิต และปีที่ผลิต ที่จานท้าย
ปลอกกระสุน รวมทั้งเครื่องหมายต่าง ๆ บนลังที่บรรจุกระสุน
๓.๙.๒ การเก็บรักษา กระสุนควรเก็บในลังปิด ถ้าจาเป็นต้องเก็บกระสุนโดยไม่มีลังปิด
ให้วางลังที่ใส่กระสุนสูงจากพื้น อย่างน้อย ๖ นิ้ว และคลุมด้วยผ้าใบให้อากาศถ่ายเทด้านล่างได้ รวมทั้ง
ปูองกันไม่ให้กระสุนที่เก็บเปียกน้า
๓.๙.๓ การดูแลเก็บรักษา หยิบยกขนย้ายและเตรียมการใช้งาน ควรปฏิบัติดังนี้
๓.๙.๓.๑ ภาชนะที่ใส่กระสุนมาจาก บริษัทผู้ผลิตจะเป็น Airtight Containers
ถ้าไม่ใช้งานไม่ควรเปิด เพราะความชื่นในอากาศอาจทาให้กระสุนเป็นสนิมได้เร็วขึ้น

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๓
๓.๙.๓.๒ ปูองกันกระสุนจาก ฝุุน โคลน และน้า ถ้ากระสุนเปียกน้าหรือสกปรก ให้
ทาความสะอาดและเช็ดให้แห้งด้วยผ้าแห้ง ถ้ากระสุนเป็นสนิมเล็กน้อยให้กาจัดออกให้หมดโดยการเช็ดด้วย
ผ้า หรือใช้ไม้เนื้ออ่อนขูดสนิมออกแล้วเช็ดด้วยผ้าแห้ง ถ้ากระสุนเป็นสนิมมาก หรือปลอกกระสุนบุบมาก
หรือลูกกระสุนหลวมคลอน ไม่ควรนาไปใช้ยิง
๓.๙.๓.๓ ห้ามวางหรือกองกระสุนให้ได้รับแสงแดดโดยตรง ถ้าดินส่งกระสุนได้รับ
ความร้อน เมื่อนาไปยิงจะเกิดแรงดันสูง
๓.๙.๓.๔ ห้ามทาน้ามันหรือทาไขกับกระสุน เพราะถ้ามีน้ามันหรือไขจะมีฝุนเกาะ
สะสมที่กระสุน เมื่อนาไปยิงอาจทาความเสียหายให้กับชิ้นส่วนอาวุธ

๔. กระสุนปืนใหญ่ ( ARTILLERY AMMUNITION )


หมายถึง กระสุนที่ใช้ยิงด้วยอาวุธปืน ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางลูกกระสุน หรือ กว้างปากลา
กล้องปืน โตกว่า ๐.๖๐ นิ้ว หรือ ๑๕.๒๔ มม. การแบ่งประเภทกระสุนปืนใหญ่มีดังนี้
๔.๑ การแบ่งประเภททั่วไป แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คือ (รวม, กึ่งรวม, แยก และ แยกบรรจุ)
๔.๑.๑ กระสุนรวม ( FIXED AMMUNITION ) เป็นกระสุนพร้อมนัด ( COMPLETE
ROUND ) คือส่วนต่าง ๆ ประกอบเป็นนัดอย่างสมบูรณ์ ลูกกระสุนและปลอกกระสุนยึดติดกันแน่นพร้อมที่
จะใช้ยิงได้ทันที เช่น กระสุน ปตอ. ขนาด ๒๐ มม. และกระสุน ปตอ. ขนาด ๔๐ มม. เป็นต้น
๔.๑.๒ กระสุนกึ่งรวม ( SEMI – FIXED AMMUNITION ) เป็นกระสุนที่สามารถ
เพิ่มหรือลดส่วนบรรจุ (ดินส่งกระสุน) ได้ ตามความต้องการ ลูกกระสุนกับปลอกกระสุนไม่ยึดติดกันแน่น
เพียงแต่สวมไว้ในขณะที่บรรจุกระสุนเข้ารังเพลิง
๔.๑.๓ กระสุนแยก ( SEPARATED AMMUNITION ) แยกกระสุนออกเป็น ๒ ส่วน
ได้แก่
๔.๑.๓.๑ ลูกกระสุน ( PROJECTILE )
๔.๑.๓.๒ ปลอกกระสุน ( CARTRIDGE CASE ) ซึ่งบรรจุดินส่งกระสุนและชนวน
ท้ายปลอกกระสุน (PRIMER) ไว้เรียบร้อยและปิดไว้อย่างดี ( SEALED WITH CLOSING PLUG ) ไม่สามา
รพเพิ่มหรือลดส่วนบรรจุได้ ในการบรรจุกระสุนเข้ากับปืน ลูกกระสุนและปลอกกระสุนจะเข้าไปในรังเพลิง
พร้อม ๆ กัน โดยวางลูกกระสุน และปลอกกระสุน ลงบนฐานปูอนกระสุนของปืนแล้วเครื่อ งกลไกจะพา
กระสุน ( ลูกกระสุน และปลอกกระสุน ) เข้าไปในรังเพลิงของปืนเอง
๔.๑.๔ กระสุนแยกบรรจุ ( SEPARATE LOADING AMMUNITION ) เป็นกระสุนที่แยก
ออกเป็นส่วน ๆ คือ ลูกกระสุน ดินส่งกระสุน และชนวนท้ายปลอกกระสุน กระสุนชนิดนี้ไม่มีปลอกกระสุน
ในการบรรจุแยกทีละส่วนคือ บรรจุลูกกระสุนเข้าไปก่อน และบรรจุ ROTATING BAND เข้าไปยันเกลียว
ภายในลากล้องปืน แล้วจึงบรรจุดินส่งกระสุนซึ่งใส่ถุงกลม ๆ อาจบรรจุเพียงถุงเดียวหรือหลายถุงก็ได้ตามเข้า
ไปในรังเพลิง (POWER CHAMBER) เมื่อปิดเครื่องปิดท้ายเรียบร้อยแล้ว จึงบรรจุชนวนท้ายปลอกกระสุน
( PRIMER ) เข้ากับเครื่องปิดท้าย กระสุนชนิดนี้มักจะใช้กับปืนที่กว้างปากลากล้องเกินกว่า ๑๕๐ มม.

๔.๒ การแบ่งประเภทตามการใช้งาน แบ่งออกเป็น ๕ ชนิด คือ (กระสุนจริง, กระสุน


ฝึกยิง, กระสุนซ้อมรบ, กระสุนฝึกบรรจุ และ กระสุนสับคาลิเบอร์ )

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๔
๔.๒.๑ กระสุนจริง ( SERVICE AMMUNITION ) คือกระสุนที่ใช้ในการรบ ลูกกระสุนมี
หลายชนิด เช่น กระสุนระเบิด ( HE. = High Explosive ) กระสุนระเบิดต่อสู่รถถัง ( HEAT = High
Explosive Anti - Tank ) กระสุนเจาะเกราะ ( AP. = Armor Piercing ) กระสุนเพลิง (INC. =
Incendiary ) กระสุนส่องวิถี (TR = Tracer ) และ กระสุนเคมี (Chemical )
๔.๒.๒ กระสุนฝึกยิง ( PRACTICE AMMUNITION ) คือกระสุนที่ใช้สาหรับฝึกยิง ลูก
กระสุนอาจบรรจุวัตถุระเบิดแรงต่าไว้เล็กน้อยเพื่อเป็นเครื่องชี้ตาบลกระสุนตก หรือไม่บรรจุวัตถุระเบิดเลย
กระสุนชนิดนี้จะ มีวิถีกระสุนคล้ายกับกระสุนจริง
๔.๒.๓ กระสุนซ้อมรบ ( BLANK AMMUNITION ) คือกระสุนที่ ไม่มีลูกกระสุน
บรรจุวัตถุระเบิดแรงต่า เพื่อให้เกิดแรงดัน พอที่เครื่องกลไกของปืนทางานได้ เมื่อทาการยิงให้แต่เสียง
เท่านั้น ใช้ในการยิงแสดงการเคารพ การซ้อมรบ ปัจจุบันกระสุนซ้อมรบอาจมีรูปร่างคล้ายกระสุนจริง แต่
ส่วนประกอบกระสุนทาด้วยพลาสติกเมื่อยิงออกจากปากลากล้องปืน จะมีชิ้นส่วนที่ทาให้ลูกกระสุนพลาสติก
แตกเรียกว่า PREDETERMINED BREAK POINT ใช้เฉพาะปืนใหญ่ขนาดเล็กหรือขนาดกลาง
๔.๒.๔ กระสุนฝึกบรรจุ ( DRILL OR DUMMY AMMUNITION ) คือกระสุนที่ใช้ใน
การฝึกบรรจุ ฝึกเล็ง ฝึกยิง (แห้ง) ฝึกเลิกบรรจุ (UNLOAD) กับอาวุธ หรือฝึกการขนย้าย มีรูปร่าง
และน้าหนักเหมือนกระสุนจริง แต่กระสุนชนิดนี้ ไม่มดี ินส่งกระสุน และ/หรือ วัตถุระเบิด
๔.๒.๕ กระสุนสับคาลิเบอร์ (SUBCALIBER) ใช้ยิงกับอาวุธยิง เป็นกระสุนที่มีเส้น
เส้นผ่าศูนย์กลางลูกกระสุน เล็กกว่าขนาดความกว้างปากลากล้องปืน แต่จะเพิ่มส่วนประกอบ (TUBE
ADAPTER) เข้ากับลูกกระสุน เพื่อให้กระสุนนี้ใช้ในการฝึกยิงกับปืนใหญ่ขนาดเดิมได้
หมายเหตุ กระสุนสับคาลิเบอร์ ไม่มีใช้กับอาวุธประจากาย

รูปที่ ๒๑ กระสุน Subcaliber

๔.๓ ส่วนประกอบของกระสุนปืนใหญ่
ลักษณะทั่วไปก็มีส่วนประกอบเช่นเดียวกับกระสุนปืนเล็กนั่นเอง ประกอบด้วย ปลอกกระสุน
(CARTRIDGE CASE ), ดินส่งกระสุน (PROPELLANT), ชนวนท้ายปลอกกระสุน (PRIMER) และ
ลูกกระสุน (PROJECTILE) แต่ลูกกระสุนปืนใหญ่ทาด้วยโลหะที่มีความแข็งมาก จนเกลียวภายในลากล้อง
ไม่สามารถฝังลงไปในเนื้อของลูกกระสุนได้ และบางประเภทก็มีวัตถุระเบิดบรรจุอยู่ด้วย ดังนั้นส่วนประกอบ
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๕
ของลูกกระสุนปืนใหญ่ จึงมีส่วนประกอบเพิ่มมากกว่ากระสุนปืนเล็ก ส่วนประกอบทั่ว ๆ ไปของลูกกระสุน
ปืนใหญ่ มีดังนี้
๔.๓.๑ ชนวนลูกกระสุน (FUZE) ลูกกระสุนปืนใหญ่บางชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กระสุน
ปืนใหญ่ชนิดที่ ลูกกระสุนที่บรรจุวัตถุระเบิดแรงสูง (HE) จาเป็นต้องมีชนวนลูกกระสุน ประกอบไว้ที่ปลาย
ลูกกระสุน เพื่อเป็น เครื่องจุ ด วัตถุ ระเบิดแรงสูงที่บรรจุไว้ เมื่อกระทบเปูา หรือเฉียดเปูา หรือเมื่อได้ ตาม
กาหนดเวลาที่ตั้งไว้ ชนวนที่ใช้ประกอบกับลูกกระสุน มีชนวนแบบกระทบแตก, ชนวนเวลา, ชนวนถ่วง
เวลา ซึง่ ติดตั้งได้ทั้งทีส่ ่วนปลายลูกกระสุน หรือส่วนท้ายของลูกกระสุน
๔.๓.๒ โค้งปลายหน้าสุด ของลูกกระสุน ( OGIVE ) คือ ส่วนโค้งระหว่าง BURRELET กับ
ปลายของลูกกระสุน โค้งปลายกระสุนนี้อาจมีโค้งมากหรือโค้งน้อยน้อยตามแต่ชนิดของกระสุน
๔.๓.๓ ประคองลูกกระสุน (BURRELET) เป็นส่วนที่ประคองลูกกระสุนให้อยู่ในแนว
เดียวกับลากล้องปืน มีเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่าปากลากล้องปืนเล็กน้อย ประมาณ 0.005 – 0.02 นิ้ว
๔.๓.๔ ตัวลูกกระสุน ( BODY ) อยู่ระหว่าง BURRELET กับแหวนรัดท้ายลูกกระสุน
๔.๓.๕ ส่วนผสม (MIXTURE) คือ ส่วนผสมที่บรรจุในลูกกระสุน (PROJECTILE) อาจ
เป็นวัตถุระเบิดแรงสูง, วัตถุเคมีที่ทาให้เกิด ควัน เพลิง หรือแก๊สตามชนิดของกระสุน
๔.๓.๖ แหวนรัดท้ายลูกกระสุน ( ROTATING BAND or DRIVING BAND ) ทา
ด้วยทองแดง หรือทองแดงผสม หรือพลาสติก) เป็นวงเหมือนวงแหวน จานวน 1 วง หรือ 2 วง แล้วแต่
ชนิดและประเภทของลูกกระสุน ROTATING BAND ฝังอยู่ที่รอบส่วนท้ายของลูกกระสุน เมื่อยิงปืน ลูก
กระสุนหลุดออกจาก ปากปลอกกระสุน วิ่งไปในหลอดลากล้อง แหวนรัดท้ายลูกกระสุน นี้ จะฝังลงในร่อง
เกลียวของลากล้องปืน ปูองกันแก็สที่เกิดจากการเผาไหม้ของดินส่งกระสุนผ่านด้านท้ายของลูกกระสุน
ออกมาทางปากลากล้อง เพื่อรักษาแรงดันของแก็สที่มีต่อลูกกระสุนไว้ ทาให้เกิดการหมุนของลูกกระสุนจน
พ้นปากลากล้องไป
๔,๓.๗ ท้ายลูกกระสุน ท้ายลูกกระสุนแบบตัดตรง เรียกว่า SQUARE BASE หรือ
CYLINDRICAL ส่วนลูกกระสุนที่ด้านท้ายเรียวประมาณ ๕ – ๙ องศา เรียกว่า BOAT – TAIL หรือ
CONICAL TAPER ท้ายลูกกระสุนแบบนี้ ลดแรงดูดของอากาศที่กระทาต่อท้ายลูกกระสุน ทาให้มีระยะยิง
ไกลขึ้นแต่จะใช้ ได้ผลดีเมื่อใช้กับกระสุนซึ่งมีความเร็วของลูกกระสุน ต่ากว่าหรือเท่ากับ ๒๕๐ ฟุต/วินาที
๔.๓.๘ ARMOR PIERCING CAP ทาด้วยเหล็กผสม เมื่อกระทบที่หมาย CAP นี้จะเป็น
ตัวทาลายผิวหน้าของแผ่นเกราะ ทาให้อานาจการทะลุทะลวงดีขนึ้

๔.๓.๙ WIND SHIELD กรวยครอบปลายลูกกระสุนเจาะเกราะ เพื่อให้ ขีปณวิธี ดีขึ้น ทา


ด้วยเหล็ก หรือ อะลูมิเนียม

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๖

รูปที่ ๒๒ ลูกกระสุนปืนใหญ่

รูปที่ ๒๒/๑ ลูกกระสุนปืนใหญ่

๕. กระสุน ปตอ. (ANTI AIRCRAFT CANNON)


๕.๑ กระสุน ปตอ. ขนาด ๓๐มม. X 173 เป็นกระสุ น ครบนัด หรือกระสุ นรวม (Fixed
Ammunition) ใช้ยิงจากปืนใหญ่ Mauser Model F ปลอกกระสุนทาด้วย อลูมิเนียม Rotating Band
ทาด้วยพลาสติก ไม่เป็นอันตรายกับเกลียวภายในลากล้อง
๕.๑.๑ กระสุน ปตอ. ขนาด ๓๐ มม. X 173 แบบ TP-T ลักษณะของกระสุน TP-T
ลูกกระสุนทา สีฟ้าคาดดา ใช้ในการฝึก หรือยิงทดสอบปืนและตรวจสอบระบบอาวุธ ส่วนประกอบหลัก
ของกระสุนประกอบด้วย ลูกกระสุนทาด้วยเหล็ก พร้อม Rotating Band พลาสติก ปลอกกระสุนอลูมิเนียม
ประกอบด้วย ชนวนท้ายปลอกกระสุนแบบกระทบแตก (Percussion Primer), flash tube assembly
และดินส่งกระสุน การทางานของกระสุน เมื่อปืนถูกยิงออกไปแล้ว การทางานมีดังนี้

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๗

รูปที่ ๒๓ Target Practice- Tracer (TP-T) Cartridge

๕.๑.๑.๑ เข็มแทงชนวนกระแทก ชนวนท้ายปลอกกระสุน (Primer)


๕.๑.๑.๒ วัตถุระเบิดในชนวนท้ายปลอกกระสุน หรือเรียกว่า ดินเริ่ม จุดตัว
๕.๑.๑.๓ ประกายไฟจากดินเริ่มจุดดินดาใน Flash tube ส่งเปลวเพลิงจากดินดา
ไปจุดดินส่งกระสุน ในปลอกกระสุน
๕.๑.๑.๔ เมื่อดินส่งกระสุนจุดตัว จะเกิดแก๊สร้อนมีปริมาณมากให้แรงดันสูง ดัน
ด้านท้ายลูกกระสุนเพื่อให้หลุดจากปากปลอกกระสุน
๕.๑.๑.๕ Rotating Band ที่ฝังตัวกับเกลียวภายในหลอดลากล้อง กักแก๊สไว้
จนเกิดแรงดันกับท้ายลูกกระสุนทาไห้ Rotating Band เคลื่อนที่ไปตามเกลียวในหลอดลากล้อง ลูก
กระสุนจะเกิดการหมุนรอบแกนตัวเองวิ่งออกทางปากลากล้อง
๕.๑.๑.๖ ลูกกระสุน พ้นออกจากปากล ากล้องด้ว ยความเร็วประมาณ ๑,๐๓๕
เมตรต่อวินาที และหมุนด้วยอัตราเร็วประมาณ ๙๘,๐๐๐รอบต่อนาที การหมุนของลูกกระสุนทาให้ลูก
กระสุนวิ่งเข้าหาเปูาหมายอย่างมีเสถียรภาพ
๕.๑.๑.๗ ขณะเมื่อลูกกระสุน จะพ้นจากปากลากล้อง ส่วนผสมส่องวิถีที่ท้ายลูก
กระสุน ถูกจุดตัวด้วยเปลวไฟของดินส่งกระสุนที่เผาไหม้อยู่ภายในปลอกกระสุน พลยิงจะมองเห็นแสงส่อง
วิถที ี่ท้ายลูกกระสุนขณะวิ่งอยู่ในวิถีกระสุน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๘

รูปที่ ๒๔ HEI / SD-T CARTRIDGE

๕.๑.๒ กระสุน ปตอ. ขนาด ๓๐ มม. x ๑๗๓ แบบ HEI/SD-T ลักษณะของกระสุน HEI
/ SD-T ปลายลูกกระสุนทาด้วย สีเหลือง คาดแดง และอักษรสีดา ที่ปลายลูกกระสุน มีชนวนหัวแบบ
Point Detonating Self-Destruct เมื่อกระทบเปูา ทาไห้เกิดระเบิดและเพลิงกับเปูาหมาย กระสุน HEI
/ SD-T มีส่วนประกอบหลัก ปลอกกระสุนทาด้วยอลูมิเนียม ซึ่งบรรจุชนวนท้ายปลอกกระสุน, flash
tube และ ดินส่งกระสุน เหมือนกับกระสุน TP-T ลาตัวลูกกระสุนทาด้วยเหล็ก และRotating Band
ทาด้วยพลาสติก บรรจุวัตถุระเบิดหนัก ๓๙ กรัมและสารที่ทาไห้เกิดเพลิงหนัก ๕.๕ กรัม การทางานทั่วไป
ของกระสุน HEI / SD-T มีลักษณะเดียวกันกับกระสุน TP-T แต่มีการทางานของชนวนลูกกระสุนเข้ามา มี
การทางานดังนี้

๕.๑.๓ การทางานของชนวน (FUZE) ลูกกระสุน HEI/SD-T ขนาด ๓๐ มม. ชนวนจะ


ARMED ด้วยแรง Set Back ร่วมกับการหมุนของลูกกระสุน ก่อนยิง Ball Rotor จะถูกยึดให้อยู่ใน
ตาแหน่ง UNARMED ( Safe ) ด้วย Locking Devices ขณะที่ลูกกระสุนหมุนอยู่ในลากล้องปืน แรง Set
Back และแรงหนีศูนย์กลาง ทาให้ Locking Devices ปล่อยให้ Ball Rotor เป็นอิสระเคลื่อนที่พา
Igniter ของ Detonator ให้มาตรงกับเข็มแทงชนวน เป็นตาแหน่ง In line ในขบวนการจุดวัตถุระเบิด
เป็นการ ARMED ของชนวน ที่ระยะ ๑๐-๑๕ เมตร หรือ ๓๐-๖๕ ฟุต จากปากลากล้อง เมื่อลูกกระสุน
กระทบเปูา เข็มแทงชนวนจะกระแทกกับตั วจุด (Igniter) ของ Detonator ทาให้ Detonator จุดตัว เปลว
ไฟจะ ไปจุด Booster charge ของชนวน จากการจุดตัวของ Booster charge ทาให้คลื่นการระเบิดไป
จุดวัตถุระเบิดแรงสูงในลาตัวลูกกระสุน ทาให้ลูกกระสุนระเบิดออก เกิดสะเก็ดระเบิดโลหะจากตัวลูกกระสุน
ถ้าลูกกระสุนไม่กระทบเป้าหมาย เมื่อถึงกาหนดเวลาทาลายตัวเอง (Self Destroy) จากการหมุนของลูก
กระสุนจะคลาย ชิ้นส่วน ที่กั้น หรือยึด เป็นตัวหน่วง (Plunger)แหนบเข็มแทงชนวนไว้ ปล่อยให้แหนบ
เข็มแทงชนวนขยายตัว ดันเข็มแทงชนวนให้กระแทกกับตัวจุด (Igniter) ของ Detonator ลูกกระสุนก็จะ
ระเบิด ได้เช่นเดียวกันกับการที่ลูกกระสุนกระทบเปูาหมาย

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๒๙

รูปที่ ๒๕ ต้นแบบ IMPACT AND SELF-DESTRUCTION FUZE

๕.๑.๔ การเข้าสายกระสุนและการบรรจุลัง สายกระสุนขนาด ๑๔ นัด บรรจุกระสุน


เข้าข้อต่อ ๑๓ นัด ใน ๑ ลังบรรจุได้ ๒ สาย รวมกับกระสุนที่ไม่ได้เข้าข้อต่อกระสุนอีก ๒ นัดรวมเป็น ๒๘
นัด สาหรับลังที่ใช้บรรจุกระสุน ขนาด ๓๐มม. X ๑๗๓ ในการขนส่งและเก็บรักษา ใช้ลังกระสุนขนาด ๒๐
มม. แบบ M548 มาดัดแปลงใช้บรรจุกระสุนขนาด ๓๐ มม.

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๐

รูปที่ ๒๖ Links Cartridges.

รูปที่ ๒๗ Packing of Cartridge in Container

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๑
๕.๒ กระสุน ปตอ. ขนาด ๔๐ มม. ที่ใช้อยู่ใน ทอ. เป็นแบบของ BOFORS
ประเภทต่างๆ ซึ่งบริษัท BOFORS ซื้อแบบไปสร้าง ดังนั้นกระสุนจึงแตกต่างกันแต่อาจใช้แทนกันได้

รูปที่ ๒๘ กระสุน ปตอ. ขนาด 40 MM, HE-T MK 2 , SD MK 11, CARTRIDGE


๕.๒.๑ กระสุน ขนาด ๔๐ มม. HE-T MK2, SD MK 11 W/FUZE PD
MK 27 เป็นกระสุนระเบิด ส่องวิถี ประกอบด้วย ปลอกกระสุนทองเหลือง หรือปลอกเหล็ก ชนวนท้าย
ปลอกกระสุนแบบ Percussion Primer M39A1 ดินส่งกระสุน M1 ลูกกระสุน MK 2 เมื่อพลาด
เปูาหมายทาลายตัวเอง (SELF DESTROYING) SD MK 11 ชนวนของลูกกระสุน เป็นชนวน ชนิดกระทบ
แตกไว (SUPPER SENSITIVE FUZE) MK27 ลูกกระสุนบรรจุวัตถุระเบิด TNT มีส่วนผสมส่องวิถี
ขันเกลียวติดอยู่ที่ท้ายลูกกระสุน วัตถุส่องวิถีจะให้แสงนานประมาณ ๘ – ๑๐ วินาที เท่ากับระยะทาง
ประมาณ ๓,๘๐๐ – ๔,๓๐๐ หลา ลูกกระสุนจะระเบิดทาลายตัวเองที่ระยะ ๕,๒๐๐ หลา ในทางระดับ
หรือ ๕,๑๐๐ หลา ในแนวดิ่ง ลูกกระสุนทาสีกากีแกมเขียว MARKING สีเหลือง มีรายละเอียดของ
กระสุนดังนี้
- ลูกกระสุนทั้งนัดหนัก ๔.๗๕ ปอนด์
- ลูกกระสุนทั้งนัดยาว ๑๗.๖๐๒ นิ้ว
- หัวกระสุนรวมชนวนหัวยาว ๗.๖๔ นิ้ว
- ปลอกกระสุนยาว ๑๒.๒๔ นิ้ว
- แหวนรัดท้ายลูกกระสุนกว้าง .๖๔ นิ้ว
- ท้ายลูกกระสุนเป็นแบบ CONICAL TAPED ( BOAT – TAIL ) BASE
- ความเร็วต้น ๒,๘๗๐ ฟุต/นาที
- ระยะยิงไกลสุดทางราบ ๕,๓๐๐ หลา
- ระยะยิงไกลสุดทางดิ่ง ๕,๑๐๐ หลา

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๒
๕.๒.๒ กระสุนขนาด ๔๐ มม. HE –T MK2, SD M3A1 W/FUZE PD MK27
เป็นกระสุนระเบิดส่องวิถีคล้ายกับกระสุนใน ข้อ ๕.๒.๑ เว้นแต่ใช้ SD M3A1 ทาให้เพิ่มระยะยิงไกลสุด
ทางราบเป็น ๕,๗๐๐ หลา และใช้ TETRYL บรรจุในลูกกระสุนแทน TNT

รูปที่ ๒๙ ชนวน ของลูกกระสุน ปตอ. ขนาด 40 mm. MK 27 Point Detonating Fuze

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๓
๕.๒.๓ กระสุน ขนาด ๔๐ มม. AP – T M81A1 ลูกกระสุนทาด้วยเหล็กกล้า
ครอบด้วย WINDSHIELD ทาด้วยเหล็ก ท้ายลูกกระสุนบรรจุวัตถุส่องวิถี เมื่อจุดตัวให้แสงส่องวิถีประมาณ
๑๒ วินาที ลูกกระสุนทาสีดา MARKING สีขาว
- กระสุนทั้งนัดหนัก ๔.๕๘ ปอนด์
- กระสุนทั้งนัดยาว ๑๗.๖๐๒ นิ้ว
- หัวกระสุนยาว ๖.๑๔ นิ้ว
- ปลอกกระสุนยาว ๑๒.๒๕ นิ้ว
- แหวนรัดท้ายลูกกระสุนกว้าง .๖๔ นิ้ว
- ท้ายลูกกระสุนเป็นแบบ SQUARE ( CYLINDRICAL ) BASE
- ความเร็วต้น ๒,๔๗๐ หลา
- ระยะยิงไกลสุด ๙,๖๐๐ หลา
- อานาจการเจาะเกราะระยะ ๑,๐๐๐ หลา เจาะเกราะได้หนา ๑.๘ นิ้ว

๕.๓ กระสุน เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๔๐ มม. (40 MM CARTRIDGES) เป็น


กระสุนวิถีโค้งระยะใกล้ที่ใช้ยิงกับเครื่องยิง แบบ M79, M203, M148 และ TS/B ซึ่งเป็นเครื่องยิงที่
กองทัพประเทศไทยและกองทัพประเทศสิงคโปร์ร่วมกันสร้าง รูปร่างและการทางานของเครื่ องกลไกคล้าย
M79 กระสุนขนาด ๔๐ มม เป็นกระสุนรวม (FIXED AMMUINITION) คือส่วนประกอบของลูกกระสุน
ประกอบกันอยู่อย่างสมบูรณ์ ลูกกระสุนกับปลอกกระสุนยึดติดกันแน่นพร้อมที่จะใช้ยิงได้ทัน ที ใช้ชนวน
หัว ลูกกระสุนแบบ POINT DETONATING FUZE โค้งลูกกระสุน (OGIVE) และปลอกกระสุนทาด้วย
Aluminum กระสุนบางชนิดไม่มีโค้งลูกกระสุน ตัวลูกกระสุนทาด้วย Steel กระสุนชนิดนี้ใช้สังหาร
บุคคลและง่ายต่อการนาไปใช้ โดยบรรจุในสายกระสุนชนิดผ้า กระสุนฝึกอาจใช้เป็นกระสุนชี้เปูาได้

รูปที่ ๓๐ M 79, 40 mm. GRANADE LUNCHER

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๔

รูปที่ ๓๑ M 148, 40 mm. GRANADE LAUNCHER

รูป ๓๒ M 203, 40 mm. GRANADE LAUNCHER

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๕
๕.๓.๑ กระสุนระเบิด ขนาด ๔๐ มม. 40 MM. HE. CARTRIDGE , M406, WITH
FUZE, PD, M551.

รูปที่ ๓๓ กระสุนระเบิด ขนาด ๔๐ มม. M406, 40 MM. HE

๕.๓.๑.๑ คุ ณ ลั ก ษณะทั่ ว ไป กระสุ นชนิ ดนี้ ใช้ ปลอกกระสุ นแบบ M 118


Aluminum Cartridge Case สีกากีแกมเขียว บรรจุวัตถุระเบิดประมาณ ๑.๒๕ ออนซ์ โค้งลูกกระสุน
Ogiveสีทอง ซึง่ ผิวด้านในจะเซาะร่องไว้โดยรอบ เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูาหมายและระเบิดขึ้น ทาให้แตก
เป็นสะเก็ด (Fragment) ได้ขนาดและจานวนตามที่ต้องการ กระสุน High Explosive และกระสุน
Practice ใช้ชนวนลูกกระสุน แบบ M 551 Point Detonating (PD) Fuze จานท้ายปลอกกระสุน
บรรจุ ชนวนท้ายปลอกกระสุน แบบ M42 Percussion Primer ข้อมูลของกระสุนจะเขียนไว้ที่ปลอก
กระสุน และตัวลูกกระสุน (Projectile or Grenade) แต่ Lot number ของกระสุนจะเขียนไว้บนปลอก
กระสุนเท่านัน้
๕.๓.๑.๒ ลักษณะการทางานของกระสุน - เมื่อชนวนท้ายปลอกกระสุนจุดตัวจะส่ง
เปลวไฟไปจุดดินส่งกระสุ น เกิดแรงดันสูงถึง ๓๕,๐๐๐ ปอนด์/ ตร.นิ้ว ในส่ว นห้องความดันสูง ทาให้
Charge Cup แยกตัว เกิดช่องว่าง ( Vent Holes ) แก๊สก็ไหลขยายไปสู่ห้องความดันต่าที่ภายในท้ายปลอก
กระสุ นซึ่งมีพื้น ที่ มากกว่า ทาให้แรงดันลดลงเหลือ ๓,๐๐๐ปอนด์/ ตร.นิ้ว แต่ก็ยังมากพอที่จะขับ ลู ก
กระสุนหรือลูกระเบิด (Projectile or Grenade) ออกจากปากลากล้องไปยังเปูาหมาย ด้วยความเร็วต้น
๒๕๐ ฟุต/วินาที และหมุนทางขวา ๓,๗๐๐ รอบ/นาที การหมุนของลูกกระสุนทาให้เดือยถ่วงน้าหนัก ๓ ชิ้น
และส่วนบังคับซึ่งยึดแหนบเข็มแทงชนวนไว้ เคลื่อนตัวออก ทาให้แหนบบังคับเข็มแทงชนวนและส่วนบังคับ
ถอนตั ว จาก Rotor และเฟื อ งตามล าดั บ เมื่ อ Rotor เป็ น อิ ส ระก็ จ ะหมุ น ตั ว เองด้ ว ยแรงหนี ศู น ย์
ขณะเดียวกัน กลไกถ่วงเวลา จะควบคุมการเคลื่อนที่ของ Rotor เพื่อการถ่วงเวลาไว้ชั่วขณะ จนกระทั่ง
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๖
Rotor หมุนนาให้ Detonator มาตรงกับเข็มแทงชนวน เมื่อลูกกระสุนพ้นจากปากลากล้องอย่างน้อย
๔๕ ฟุต หรืออย่างมาก ๙๐ ฟุต ชนวนลูกกระสุนจึง Armed
- ชนวนกระทบแตก M551 Point Detonating (PD) Fuze จะ Armed ด้วยการหมุนของ
ลูกกระสุน และแรง Setback ที่ระยะระหว่าง ๑๔ ถึง ๒๘ เมตร ( ๔๖ ถึง ๙๒ ฟุต ) จากปากลากล้อง
ก่อนที่จะมีการยิง Rotor ถูกยึดให้อยู่ในตาแหน่ง Un-armed โดย Setback Pin เมื่อเกิดการยิงขึ้น แรง
Setback ทาให้ Setback Pin เคลื่อนตัวมาข้างหลัง ปล่อยให้ Rotor เคลื่อนตัวอย่างอิสระพา Detonator
มาอยู่ตรงกับเข็มแทงชนวน ขณะเดียวกันกลไกถ่วงเวลาจะควบคุมการเคลื่อนที่ของ Rotor เพื่อถ่วงเวลาให้
ลูกกระสุนเดินทางไปได้อย่างน้อย ๑๔ เมตร (๔๕ ฟุต) หรืออย่างมาก ๒๘ เมตร (๙๒ ฟุต) เป็นการ Armed
ของชนวนหัวลูกกระสุน M551 เมื่อลูกกระสุนวิ่งไปกระทบเปูาหมาย เข็มแทงชนวนก็จะวิ่งไปกระแทกกับ
ตัวจุด (Igniter) ของ Detonator เป็นการเริ่มจุดขบวนการวัตถุระเบิดของชนวน ลูกกระสุน
- การระเบิดของลูกกระสุน จุดที่ลูกกระสุนตกมีการทาลายเป็นวงกลม ๕ เมตรที่ระยะไกลประมาณ
๔๐๐ เมตร โดยปกติหวังผลในการทาลายต่อทหารหรือบุคคลได้ ๕๐ %
๕.๓.๒ กระสุนฝึกยิง ขนาด ๔๐ มม. M407 A1, 40 MM PRACTICE CARTRIDGE,
M407A1 WITH FUZE, PD , M551.

รูปที่ ๓๔ กระสุนฝึกยิง ขนาด ๔๐ มม. M 407A1

๕.๓.๒.๑ คุณลักษณะทั่วไป กระสุนชนิดนี้ มีวิถีถี ( Ballistic )เช่นเดียวกับ


กระสุนระเบิด M 406 ใช้ปลอกกระสุนแบบ M 118 สีกากีแกมเขียว บรรจุด้วยผงเคมีสีเหลือง (Yellow
Dry Powder ) ลู กกระสุนสีเงิน บรรจุด้วยพลาสติก ลูกกลมแทนโลหะ เพื่อลดอันตรายจากสะเก็ด
(Fragment) ของลูกกระสุน รวมทั้งลดน้าหนักดินขยายการระเบิดใน Fuze Adapter ของชนวน M407
จาก ๒.๕๗ กรัม ลงมา เหลือ ๐.๓๙ กรัมของชนวน M407 A1 ก็เพื่อลดอันตรายจากสะเก็ด (Fragment)
ของลูกกระสุน เช่นเดียวกัน
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๗
๕.๓.๒.๒ ลักษณะการทางานของกระสุน M 407A1 เช่นเดียวกับการทางานของ
กระสุนระเบิดขนาด ๔๐ มม. M406, 40 MM. HE. CARTRIDGE WITH M551 PD FUZE ในข้อ
๕.๓.๑.

๕.๓.๓ กระสุ นส่ อ งแสง สี ข าว ขนาด ๔๐ มม. M 583 , 40 MM


PARACHUTE CARTRIDGE, WHITE STAR, M583.

รูปที่ ๓๕ กระสุนส่องแสง สีขาวพร้อมร่ม ขนาด ๔๐ มม. XM 583

๕.๓.๓.๑ คุณลักษณะทั่วไป ใช้ยิงกับเครื่องยิงลูกระเบิด XM 148, M 79 และ M 203


กระสุนครบนัดประกอบด้วย ลูกกระสุน XM 584 ( PARACHUTE PROJECTILE ),ชนวนท้ายปลอก
กระสุน แบบ เอ็ม ๑๒ ( M 12 PERCUSSION PRIMER ) และ ปลอกกระสุน Aluminum แบบ XM
195 ซึ่งคล้ายกับปลอกกระสุนแบบ M118 แต่ความยาวของปลอกกระสุนสั้นลง ๕/๘ นิ้ว ปลอกกระสุน
เป็นส่วนที่รองรับลูกกระสุน คือร่มและดวงเทียนส่องแสง (Parachute and Pyrotechnic
Illuminating Candle) ซึ่งอยู่หน้าดินขับ ( Ejection Charge ) ภายในลูกกระสุน ลูกกระสุน
และห่อหุ้มด้วยกระดาษชุบน้ามัน ภายในปลอกกระสุนมีห้องรับแรงดันจากการจุดตัวของ Primer สอง
ส่วนคือ High Presser และ Low Presser ทีส่ ่วนปลายลูกกระสุน ( OGIVE ) มีอักษรตัวนูนเพื่อ
บอกสีของดวงดาว ได้แก่อักษร W, R, or G

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๘
๕.๓.๓.๒ ลักษณะการทางานของกระสุน เมื่อลูกกระสุนถูกขับให้วิ่งไปตามเกลียวในหลอด
ลากล้ อง ลูกกระสุ นจะหมุน ๓๗๕๐ รอบ/นาที ขณะพ้นปากล ากล้ องมีความเร็วต้น ๒๕๐ ฟุต/วินาที
พร้อมกับจุดดินถ่วงเวลาที่ส่วนท้ายของลูกกระสุน ดินถ่วงเวลาถูกกาหนดให้ ถ่วงเวลาประมาณ ๕ วินาที
เพื่อให้ลูกกระสุนวิ่งไปเกือบถึง หรือถึงสูงยอดของกระสุนวิถี (Zenith of the trajectory of the
projectile) ดินดาซึ่งเป็นส่วนผสมของดินขับ (Ejection Charge) จะจุดดวงเทียนและขับออกไป
ด้านหน้าของส่วนที่ห่อหุ้ม การจุดตัวของดวงเทียนนี้จะเกิดขึ้นที่ความสูงประมาณ ๖๐๐ ฟุต ที่มุมยิง ๘๕
องศา เมื่อร่มกางออกจะมีอัตราการล่วงหล่น ๗ ฟุต/วินาที ดวงเทียนจุดตัวได้นานประมาณ ๔๐ วินาที
ด้วยความเข็มของแสง ๔๕,๐๐๐ แรงเทียน

รูปที่ ๓๖ กระสุนส่องแสงสีขาวพร้อมร่มขนาด 40 มม. M 583

รูปที่ ๓๖/๑ ลูกกระสุน ส่องแสง สีขาวพร้อมร่ม ขนาด ๔๐ มม. XM 584


ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๓๙

๕.๓.๔ กระสุนส่องแสงพวง สีขาว ขนาด ๔๐มม. 40 MM CLUSTER CARTRIDGE,


WHITE STAR, M585

รูปที่ ๓๗ กระสุน ส่องแสงพวง สีขาว ขนาด ๔๐ มม. XM 585


๕.๓.๔.๑ คุณลักษณะทั่วไป ลักษณะภายนอกเช่นเดียวกับกระสุนส่องแสงสีขาว
ขนาด ๔๐ มม. XM 583 ประกอบด้วย ลูกกระสุน XM 586 ภายในลูกกระสุนบรรจุส่วนผสมไพโรเทคนิค
ดวงดาว ๕ ดวง สีขาว ไม่มีร่ม ดาวแต่ละดวงล่วงหล่นอย่างอิสระ ขึ้นอยู่กับลักษณะการดีดตัว ของดวงดาว
Ogives ของกระสุนส่องแสงพวง สีขาวนี้ จะมีปุมนูน ๕ ปุุม รอบขอบเพื่อบอกจานวนของดวงดาว และส่วน
ปลายสุด ของลูกกระสุน ( OGIVE ) มีอักษรตัวนูนเพื่อบอกสีของดวงดาว ได้แก่อักษร W, R, or G

รูปที่ ๓๗/๑ ลูกกระสุน ส่องแสงพวง สีขาว ขนาด ๔๐ มม. XM 586


ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๐
๕.๓.๔.๒ ลักษณะการทางานของ ลูกกระสุน XM 586 เช่นเดียวกับลูกกระสุน
XM 584, 40 MM WHITE STAR PARACHUTE CARTRIDGE นอกเสียจากว่า ดวงเทียนแต่ละดวง
จะให้แสงสว่างนานประมาณ ๗ วินาที ความเข็มของแสง ๕๕,๐๐๐ กาลังเทียน กล่าวคือเมื่อลูกกระสุน
ถูกขับให้วิ่งไปตามเกลียวในหลอดลากล้อง ลูกกระสุนจะหมุน ๓๗๕๐ รอบ/นาที ขณะพ้ นปากลากล้องมี
ความเร็วต้น ๒๕๐ ฟุต/วินาทีและจุดดินถ่วงเวลาที่ส่วนท้ายของลูกกระสุนพร้อมกัน ถ่วงเวลาประมาณ ๕
วินาทีเพื่อให้ลูกกระสุนวิ่งไปสู่ สูงยอดของกระสุนวิถี (Zenith of the trajectory of the projectile) ดิน
ดาซึ่งเป็นส่วนผสมของดินขับ (Ejection Charge) จะจุดดวงเทียนและขับออกไปด้านหน้าของส่วนที่ห่อหุ้ม
เป็นดาวสีขาว ๕ ดวง การจุดตัวของดวงดาวนี้จะเกิดขึ้นที่ความสูงประมาณ ๖๐๐ ฟุต ทีม่ ุมยิง ๘๕ องศา

๕.๓.๕ กระสุน ลูกปลาย ขนาด ๔๐ มม. M576E1, 40 MM. MULTIPLE PROJECTILE


CARTRIDGE, M576 E1

รูปที่ ๓๘ กระสุนลูกปลาย ขนาด ๔๐ มม. XM 576 E1

๕.๓.๕.๑ คุณลักษณะทั่วไป กระสุนชนิดนี้ไม่มีโค้งลูกกระสุน ( Ogive ) ไม่มีชนวน


ลูกกระสุน ใช้ยิงในระยะใกล้ ทาการยิงได้รวดเร็ว โดยไม่ต้องทาการเล็ง ใช้ในการต่อต้านการก่อการร้าย
และการปฏิบัติทางทหารตามปกติโดยเฉพาะในกรณีที่การมองเห็นไม่ดี กระสุนชนิดนี้ ใช้ปลอกกระสุนแบบ
XM199E1 ซึ่งมีรูปร่างภายนอกคล้ายปลอกกระสุน แบบ M118 แต่มีพื้นที่บรรจุดินส่งกระสุนใหญ่กว่า และ
เบากว่า ปลอกกระสุนแบบ M118 มีห้องเก็บความดันสองชั้น ใช้ลูกกระสุนแบบ XM 577E1 ส่วนกลาง
ลูกกระสุนมีลักษณะเป็นถ้วย ( Pellet Cup ) บรรจุลูกปลาย (Pellet) ไว้ ๒๐ ลูก เคลือบด้วย Silicone
เพื่อการหล่อลื่น Pellet Cup สอดอยู่กับเรือนยึด (Sabot Carrier) และเรือนยึดนี้จะถูกปลอกกระสุนยึด

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๑
ไว้ด้วยการเม้มรอบ Sabot Carrier ถ้วยบรรจุลูกปลายปิดด้วยวัสดุ เป็นแผ่นชุบสาร Polyethylene เพื่อ
กันลูกปลายไว้ในลูกกระสุน
๕.๓.๕.๒ ลักษณะการทางานของกระสุน เมื่อทาการยิงชนวนท้ายปลอกกระสุน
จุดตัว ไปจุดดินส่งกระสุน จะเกิดแรงดันสูงมาก โดยแก๊สจะอยู่ในห้องแรงดันสูง (High-pressure Chamber)
เมื่อมีกาลังมากพอจะดันแผ่นทองเหลืองที่ปิดช่องระบายออกทาให้ช่อง Vent Hole เปิดให้แก๊สไหลเข้าไปสู่
ห้องความดันต่า (Low-pressure Chamber) เมื่อมีแรงดันมากพอจะไปดันให้ลูกกระสุนเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
และหมุนไปตามเกลียวลากล้อง ขณะที่กระสุนวิ่งไปข้างหน้า จะเกิดแรง Setback ทาให้ Pellet Cup ถอย
หลัง เป็นอิสระจาก Sabot Carrier เมื่อพ้นปากลากล้องจะปล่อยให้ Pellets วิ่งไปกระทบเปูาอย่างอิสระ
ด้วยความเร็วต้น ๘๘๕ ฟุต/วินาที กระสุนนี้มีรัศมีการทาลาย ๕ เมตร ระยะยิงไกลสุด ๓๐ เมตร

๕.๓.๖ กระสุนแก๊สน้าตา ขนาด ๔๐ มม. XM651E1, 40 MM. PROJECTILE,


CS, XM 651E1 WITH FUZE XM581E1

รูปที่ ๓๙ กระสุนแก๊สน้าตา ขนาด ๔๐ มม. XM 651 E1, 40 MM. CS,


PROJECTILE CARTRIDGE WITH FUZE XM 581 E1

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๒

๕.๓.๖.๑ คุณลักษณะทั่วไป กระสุนชนิดนี้ลักษณะคล้ายกับกระสุนระเบิดขนาด


๔๐ มม. M406 แต่ยาวกว่าเล็กน้อย และปลายลูกกระสุนเรียบ (Flat Nose) ปลอกกระสุนประกอบด้วย
- ถ้วยขับ (Aluminum Drive Cup) และจานรองถ้วย เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑ นิ้ว
(1- inch diameter disk) ไว้รองรับส่วนผสมแก๊สน้าตา
- ดินส่งกระสุน (Propellant) บรรจุอยู่ในถ้วยทองเหลือง อยู่ระหว่างชนวนท้าย
ปลอก กับจานรองถ้วย
- ชนวนท้ายปลอกกระสุน ชนิด Percussion Primer
- ชนวนลูกกระสุน XM 581E1 ประกอบอยู่ปลายลูกกระสุน เป็นชนวนแบบ
Percussion Primer เช่นเดียวกับ ชนวนท้ายปลอกกระสุน
ลูกกระสุน บรรจุส่วนผสมของแก๊สน้าตา CS Pyrotechnic Mixture or Tear
Gas ๕๓ grams
Flash Hole ช่องว่างกลางลูกกระสุนที่บรรจุ CS Pyrotechnic Mixture และ
เคลือบด้วย First Fire Mixture
Plastic Plug In Vent Hole ปิดที่ช่องว่างท้าย FLASH HOLE โดยขัน
เกลียวปิดท้ายลูกกระสุน Vent Hole กึง่ กลาง Drive Cup
สันวงรอบลูกกระสุน จากปลายของลูกกระสุนเลื่อนมาประมาณ ๒-๙/๑๖ นิ้ว
และ ๒-๓/๔ นิ้ว มีสันรอบลูกกระสุน อยู่สองวง ทาหน้าที่คล้าย Rotating Band เมื่อลูกกระสุนถูกยิงออกไป
หมายเหตุ แก๊สน้าตาคือสาร CS ซึ่งค้นพบโดยชาวอเมริกันสองคนชื่อ Ben Corson และ Roger
Staughton เมื่อปี ค.ศ. 1928 จึงนาอักษรตัวแรกของทั้งสองคนมาตั้งเป็นชื่อแก๊สน้าตา CS

๕.๓.๖.๒ ลักษณะการทางานของกระสุน เมื่อทาการยิง ชนวนท้ายปลอกกระสุน


จุดตัวส่งเปลวไฟไปจุดดินส่งกระสุนจะเกิดแก๊สเข้าไปสู่ช่องว่างหลัง Drive Cup อย่างรวดเร็วออกแรงดัน ทา
ให้ Drive Cupเป็นอิสระจากการถูกยึด เคลื่อนตัวไปข้างหน้า ดันลูกกระสุนวิ่งออกไปทางปากลากล้องของ
เครื่องยิงด้านหน้า ทาให้เกิดการถอยหลัง Setback Pin ปล่อยให้ Rotor เป็นอิสระในการเคลื่อนไหว ขณะที่
ลูกกระสุนจะหมุนตัวไปตามเกลียวลากล้อง ทาให้เกิดแรง หนีศูนย์ (Centrifugal Force) แล้วชนวนลูก
กระสุนจะ Armed เมื่อผ่านปากลากล้องไปแล้ว ๑๐ - ๓๐ เมตร (๙๘ ฟุต ) มุมยิงทาการยิงได้ตั้งแต่มุม ๐
องศา ถึง ๘๕ องศา เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูาหมาย Inertial Force ทาให้เข็มแทงชนวนของ ชนวนลูก
กระสุน XM581E1 วิ่งไปกระแทก Detonator ซึ่งเป็นการเริ่มจุดตัวของชนวนลูกกระสุน ส่งเปลวไฟไปจุด
Ignition Mixture และ First – Fire Mixture เพื่อไปจุด C.S. Pyrotechnic Mixture ทาให้เกิดแรงดัน
กับ ปลั๊กอุด Flash Hole เกิดช่องว่างขึ้นที่ฐานของลูกกระสุน ส่วนผสมแก๊สน้าตาจุดตัวอยู่นานประมาณ ๒๕
วินาที ขณะจุดตัวจะมีเสียงเบาๆ ( Hissing Sound ) และควันสีขาวทึบของแก็สน้าตา รัศมีการกระจายของ
Tear Gas ๒๕ เมตร ระยะยิงไกลสุดประมาณ ๔๐๐ เมตร

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๓

๕.๓.๗ กระสุนแก๊สน้าตาปราบจลาจล ขนาด ๔๐ มม. M674 40 MM CS, Riot


Control Cartridge, M674

รูปที่ ๔๐ กระสุนแก๊สน้าตา ปราบจลาจล ขนาด ๔๐ มม. XM 674 C.S.

๕.๓.๗.๑ คุณลักษณะทั่วไป กระสุนชนิดนี้ยิงด้วย เครื่องยิงลูกระเบิด M 79 ปืน


ยิงพลุ AN –M8 และยิงได้ด้วยมือ โดยการกระแทกให้ ฝาครอบเข็มแทงชนวน กระแทกชนวนท้ายปลอก
กระสุน ชนวนท้ายปลอกกระสุนก็จะจุดตัว ใช้สาหรับปราบจลาจล และควบคุมฝูงชน ประกอบด้วย
Cartridge Barrel ซึ่งลาตัวลูกกระสุนทาด้วยยาง ใช้บรรจุแก๊สน้าตา มีส่วนประกอบ
สาคัญ เช่น Primer, Rubber Body บรรจุ CS Pyrotechnic Mixture, Aluminum Allow Sleeve
บรรจุ ดิน ถ่ ว งเวลา ๑ ส่ ว น และตั ว จุ ด เริ่ม แรก ๓ ส่ ว น พร้ อ มด้ ว ยครอบพลาสติ ก ปิ ดไว้ ด้ า นปลายของ
Cartridge Barrel
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๔
Launcher Adapter เป็นปลอกพลาสติกสรวมอยู่ที่ปลอกกระสุนด้านท้ายของกระสุนอีก
ชั้นหนึ่ง เพื่อใช้ยิงกับเครื่องยิง M 79 เท่านั้น
Firing-cap Assembly ใช้ยิงด้วยมือเท่านั้นโดยกระแทก Firing-cap ซึ่งประกอบอยู่ที่
ส่วนปลายลูกกระสุน ด้านตรงข้ามกับ Launcher Adapter ประกอบด้วย Aluminum Alloy Firing Cap
และ Steel Firing Pin มีเทปที่มีความไวต่อแรงดันและปูองกันน้ายึด Firing-cap กับปากปลอกกระสุนไว้
และจะไม่ถอดออกจนกว่าจะใช้ยิง ส่วนที่เป็นลูกกระสุนบรรจุด้วยแก๊สน้าตา C.S.กระสุนทั้งนัดยาวประมาณ
๙ นิ้ว โต ๑.๕ นิ้ว และหนัก ๐.๗๕ปอนด์
๕.๓.๗.๒ ลักษณะการทางานของกระสุนชนิดนี้
เมื่อยิงด้วยเครื่องยิง M79 ชนวนท้ายปลอกกระสุนจุดตัวจะเกิดแรงดันให้ลูกกระสุนหลุ ดออกจาก
Cartridge Barrel พร้อมกับเปลวไฟไปจุด First-fire Mixture ซึ่งมี ๔ ส่วน ขณะที่จุดส่วนที่ ๓ เปลวไฟก็จะ
เผา Plastic Seal Cup และไปจุด CS Pyrotechnic Mixture ภายในลูกกระสุนจะเพิ่มแรงดันมากขึ้นปล่อย
ควันแก๊สน้าตาออกมาหลังจากยิง ๒ ถึง ๗ วินาที ลูกกระสุนจะจุดตัวได้นาน ๑๐ ถึง ๔๐ วินาที รัศมีอันตราย
๒ เมตร ระยะยิงไกลสุดประมาณ ๑๐๐ เมตร

รูปที่ ๔๑ กระสุนควันสีแดง ขนาด ๔๐ มม. XM 675 R.S.

๕.๓.๘ กระสุนควัน สีแดงขนาด ๔๐ มม. XM675, XM675 40 MM RED SMOKE


(RS) CARTRIDGE M675 Red Smoke (RS) 40MM Cartridge
๕.๓.๘.๑ คุณลักษณะทั่วไป กระสุนชนิดนี้คล้ายกับกระสุนแก๊สน้าตาปราบจลาจล
XM674 CS Cartridge นอกจาก การเขียนบอกลักษณะบนปลอกกระสุน รวมทั้งลูกกระสุนบรรจุ Red
Smoke Mixture และบรรจุ First-Fire Mixture ๒ ส่วน กับ Delay Mixture ๒ ส่วน
๕.๓.๘.๒ ลักษณะการทางานของกระสุนชนิดนี้ เช่นเดียวกับกระสุนแก๊สน้าตา
ปราบจลาจลต่างกันที่ First Fire Mixture ,มี ๒ ส่วน ส่วนที่ ๒ เป็นตัวจุด Red Smoke Mixture และดิน
ถ่วง

เวลา ๒ ส่วน เมื่อยิงไปแล้วจะถ่วงเวลา ๒ ถึง ๗ วินาที ควันสีแดงจะจุดตัวอยู่ได้นาน ๓ ถึง ๒๘ วินาทีรัศมี


อันตราย ๓ เมตร ระยะยิงไกลสุดประมาณ ๑๐๐ เมตร
๕.๓.๙ กระสุนฝึก ขนาด ๔๐ มม M781, M781 40 MM PRACTICE CARTRIDGE.

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๕

รูปที่ ๔๐ กระสุนฝึก ขนาด ๔๐ มม. M 781 Practice Round

๕.๓.๙.๑ ลักษณะทั่วไป กระสุนชนิดนี้ ปลอกกระสุน ขึ้นรูปด้วยแก้วผสมไนลอน


บรรจุดินขับชนิดเกล็ดหนัก ๓๓๐ มิลลิกรัม ลูกกระสุนทาด้วยแก้วผสมพลาสติกแล้วรัดด้วย Aluminum
Rotating Band โค้งลูกกระสุนทาด้วย พลาสติก (Frangible Plastic Ogive) ลูกกระสุนยึดกับปลอก
กระสุนด้วย Polysulfide (Polymer Cement)
๕.๓.๙.๒ ลักษณะการทางานชองกระสุนชนิดนี้ เมื่อชนวนท้ายปลอกกระสุนจุด
ตัวเปลวเพลิงก็จะไปจุดดินส่งกระสุนด้วย แก๊สจากดินส่งกระสุนจะเข้าไปที่ Low Pressure Chamber เมื่อ
สะสมแรงได้มากพอก็จะดันให้ลูกกระสุนหมุนไปตามเกลียวในลากล้องและพ้นปากลากล้องออกไปที่ความเร็ว
ต้น ๗๖ เมตร/วินาที ลูกกระสุนหมุนด้วยความเร็ว ๓๖๐๐ รอบ/นาที เมื่อกระทบเปูาหมายแกนลูกกระสุน
จะพุ่งไปข้างหน้ากดแหนบที่กันไว้กระแทกโค้งกระสุนให้แตกออก ด้วยแรงกระแทกของแกนลูกกระสุนรวม
กับแรงที่แหนบขยายตัวทาให้เกิด กลุ่มควันสีเหลืองส้ม ขยายตัวอย่างรวดเร็ว คล้ายกับการระเบิด

๕.๓.๑๐ กระสุนระเบิดเอนกประสงค์ ขนาด ๔๐ มม. M433E1, M433E1


40 MM, HE. DUAL PURPOSE CARTRIDGE

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๖

รูปที่ ๔๑ กระสุนระเบิดเอนกประสงค์ ขนาด ๔๐ มม. M433E1, HE. DUAL PURPOSE


CARTRIDGE

๕.๓.๑๐.๑ คุณลักษณะทั่วไป กระสุน M433E1 HEDP ใช้ปลอกกระสุนแบบ


M 118 ลูกกระสุน (PROJECTILE) แบบใช้สะเก็ดสังหาร ภายในเซาะร่องไว้โดยรอบเพื่อให้ได้สะเก็ดตามขนาด
และจานวนที่ต้องการ บรรจุวัตถุระเบิด LEAD แบบ SHAPED CHARGE ชนวนลูกกระสุน M 550 ( PIBD =
Point Initiate Base Detonator) ปลอกกระสุนมีห้องรับความดันสองส่วน (HIGH PRESSURE และ LOW
PRESSURE ) เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูาหมายและระเบิดขึ้น ทาให้แตกเป็นสะเก็ด (Fragment) ได้ขนาด
และจานวนตามที่ต้องการ จานท้ายปลอกกระสุนบรรจุชนวนท้ายปลอกกระสุนแบบ Percussion Primer
ในมุมปะทะโดยตรงที่ ๐ องศา ลูก กระสุนเจาะเกราะ (STEEL ARMOR) ได้หนาอย่างน้อย ๒ นิ้ว
๕.๓.๑๐.๒ ลักษณะการทางานของกระสุน - เมื่อชนวนท้ายปลอกกระสุนจุดตัวจะ
ส่งเปลวไฟไปจุดดินส่งกระสุน ทาให้เกิดแรงดันขับลูกกระสุนไปทางปากลากล้องด้วยความเร็วต้น ๒๕๐ ฟุต/
วินาที ชนวนลูกกระสุนจะอาร์มเมื่อลูกกระสุนเริ่มหมุนได้ ๒,๕๐๐ รอบ/นาที ทาให้ ROTOR เป็นอิสระจาก
การยึด เมื่อความเร็วในการหมุนเพิ่มขึ้นกระเดื่องสามตัวเคลื่อนไปด้านหน้าปล่อยให้เข็มแทงชนวนเคลื่อนไป
ข้างหน้า ขณะเดียวกันด้วยน้าหนักที่ไม่เท่ากันในเรือนของ ROTOR ทาให้ ROTOR หมุนทวนเข็มนาฬิกา
๑๒๐ องศา จากตาแหน่ง UNARMED ไปสู่ตาแหน่ง ARMED ทาให้ DETONATOR M55 ในชนวนลูก
กระสุนตรงกับเข็มแทงชนวน เครื่องกลไกในการถ่วงเวลาของชนวนลูกกระสุนจะถ่ว งเวลาอย่างน้อย ๔๕ ฟุต
จากปากลากล้อง เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูา เข็มแทงชนวนก็จะวิ่งไปกระแทก Detonator ทาให้เกิดกระแส

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๗
ความร้อนไปจุด RDX ซึ่งบรรจุในรูปดินโพรง ( Shaped Charge ) เป็นการจุดระเบิดของลูกกระสุน ทาให้
เพิ่มอานาจการเจาะเกราะและสังหารบุคคล

ข้อควรระวัง สาหรับกระสุนขนาด ๔๐ มม. ที่กล่าวมานี้


- กระสุนทุกนัดที่จะนาไปใช้ยิง ต้องสะอาดทั้งนัด ปราศจาก ฝุุน ผง ดิน ทราย ไข น้ามัน เกาะติดที่
กระสุนจุดใดจุดหนึ่ง
- ปูองกันไม่ให้กระสุนได้รับ อุณหภูมิสูง หรือแสงแดดโดยตรง
- กระสุนที่มีสนิมมาก หรือเป็นสนิมขุม ไม่ควรนามายิง
- กระสุนที่มีลูกกระสุนเป็นส่วนประกอบ แล้วไม่มีลู กกระสุน หรือลูกกระสุนหลวมคลอน หรือลูก
กระสุนยุบตัว ไม่ควรนามายิง
- กระสุนที่มีสภาพ ปลอกกระสุนหรือลูกกระสุนบุบ ไม่ควรนามายิง
- กระสุนที่รู้หมายเลขงาน และเกรดของกระสุนเท่านั้น ที่นามาใช้ยิงได้
- กระสุนที่ PRIMER ด้าน เมื่อถอดออกจากเครื่องยิงต้องแยกเก็บ
- การเคลื่อนย้ายกระสุนชนิดระเบิด (HE) ต้องกระทาด้วยความระมัดระวัง เพราะลูกกระสุนใช้เป็น
BOBY TRAP ได้ด้วย ห้ามโยนกระสุนที่ชนวนท้ายปลอกกระสุนด้าน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๘

๕.๔ กระสุน เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๘๑ มม. (81 MM. CARTRIDGE)


เครื่องยิงลูกระเบิด Mortars 81 MM. M1, M29, หรือ M29A1. ใช้เพื่อสังหารบุคคล
และทาลายเปูาหมาย ด้วยสะเก็ด และหรือแรงระเบิด จัดอยู่ในกระสุนปืนใหญ่วิถีโค้ ง ประเภทกึ่งรวม
(SEMI-FIXED) เพราะสามารถเพิ่ม หรือลดส่วนบรรจุได้ การบรรจุกระสุนต้องบรรจุกระสุนครบนัด
เข้าทางปากลากล้องเครื่องยิงลูกระเบิด และ/หรือ รังเพลิงของปืนใหญ่ เหมือนกับกระสุนปืนใหญ่ประเภท
กึ่งรวม

รูปที่ ๔๒ กระสุน เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๘๑ มม.

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๔๙

รูปที่ ๔๓ กระสุน เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๘๑ มม.

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๐
๕.๔.๑ การแบ่งประเภท กระสุน ขนาด ๘๑ มม. แบ่งตามความมุ่งหมาย
การใช้งาน ได้ ๔ ประเภท คือ (กระสุนจริง กระสุนซ้อมยิง กระสุนฝึกยิง กระสุนฝึกหัดบรรจุ)
๕.๔.๑.๑ กระสุนจริง (SERVICE AMMUNITION) ประกอบด้วย

- กระสุน ระเบิด ( SHELL HE.)

81MM High-Explosive, M 474, with PD Fuze, M524A5


รูปที่ ๔๔ กระสุน เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 81MM High-Explosive, M 474, with PD
Fuze,M524A5

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๑
- กระสุน ควัน ( SHELL SMOKE )

81MM Smoke WP Cartridge, M 375A3


รูปที่ ๔๕ กระสุนควัน เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 81MM Smoke WP Cartridge, M 375A3

- กระสุน ส่องแสง ( SHELL ILLUMINATING )

81MM Illuminating Cartridge, M301A2, with Time Fuze, M84


รูปที่ ๔๖ กระสุนส่องแสง เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 81MM Illuminating Cartridge, M301A2,
with Time Fuze, M84

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๒
๕.๔.๑.๒ กระสุนซ้อมยิง (PRACTICE AMMUNITION) มีขนาด น้าหนัก และ
ขีปนวิธี เหมือนกระสุน ขนาด ๘๑ มม. ประเภท กระสุนระเบิด เว้นแต่ภายในบรรจุสารปรับน้าหนักแทนวัตถุ
ระเบิด ใช้ยิงเพื่อซ้อมความแม่นยาตามตารางยิง
๕.๔.๑.๓ กระสุนฝึกยิง (TRAINING MMUNITION) ใช้ฝึกยิงเพื่อให้ทหาร
คุ้นเคยกับยิงเครื่องยิงลูกระเบิด การยิงใช้เพียงส่วนบรรจุหลัก (ไม่ใช้ดินเพิ่ม ) ให้ขับลูกระเบิดออกจากลา
กล้องเท่านั้น ซึ่งระยะตาบลกระสุนตกไม่ไกลจากจุดตั้งยิง เพื่อ สะดวกในการนาลูกระเบิดที่ยิงไปแล้ว มาใส่
ส่วนบรรจุหลักใหม่เพื่อใช้ฝึกยิงต่อไป
๕.๔.๑.๔ กระสุนฝึกหัดบรรจุ (DUMMY AMMUNITION) ใช้ฝึกหัดบรรจุ
เท่านั้นไม่สามารถยิงออกจากลากล้องได้ เพราะไม่มีขบวนการจุดวัตถุระเบิด (Percussion Primer, Ignition
Cartridge, Propellant Increment)

๕.๔.๒ กระสุน ขนาด ๘๑ มม. ชนิดระเบิด ( SHELL HE M56 W/FUZE TSQ, M77 )
หวังผลในการสังหารบุคคลและทาลายเปูาหมาย ประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๖ ส่วน คือ
๕.๔.๒.๑ ตัวลูกระเบิดแบบ M56 บรรจุดินระเบิด TNT 4.3 lbs.
๕.๔.๒.๒ ชนวนแบบ M77 ใช้ได้ทั้งชนวนเวลาให้แตกในอากาศ และชนวน
กระทบแตกไวตั้งเวลาได้จาก ๐ - ๒๕ วินาที แต่ในทางปฏิบัติห้ามตั้งน้อยกว่า ๘ วินาที
๕.๔.๒.๓ หางแบบ M4 ทาด้วย Aluminum มี ๑๒ ครีบ
๕.๔.๒.๔ ปลอกดินส่งกระสุน
๕.๔.๒.๕ ชนวนท้ายปลอกกระสุน
๕.๔.๒.๖ ถุงดินเพิ่มแบบ M2A1 ใช้ดิน Double Base เป็นแผ่นสี่เหลี่ยมซ้อนกัน
เป็นชั้น ใส่ไว้ในถุง พลาสติก
น้าหนักทั้งหมด ๑๑.๘๖ ปอนด์
ลูกระเบิดทั้งนัดยาว ๒๔.๔๕ นิ้ว
ส่วนบรรจุเพิ่ม ๑ ความเร็วต้น ๒๙๑ ฟุต/วินาที
ระยะยิงไกลสุด ๘๐๐ หลา
ส่วนบรรจุเพิ่ม ๒ ความเร็วต้น ๓๙๐ ฟุต/วินาที
ระยะยิงไกลสุด ๑,๔๒๕ หลา
ส่วนบรรจุเพิ่ม ๓ ความเร็วต้น ๔๗๒ ฟุต/วินาที
ระยะยิงไกลสุด ๑,๙๕๐ หลา
ส่วนบรรจุเพิ่ม ๔ ความเร็วต้น ๕๕๗ ฟุต/วินาที
ระยะยิงไกลสุด ๒,๔๕๐ หลา

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๓
๖. กระสุนภาคอากาศ
กระสุนปืนเล็กและกระสุนปืนใหญ่ ใช้กับปืนภาคอากาศของ ทอ.ไทยปัจจุบันได้แก่ CAL. 7.62 MM,
CAL. .20 MM. ELECTRIC PRIMER, 23 MM. AMMUNITION และ 30 MM AMMUNITION
๖.๑ กระสุน ๗.๖๒ มม. เป็นกระสุนปืนเล็กมาตรฐานของกลุ่มประเทศ NATO (NORTH
ATLANTIC TREATY ORGANIZATION) หรือกลุ่มประเทศสนธิสัญญาปูองกันแอตแลนติกเหนือ เป็นกระสุน
ที่ใช้ชนวนท้ายแบบ PERCUSSION PRIMER ชนวนท้ายปลอกกระสุนอยู่ตรงกล(CENTREFIRE) ไม่มีขอบ
จานท้าย (RIMLESS) ใช้กับปืนกลภาคพื้นดินและปืนกลภาคอากาศ กระสุนขนาด ๗.๖๒ มม. เป็นกระสุนที่
พัฒนามาจากกระสุน CAL..30 ซึ่งเลิกใช้แล้ว สมรรถนะต่าง ๆ จึงใกล้เคียงกัน คุณสมบัติที่กระสุนขนาด
๗.๖๒ มม. ดีกว่าคือ มีปลอกกระสุนเล็กกว่า กระสุน CAL..30 ลูกกระสุนมีน้าหนักน้อยกว่าลูกกระสุน
CAL. .30 แต่กระสุนขนาด ๗.๖๒ มม. มีอานาจการทาลายมากกว่า CAL..30 ปืนที่ใช้กระสุน CAL. 7.62
MM. อาวุธประจากายได้แก่ ปืน M14 RIFLE และ HK33 RIFLE ปืนกลภาคพื้นดิน M60, และปืนกล
อากาศ M 60D กระสุน ขนาด ๗.๖๒ มม. แบ่งตามความมุ่งหมายการใช้ได้ดังนี้
๖.๑.๑. SERVICE TYPE (การใช้งานทั่วไป)
๖.๑.๑.๑ กระสุนธรรมดา (BALL M 59 , M80) ปลายลูกกระสุนไม่ทาสี
ความเร็วต้นลูกกระสุนประมาณ ๓,๐๐๐ ฟุต/วินาที ระยะยิงไกลสุดประมาณ ๓,๗๐๐ หลา อานาจการยิง
ทะลุทะลวงเปูาหมายระยะ ๒๕๐ หลา เจาะเกราะลึกไม่เกิน .๕๐ นิ้ว พื้นคอนกรีตไม่เกิน ๑.๒๕ นิ้ว
๖.๑.๑.๒ กระสุนเจาะเกราะ (AP. M61) ปลายลูกกระสุนทาสีดา ลูกกระสุนมี
ความแข็งกว่ากระสุนธรรมดา (BALL) ความเร็วต้นประมาณ ๓,๐๐๐ ฟุต/วินาที ระยะยิงไกลสุดประมาณ
๓,๔๐๐ หลา ระยะ ๑๐๐ หลา เจาะเกราะเหล็กหนา ๑/๒ นิ้ว ได้
๖.๑.๑.๓ กระสุนส่องวิถี (TR M62)ปลายลูกกระสุนทาสีแดง หรือสีส้ม ท้าย
บรรจุสารเคมี เมื่อได้รับความร้อนหรือเปลวไฟจากดินส่งกระสุนจะจุดตัวส่องแสงสีแดง ทาให้พลปืนทราบวิถี
กระสุ น แสงสี แ ดงจะเริ่ มติ ดเมื่อกระสุ นพ้ นปากล ากล้ องปืนประมาณ ๑๒๕ หลาขึ้นไป ระยะยิ งไกลสุ ด
ประมาณ ๓,๕๐๐ หลา
๖.๑.๒ SPECIAL TYPE (การใช้งานพิเศษ)
๖.๑.๒.๑ กระสุนสาหรับนักกีฬา และล่าสัตว์ , ฝึกพลยิง
- M118 MATCH
๖.๑.๒.๒ กระสุนฝึกหัดบรรจุ เป็น INERT ไม่มีวัตถุระเบิด
- M 63 DUMMY ทาสีดาที่ลูกกระสุนทั้งหมด ปลอกเจาะรู
- M172 DUMMY ทาสีดาตลอดลูกกระสุน
๖.๑.๒.๓ กระสุนซ้อมรบ
- M 82 BLANK ไม่มลี ูกกระสุน
๖.๑.๒.๔ กระสุนทดสอบความดัน (HIGH PRESSUER TEST)
- M 60 HPT. ลูกกระสุน BALL ปลอกเหล็กหุ้มดีบุกทั้งหมด

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๔

๖.๒ กระสุนขนาด ๒๐ มม. Cartridge, 20 Millimeter: Electric

Ammunition for M 61 and M 39 Weapons


รูปที่ ๔๗ Cartridge, 20 Millimeter: Electric

กระสุน ขนาด ๒๐ มม. หรือประมาณ .๘๑” ที่ใช้กับ ปืนใหญ่อากาศ (AMMUNITION FOR 20


MM. AIRCRAFT GUN) ผลิตทีก่ รมสรรพาวุธทหารอากาศ กองโรงงานสรรพาวุธ ๒ จัดเป็นกระสุนปืนใหญ่
ขนาดเบา (LIGHT ARTILLERY) มีความกว้างปากลากล้องปืนอยู่ระหว่าง ๑๕.๒๕ ถึง ๓๗ มม. กระสุน
แบบ Fixed Complete Round (Fixed Ammunition) ไม่สามารถเพิ่ม หรือลดดินส่งกระสุนได้
คุณลักษณะทั่วไปของกระสุน ๒๐ มม.

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๕

๖.๒.๑ กระสุ น ขนาด ๒๐ มม. มี ช นวนท้ า ยปลอกกระสุ น ชนิ ด จุ ด ตั ว ด้ ว ยไฟฟ้ า


(ELECTRIC PRIMER) ปืน M39, M61 และ M197 ใช้กระสุนขนาด ๒๐ มม ร่วมกันได้ แต่ต้องเปลี่ยน
ข้อต่อสายกระสุน (LINKED) ข้อต่อสายกระสุนแบบ M12 ใช้กับปืน M39 SERIES ส่วนข้อต่อสายกระสุน
แบบ M14ใช้กับปืน M197 และ M61 คุณลักษณะโดยย่อของปืนทั้ง ๓ แบบ ที่ ทอ. มีใช้ราชการปัจจุบัน
คือ
๖.๒.๑.๑ ปญอ. ขนาด ๒๐ มม. GUN, AUTOMATIC CAL. 20 MM. M39 A3
มี ๑ ลากล้อง ลูกโม่มี ๕ ช่องรังเพลิง ขณะยิงปืน ที่ตาแหน่ง ๖ นาฬิกา ลากล้องอยู่กับที่ แต่ลูกโม่หมุน
เหมือนปืนพก Revolver ถ้าปืนปูอนสายกระสุนด้านซ้าย ลูกโม่จะหมุนตามเข็มนาฬิกา ถ้าปืนปูอนสาย
กระสุนด้านขวา ลูกโม่จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา
๖.๒.๑.๒ ปญอ. ขนาด ๒๐ มม. GUN, AUTOMATIC CAL. 20 MM. M197
ปืนหนึ่งกระบอกมี ๓ ลากล้อง โรเตอหมุนลากล้องทั้ง ๓ ทวนเข็มนาฬิกา ขณะทาการยิง เป็นปืนแบบ
Gathering Gun ปืนยิงครั้งละ ๑ ลากล้อง ที่ตาแหน่ง ๑ นาฬิกา เมื่อมองจากท้ายลากล้องปืน
๖.๒.๑.๓ ปญอ. ขนาด ๒๐ มม. GUN, AUTOMATIC CAL. 20 MM. M61
(T171 E3) ปืนหนึ่งกระบอกมี ๖ ลากล้อง มีโรเตอรหมุนลากล้องทั้ง ๖ ทวนเข็มนาฬิกา ขณะทาการยิง
เป็นปืนแบบ Gathering Gun ปืนยิงครั้งละ ๑ ลากล้อง ที่ตาแหน่ง ๑ นาฬิกา เมื่อมองจากท้ายลากล้อง

๖.๒.๒ ส่วนประกอบของกระสุน ขนาด ๒๐ มม. ประกอบด้วย


๖.๒.๒.๑ ปลอกกระสุน (CARTRIDGE CASES) ปลอกกระสุนแบบ M103 ทา
ด้วยทองเหลืองน้าหนักประมาณ ๐.๒๖ ปอนด์ และปลอกกระสุนแบบ M103A1 ทาด้วยเหล็กน้าหนัก
ประมาณ ๐.๒๖ ปอนด์ ทั้งสองแบบบรรจุดินส่งกระสุนประมาณ 0.085 ปอนด์ ใช้ประกอบเป็นกระสุน
สาหรับปืน M 39 และ M61

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๖

รูปที่ ๔๘ ปลอกกระสุนปืนใหญ่

รูปที่ ๔๙ WC870 (Double Base Propellant)

๖.๒.๒.๒ ดินส่งกระสุน (PROPELLANT) อาจจะเป็นดินฐานเดี่ยวหรือฐานคู่ก็ได้


ดินฐานเดี่ยว (SINGLE BASE) ประกอบด้วยไนโตเซลลูโลสประมาณ ๙๘ เปอร์เซ็นต์ ปกติผลิตเป็นรูป
TUBULAR ที่มีรูเดียว ดินฐานคู่ (DOUBLE BASE) ประกอบด้วยไนโตเซลลูโลส ๗๗-๘๙ เปอร์เซ็นต์และไน
โตรกลี เ ซอริ น ๙-๒๐ เปอร์ เ ซ็ น ต์ ต ามน้ าหนั ก ปกติ ผ ลิ ต เป็ น รู ป ทรงกลมขนาดต่ า ง ๆ ทั้ ง สองแบบยั ง
ประกอบด้วยส่วนผสมทางเคมีอื่นเพื่อลดควันและลดประกายไฟ พร้อมทั้งคงไว้ซึ่งสมรรถนะตลอดเวลา การ
เก็บรักษาภายไต้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงจนถึงการนามาใช้บรรจุในปลอกกระสุน ดินฐานเดี่ยวที่ใช้ใน
กระสุน ขนาด ๒๐ เป็นดิน IMR (Improved Military Rifle) ส่วนดินฐานคู่ที่ปัจจุบันใช้ในกระสุน ขนาด
๒๐ มม. สาหรับปืน M39 และ M61 เรียกว่า Western Ball Propellant

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๗
๖.๒.๒.๓ ลูกกระสุน (PROJECTILE) ทาด้วยเหล็ก จะมีชนวนลูกกระสุน
(FUZE) หรือไม่มี ก็ได้ อาจมีลักษณะเป็นเหล็กตันหรือกลวงเพื่อบรรจุสารเคมีหรือวัตถุระเบิด แล้วแต่
ชนิดของลูกกระสุน สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างกระสุน ขนาด ๒๐ มม.กับกระสุนปืนเล็กก็คือ โครงสร้างของลูก
กระสุน ลูกกระสุนขนาด๒๐มม. ทาด้วยเหล็กแข็ง มี ROTATING BAND ทาด้วยโลหะอ่อน หรือ
พลาสติก เป็นวงแหวนยึดไว้ที่ท้ายรอบลูกกระสุน เมื่อเกิดแรงดันที่ท้ายลูกกระสุน ROTATING BAND จะ
ฝังตัวกับสันเกลียวภายในลากล้องแล้วเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ทาให้ลูกกระสุนหมุนเคลื่อนที่ไปทางปากลากล้อง
และยังทาหน้าที่ปูองกันแก็สที่จะผ่านด้านท้ายของลูกกระสุนออกมาทางปากลากล้อง เพื่อรักษาแรงดันของ
แก็สที่มีต่อลูกกระสุนไว้ จนกว่าลูกกระสุนพ้นปากลากล้อง

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๘

รูปที่ ๕๐ ELECTRIC PRIMER M52A3

๖.๒.๒.๔ ชนวนท้ายปลอกกระสุน PRIMERS, ELECTRIC , M52 A3 &


M52 A3 B1 ชนวนท้ายปลอกกระสุนแบบนี้ จุดตัวด้วยไฟฟ้าประมาณ ๑๖๐ VOLT DC. โดยกระแสไฟฟูา
ผ่านจาก FING PIN ทีต่ ิดกับหน้าของ BUTTON ผ่านเข้าใน CONDUCTIVE PRIMER COMPOSITION ผ่าน
CUP SUPPORT ซึ่งมีความต้านทานระหว่าง ๑,๐๐๐ – ๑.๒ MAGAOHM ให้เกิดประกายไฟไปจุดดิน
ส่งกระสุน การจุดตัวของกระสุนใช้เวลาเท่ากับ หรือน้อยกว่า ๓.๕ มิลลิเซ็คคั่น
๖.๒.๒.๕ ชนวน ( FUZES ) ลูกกระสุน ขันเกลียวอยู่ที่ส่วนปลาย (nose)
ของลูกกระสุนขนาด ๒๐ มม. ใช้กับเปูาหมายเฉพาะเพื่อให้ได้ผลตามที่ต้องการ ชนวนที่ใช้กับลูกกระสุน
ขนาด ๒๐ มม. เป็นชนวนแบบ PD M505 Series (FUZE, POINT– DETONATING M 505 Series)
ชนิด SINGLE- ACTION SUPERQUICK ทางานเมื่อกระทบเปูาหมาย ใช้ดินนาระเบิด แบบ เอ็ม ๔๗ ( M
47 Detonator ) ชนวนแบบ M505A2 PD เมื่อลูกกระสุนวิ่งอยู่ในลากล้องปืนจะอยู่ในลักษณะ
boreSAFE เพราะมีระบบกลไกที่ให้ความปลอดภัย และชนวนลูกกระสุนพร้อมที่จะทางาน (ARMED)
ภายหลังทีล่ ูกกระสุนพ้นจากปากลากล้องปืนไปได้ ระยะทางประมาณ ๑๐ - ๓๕ ฟุต

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๕๙

M 505 A2 M 505 A3

รูปที่ ๕๑ FUZE, POINT DESTINATING, M 505 SERIES


การทางานของชนวนแบบ M505A2 PD ก่อนยิงส่วนของ ROTOR ASSEMBLY ประกอบให้
DETONATOR อยู่ในตาแหน่ง OUT OF LINE กับ FIRING PIN โดยถูกยึดไว้ด้วยขาของ ROTOR
SAFETY SPRING ทาให้เกิดการ BORE SAFE หลังจากยิงปืนแล้ว แรงหนีศูนย์กลาง (CENTRIFUGAL
FORCE) จากการหมุนของลูกกระสุนทาให้ขาของ SAFETY SPRING เคลื่อนที่ ปล่อยให้ ROTOR หมุนนา
DETONATOR M 47 ไปอยู่ตาแหน่ง IN LINE กับ เข็มแทงชนวน และ BOOSTER M 123 เมื่อลูกกระสุน
กระทบเปูา เข็มแทงชนวนไปกระแทก DETONATOR ทาให้ขบวนการจุดระเบิดของลูกกระสุนจุดตัว
ลูกกระสุนจะระเบิดทาลายเปูาหมาย

การทางานของชนวนแบบ M505A3 PD การทางานของชนวนแบบนี้ต่างกับชนวน PD M505A2


ตรงที่ ROTOR SAFETY SPRING เป็นรูปตัวยู (U-SHAPE ROTOR SAFETY SPRING) หลังจากยิงแล้ว
แรงหนีศูนย์กลาง (CENTRIFUGAL FORCE) ทาให้ ROTOR SAFETY SPRING เคลื่อนเข้าร่องเรือนชนวน
ปล่อยให้ ROTOR หมุนนา DETONATOR M 47 ไปอยู่ตาแหน่ง IN LINE กับ เข็มแทงชนวน และ
BOOSTER M 123 เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูา เข็มแทงชนวนไปกระแทก DETONATOR ทาให้ขบวนการ
จุดระเบิดของลูกกระสุนจุดตัว ลูกกระสุนระเบิดทาลายเปูาหมาย

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๐

๖.๒.๓ กระสุนขนาด ๒๐ มม. ที่ใช้กับ ปญอ. ขนาด ๒๐ มม. แบบ M 39 series, M 61 และ M197

รูปที่ ๕๒ กระสุนขนาด ๒๐ มม.

๖.๒.๓.๑ กระสุน ขนาด ๒๐ มม. ชนวนไฟฟูาแบบ TRACER , M50 Series กระสุนส่อง


วิถี ออกแบบสาหรับ บ.ขับไล่โจมตีหรือ บ.ทิ้งระเบิดโจมตี ที่ไม่มีระบบควบคุมการยิงด้วยคอมพิวเตอร์
Tracer ประกอบด้วยตัวจุด ๒ ตัว และTracer element บรรจุอยู่ส่วนท้ายลูกกระสุน การทางานของ
Tracer เมื่อกระสุนถูกยิงไปแล้วแก๊สที่เกิดจากการเผาไหม้ของดินส่งกระสุน จะเผา แผ่นอลูมิเนียมที่ปิด
ส่วนท้ายลูกกระสุนขณะลูกกระสุนอยู่ในลากล้องปืนเป็นการเริ่มจุดดินส่องวิถี เมื่อลูกกระสุนหมุนออกพ้น
จากปากลากล้อง ตัวจุดตัวแรกจะจุดดินส่องวิถีเป็นระยะ ๑๕ หลา หลังจากนั้นตัวจุดตัวที่สองจะจุดตัว ต่อไป
เมื่อลูกกระสุนพ้นปากลากล้องที่ระยะ ๗๕ หลา ขณะที่ตัวจุดตัวที่สองเผาไหม้อยู่นั้น Tracer element
จะจุดตัวและส่องแสงวิถีอย่างน้อย ๑,๕๐๐ หลา
๖.๒.๓.๒ กระสุน ขนาด ๒๐ มม. ชนวนไฟฟูา API – M53 Series กระสุน เจาะเกราะเพลิง
ส่องวิถี ใช้ยิงเปูาหุ้มเกราะซึ่งผลการยิงจะให้ทั้งการทะลุทะลวงและทาให้เกิดเพลิง ต่อเปูาหมาย ลูกกระสุน
แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ลาตัว (BODY) ทาจาก bar alloy steel ส่วนปลายลูกกระสุน ทาด้วย Aluminum
alloy บรรจุ Incendiary composition หนักประมาณ ๘๐ เกรน ไม่มีชนวนลูกกระสุน (FUZE) เมื่อ
ลูกกระสุนกระทบเปูา แรงดันและการเสียดสี จะจุด Incendiary composition ทาให้เกิดเพลิง ลูก
กระสุนถูกดันเจาะเข้าไปในเปูาหมาย
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๑

๖.๒.๓.๓ กระสุน ขนาด ๒๐ มม. ชนวนไฟฟูา


TP (TARGET PRACTICE), M55 Series กระสุนใช้ฝึกยิง
เปู า หรื อ กระสุ น BALLใช้ ใ นการฝึ ก ยิ ง (GUNNERY
TRAINING) หรือยิงทดสอบการยิงอาวุธ (TEST FIRING)
คุณลักษณะลูกกระสุนประกอบด้วย ตัวลูกกระสุน (BODY)
ทาด้วยโลหะกลวง (HOLLOW CAVITY PROJECTILE)
ปลายลู ก กระสุ น แข็ ง (SOLID NOSE) ท าด้ ว ย
Aluminum Alloy ไม่ประกอบชนวนที่ปลายลูกกระสุน
แหวนรัดท้ายกระสุน Rotating band ทาด้วยทองแดง
หรื อบรอนซ์ ประกอบอยู่ ส่ ว นท้ายลู กกระสุน เพราะลู ก
กระสุนกลวงจึงไม่ทาให้เกิดความเสียหายต่อเปูาหมาย
เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูาหมาย

รูปที่ ๕๓ กระสุนฝึกยิง ขนาด ๒๐ มม.

๖.๒.๓.๔. กระสุน ขนาด ๒๐ มม. ชนวนไฟฟูาแบบ TP-T (TARGET PRACTICE TRACER),


M220 กระสุนฝึกยิง ส่องวิถี มีคุณลักษณะคล้ายกับกระสุน M55A2 เพียงแต่บรรจุ Tracer
Element เพิ่มเข้าที่ท้ายลูกกระสุน วัตถุส่องวิถีจะจุดตัวด้วยประกายไฟที่ปากลากล้องและเห็นแสงส่องวิถีที่
ระยะประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร
๖.๒.๓.๕. กระสุนขนาด ๒๐ มม. ชนวนไฟฟูาแบบ HEI M56 Series กระสุนระเบิด-
เพลิง ใช้ในการยิงเครื่องบินและเปูาที่เป็นวัสดุบาง ผลการยิงทาให้เกิดการระเบิดและเพลิง คุณลักษณะ ลูก
กระสุ น ท าด้ ว ยโลหะ น้ าหนั ก ของวั ต ถุ ร ะเบิ ด ประมาณ ๐.๐๓ ปอนด์ ประกอบด้ ว ย Incendiary
composition (MOX-2B) ๐.๒๖ ปอนด์ และ RDX ๐.๐๐๔ ปอนด์ ใช้ปลอกกระสุนแบบ M 103
SERIES ส่วนหนาของท้ายกระสุนประมาณ ๐.๒๑ นิ้ว แผ่นปิดท้ายที่ยึดติดท้ายกระสุนเพื่อความปลอดภัย
จากการจุดตัวของดินส่งกระสุน ใช้ชนวนลูกกระสุนแบบ PD fuze M505A3 ความเร็วต้น 3,300 ฟุต/วินาที
ใช้ชนวนท้ายปลอกกระสุนแบบ Electric primer M52A3 Series การทางานชนวน armed ที่
ระยะ ๑๐-๓๕ ฟุตจากปากลากล้อง เมื่อลูกกระสุน กระทบเปูาหมายชนวนทางาน ลูกกระสุนเกิดการ
ระเบิด ขณะเดียวกันสารที่ทาให้เกิดเพลิงก็จุดตัว และกระจายไปทั่วบริเวณจุดทีล่ ูกกระสุนกระทบเปูา

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๒

รูปที่ ๕๔

๖.๒.๓.๖. กระสุ น ๒๐ มม.


DUMMY, M51 กระสุนฝึกบรรจุ คุณลักษณะเป็น
INERT ทั้งนัด ใช้เฉพาะในการฝึกทดสอบกลไกการปูอน
กระสุนของปืน M39/M61 series ประกอบด้วย ลูก
กระสุน M55 series และปลอกกระสุนM103 บรรจุ
inert solid plastic หนักประมาณ ๐.๐๘๖ ปอนด์
เพื่อไห้มีน้าหนักเท่ากับกระสุน ที่ใช้กับปืน M39/M61
series

รูปที่ ๕๕ กระสุนฝึกบรรจุ ขนาด ๒๐ มม.

๖.๒.๓.๗. กระสุน ๒๐ มม. DUMMY, M254 กระสุ นทาด้วยพลาสติกแบบใหม่


( Nylaglas ) คุณลักษณะ ขนาด น้าหนักและจุดประสงค์การใช้งาน เหมือนกันกับกระสุน M51 A1
dummy กระสุนนี้ มีส่วนประกอบ ๓ ส่วน ลาตัว (Body) ทาด้วย Nylaglas สีเทาอ่อน หัว (Head)
ประกอบด้วย Extractor lip and Groove area และ แกนเหล็ก (Steel core) ยาว ๖ นิ้ว
เพื่อคุมน้าหนักให้เท่ากับกระสุนจริง ผลิตขึ้นใช้กับ ปืน M 39/ M 61

๖.๒.๓.๘ กระสุน ขนาด ๒๐ มม. Target Practice Cartridge, PGU-27/B


กระสุนชนิดนี้ ไม่มีวัตถุระเบิดใน ลูกกระสุน ( Projectile ) ซึ่งทาด้วยอลูมิเนียมอัลลอยด์ มีรูปร่าง และ
คุณสมบัติของวิถีกระสุนเหมือนกับ กระสุน HEI, PGU-28 Series ใช้ในการฝึกยิง การปรับปืน และเพื่อ
ทดสอบอาวุธใหม่ เมื่อลูกกระสุนกระทบเปูาไม่ทาให้เกิดความเสียหายกับเปูานั้น

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๓

รูปที่ ๕๖ PGU – 27/B and PGU – 27 A/B Target Practice Cartridge

๖.๒.๓.๙. กระสุน ขนาด ๒๐ มม. SAP HEI, PGU-28 series กระสุนชนิดนี้ใช้


สาหรับยิง เครื่องบิน หรือเปูาโลหะบาง การทางานของกระสุน เป็นแบบรวมอานาจของกระสุน กึ่งเจาะ
เกราะ ระเบิด และเพลิง ( Semi-armor piercing, High explosive and Incendiary effect ) เข้า
ด้วยกัน ลูกกระสุน ประกอบด้วย Steel Projectile Body, บรรจุด้วย Zirconium Spong , Comp A
and Incendiary mix. ลูกกระสุนมี Rotating Band ทาด้วยทองแดง หนึ่งวง ปลอกกระสุน ใช้ M 103
Cartridge Case ชนวนท้ายปลอกกระสุน ใช้ M 52 A3B1 Electric Primer

รูปที่ ๕๗ PGU – 28/B and 28 A/B Semi – Armor Piercing High Explosive Incendiary

การทางานของกระสุน PGU-28 series เมื่อกระสุนถูกยิงไปแล้ว แรงสะท้อนถอยหลังในลากล้องและการ


หมุนของกระสุนด้วยอัตราความเร็วสูง ทาไห้สาร Incendiary ที่ปลายลูกกระสุนเกิดความหนาแน่นสูง เมื่อ
กระสุนกระทบเปูา เกิดการกระแทก ความกดดันและการเสียดสี ทาให้สาร Incendiary จุดตัว และ ไปจุด
วัตถุระเบิด(COMP. A-4) ที่บรรจุอยู่ในตัวลูกกระสุน ขบวนการระเบิดของวัตถุระเบิดนี้ทาให้ลูกกระสุนแตก
กระจายเป็นสะเก็ด รวมทั้งสารทาไห้เกิดเพลิงกระจายสู่เปูาหมายด้วย

รูปที่ ๕๘ PGU-30/B and PGU-30A/B Target Practice Tracer


ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๔

๖.๒.๓.๑๐. กระสุนขนาด๒๐ มม. TPT, PGU-30 series ลูกกระสุนของกระสุน


PGU-30/B series ลักษณะทั่วไปและการทางาน เหมือนกับลูกกระสุน TP ( PGU-27/B series )ทุก
ประการ ยกเว้นกระสุน PGU-30 บรรจุสารส่องสว่างที่ส่วนท้ายลูกกระสุน ซึ่งจะถูกจุดด้วยเปลวเพลิง
ของดินส่งกระสุนที่ปากลากล้องปืน ทาให้เกิดแสงส่องสว่างเป็นเวลาประมาณ ๒.๕ วินาที ช่วยให้มองเห็น
วิถีกระสุนได้ดีในเวลากลางวัน
๖.๒.๓.๑๑ กระสุน ขนาด ๒๐มม. DUMMY, PGU – 39/B กระสุนชนิดนี้เป็น
Inert ทั้งนัด ใช้สาหรับการฝึกและทดสอบการปูอนกระสุนกับปืนเท่านั้น ประกอบด้วยลูกกระสุน PGU
Series ปลอกกระสุนเหล็ก M103B1 บรรจุ สารพลาสติกหนักประมาณ ๐.๐๘๖ ปอนด์ เพื่อให้กระสุนมี
น้าหนักเท่ากับกระสุน PGU ที่ใช้กับปืน M39/M61

รูปที่ ๕๙ ข้อต่อสายกระสุน M 12 และ M 14

๖.๒.๔ ข้อต่อกระสุนสายกระสุน ขนาด ๒๐ มม. (Links, Disintegrating, 20 MM Cartridges)


แบบ M12, M14, M17 และ M22 series ที่ใช้กับปืน M39/M61 ข้อต่อสายกระสุน (LINK)ใช้สาหรับต่อ
กระสุนขนาด ๒๐ มม.แต่ละนัดเข้าด้วยกันเป็นสายกระสุน (BELT) ชนิดของข้อต่อสายกระสุนขึ้นกับระบบ
การปูอนของอาวุธ สายกระสุนที่ใช้
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๕
๖.๒.๔.๑) ข้อต่อสายกระสุนแบบ M12 เป็นชนิด end loading links ปูอนกระสุนได้ทั้ง
ด้านซ้ายและขวาของปืน M39 series
๖.๒.๔.๒) ข้อต่อสายกระสุนแบบ M14/M22 เป็นชนิด top loading links ข้อต่อแบบ
M14 series ใช้กับ บ.AC-130 gunships ปืน M 197 และปืน M61หรือ M61 Linkless gun system
ส่วนข้อต่อแบบ M22ใช้กับ M61 Linkless gun system เท่านั้น ( ทอ.ไทยไม่มีใช้ )
๖.๒.๔.๓) ข้อต่อกระสุนแบบ M17 เป็นชนิด Top loading links with positioning
taps (front detent) ข้อต่อกระสุนแบบนี้ใช้กับปืน M61 ที่ติดตั้งกับ บ. B-52H

รูปที่ ๖๐ 20MM Link


๖.๒.๕ การทาเครื่องหมาย (MARKING)
กระสุน ๒๐ มม. มีตัวเลขและอักษรเครื่องหมายจาแนกให้รู้ถึงรายละเอียดต่าง ๆ บนส่วนประกอบหลัก
ก่อนที่จะนามารวมเป็นกระสุนพร้อมนัด การจาแนกรายละเอียดของกระสุนดูได้จากข้อมูลที่ทาไว้บนลูก
กระสุนและปลอกกระสุน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๖

รูปที่ ๖๑ Color Coding and Typing Making for 20MM Configuration Ammunition

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๗

รูปที่ ๖๒ Color Coding and Typing Making for PGU Configuration Ammunition

๖.๒.๖ การชารุด เสียหาย ที่เกิดขึ้นกับกระสุนที่ต้องรายงานให้หน่วยเกี่ยวข้องทราบ และดาเนินการแก้ไข


เป็นการบกพร่องของกระสุนตามรูป

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๘

รูปที่ ๖๓ ชื่อ และ ตัวอย่างบันทึกการชารุดของกระสุน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๖๙
๖.๓ กระสุน ๒๓ มม. ชนิด TP.
๖.๓.๑ กระสุนขนาด ๒๓ มม. ชนิด TP เป็นกระสุนปืนใหญ่อากาศ ผลิตที่กรมสรรพาวุธ
ทหารอากาศ กองโรงงานสรรพาวุธ ๒ ใช้กับปืนแบบ GS 23 ซึ่งปืนดังกล่าวติดตั้งกับ บ.ข.ฝ.๑ (L – 39 )

รูปที่ ๖๔ รูปปืนใหญ่อากาศแบบ GS 23

๖.๓.๒ คุณลักษณะทั่วไปของกระสุน ๒๓ มม.


- กระสุนขนาด ๒๓ มม. ใช้กับปืนใหญ่อากาศแบบ GS – 23 และ GS – 23L
- ค่าความเร็วเฉลี่ยปากลากล้อง ( MUZZLE VELOCITY )  15 m/s
- น้าหนักกระสุน ทั้งนัด 326  15 g
- ความยาวกระสุน ทั้งนัด 20  0.5 cm
- ค่าเฉลี่ยการกระจายของกระสุน ฯ ที่ระยะ ๕๐๐ ม.ไม่มากกว่า ๐.๕ ม. ตาม
แนวนอนและ ตามแนวดิ่ง
- ใช้ ดินส่งกระสุนชนิดฐานเดี่ยว รูปทรงกระบอก TUBULAR หลายรู (MULTI
PERFORATE 7 รู ) น้าหนัก ประมาณ ๔๐ กรัม/นัด
- ใช้ชนวนแบบกระทบแตก (PURCUSSION PRIMER)
- เป็นกระสุนที่ใช้ในแถบประเทศยุโรปตะวันออก
๖.๓.๓ ชนิดของกระสุนที่ใช้งานกับปืน GS – 23
๖.๓.๓.๑) OFZ–FRACTION/HIGH EXPROSIVE (HE) เป็นแบบมีสะเก็ด และ
ระเบิดแรงสูง ปลายลูกกระสุนสีแดง ชนวนท้ายสีเงิน และลาตัวลูกกระสุนคาดด้วยสีเหลือง
๖.๓.๓.๒) BZA–ARMOUR PIERCING/INCENDIARY (API) กระสุนเจาะเกราะ
เพลิง ลูกกระสุนสีดา คาดด้วยแถบแดงและขาว
๖.๓.๓.๓) PRL–CHAFF–FLARES กระสุนที่ให้ความร้อนและแสงสว่าง ใช้รบกวน
เรดาห์ของข้าศึกและปูองกันตนเอง ลาตัวลูกกระสุนสีดา คาดด้วยแถบขาว ชนวนท้ายสีเงิน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗๐
๖.๔ กระสุนขนาด ๒๗ มม.
๖.๔.๑ กระสุนปืนใหญ่อากาศ ขนาด 27 มม. X 145 ชนิด DM113 FAP เป็นกระสุนปืนใหญ่อากาศ
ผลิตทีก่ รมสรรพาวุธทหารอากาศ กองโรงงานสรรพาวุธ ๒ ใช้กับปืนใหญ่อากาศ Mauser BK 27 ที่ติดตั้งบน
เครื่องบินขับไล่แบบ Gripen Aircraft ของกองทัพอากาศไทย

๖.๔.๒ คุณลักษณะทั่วไปของกระสุน 27 มม.


- ชนิดของลูกกระสุน : กระสุนปืนชนิดเจาะเกราะ
- ความยาวกระสุนทั้งนัด : 243 มม.
- น้าหนักกระสุนทั้งนัด : 516 กรัม
- น้าหนักลูกกระสุน : 260 กรัม
- ประเภทดินส่งกระสุน : ประเภทดินปืนฐานสาม
- ความเร็วเฉลี่ยปากลากล้อง : 1,025 เมตร/วินาที
- ชนิดวัสดุปลอกกระสุน : เหล็กกล้า
- อัตราการกระจายของกระสุน : 0.5 มิลลิเรเดียน

๖.๔.๓ ความปลอดภัย มีความปลอดภัยในการใช้ การเก็บรักษาและการขนย้าย ตามมาตราฐาน


ผู้ผลิต
๖.๔.๔ ความคงทนและความทนทานต่อการใช้งาน มีความทนทานต่อการใช้งานทุกสภาพอากาศ
๖.๔.๕ ความง่ายในการใช้งานและการบารุงรักษา
๖.๕.๕.๑ เป็นกระสุนมาตรฐานที่ใช้งานได้ทันทีและไม่ทาให้เกิดความเสียหายกับปืนที่ใช้ยิง
๖.๕.๕.๒ เป็นกระสุนสามารถเก็บได้ในอุณหภูมิปกติ

๖.๔.๖ รูปร่างลักษณะและขนาด ตามมาตรฐานผู้ผลิต

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗๑

๖.๔.๗ สีและลวดลาย ตามมาตรฐานผู้ผลิต


๖.๔.๘ คุณลักษณะของวัสดุที่ใช้ในการผลิต ตามมาตรฐานผู้ผลิต
๖.๔.๙ ขั้นตอนการผลิต ตามมาตรฐานของผู้ผลิต

๖.๕ กระสุนขนาด ๓๐ มม. ชนิด TP-T


๖.๕.๑ วัตถุประสงค์ กระสุนขนาด ๓๐ มม. ชนิด TP-T เป็นกระสุนที่ใช้ในราชการกองทัพอากาศ
ผลิตทีก่ รมสรรพาวุธทหารอากาศ กองโรงงานสรรพาวุธ ๒
๖.๕.๒ ขีดความสามารถและสมรรถนะที่ต้องการ เป็นกระสุนขนาด ๓๐ มม. ชนิด TP-T สามารถ
ใช้กับปืนต่อสู้อากาศยานแบบ Mauser Mk.30 model F มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗๒

๖.๕.๓ ความปลอดภัย มีความปลอดภัยในการใช้ การเก็บรักษาและการขนย้าย ตามมาตราฐาน


ผู้ผลิต
๖.๕.๔ ความคงทนและความทนทานต่อการใช้งาน มีความทนทานต่อการใช้งานทุกสภาพอากาศ
๖.๕.๕ ความง่ายในการใช้งานและการบารุงรักษา
๖.๕.๕.๑ เป็นกระสุนมาตรฐานที่ใช้งานได้ทันทีและไม่ทาให้เกิดความเสียหายกับปืนที่ใช้ยิง
๖.๕.๕.๒ เป็นกระสุนสามารถเก็บได้ในอุณหภูมิปกติ
๖.๕.๖ รูปร่างลักษณะและขนาด ตามมาตรฐานผู้ผลิต

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗๓

๖.๕.๗ สีและลวดลาย ตามมาตรฐานผู้ผลิต

๖.๕.๘ คุณลักษณะของวัสดุที่ใช้ในการผลิต ตามมาตรฐานผู้ผลิต

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗๔
๗ คาจากัดความทั่วไปที่ใช้กับกระสุน
๗.๑ AIRMUNITION หมายถึง กระสุน วัตถุระเบิด และอาวุธอุปกรณ์ ทุกชนิดที่ใช้ใน
ภารกิจของกองทัพอากาศ
All ammunition items used in the Air Force are called
airmunition.
Ammunition, Munitions ( N ) military weapons
๗.๒ BLANK AMMUNITION รวมทั้งกระสุนและลูกระเบิด (Practice Bomb) มีคาอธิบาย
ใกล้เคียงกัน บรรจุวัตถุระเบิดแต่ใช้ปริมาณน้อยกว่าอาวุธจริง เป็นกระสุนที่ใช้ฝึกยิงแทนกระสุนจริง ไม่
มีลูกกระสุน ถ้ามีรูปร่างคล้ายลูกกระสุน อาจทาด้วยไม้หรือพลาสติก เพื่อให้พลยิงคุ้นเคยกับ การยิง ,
เสียง, ควัน และ/หรือ ยุทธวิธี
๗.๓ BULLET (ลูกกระสุน) ใช้เรียก ส่วนประกอบของ กระสุน (Cartridge) ที่ใช้ยิงกับปืนเล็ก
ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางลูกกระสุนตั้งแต่ ๐.๖๐ นิ้ว (๑๕.๒๔ มม.) ลงมา เป็นส่วนที่ วิ่งออก จากปาก
ลากล้องปืนไปสู่เปูาหมาย
๗.๔ CALIBER หมายถึง ความกว้างของปากลากล้องปืนโดยประมาณ วัดจากสันเกลียวถึงสัน
เกลียวตรงข้าม หรือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ ลูกกระสุนปืน โดยประมาณ ถ้ากล่าวถึงเรื่องกระสุน
และอาวุธปื น หน่ วยวัดระบบอั งกฤษ CALIBER มีหน่ว ยเป็นนิ้ว การ เขียนจะไม่ใส่ ห น่ว ย เช่น
REVOLVER CAL. .๓๘ SMITH แต่ถ้าหน่วยวัดเป็น ระบบเมตริก CALIBER มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร
เมื่อเขียนต้องใส่หน่วย เช่น AUTOMATIC GUN CAL. ๒๐ MM. M 39 A3 เป็นต้น
๗.๕ CARTRIDGE กระสุนนัดสมบูรณ์หรือกระสุนครบนัด ( complete round )
ซึ่งสามารถยิงด้วยมือ หรือประทับไหล่ยิง หรือใช้ยิงกับปืนกลภาคพื้นและ ปืนกลอากาศ
๗.๖ complete round คือกระสุน ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบที่สาคัญ เพื่อ
ใช้ในการยิงกับอาวุธ ได้แก่ BULLET, PPOPELLANT, PRIMER and CARTRIDGE CASE
๗,๗ COOK OFF เกิดจากอาวุธยิง ที่ผ่านการยิงติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งรังเพลิง
สะสมความร้อนไว้สูงมาก เมื่อกระสุนถูกปูอนเข้ารังเพลิง Primer จะจุดตัวก่อนที่จะปิดท้ายรังเพลิง
๗.๘ DEEP BULLET or SHORT BULLET กระสุนสั้น เป็นลักษณะการชารุดของกระสุน คือ
กระสุนที่ ลูกกระสุน หลุดจากการเม้มของ Cannelure กับ lip (ปากปลอกกระสุน) ทาให้ลูกกระสุน
ยุบตัวเข้ามาในปลอกกระสุน จะยุบมากหรือยุบน้อย ก็เรียกว่ากระสันสั้น
๗.๙ DEEP CUT หรือ SEASON CRACK เป็นลักษณะการชารุดของกระสุน มี รอยขีดลึกที่
ปลอกกระสุน หรือ ลูกกระสุน
๗.๑๐. DRILL AMMUNITION ทั้งกระสุนและลูกระเบิด (Drill Bomb) มีคาอธิบายใกล้เคียงกัน
เป็นวัตถุระเบิดที่ไม่มีอันตราย ถึงแม้จะมี ขนาด รูปร่าง น้าหนัก เท่าของจริง แต่ก็บรรจุด้วยสาร INERT ใช้
สาหรับฝึกการบรรจุ การติดตั้ง(Load ) การเล็ง การยิง การเลิกบรรจุ หรือการเลิกติดตั้ง(Down Load )
๗.๑๑ DUD กระสุนด้าน เป็นกระสุนที่ชนวนท้ายปลอกกระสุน กระสุน (Primer) ถูกตีหรือถูก
กระแทกด้วยเข็มแทงชนวนแล้ว แต่ชนวนท้ายปลอกกระสุนไม่จุดตัว หรือ เรียกว่า MISS FIRE = DUD
๗.๑๒ GAUGE ใช้เรียกขนาดของ กระสุนปืนลูกซอง (SHOTGUN AMMUNITION)
GAUGE กาหนดวัดโดยการแบ่งตะกั่วน้าหนัก ๑ ปอนด์ เป็นลูกกลมเล็ก ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่า ๆ กัน
ได้จานวนเท่าไร เรียกกระสุนนั้นว่าเก็จ เท่ากับจานวนลูกกระสุนที่แบ่งได้ ตัวอย่างเช่น ใช้ตะกั่วหนัก ๑
ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗๕
ปอนด์ แบ่งเป็นลูกกลมเล็ก ๆ ขนาดเท่า ๆ กัน เส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๗๒๙ นิ้วได้จานวน ๑๒ ลูก เรียก
กระสุนนี้ว่า กระสุนปืนลูกซอง ๑๒ GAUGE ยกเว้นลูกกระสุนปืนลูกซอง .๔๑๐ GAUGE ซึ่งออกแบบความ
กว้างปากลากล้องปืน เป็นนิ้ว
๗.๑๓. HANG FIRE เป็นกระสุนที่ชนวนท้ายปลอกกระสุน (Primer) จุดตัวช้ากว่าปกติ
เมื่อ ชนวนท้ายปลอกกระสุนถูกตีหรือถูกกระแทก ด้วยเข็มแทงชนวน และ/ หรือไฟฟูาผ่านแล้ว แต่ชนวน
ท้ายปลอกกระสุนไม่จุดตัวทันที จุดตัวช้ากว่าปกติ เรียกว่ากระสุนเกิดอาการ Hang Fire หรือ แป๊ะ-ปัง
ข้อควรระวัง เมื่อเกิด HANG FIRE เป็นอันตรายต่อ พลยิงและบุคคลรอบข้างอย่างมาก พลยิง
ต้องอยู่ในท่ายิง คอยประมาณ ๑๐ วินาที หรือ นับ ๑ –๑๐ แล้วจึงเปิดรังเพลิง
๗.๑๔ HEAD ส่ ว นหนาของฐานตั ว ปลอกกระสุ น ประกอบด้ ว ย EXTRACTING
GROOVE, PRIMER POCKET และ PRIMER VENT or FLASH HOLE
หมายเหตุ ส่วนประกอบ ๔ ส่วนของกระสุน คือ ลูกกระสุน (Bullet or Projectile ) ดินส่งกระสุน
( Propellant ) ชนวนท้ายปลอกกระสุน( Primer ) และปลอกกระสุน ( Cartridge case) ไม่มี
ส่วนประกอบของลูกกระสุน ที่แปลมาจากคาว่า Head ฉะนั้น BULLET หรือ PROJECTILE จึงควร
เรียกว่า ลูกกระสุน ไม่ใช่เรียกว่า หัวกระสุน
๗.๑๕ LOOSE BULLET เป็นลักษณะการชารุดของกระสุน คือลูกกระสุนหลวม ลูก
กระสุนไม่ยึดแน่นกับปากปลอกกระสุน สามารถหมุนลูกกระสุนได้ เนื่องจาก LIP ไม่ยดึ กับ CANNELURE
๗.๑๖ LOOSE FUZE (HE) เป็นลักษณะการชารุดของกระสุน คือชนวนลูกกระสุนหลวม
รวมทั้งการ LOOSE FUZE CAP สาหรับลูกกระสุนที่บรรจุ วัตถุระเบิดแรงสูง
๗.๑๗ LOOSE NOSE PLUG เป็นลักษณะการชารุดของกระสุน คือ ส่วนที่ใช้ขันแทนชนวน
ลูกกระสุนในกระสุนบางแบบ หลวม
๗.๑๘ MILLIMETER (มิลลิเมตร) เป็นหน่วยบอกขนาดของลูกกระสุน (เส้นผ่าศูนย์กลาง
ของลูกกระสุน) หรือบอกความกว้างปากลากล้องปืน โดยวัดจากสันเกลียวถึงสันเกลียวตรงข้าม
๗.๑๙ MUNITIONs หมายถึง กระสุน วัตถุระเบิด และ อาวุธ อุปกรณ์ทุกชนิด ที่ใช้ใน
ภารกิจทางทหาร
๗.๒๐ PROJECTILE (ลูกกระสุน) ใช้เรียก ส่วนประกอบของ กระสุน ( Cartridge) ที่ใช้ยิง
กับปืนใหญ่ ซึง่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางลูกกระสุน โตกว่า ๐.๖๐ นิ้ว (๑๕.๒๔ มม.) เป็นส่วนที่ วิ่งออก จาก
ปากลากล้องปืนไปสู่เปูาหมาย
๗.๒๑ ROUND หมายถึงกระสุนซึ่งมีส่วนประกอบ ที่จาเป็นครบนัด ( Complete
Round ) สามารถยิงด้วยอาวุธปืนได้ทันที บางโอกาสใช่เป็นหน่วยนับ เป็น นัด
๗.๒๒ RUN AWAY GUN จะเกิดขึ้นกับปืนที่ใช้ยิงเป็นอัตโนมัติได้ เนื่องจากเครื่องกลไกชารุด
เช่นกระเดื่องไกหัก หรือลากล้องร้อนมาก ปืนจะยิงเป็นชุดได้เองหลังจากพลยิงหยุดยิงแล้ว
๗.๒๓ SERVICE LIFE ระยะเวลาที่ใช้งานวัตถุนั้น ยังคงเหลือไว้ในการจ่ายใช้งาน
๗.๒๔ SHELF LIFE ระยะเวลาที่เก็บรักษาวัตถุนั้น ยังคงเหลือจากการเก็บรักษาในหีบห่อ และ
ตามเงื่อนไขของคลังเก็บ วันหมดอายุการเก็บรักษาจะกาหนดเป็นวันสุดท้ายของเดือน
๗.๒๕ SHELL ใช้เรียกกระสุนพร้อมนัดบางชนิด เช่น กระสุนปืนลูกซอง (SHOTGUN
SHELL) กระสุนเครื่องยิงลูกระเบิด หรือเรียกว่า กระสุน ค. (MORTAR SHELL)
๗.๒๖ SPLIT NECK เป็นลักษณะการชารุดของกระสุน คือ กระสุนที่ปากปลอกกระสุน มี
รอยแตกตามแนวความยาวบริเวณ NECK

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐
กระสุน ๗๖
๘. เอกสารอ้างอิง
T.O. 11A8-2-1
T.O. 11A13-4-7
T.O. 11A13-9-7
T.O. 11A13-10-7
T.O. 11A13-14-7
AMMUNITION FOR AIRCRAFT GUNS T.O. 11A-1-39
TECHNICAL MANUAL 30MM X173 AMMUNITION
GS 23 GUN ,AERO VODOCHODY
NAVAIR 11-95M60-1
HANDBOOK ON WEAPONRY Second English Edition 1982
By Rheinmetall GmhB Dusseldorf

Kroo Choo

ถึงจะสูงเทียมฟูา อย่าดูถกู
ครูเคยปลูกวิชา มาแต่หลัง
ศิษย์ไร้ครูอยู่ได้ ไม่จีรัง
อย่าโอหังคิดหลู่ ครูของตน

ฉบับปรับปรุงเมื่อปี ๖๐

You might also like