You are on page 1of 37

วัตถุระเบิ ดทางทหาร

บทที่ ๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัตถุระเบิดทางทหาร
๑. กล่าวทั่วไป
สารระเบิด ( EXPLOSIVE SUBSTANCE )หมายถึ งของแข็ งของเหลวหรื อสารผสมที่ ส ามารถ
เกิดปฏิกิริยาเคมีโดยตัวเอง แล้วให้ก๊าซเมื่อถึงอุณหภูมิและความดันหนึ่งจะเกิดการระเบิดจนก่อให้เกิด
ความเสียหายต่อพื้นที่โดยรอบ
รูปที่ ๑.๑ ตัวอย่างวัตถุระเบิดชนิดต่างๆ

ดินดาเม็ด ดินส่งกระสุน

Solid Propellant Trinitrotoluene

วิชานี้ในบทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัตถุระเบิดทางทหาร กล่าวถึง ประวัติ ความหมายและ


องค์ประกอบของวัตถุระเบิด การจาแนกประเภทวัตถุระเบิด ขบวนการวัตถุระเบิด วิธีบรรจุ และคานิยามศัพท์
บทที่ ๒ ประเภทวัตถุระเบิดทางทหาร ได้แก่
- วัตถุระเบิดแรงต่า ( ดินส่งกระสุน เช่น ดินดา, ดินควันน้อย ฯลฯ และดินขับจรวด)
- ข้อพึงประสงค์ของวัตถุระเบิดสาหรับใช้ในราชการทหาร
- คุณสมบัติที่สาคัญบางประการของวัตถุระเบิด
- วัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวมาก (PRIMARY HIGH EXPLOSIVE) ดังนี้ ดินกรดปรอท
(MERCURY FULMINATE), LEAD AZIDE, LEAD STYPHNATE, DINOL (DDNP), TETRAZENE
- วัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวลดลง (SECONDARY HIGH EXPLOSIVE) เช่น TNT, TETRYL,
AMATOL, PETN, RDX, COMPOSITION C, HMX, PBX (Plastic Bond Explosives)
- ลักษณะพิเศษของวัตถุระเบิด เช่น ดินโพรง (SHAPED CHARGE)
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒

๒. ประวัติ
๒.๑ ประวัติตอนต้น ๆ ของวัตถุระเบิด ไพโรเทคนิค และจรวด ยังเป็นที่เคลือบแคลงสงสัยอยู่
แต่อย่างไรก็ตามพอจะทราบเป็นสังเขปคือ ช่วง ค.ศ.๑๒๕๔ - ๑๓๒๓ มาโคโปโล เดินทางกลับจากประเทศจีน
มาถึงยุโรป ทาให้ยุโรปรู้จักดินดา (BLACK POWDER) เข้าใจว่า มาโคโปโล นาดินดาเข้ามายังยุโรป ดินดามีการ
เผาไหม้รุนแรง ต่อมาได้ใช้ดินดาเป็นดินปืน (GUN POWDER) ชาวจีนได้เรียนรู้การใช้ดินดาอย่างรวดเร็วใช้เป็น
ดินส่งกระสุน และดินขับจรวดในสมัยนั้นเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นชาวจีนยังใช้ดินดาในพิธีต่างๆ เช่นทาประทัด
(FIRE CRACKER) สรุปว่า ชาวจีนได้รู้จักดินดาเป็นชาติแรกของโลก
๒.๒ ชาวกรีกค้นพบไพโรเทคนิค ประเภทไฟพะเนียง (FIRE POT) โดยบรรจุส่วนผสมของน้ามันดิน
(PITCH), กามะถัน (SULPHUR), ดินประสิว (POTASSIUM NITRATE) และ น้ามัน (OIL) แล้วต่อด้วยสายเชือก
ชุบน้าซึ่งผสมดินประสิว (SALTPETER) ใช้เป็นสายชนวนเผาไหม้ช้าๆ ส่วนผสมทั้งหมดบรรจุในหม้อดินเผา เมื่อ
จุดสายชนวนแล้วโยนด้วยมือ หรือแขวนไว้ก็ได้
๒.๓ ดินปืน GUN POWDER เป็นต้นแบบของวัตถุระเบิด (EXPLOSIVE) แต่โบราณ พระชาวโรมัน
คาธอลิก ชื่อ โรเจอร์ ได้อธิบายไว้ในปี ค.ศ.๑๒๔๒ เป็นภาษา LATIN ซึ่งแปลได้ความว่าเมื่อนาดินประสิว ๗
ส่วน ไม้แห้ง ๕ ส่วน กามะถัน ๕ ส่วน มาผสมกันและจุดจะทาให้เกิดเสียงดัง (THUNDER) แต่เขาไม่ได้ค้นพบ
GUN POWDER ต่อมามีอีกหลายคนได้อธิบายเกี่ยวกับ GUN POWDER เช่น BERTHOLD SCHWARZ
๒.๔ ในช่วงศตวรรษ ๑๙ วิชาอินทรีเคมีก้าวหน้ามาก มีการค้นพบองค์ประกอบของต้นแบบวัตถุ
ระเบิด เช่น ไนโตรเซลลูโลส ไนโตรกลีเซอรีน กรดพิกริด ดินกรดปรอท สิ่งใหม่ๆ เหล่านี้เป็นส่วนประกอบ
วัตถุระเบิด ซึ่งยังไม่มีความเสถียร (UNSTABLE) มีอุบัติเหตุกับโรงงานและคลังเก็บบ่อย ๆ โนเบล (NOBEL)
เป็นผู้ทราบวิธีการผสมไนโตรกลีเซอรีน ทฤษฎีของไนโตรเซลลูโลส และไนโตรกลีเซอรีน ซึ่งเป็นของเหลวที่มี
อันตรายมากในการเคลื่อนย้ายและจับถือ และค้นพบวิธีทาไนโตรกลีเซอรีนให้แห้งโดยใช้ดินส้ม (KEISELGUHR)
ทาเป็นผิวแห้งซึมซับไนโตรกลีเซอรีน เรียกชื่อว่า “ไดนาไมท์” (DYNAMITE) ยุคแรก ๆ ไดนาไมท์ เป็นวัตถุ
ระเบิดชนิดเป็นแท่งใช้ในงานทาลายทั่วไป ต่อมามีการพัฒนาให้ดีขึ้นโดย ใช้ ขี้เลื้อย ฝ้าย สาลี ผ้าสาลี เป็นตัว
ดูดซับไนโตรกลีเซอรีน DYNAMITE มีหลาย GRADE ขึ้นอยู่กับความเข้มหรือเปอร์เซ็นต์ของไนโตรกลีเซอรีน
จากนั้นประมาณ ๒๐ ปี (ค.ศ. ๑๘๘๘) เขาได้ค้นพบวัตถุระเบิดชนิดเผาไหม้ช้า เหมาะที่จะใช้ทาดินส่งกระสุน
โดยผสม NITROCELLOLOSE กับ NITROGLYCERINE และตั้งชื่อว่า BALLISTITE ซึ่งเป็นการคิดค้นดินขับ
หรือดินส่งกระสุนสองฐานขึ้นเป็นครั้งแรก ต่อมา ค.ศ. ๑๘๘๙ ABEL และ DEWAR ได้ศึกษา BALLISTITE
จนกระทั่งพัฒนาให้มีกาลังเพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม เรียกชื่อใหม่ว่า CORDITE
๒.๕ วัตถุระเบิดหลักที่บรรจุอยู่ในกระสุนปืนใหญ่ แต่เดิม (ค.ศ. ๑๒๕๔ - ๑๓๒๓) ใช้ดินดาหรือ GUN
POWDER และได้พัฒนามาใช้ BALLISTITE จนกระทั่งถึง CORDITE ประมาณ ค.ศ. ๑๙๐๐ ต้น ๆ ใช้ LYDDITE
หรือกรดพิคริกผสม ต่อมาในปี ค.ศ. ๑๙๑๔ ได้เปลี่ยนจาก กรด PICRIC เป็น TNT. หรือ AMATOL
๒.๖ การระเบิดของวัตถุระเบิดทั้งหมด เป็นการระเบิดทางเคมี (CHEMICAL EXPLOSION ) พลังงาน
ที่ปลดปล่อยออกมา PRESSURE GAS จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับน้าหนักของวัตถุระเบิด ไม่ทาให้อะตอมของ
สารเปลี่ยนแปลง (NUMBER ATOM)
๒.๗ การเริ่มศักราชใหม่ของวัตถุระเบิดคือ ระเบิดปรมาณู (ATOMIC BOMB) เป็นความรู้เกี่ยวการ
ระเบิดของระเบิดปรมาณู เป็นการปลดปล่อยพลังงาน เปลี่ยนโครงสร้างอะตอมของ NUCLEUS ให้ใหญ่ขึ้นมาก
ให้พลังงานมากกว่าวัตถุระเบิดที่มีการระเบิดทางเคมี (CHEMICAL EXPLOSION) ลูกระเบิดปรมาณูเป็นเรื่องที่
เกี่ยวกับ NUCLEAR POWER ในปี ค.ศ.๑๙๔๕ มีการทดลองระเบิดปรมาณูครั้งแรกในรัฐ New Mexico,
USA.
ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓

๓. แหล่งที่มาของสารผลิตวัตถุระเบิด (DERIVATION OF EXPLOSIVE)


๓.๑ EXPLOSIVE FROM “OILS AND FATS” (วัตถุระเบิดมาจากแหล่งน้ามันและไขมัน) ซึ่งเป็นฐาน
ของ GLYCERIN ของเหลวสีเจือจางผสมกับกรดดินประสิว (NITRIC ACID) จะได้ “NITROGLYCERIN” เป็น
วัตถุระเบิดเหลวที่มีอันตรายมาก ในการหยิบยก ขนย้ายถ้านาสารอื่นมาดูดซับให้แห้ง ทาเป็นวัตถุระเบิดชนิด
แข็งได้ เช่น DYNAMTITE, BLASTING GELATINE ยังทาวัตถุระเบิดอื่นๆได้หลายชนิด
๓.๒ EXPLOSIVE FROM COTTON (วัตถุระเบิดมาจากฝ้ายหรือสาลี ) สารเคมีชื่อ CELLULOSE อยู่
ในฝ้ายหรือสาลีหรือในไม้เกือบทุกชนิด ถ้านา CELLULOSE มาผสมในกรดดินประสิว (NTRIC ACID) จะได้
NITROCELLULOSE และถ้านา NITROCELLULOSE ผสมกับ NITROGLYCERIN ใช้เป็นส่วนผสมหลักทั้งคู่จะ
ได้วัตถุระเบิด CORDITE, BALLISTITE หรือเรียก ดินฐานคู่ ( DOUBLE BASE)
๓.๓ EXPLOSIVE FROM COAL (วัตถุระเบิดมาจากถ่านหิน) ANILIN + PHENOL + TOLUENE
สารเคมี ๓ ชนิด รวมกันเรียกว่า “TREECOAL-TAR PRODUCT” ซึ่งเป็นฐานหลักของการผลิตวัตถุระเบิดแรง
สูง ANILIN เป็นฐานหลักของ TETRYL ส่วน PHENOL เป็นฐานหลักของ PICRIC ACID (LYDDITE) ส่วน
DINITRO PHENOL AND SHELLITE กับ TOLUENE เป็นฐานหลักของ TNT หรือ TETRYL สารอื่น ๆ ที่ผสม
ในวัตถุระเบิดเป็นสารสาคัญรอง ๆ ลงมาไม่กล่าวถึง คงกล่าวถึงฐานหลักอย่างเดียว (BASE)

๔. การระเบิด (EXPLOSION)
การระเบิด (EXPLOSION) คือ การสลายตัวอย่างรวดเร็วและรุนแรงทันทีทันใด ทาให้เกิดก๊าซจานวน
มหาศาล ให้ความร้อนสูง ให้อานาจการผลักดันรอบตัว ชนิดของการระเบิด (TYPE OF EXPLOSION) แบ่งเป็น
๓ ชนิด
๔.๑ การระเบิดทางกล (MECHANICAL EXPLOSION) หมายถึงการระเบิดธรรมดาของหม้อต้มน้า
หรือกาต้มน้าโดยเมื่อน้าในภาชนะที่ต้มเดือด ไอระเหยของน้าระบายออกไม่ทัน (ช่องระบายเล็กหรือปิด หรือไม่
มีลิ้นนิรภัย) ความดันที่เกิดจากไอน้าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนกระทั่ง ถึงจุดๆหนึ่งซึ่งวัสดุหรือโครงสร้างของภาชนะ
นั้นไม่สามารถทนต่อแรงดันได้จะระเบิดขึ้น ฉะนั้นการระเบิดทางกล จึงมีความจาเป็นจะต้องใช้ภาชนะเป็นสิ่ง
บรรจุและมีความดันเป็นต้นเหตุให้เกิดการระเบิด
๔.๒ การระเบิดทางเคมี (CHEMICAL EXPLOSION) ได้แก่การระเบิดของวัตถุระเบิดทางทหาร ซึ่ง
เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นระหว่างเชื้อเพลิง และสารที่ทาให้เกิดออกซิเจน (OXIDIZER) เนื่องจากมีแรงกระตุ้น จาก
ภายนอกมาทาให้เกิดปฏิกิริยา ซึ่งจะสลายตัวเป็นก๊าซที่มีปริมาณมากกว่าปริมาณเดิมอย่างมากมาย ยังผลให้
เกิดแรงดันขึ้นอย่างฉับพลันและความร้อนสูง
๔.๓ การระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ (ATOMIC OR NUCLEAR EXPLOSION) คือการระเบิดที่เกิดจาก
ปฏิกิริยาที่ใจกลางของปรมาณูอะตอม ที่เรียกว่านิวเคลียร์ ได้แก่ การระเบิดของระเบิดปรมาณู ระเบิด
ไฮโดรเจน และระเบิดนิวตรอน
๕. ความหมาย
วัตถุระเบิด (EXPLOSIVE) คือ สารชนิดหนึ่ง เมื่อมีสิ่งที่เหมาะจากภายนอกมาจุ ดจะสลายตัวเป็นก๊าซ
อย่างรวดเร็วทันทีทันใด และส่งกาลังผลักดันอย่างรุนแรงต่อสิ่งห้อมล้อม โดยฉับพลันพร้อมกับให้ความร้อน
ออกมาอย่างมากมายด้วย
เมื่อวัตถุระเบิดเกิดการสลายตัวขึ้น ในกรณีที่เป็นวัตถุระเบิดแรงสูง จะเกิดผลหรืออันตรายดังนี้
๕.๑ แรงกระแทกและคลื่นการสั่นสะเทือน BLAST AND SHOCKWAVE
ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๔

- แรงผลักดัน ๑๐๐ - ๔๐๐ ตัน / ตารางนิ้ว หรือ ๑ - ๔ ล้านปอนด์ / ตารางนิ้ว


๕.๒ ความร้อน (HEAT)
- ให้ความร้อนสูง ๓,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ºC.
๕.๓ แรงดูดหรือแรงกระแทกกลับ (SUCTION OR NEGATIVE BLAST)
๕.๔ สะเก็ดระเบิด (FRAGMENTATION)
- ความเร็วของสะเก็ดระเบิดเทียบเท่ากระสุนปืนเล็กประมาณ ๖,๐๐๐ ฟุต / วินาที
๖. องค์ประกอบของวัตถุระเบิด
สารที่นามาประกอบเป็นวัตถุระเบิด แบ่งเป็น
๖.๑ สารประกอบ (COMPOUND) คือ สารใดๆ รวมกันในทางเคมีมากกว่า ๒ ธาตุขึ้นไป หมายถึงการ
นาธาตุมารวมกันอย่างเป็นเนื้อเดียวกันจนไม่อาจแยกให้เป็นธาตุเดิมได้ เช่น TNT
๖.๒ ธาตุแท้ คือ ธาตุที่ไม่สามารถแยกออกเป็นธาตุอื่น ๆ อีกได้ เช่น เหล็ก, อลูมิเนียม ฯลฯ
๖.๓ สารผสม (MIXTURE) คือ ธาตุแท้หรือสารประกอบรวมกันตั้งแต่ ๒ สิ่งขึ้นไป ไม่มีการแปรธาตุ
ทางเคมี สารผสมสามารถแยกออกจากกั นได้ในทางกล เช่น ผงตะไบเหล็กกับผงถ่าน (ใช้แท่งแม่เหล็กเป็นตัว
แยกออก), ดินดา
สถานะของวัตถุระเบิด มี ๓ สถานะ เป็นของแข็ง เช่น ดินระเบิด , TNT, SMOKELESS POWDER,
BLACK POWDER เป็นของเหลว เช่น ไนโตรกลี เซอรีน (NITROGLYCERINE) เป็นก๊าซ เช่น ไอระเหยสารที่
ไวไฟ เช่น น้ามันเบนซินหรือก๊าซหุงต้ม
สิ่งที่เหมาะหรืออิทธิพลจากภายนอกที่อาจจะทาให้วัตถุระเบิดจุดตัว ได้แก่
๑. ความร้อน
๒. การเสียดสี, การกระแทก
๓. เปลวเพลิง, ประกายเพลิง
๔. การสั่นสะเทือน
๕. ไฟฟ้า

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๕

รูปที่ ๑.๒ องค์ประกอบวัตถุระเบิดทางทหาร


๗. การจาแนกประเภทวัตถุระเบิด
การใช้งานจาแนกตามรูปแผนผัง แบ่งเป็น
๗.๑ วัตถุระเบิดแรงต่า (LOW EXPLOSIVE)
๗.๑.๑ ใช้เป็นดินส่งกระสุน เช่น ดินดา, ดินควันน้อย ฯลฯ และดินขับจรวด
๗.๑.๒ ไพโรเทคนิค เช่น สัญญาณต่าง ๆ
๗.๒ วัตถุระเบิดแรงสูง (HIGH EXPLOSIVE)
๗.๒.๑ เป็นส่วนบรรจุหลัก (BURSTING CHARGE OR MAIN CHARGE) ในหัวรบทุกชนิด, ลูก
กระสุน และลูกระเบิดชนิดต่าง ๆ เช่น TNT, HMX
๗.๒.๒ ดินนาระเบิด (DETONATOR) เช่น TETRYL
๗.๒.๓ ดินเริ่ม (PRIMER) เช่น ดินกรดปรอท (MERCURY FUMINATE), ตะกั่วอะไซด์ (LEAD
AZIDE)
๗.๒.๔ ดินระเบิดที่ใช้ในการทาลาย (DEMOLITION) เช่น ไดนาไมท์, ดินดา

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๖

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๗

๘. ขบวนการวัตถุระเบิด (EXPLOSIVE TRAINS)


ขบวนการวัตถุระเบิด คือ การเรียงลาดับวัตถุระเบิดเพื่อที่จะจุดตัว โดยเริ่มเรียงจาก วัตถุระเบิดชนิดที่
มีความไวมาก (จานวนน้อย) ไปหาวัตถุระเบิดชนิดที่มีความไวน้อย (จานวนมาก) แบ่งออกเป็น ๒ จาพวก คือ
๘.๑ ขบวนการวัตถุระเบิดแรงต่า (LOW EXPLOSIVE TRAINS)
ขบวนการวัตถุระเบิดแรงต่าประกอบด้วยวัตถุระเบิดอย่างน้อย ๒ ชนิด คือ ดินเริ่ม (PRIMER)
และดินส่งกระสุน (PROPELLING CHARGE) หรืออาจจะเพิ่มวัตถุระเบิดชนิดอื่น ๆ เข้าไป เพื่อให้มีผลการจุด
ตัวที่ดีขึ้น เช่น ดินทวีเพลิง (IGNITER)

รูปที่ ๑.๓ ขบวนการวัตถุระเบิดแรงต่า

๘.๒ ขบวนการวัตถุระเบิดแรงสูง (HIGH EXPLOSIVE TRAINS)


ขบวนการวัตถุระเบิดแรงสูงประกอบด้วยวัตถุระเบิดอย่างน้อย ๓ ชนิด คือ ดินเริ่ม (PRIMER)
ดินนาระเบิด (DETONATOR) และดินส่วนบรรจุหลัก (MAIN CHARGE) ถ้าเป็นลูกระเบิดขนาดใหญ่ จะต้อง
เพิ่มดินขยายการระเบิด (BOOSTER) เข้าไปในระหว่างดินนาระเบิด และดินส่วนบรรจุหลักด้วยเพื่อให้การจุด
ตัวสมบูรณ์ยิ่งขึ้น หรืออาจจะเพิ่มวัตถุระเบิดชนิดอื่นๆประกอบเข้าไปเพื่อให้ได้คุณสมบัติตามต้องการ เช่น ดิน
ถ่วงเวลา (DELAY) แบ่งออกเป็น ๒ แบบ คือ
๘.๒.๑ แบบจุดตัวทันทีทันใด (INSTANTANEOUS)

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๘

๘.๒.๒ แบบจุดตัวโดยการถ่วงเวลา (DELAY)

รูปที่ ๑.๔ ขบวนการวัตถุระเบิดแรงสูง


๘.๓ FUZE EXPLOSIVE TRAIN ประกอบด้วย Primer, Detonator, Delay, Relay, Lead and
Booster Charge.
๘.๔ PYROTECHNIC EXPLOSIVE TRAIN
ประกอบด้วย Initiator (Primer), Expelling Charge, Delay Element, Propelling Charge and
Pyrotechnic charge.

๙. วิธีบรรจุวัตถุระเบิด (METHODS OF LOADING)


วิธีบรรจุวัตถุระเบิดมี ๔ วิธี คือ
๙.๑ โดยการหลอมเท (CAST) คือการทาให้วัตถุระเบิดนั้นละลายแล้วเทกรอกลงไปในเปลือกของวัตถุ
ระเบิดที่สะอาด วัตถุระเบิดที่บรรจุโดยวิธีนี้ได้แก่ TNT, TRITONAL, COMP B.
๙.๒ โดยการใช้เครื่องมืออัด (HYDRAULIC PRESSED) ได้แก่ วัตถุระเบิดที่เป็นเม็ดเล็ ก ๆเคลือบผิว
เทกรอกเข้าไปในเครื่องอัดให้แน่น ใช้เครื่องมือทางไฮดรอลิคอัดวัตถุระเบิด ได้แก่ TETRYL, PETN, RDX.
๙.๓ โดยการเท (POURING) วิธีนี้ไม่ใช้เครื่องมือ เพียงแต่เทวัตถุระเบิดเข้าไปแล้วใช้มืออัดให้แน่น
วัตถุระเบิดที่ใช้วิธีนี้ ได้แก่ AMMONAL, COMPOSITION C-4, ดินส่งกระสุนบางชนิด
๙.๔ โดยการอัดรีด (EXTRUDED, BLOCK FITTED) การบรรจุโดยวิธีนี้ต้องทาให้วัตถุระเบิดอ่อนตัว
หรือละลาย และใช้แรงดันอัดเข้าไปในเปลือกลูกระเบิด ได้แก่ EXPLOSIVE D, AMATOL
๑๐. ลักษณะอันพึงประสงค์ของวัตถุระเบิดทางทหาร
วัตถุร ะเบิ ดที่ใช้ ในกิจ การทางทหารชนิด ต่าง ๆ นั้นจะมี ลั กษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งเป็นมาตรฐาน
เดียวกัน ดังนี้
๑๐.๑ ราคาถูก (COST) ผลิตจากวัสดุที่หาง่าย และมีความปลอดภัยในการผลิต

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๙

๑๐.๒ มีความคงทนถาวรทางเคมี (CHEMICAL STABILITY) ในทางเคมีวัตถุระเบิดต้องไม่ทาปฏิกิริยา


กับวัสดุที่ใช้บรรจุ
๑๐.๓ มีความคงทนถาวรทางกล (MECHANICAL STABILITY) วัตถุระเบิดต้องสามารถทนต่อแรง
ต่าง ๆ ที่จะทาให้เกิดการประทุได้ในระดับหนึ่ง
๑๐.๔ มีอานาจการผลักดัน (BLAST) และการทาลายสูง
๑๐.๕ มีอานาจการฉีกขาด (BRISSANCE) และการแตกละเอียดได้ดี
๑๐.๖ มีความไว (SENSITIVITY) ต่อสิ่งที่เหมาะสม (ในการจุดตัว)
๑๐.๗ อัตราเร็วในการสลายตัว (RATE OF DETONATION) สม่าเสมอ หมายถึง ความเร็วของคลื่น
การระเบิดจนสลายตัวไปหมดทั้งขบวนจะต้องสม่าเสมอเท่ากันไปตลอด
๑๐.๘ ไม่ดูดความชื้น (NON HYGROSCOPIC) จากไอน้าในอากาศได้ดี
๑๐.๙ วัตถุระเบิดทางทหารที่ดี จะต้องมีจุดหลอมเหลว (MELTING POINT) ต่ากว่าอุณหภูมิระเบิด
(DETONATE TEMPERATURE) และมีช่วงห่างกันพอสมควร เพื่อความปลอดภัยในการหลอมเทลงในภาชนะ
๑๐.๑๐ ไม่เป็นพิษ (TOXIC) ต่อผิวหนัง, ระบบทางเดินหายใจและระบบประสาท
๑๐.๑๑ ต้องไม่ทาปฏิกิริยากับโลหะหรือน้า
๑๐.๑๒ ต้องสามารถจุดระเบิดใต้น้าได้ เพราะในบางภารกิจต้องใช้ในงานทาลายใต้น้าด้วย

๑๑. คานิยามศัพท์ที่เกี่ยวกับวัตถุระเบิด
๑๑.๑ EXPLOSION (การระเบิด) = การสลายตัวอย่างรวดเร็ว และรุนแรงทันทีทันใด ทาให้เกิดแก๊ส
จานวนมหาศาล ความร้อนสูงและอานาจการผลักดันมากรอบ ๆ
ตัวมันเอง
๑๑.๒ DETONATION (การปะทุ) = การสลายตัวอย่างทันทีทันใด เป็นการลุกไหม้อย่างรวดเร็วที่สุด
ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการแพร่จากอนุภาคหนึ่งไปยังอนุภาคอีกส่วน
หนึ่งพลังจะแพร่ออกไปในทุกทิศทุกทาง
๑๑.๓ LOW EXPLOSIVE (วัตถุระเบิดแรงต่า) = วัตถุระเบิดที่มีส่วนผสมที่สามารถลุกไหม้ได้โดยมี
ออกซิเจนและเชื้อเพลิงเข้าช่วย เมื่อมีสิ่งที่เหมาะสมมาจุด จะเกิด
การปะทุขึ้นมีอัตราเร็วในการสลายตัวต่ากว่า ๑,๐๐๐ เมตร/วินาที
ให้ อานาจการผลักดันหรือขับดัน เช่น ดินส่งกระสุน , ดินขับ ชนิด
ต่าง ๆ
๑๑.๔ HIGH EXPLOSIVE (วัตถุระเบิดแรงสูง) = วัตถุระเบิดที่เมื่อมีสิ่งที่เหมาะสมมาจุด จะเกิดการ
ระเบิดขึ้นมีอัตราเร็วในการสลายตัว ตั้งแต่ ๑,๐๐๐ เมตร/วินาทีขึ้น
ไป ให้อานาจการฉีกขาด การทาลายสูง ให้ความร้อนมาก เช่น ดิน
ส่วนบรรจุหลักของลูกระเบิด หรือหัวรบชนิดต่าง ๆ
- PRIMARY HIGH EXPLOSIVE เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวมากที่สุด แต่มีกาลังผลักดันน้อย
- PRIMER ดินเริ่ม
- DETONATOR ดินนาระเบิด
- SECONDARY HIGH EXPLOSIVE เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวลดลง แต่มีกาลังผลักดันสูง
- BOOSTER ดินขยายการระเบิด
- MAIN CHARGE , BURSTING CHARGE วัตถุระเบิดหลัก หรือดินส่วนบรรจุหลัก
ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๐

- AUXILIARY ดินช่วยขยายการระเบิด
๑๑.๕ DEFLAGRATION = การประทุชนิดลุกไหม้ หมายถึง การลุกไหม้เชื้อเพลิงชนิดใด
ชนิดหนึ่งอย่างรวดเร็ว แต่ไม่รวดเร็วเพียงพอที่จะเรียกว่า เป็นการ
ระเบิดได้, เชื้อเพลิงขับดัน PROPELLANT จัดอยู่ในลักษณะนี้ ซึ่ง
ถ้าการลุกไหม้ถูกจากัดบริเวณก็สามารถทาให้เกิดการระเบิดขึ้นได้
๑๑.๖ HIGH EXPLOSIVE TRAIN (ขบวนการวัตถุระเบิดแรงสูง ) = คือการเอาวัตถุระเบิดมาเรียงกัน
เพื่อจะจุดวัตถุระเบิดแรงสูง (จุด S.HE.)
๑๑.๗ LOW EXPLOSIVE TRIAN (ขบวนการวัตถุระเบิดแรงต่า) = คือการเอาวัตถุระเบิดมาเรียงกัน
เพื่อจะจุดวัตถุระเบิดแรงต่า (จุด PROPELLANT.)
๑๑.๘ ขบวนการวัตถุระเบิดสาเร็จรูป = คือการจัดเอาวัตถุระเบิดมาเรียงกันไว้ในภาชนะหรืออุปกรณ์
เพื่อสะดวกในการนาไปประกอบกับวัตถุระเบิดที่ต้องการจุดดิน
ส่วนบรรจุหลัก (MAIN CHARGE) เช่น เชื้อประทุ, ชนวนลูก
ระเบิดชนิดต่าง ๆ
๑๑.๙ BALANCED EXPLOSIVE = วัตถุระเบิดชนิดหนึ่ง มี OXYGEN เพียงพออยู่ในตัวเอง เมื่อ
ระเบิดขึ้นได้ จะได้ CARBON DIOXIDE + น้า ซึ่งเขียนสูตรได้
ดังนี้ CO2 + H2O
๑๑.๑๐ UNBALANCED EXPLOSIVE = วัตถุระเบิดชนิดหนึ่ง ตรงข้ามกับข้อ ๑๑. ๙ OXYGEN ไม่
เพียงพอในตัวเอง เมื่อระเบิดจะไม่มี CO2 และ H2O เช่น TNT
2C7H5(NO2)3 เป็นต้น
๑๑.๑๑ ADDITIVE (รวม) = สารเคมีหลายชนิดผสมกันเป็นวัตถุระเบิดและต้องการคุณสมบัติ
ต่าง ๆ เช่น มีประกายไฟน้อยหรือไม่มีเลย (FLASHLESSNESS)
ต้องมีตัวควบคุมต่าง ๆ นั่นคือเลือกหาสารเคมีที่มาเป็นส่วนผสม
โดยให้ผลตามที่ต้องการนั่นเอง
๑๑.๑๒ STABILIZERS (เสถียรภาพ) = เป็นสารตัวกลางไม่เป็นอันตรายต่อส่วนผสมอื่น ๆ เพื่อให้
ส่วนผสมเคมีต่าง ๆ ขึ้นรูปอยู่ได้ ไม่ทาให้สารเคมีเกิดการสลายตัว
(DECOMPOSITION) และป้องกันการเร่งปฏิกิริยาต่าง ๆ ของสาร
ที่ผสม เช่น CHALK ฯลฯ หรือทาให้มีเสถียรภาพมั่นคง
๑๑.๑๓ SOLVENT (สารละลาย) = สารเคมีที่เป็นตัวทาละลายส่วนผสมให้อ่อนนุ่ม เช่น การผลิตดิน
ส่ ง กระสุ น ให้ เ ป็ น รู ป ร่ า งต่ า ง ๆ และเป็ น เชื้ อ เพลิ ง ด้ ว ย เช่ น
“ALCOHOL”
๑๑.๑๔ COOLANTS = สารเคมีที่เป็นตัวลดความร้อน อยู่ในส่วนผสมวัตถุระเบิด ไม่ทา
ความเสียหายแก่ลากล้องปืน ดินส่งกระสุนพวกนี้จะมีสารลดความ
ร้อนลง เช่น NITROGUANADINE
๑๑.๑๕ MODERANTS = สารเคมีที่ควบคุมอัตราการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้สม่าเสมอ
ไหม้จากพื้นผิวเข้าไป (ขึ้นอยู่กับการออกแบบรูปร่ างของดินส่ง )
สารนี้ผสมอยู่ในดินส่ง

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๑

๑๑.๑๖ FLASH REDUCERS = สารเคมีที่ผสมในวัตถุระเบิดเพื่อทาหน้าที่ลดประกายไฟที่ ปลาย


ปากล ากล้ องปืน (ปกปิดที่ตั้งยิงข้าศึกมองไม่เห็ น ) สารนี้เช่น
POTASSIUM SULFATE
๑๑.๑๗ POWER (กาลัง) = หมายถึง พลังงานทั้งหมาดที่วัตถุระเบิดได้ ระเบิดขึ้นแล้วส่งผล
อานาจต่าง ๆ เช่น BLAST และความรุนแรงต่าง ๆ ที่เกิดจากการ
ผลักดันจากทุกทิศทุกทาง
๑๑.๑๘ VIOLENCE (ความรุนแรง) = คุณสมบัติข้อหนึ่งของวัตถุระเบิดคือ ให้ผลหลังการระเบิด คือ
ค ว า ม เ สี ย ห า ย วั ส ดุ แ ต ก ล ะ เ อี ย ด ห รื อ มี ส ะ เ ก็ ด ร ะ เ บิ ด
(SHATTERING OR FRAGMENTATION EFFECT)
๑๑.๑๙ EXTRUSION (รั่วไหล) = ส่วนผสมเคมีหรือวัตถุระเบิดรั่วไหลออกจากตัวลูกระเบิด
๑๑.๒๐ EXUDATION (ไหลซึมเยิ้ม) = การเปลี่ยนแปลงวัตถุระเบิดกับสิ่งห่อหุ้มวัตถุระเบิด (ทาปฏิ-
กิริยากับสิ่งห่อหุ้ม) เป็นผลให้สารเคมีที่บรรจุอยู่นั้น มีความไว
สูงขึ้น และเป็นอันตรายมากขึ้น ซึ่งวัตถุระเบิดที่เสื่อมสภาพจะไหล
ซึมหรือเยิ้มรอบ ๆ ในสิ่งห่อหุ้ม (เปลือก) เช่น TNT เสื่อสภาพต้อง
จาหน่าย
๑๑.๒๑ STRAIGHT EXPLOSIVE = หมายถึงวัตถุระเบิดแรงสูง (MAIN CHARGE) ชนิดเดียวที่บรรจุ
อยู่ในตัวลูกระเบิดหรือลูกกระสุนปืนใหญ่ เช่น TNT ล้วนไม่มีอย่าง
อื่นปนอยู่ ฯลฯ
๑๑.๒๒ MIXED EXPLOSIVE = หมายถึง วัตถุระเบิดแรงสูง (MAIN CHARGE) หลายชนิดอยู่ใน
ลูกระเบิดหรือลูกกระสุนปืนใหญ่เช่น “AMATOL” ซึ่งเป็นวัตถุ
ระเบิดผสมระหว่าง TNT + AMMONIUM NITRATE
๑๑.๒๓ ALUMINISED EXPLOSIVES = วัตถุระเบิดที่มีส่วนผสมของ ALUMINIUM POWER ใช้เพิ่ม
ความร้อนมากขึ้นในขณะประทุและเพิ่มกาลัง (POWER) ให้มาก
ขึ้น

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๒

บทที่ ๒
ประเภทวัตถุระเบิดทางทหาร
วัตถุระเบิดทางทหาร เป็นสารชนิดหนึ่งซึ่งอาจจะอยู่ ในภาวะใดก็ได้ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง , ของเหลว
หรือก๊าซ วัตถุระเบิดบางอย่างก็เป็นสารประกอบบางอย่างก็เป็นสารผสมของสารตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป เมื่อได้
การกระตุ้นหรือการจุดที่เหมาะสมจะด้วยความร้อน, การขัดสีหรือคลื่นการสั่นสะเทือนอย่างหนึ่งอย่างใดที่
เหมาะสมก็ตาม จะเกิดการเปลี่ยนสภาวะจากรูปเดิมหรือสลายตัวอย่างรวดเร็วทันทีทันใด หรือเรียกว่าการ
ปะทุ (DETONATION) หรือการระเบิด (EXPLOSION) ทาให้เกิดก๊าซ ซึ่งมีปริมาณมากอย่างกว้างขว้าง มีความ
ร้อนสูง เกิดการผลักดันอย่างดันอย่างรุนแรงรอบตัว การระเบิดที่เกิดขึ้นนี้ไม่ว่าจะเกิด กับวัตถุระเบิดใดก็ตาม
อัตราการสลายตัว (RATE OF DETONATION) ของวัตถุระเบิดแต่ละชนิดไม่เหมือนกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสารประกอบ
หรือสารผสมของวัตถุระเบิดนั้น ๆ นอกจากนี้ยังเกี่ยวกับลักษณะการจุดอีกด้วย ความแตกต่างเหล่านี้เองที่ได้
ยึดถือมาเป็นข้อพิจารณาในการใช้วัตถุระเบิดทางทหาร
๑. ประเภทวัตถุระเบิดทางทหาร
โดยทั่วไปแบ่งตามอัตราการสลายตัวของวัตถุชนิดนั้น โดยยึดหลักเกณฑ์อัตราการสลายตัว ๑,๐๐๐
เมตร/วินาที ได้แก่
๑.๑ วัตถุระเบิดแรงต่า (LOW EXPLOSIVE) มีอัตราการสลายตัวต่ากว่า ๑,๐๐๐ เมตร/วินาที การ
สลายตัว เป็น ไปในลักษณะการลุกไหม้ (DEFLAGATION) ซึ่งเป็นผลให้เกิดกาลั งหรือแรงผลั กดัน จุดด้ว ย
ประกายไฟ หรือเปลวไฟ
๑.๒ วัตถุระเบิดแรงสูง (HIGH EXPLOSIVE) มีอัตราการสลายตัวสูงกว่า ๑,๐๐๐ เมตร/วินาทีขึ้นไป
การสลายตัวเป็นไปในลักษณะการปะทุ (DETONATION) ซึ่งเป็นผลให้เกิดอานาจการทาลายฉีกขาด การปะทุ
หรือการจุดเกิดจากการกระแทกหรือการสั่นสะเทือน
ตารางที่ ๒.๑ การเปรียบเทียบคุณลักษณะของวัตถุระเบิดแรงสูงกับแรงต่า
รายการ วัตถุระเบิดแรงสูง วัตถุระเบิดแรงต่า
วิธีการจุด P.HE. จุดด้วยประกายไฟ, ความร้อน, ประกายไฟ, ความร้อน,การเสียดสี
การเสียดสี, การกระแทก
S.HE. จุดด้วยเชื้อประทุ หรือ
SHOCKWAVE

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๓

เวลาในการเปลี่ยนสภาพเป็นก๊าซ MICROSECONDS MILLISECONDS


ความเร็วในการสลายตัวหมดไป ๑ - ๖ ไมล์/วินาที ๒ - ๓ นิ้ว ถึง ๑,๐๐๐ ฟุต/วินาที
ของเนื้อดิน
ความดันที่เกิดขึ้น ๕๐,๐๐๐ - ๔ ล้านปอนด์/ตร.นิ้ว ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ ปอนด์/ตร.นิ้ว
รายการ วัตถุระเบิดแรงสูง วัตถุระเบิดแรงต่า
ความสามารถในการระเบิดหิน ๑ - ๓๐ ตัน/วัตถุระเบิด ๑ ปอนด์ ๑ - ๓ ตัน/วัตถุระเบิด ๑ ปอนด์
(ROCK BREAKAGE IN BORE
HOLE BLASTING)
สารจุดตัวในรังเพลิงหรือในลา ทาให้ปืนแตก ให้แรงขับดันได้ดี
กล้อง
ใช้ในการทาลาย ดีมาก ใช้ไม่ได้
การใช้ทั่ว ๆ ไป ใช้ในการทาลาย ทาให้เกิดแรง ใช้ แ รงขั บ ดั น และท าให้ เ กิ ด แรง
กระแทก (BLAST) และอานาจฉีก กระแทก (BLAST)
ขาด

๒. ลักษณะของคลื่นการปะทุของวัตถุระเบิด (CHARACTERISTIC OF DETONATION


WAVES)
๒.๑ คลื่นการปะทุของวัตถุระเบิด (DETONATOR WAVES) เมื่อระเบิดขึ้น คลื่นระเบิดมีความเร็วกว่า
คลื่นของเสียงขั้น SUPERSONIC คือ ความเร็วมากกว่าความเร็วของเสียงเป็นระยะทางมากกว่า ๑,๑๘๑ กม. /
ชั่วโมง
๒.๒ ความเร็วของคลื่นการปะทุ (DETONATOR VELOCITY) จะมากกว่าความเร็วของเสียง (VELOCITY
SOUND) เมื่อวัตถุนั้นระเบิดขึ้น
๒.๓ ความเร็วของเสียง ๑,๐๐๐-๒,๐๐๐ เมตร/วินาที เมื่อวัตถุระเบิดระเบิดขึ้น ความเร็วของคลื่นการ
ปะทุ (DETONATOR WAVES) อยู่ระหว่าง ๒,๐๐๐ - ๙,๐๐๐ เมตร/วินาที
หมายเหตุ ความเร็วของเสียงในอากาศ (ธรรมดา) ๓๓๐ เมตร/วินาที ส่วนความเร็วของเสียงที่เกิดจาก
วัตถุระเบิดชนิดแท่งแข็ง (มีความแน่น) จะมีความเร็วมากกว่า ๓,๐๐๐ เมตร/วินาที
๒.๔ วัตถุระเบิดชนิดแข็งเป็นแท่งหรือก้อน คลื่นการปะทุของวัตถุระเบิดจะเพิ่มขึ้น ถ้าความหนาแน่น
(DENSITY) ของสารมาก ความรุนแรงจะเพิ่มขึ้น
๒.๕ คลื่นการปะทุวัตถุระเบิด (DETONATOR WAVES) มีแรงอัด แรงกดรอบศูนย์กลางวัตถุระเบิด
ระหว่าง ๑๐๐ - ๔๐๐ ตัน/ตารางนิ้ว (HIGH PRESSURE IN THE SHOCK FRONT BETWEEN 100 – 400
TONS/sg.in)
๒.๖ วั ต ถุ ร ะเบิ ด ระเบิ ด ขึ้ น ต้ อ งการท าลายเป้ า หมาย หวั ง ผลการแตกแยกของเป้ า หมาย
(DISINTEGRATING EFFECT) ถ้าเป้าหมายแข็งแรง ต้องเพิ่มคลื่นการระเบิดหรือคลื่นการปะทุไปข้างหน้า
เพื่อให้กระแทกเป้าหมายที่แข็งแรงนั้น ถ้าต้องการเจาะเกราะเหล็กหนา ต้องเพิ่มความดันของคลื่นการปะทุ
หรือคลื่นการระเบิดจึงจะทาลายเป้าหมายได้

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๔

หมายเหตุ เหล็กที่เป็นเกราะกาบังหรือเป้าหมายทนแรงต้านทานได้เต็มที่ ๗๐ ตัน/ตารางนิ้ว(TENSILE


STRENGTH) ถ้าจะทาลายเกราะกาบังที่เป็นเหล็กนี้ต้องเพิ่มกาลังของ DETONATION WAVE (คลื่นการปะทุ
หรือคลื่นการระเบิด)
๒.๗ คลื่นการระเบิดจากวัตถุระเบิดรูปทรงกลม รูปร่างของคลื่นการระเบิดจะเป็นวงกลมแผ่ออกรอบ
ศูนย์กลางระเบิด (อุปมาเหมือนขว้างก้อนหินสู่พื้นน้าคลื่นจะกระจายรอบจุดตกของหิน)
๒.๘ คลื่นการระเบิดหรือคลื่นการปะทุของวัตถุระเบิดสามารถบังคับทิศทางได้ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ
วัตถุระเบิดและสิ่งห่อหุ้มวัตถุระเบิด เช่น ดินโพรง (SHAPE CHARGE)
๒.๙ DETONATOR WAVE AMPLIFIDE BY USE OF BOOSTER คลื่นการปะทุ หรือคลื่นการระเบิด
ถูกขยายคลื่นโดยใช้ดินขยายการระเบิด (BOOSTER) ทาให้ส่วนบรรจุหลัก (BURSTING CHARGE) ระเบิดขึ้น
ตามรูปขบวนการวัตถุระเบิดแรงสูง

๓. วัตถุระเบิดแรงต่า (LOW EXPLOSIVE)


วัตถุระเบิดแรงต่า (LOW EXPLOSIVE) เป็นวัตถุระเบิดที่การสลายตัวเป็น ไปในลักษณะการลุกไหม้
(DEFLAGRATION) ผลที่เกิดจากการจุดตัวนั้นเป็นผลให้เกิดกาลังหรือแรงผลักดัน (ขับดัน) ให้สิ่งอุปกรณ์ ,
ยุทโธปกรณ์เคลื่อนที่หรือพุ่งตัวออกไป วัตถุระเบิดแรงต่าในส่วนผสม จะมีออกซิเจน (OXYGEN) และเชื้อเพลิง
(FUEL) รวมอยู่ วัตถุระเบิดแรงต่าจะนามาใช้ประโยชน์เป็นดินขับลูกกระสุนออกจากลากล้องปืนหรือขับดันให้
จรวดพุ่งตัวออกจากท่อยิง (LAUNCHER) สู่เป้าหมาย เรียกว่า ดินส่งกระสุน (GUN PROPELLANT) และดินขับ
จรวด (ROCKET PROPELLANT) ได้แก่
- ดินดา (BLACK POWDER)
- ดินควันน้อย EC (EC. SMOKELESS POWDER)
- ดินส่งกระสุนปืนเล็ก (SMALL ARMS AMMUNITION PROPELLANT)
- ดินขับชนิด CORDITE และ BALLISTITE
- ดินขับชนิด COMPOSITE
๓.๑ ดินส่งกระสุน (GUN PROPELLANT) เป็นดินประเภทวัตถุระเบิดแรงต่า ส่วนผสมโดยทั่ว ๆ ไป
จะใช้ NITROCELLULOSE เป็นส่วนผสมหลักและส่วนผสมอื่น ๆ เพื่อให้มีคุณสมบัติครบถ้วน และเหมาะสมกับ
ความมุ่งหมายที่ต้องการ เช่น เพื่อให้มีควันน้อยลง, เพื่อให้ดูดความชื้นได้น้อยลง หรือเพื่อลดเปลวเพลิงที่ปาก
ลากล้องให้น้อยลง ดังนี้
- DIPHANYLAMINE เป็นสารให้ความคงทนถาวร
- GRAPHITE สาหรับเคลือบเมล็ดดิน เพื่อเป็นการป้ องกันการเสียดสีและไฟฟ้าสถิตย์ที่เกิดขึ้น
รวมถึงง่ายต่อการบรรจุในปลอกกระสุน
- NITROGUANADINE สารช่วยลดอุณหภูมิ
- POTASSIUM SULFATE สารช่วยลดแสง (กลางคืน)
- OXIDIZERS เป็นปฏิกิริยาที่เกิดการเผาไหม้ ทาให้ลดควันลง (กลางวัน)
- LEAD/TIN FOIZ ทาให้ลากล้องปืนสะอาด
ชนิดของ PROPELLANT แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ ดินชนิดฐานเดี่ยว (SINGLE BASE PROPELLANT) ดิน
ชนิดฐานคู่ (DOUBLE BASE PROPELLANT) ดินชนิดสามฐาน (TRIPPLE BASE PROPELLANT)

ตารางที่ ๒.๒ แสดงส่วนผสมและคุณสมบัติของดินส่งกระสุน


ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๕

๓.๑.๑ ดินชนิดฐานเดี่ยว (SINGLE BASE PROPELLANT)


มีไนโตรเซลลูโลส (NITROCELLULOSE) เป็นส่วนผสมหลัก ผสมกับสารเคมีอื่น ๆ ที่
เพิ่มเข้าไปเพื่อให้ดินฐานเดี่ยวมีคุณสมบัติดีขึ้น ส่วนมากดูดความชื้น และมีเปลวมาก ให้กาลังน้อยกว่าดินฐานคู่
แต่ทาความสึกหรอให้กับลากล้องปืนน้อยกว่าดินฐานคู่ ไวต่อความร้อนและการเสียดสี จุดในที่ห้อมล้อมไหม้เร็ว
กว่าในที่โล่งแจ้ง เมื่อเสื่อมคุณภาพอาจจุดตัวเองได้ ใช้เป็นดินส่งกระสุนปืนเล็ก, ปืนใหญ่ มีหลายสีตามส่วนผสม
เช่น เหลืองอ่อน, ชมพู, ดา, ส้ม เรียกชื่อต่าง ๆ กัน เช่น EC. BLANK FIRE, EC. SMOKELESS POWDER,
FLASHLESS NONHYGROSCOPIC (FNH.)
๓.๑.๑.๑. ดินควันน้อย EC (EC.SMOKELESS POWDER) ประกอบด้วยไนโตรเซลลูโลส
กับ INORGANIC NITRATES ลักษณะเป็นเม็ดคล้ายทรายหยาบสีส้มหรือสีชมพู เป็นดินส่งกระสุนที่มีความไว
ต่อการเสียดสี, ไวต่อการกระทบกระแทกและไวต่อความร้อน ดูดความชื้น
- ใช้เป็นดินระเบิดในลูกระเบิดขว้างสังหาร
- ใช้เป็นดินส่งกระสุนซ้อมรบของกระสุนขนาด .๓๐ นิ้ว และ .๕๐ นิ้ว
- ใช้เป็นดินส่งกระสุนปืนลูกซองและกระสุนปืนลูกกรด .๒๒
๓.๑.๑.๒ ดินส่งกระสุนปืนเล็ก (SMALL ARMS AMMUNITION PROPELLANT) ทา
จากดินควันน้อย ซึ่งเคลือบด้วยกราไฟท์ (GRAPHITE) ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการบรรจุด้วยเครื่องจักร และเป็นการ
ป้องกันการสะสมไฟฟ้าสถิตย์ที่เกิดขึ้น ซึ่งถ้ามีมากอาจจะทาให้จุดดินได้ ลักษณะเป็นเม็ดละเอียดเล็ก ๆ เป็นมัน

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๖

เลื่อม การจุดและการไหม้ง่ายกว่าดินส่งกระสุนปืนใหญ่ แต่ถ้าหากได้รับความชื้นหรือมีการเปลี่ยนแปลงทาง


อุณหภูมิจะทาให้ดินเสื่อมได้อย่างรวดเร็ว
- ใช้ในกระสุนขนาด .๔๕ นิ้ว หรือ ๑๑ มม. กระสุนของปืนคาร์ไบท์ ผลิตขึ้นมาในรูป
BALL เคลือบด้วย (GRAPHITE)
๓.๑.๒ ดินชนิดฐานคู่ (DOUBLE BASE PROPELLANT)
มีส่วนผสมระหว่างไนโตรเซลลูโลสกับไนโตรกลีเซอรีนเป็นส่วนผสมหลัก ชื่อเรียกต่าง ๆ
กัน เช่น BALLISTITE, CORDITE สีน้าตาล เทา เขียว ดา ไหม้เร็วมาก หากมีจานวนมากอาจปะทุได้ เป็นพิษ
ต่อการหายใจและการสัมผัส ดูดความชื้นน้อยกว่าดินฐานเดี่ยว มีเปลวเพลิงมาก ให้กาลังขับมากกว่าดินฐาน
เดี่ยวทาให้ลากล้องปืนเป็นสนิมง่าย ใช้เป็นดินส่งกระสุนและดินขับจรวด อัตราเร็วของการเผาไหม้เปลี่ยนแปลง
ตามส่วนผสม
๓.๑.๒.๑ ดินขับชนิด CORDITE เป็นดินส่งกระสุนดินฐานคู่ มีสีน้าตาลอ่อนและแก่
จุดตัวเองเมื่ออุณหภูมิ ๑๕๒ ºC ไม่ดูดความชื้นได้ง่าย เพราะการแข็งตัวเกาะกันเป็นวุ้น ความถาวรในการเก็บ
รักษาค่อนข้างดี เหมาะสาหรับอาวุธปืนที่ไม่มีเกลียวในลากล้องปืน
- ใช้เป็นดินส่งกระสุนของปืนลูกซอง
- ใช้เป็นดินขับจรวด
- เป็นส่วนบรรจุเพิ่มของลูกระเบิดยิงจากเครื่องยิงลูกระเบิด (กระสุนปืน ค.)
๓.๑.๒.๒ ดินขับชนิด BALLISTITE ส่วนประกอบคล้ายกับดิน CORDITE เป็นดินฐานคู่
สีเทาเขียวหรือบางทีก็เป็นสีดา การใช้เช่นเดียวกับ CORDITE ข้อดี ดินนี้เมื่อไหม้กลายเป็นก๊าซจะเกิดความดัน
มากทาให้ลูกกระสุนหรือตัวจรวดมีความเร็วต้นสูง แต่ทาให้ลากล้องของอาวุธปืนที่ใช้เกิดสนิมและสึกง่าย
๓.๑.๓ ดินชนิดสามฐาน (TRIPPLE BASE PROPELLANT)
เป็นส่วนผสมระหว่าง NITROCELLULOSE + NITROGLYCERINE และ 25 - 50%
NITROGUANADINE ซึ่งไนโตรกัวนาดีนเป็นสารช่วยลดอุณหภูมิ ลดเปลวเพลิงและการสึกหรอลากล้องปืน และ
เมื่อเผาไหม้ให้ปริมาณก๊าซจานวนมากช่วยในการขับดันลูกกระสุน ลักษณะเป็นเม็ดหลายขนาด
- ใช้บรรจุในกระสุนปืนใหญ่
๓.๒ ดินขับจรวด (ROCKET PROPELLANT) โดยทั่วไปเป็นแท่งขนาดใหญ่ เมิ่อดินขับจรวดเผาไหม้
เป็นก๊าซร้อนออกมาทางท่อท้ายจรวดด้วยความเร็วสูง ลาตัวจรวดจะเกิดความเร็วเคลื่อนที่ไปข้างหน้าตามหลัก
สมดุลย์ของโมเมนตัม เรียกว่า แรงขับ (THRUST) ดินขับจรวดแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้
๓.๒.๑ ดินขับจรวด Double Base
ดินขับ จรวดชนิดฐานคู่ มีส่ว นผสมระหว่างไนโตรเซลลูโลสกับไนโตรกรลี เซอรีนเป็น
ส่วนผสมหลักและส่วนผสมอื่น ๆ ได้แก่ Stabiliser, Plasticiser และ Burning Rate Modifier แบ่งตาม
กรรมวิธีการขึ้นรูปแท่งดินขับ เป็น ๒ ประเภท คือ Extruded Double Base (EDB) กับ Cast Double Base
(CDB)
Extruded Double Base ดินขับจรวดประเภทนี้ขึ้นรูปเป็นแท่งดินขับโดยอัดรีดเนื้อ
ดินขับจรวดผ่าน ช่อง Die ออกมาเป็นเส้น ตัดและตบแต่งให้ได้รูปร่างและขนาดตามต้องการ บางกรณีจะหุ้มผิว
ดินขับจรวดไม่ให้มีการเผาไหม้ที่ผิวด้านนอกของแท่งดิน เรียกว่า Inhibited Grainบางครั้งจะไม่หุ้มผิวดินขับ
ให้เผาไหม้ได้ทั่ว เรียกว่า Bare Grain
Cast Double Base ดินขับจรวดประเภทนี้ขึ้นรูปเป็นแท่งดินขับด้วยวิธีหล่อ และนา
แบบหล่อไปอบเพิ่มอุณหภูมิจึงยึดติดกับผนังของท่อจรวด ทาให้บรรจุเนื้อดินขับจรวดได้มาก เรียกว่า Case
ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๗

Bonded Grain ดินขับจรวด CDB ไม่มีขีดจากัดด้านขนาดของอุปกรณ์การผลิต และบางกรณีจะมีคุณสมบัติ


ทางกายภาพดีกว่าดินขับจรวด EDB
๓.๒.๒ ดินขับชนิด COMPOSITE
เป็นส่วนผสมสารอินทรีย์ประเภทพลาสติกหรือ ยางสังเคราะห์ (Binder) เช่น CTPB,
HTPB (Hydroxy-terminated polybutadiene), สาร Oxidizer เช่น Ammonium Perchlorate กับเชื้อ-
เพลิ งโลหะ เช่น ผง Aluminium ใช้เป็นดินขับจรวดให้ พลังงานสู ง แต่ผ ลจากการเผาไหม้บางส่ ว นจะเป็น
ของแข็ง เช่น Aluminium Oxide ซึ่งทาให้มีควัน และใช้เป็นดินส่งกระสุนไม่ได้เพราะมีกากเหลือมาก ขึ้นรูป
โดยการผสมเทหล่อลงในแบบหรือท่อจรวดและนาไปอบ
ตารางที่ ๒.๓ แสดงส่วนผสมของดินขับจรวดเชื้อเพลิงแข็ง

๓.๓ ดินดา (BLACK POWDER)


เป็นวัตถุระเบิดที่มีมาตั้งแต่โบราณก่อนวัตถุระเบิดชนิดใด ๆ เป็นเม็ดสีดา ถ้าเคล้าการไฟท์จะมัน
เลื่อม, เนื้อแน่น ไม่แตกง่าย, สะอาด เมื่อไหม้มีควันสีขาวจานวนมาก ไม่สามารถปะทุได้ด้วยวิธีใด ๆ ความถาวร
ดีในการเก็บรักษา ความชื้นทาให้ดินประสิวเปียกละลายติดไฟยาก ติดไฟเมื่ออุณหภูมิ ๓๐๐ ºC เวลาไหม้มีทั้ง
ก๊าซและกากมากซึ่งเป็นเกลือของโปแตสเซี่ยมและกามะถัน อานาจการผลักดันแล้วแต่ส่วนผสมและถ้าเม็ดเล็ก
ก็ไหม้เร็วอานาจการผลักดันมาก ถ้าลดส่วนดินประสิวอานาจการเผาไหม้ (การผลักดัน) ก็ลดน้อยลงด้วย ถ้าอัด
เป็นแท่งแน่นมากก็ไหม้ช้า ความไม่ไวเป็นตัวเลข ๖๕
ส่วนผสม
ถ่าน กามะถัน ดินประสิว
๑๕ ๑๐ ๗๕
๑๕ ๑๕ ๗๐
๑๐ ๑๐ ๘๐
- ใช้เป็นดินส่งกระสุนซ้อมรบ
- ใช้เป็นตัวจุดดินส่งกระสุนปืนใหญ่
- ใช้เป็นตัวขับลูกปรายของกระสุนชารัมแนล (ลูกซอง)
- ใช้เป็นดินถ่วงเวลาในชนวนหัวกระสุนชารัมแนล และชนวนแตกอากาศของกระสุนต่าง ๆ
- ใช้เป็นดินระเบิดในกระสุนปืนใหญ่ซ้อมรบ

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๘

- ใช้เป็นดินถ่วงเวลาในลูกระเบิดขว้างต่าง ๆ
- ใช้เป็นดินขับพลุต่าง ๆ
- ใช้เป็นตัวดอกไม้เพลิง
- ใช้เป็นไส้ชนวน, ชนวนฝักแคเวลา เพื่อเป็นสายต่อจุดเชื้อประทุ
หมายเหตุ ในระยะต่อ ๆ มา ไม่ค่อยเอาดินดามาทาเป็นดินส่งกระสุนมากนัก เนื่องจากสาเหตุ
- อัตราเร็วในการเผาไหม้ไม่สม่าเสมอ ทาให้เกิดผลเสียทางขีปนวิธี
- ทาความสึกหรอให้กับลากล้องปืน
- มีกากเหลืออยู่มาก
- มีเศษเหลือเป็นก้อนค้างอยู่ในลากล้องมาก
- เก็บรักษายาก ต้องมีที่เก็บที่ป้องกันอากาศเข้าได้เพราะสามารถดูดน้าและความชื้นได้ง่าย
ทาให้จุดตัวยาก
- มีอันตรายมากในการหยิบยก, ขนย้าย เพราะดินดาสามารถจุดตัวได้จากประกายไฟ, เปลวไฟ
การขัดสี และอื่น ๆ

๔. รูปร่างของดินส่งกระสุน
รูปร่างลักษณะดินส่งกระสุนแตกต่างกันออกไปก็เพื่อควบคุมการเผาไหม้ และขีปนวิธีภายใน ได้แก่
๔.๑ แผ่นบางหรือเป็นเกล็ด (STRIP OR FLAKE)
๔.๒ ทรงกลม เม็ดกลม (BALL)
๔.๓ ทรงกระบอกตัว (CORD)
๔.๔ ทรงกระบอกรูเดียว (SINGLE PERFORATED)
๔.๕ รูปกากบาด (CRUCIFORM)
๔.๖ ทรงกระบอกหลายรู (MULTI-PERFORATED)
๔.๗ ทรงรูปดาวแปดแฉก (STAR-PERFORATED)
๔.๘ ทรงรูปดอกกุหลาบ (ROSETTE)

รูปที่ ๒.๑ Typical shapes of propellant grain

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๑๙

๕. การเผาไหม้ของดินส่งกระสุน (PROPELLANT BURNING)


ลักษณะการเผาไหม้ขึ้นอยู่กับรูปร่างลักษณะของชนิดของดินส่งกระสุนแบ่งออกเป็น ๓ แบบ ได้แก่
๕.๑ การเผาไหม้ลดลง (DEGRESSIVE BURNING) ลักษณะการเผาไหม้ ไหม้จากพื้นผิวนอกไปหา
พื้นผิวใน ทาให้พื้นที่ผิวการไหม้เล็กลง ๆ จนหมดไป ได้แก่ ดินส่งกระสุนที่มีรูปร่างเป็นแผ่นบางหรือเกล็ดทรง
กลมหรือทรงกระบอกตัน
๕.๒ การเผาไหม้คงที่ (NEUTRAL BURNING) ลักษณะการเผาไหม้ ไหม้จากพื้นผิวนอกไปหาพื้นผิวใน
และไหม้จากพื้นผิวในไปหาพื้ นผิวนอก ทาให้พื้นที่ผิวการไหม้คงที่เท่าเดิม ได้แก่ ดินส่งกระสุนที่มีรูปร่างเป็น
ทรงกระบอกรูเดียว และรูปทรงกากบาด
๕.๓ การเผาไหม้ทวีขึ้น (PROGRESSIVE BURNING) ลักษณะการเผาไหม้ ไหม้จากพื้นผิวนอก (๑
ส่วนพื้นที่) ไปหาพื้นผิวใน และไหม้จากพื้นผิวใน (มากส่วน) ไปหาพื้นผิวนอก ทาให้พื้นที่ผิวการไหม้เพิ่มขึ้นทุก
ขณะ ได้แก่ ดินส่งกระสุนที่มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกหลายรู, รูปดาวแปดแฉกและรูปทรงดอกกุหลาบ
๖. ข้อพึงประสงค์ของวัตถุระเบิดสาหรับใช้ในราชการทหาร
ประเภท ดินขับ, ดินส่งกระสุน (PROPELLANT) หรือวัตถุระเบิดแรงต่า (LOW EXPLOSIVE)
๖.๑. มีความสม่าเสมอในทางขีปนวิธี คือ ไหม้ด้วยความเร็ว ด้วยความสม่าเสมอ ก่อให้เกิดความดันที
ละน้อย ดังนั้นดินส่งกระสุนจะต้องมีส่วนผสมสม่าเสมอ ไหม้จากผิวนอกเนื้อดินเข้าไป ขณะไหม้ขนาดเล็กลง
ตามลาดับไม่หักหรือป่นเสียก่อนขณะไหม้
๖.๒ ต้องไม่ทาให้ปืนสึกหรอ การสึกหรอขึ้นอยู่กับการแรงฝืดของกากดิน ความร้อนจากการเผาไหม้
และแก๊สเซาะร่องเกลียว ดังนั้นดินส่งกระสุนต้องมีกากน้อยหรือไม่มีกากเลย มีความร้อนจากการเผาไหม้ของ
ดินน้อย
๖.๓ ต้องไม่มีกากเหลือจากการเผาไหม้ เพราะทาให้เกิดควันที่ปากลากล้อง เป็นการเปิดเผยที่ ตั้งยิง
โดยเฉพาะเวลากลางวัน เกิดผงถ่านติดไฟในลากล้อง
๖.๔ ต้องไม่เกิดเปลวไฟเมื่อยิงแล้ว เพราะอาจทาให้เปิดเผยที่ตั้งโดยเฉพาะเวลากลางคืน ขณะเปิดลูก
เลื่อนจะลวกพลประจาปืน (ที่รังเพลิง)
๖.๕ ต้องออกแรงดันได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
๖.๖ ต้องมีความปลอดภัยและคงทนถาวรในการเก็บรักษา และในการลาเลียง
๗. วัตถุระเบิดแรงสูง (HIGH EXPLOSIVE)
วัตถุระเบิดแรงสูงแบ่งออกตามความไว เป็น ๒ ชนิด คือ
๗.๑ ชนิดที่มีความไวมาก P.HE. (PRIMARY HIGH EXPLOSIVE)
๗.๒ ชนิดที่มีความไวลดลง S.HE. (SECONDARY HIGH EXPLOSIVE)
คุณสมบัติที่สาคัญบางประการของวัตถุระเบิดแต่ละชนิด
Density คือ ความหนาแน่น เป็นน้าหนักต่อหน่วยปริมาตร ความหนาแน่นสูงสุดของวัตถุระเบิดแต่
ละชนิด คือ ความหนาแน่นของผลึกวัตถุระเบิดชนิดนั้น ในทางปฏิบัติความหนาแน่นจริงของวัตถุระเบิดที่บรรจุ
ในหัวรบ ขึ้นอยู่กับวิธีการบรรจุวัตถุร ะเบิดนั้น เช่น ถ้าใช้วิธีหลอมเทความหนาแน่นจะสูงกว่าวิธีอัด เพราะมี
ช่องว่างระหว่างอนุภาคของวัตถุระเบิดน้อยกว่า

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๐

วัตถุระเบิดที่มีความหนาแน่นมาก จะบรรจุวัตถุระเบิดได้ปริมาณมากลงในปริมาตรที่จากัด เช่น หัว


กระสุนหรือหัวรบ นอกจากนั้นวัตถุระเบิดที่มีความหนาแน่นมากจะมี Velocity of Detonation สูงด้วย
Heat of Explosion (HOE) คือ พลังงานความร้อนที่ได้จากการระเบิดของวัตถุระเบิดนั้น เป็น
พลังงานต่อหน่วยน้าหนัก วัตถุระเบิดที่มี Heat of Explosion สูง จะให้แรงอัด (Blast) มาก
Velocity of Detonation (V of D) คือ อัตราความเร็วในการประทุของวัตถุระเบิดเป็นความหนา
ของวัตถุระเบิดที่ประทุไปต่อหน่วยเวลา วัตถุระเบิดที่มี Velocity of Detonation มากจะมีอานาจทาให้สิ่งที่
ห่อหุ้มฉีกขาด (Brisance) สูง
Deflagration Point คือ อุณหภูมิที่วัตถุระเบิดนั้น เริ่มสลายตัวเกิดการลุกไหม้
Melting Point (จุดหลอมเหลว) คือ อุณหภูมิที่วัตถุระเบิดหลอมเหลว หาก Melting Point มีค่าต่า
กว่า Deflagration Point มาก สามารถบรรจุวัตถุระเบิดชนิดนั้นในหัวกระสุนหรือหัวรบโดยวิธีหลอมเทได้โดย
ปลอดภัย หาก Melting Point มีค่าใกล้เคียงกับ Deflagration Point มาก จะต้องใช้การบรรจุวิธีอื่น เช่น การ
ใช้เครื่องอัด
Figure of Insensitiveness (F of I) เป็นค่าที่บอกความ”ไม่ไว” ของวัตถุระเบิดต่อการกระแทก
F of I เป็นวิธวี ัดแบบอังกฤษ วัตถุระเบิดที่มี F of I สูงจะมีความไวต่อการกระทบกระแทกน้อย ตัวเลขของ
F of I คือ ความไม่ไว เทียบกับวัตถุระเบิด Tetryl โดย กาหนดให้ Tetryl มี F of I เท่ากับ 100 วัตถุระเบิด
ที่ใช้เป็น Main Charge บรรจุในหัวกระสุนปืนใหญ่ได้ จะต้องมี F of I ไม่น้อยกว่า 100
Sensitivity เป็นวืธีวัดแบบสหรัฐ โดยกาหนดค่าความไว ตั้งแต่ Class 1 ถึง 10 วัตถุระเบิดกลุ่มที่มี
ความไวต่อการกระทบกระแทกมากที่สุด เช่น Mercury Fulminate จะมีค่า Sensitivity เป็น Class 1 ส่วน
วัตถุระเบิดกลุ่มที่มีความไวน้อยที่สุด เช่น Ammonium Picrate จะมีค่า Sensitivity เป็น Class 10
Critical Diameter คือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางแท่งวัตถุระเบิดที่เล็กที่สุด ซึ่งเมื่อจุดระเบิดแล้ว แท่ง
วัตถุระเบิดนั้นยังสามารถประทุไปได้อย่างต่อเนื่อง ปรากฏการณ์ที่ทาให้เกิด Critical Diameter คือ การ
สูญเสียพลังงานจากขอบนอกของแท่งวัตถุระเบิด ไปผลักดันอากาศ หรือภาชนะที่ห้อมล้อมแท่งวัตถุระเบิดนั้น
แทนที่จะนาพลังงานส่วนนั้นไปเสริมคลื่น Shock Wave ที่จะจุดวัตถุระเบิดด้านหน้าของแท่ง
๘. วัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวมาก (PRIMARY HIGH EXPLOSIVE)
เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวต่อการกระทบกระแทก, เสียดสีและความร้อนมาก เมื่อได้รับการจุดจะไม่
ลุกไหม้ แต่จะเกิดการปะทุหรือระเบิด แล้วส่งต่อคลื่นการปะทุ หรือ คลื่นการระเบิดไปยังขบวนการวัตถุระเบิด
(EXPLOSIVE TRAIN) ที่อยู่ถัดไป แต่ว่ากาลังผลักดันหรืออานาจการฉีกขาดที่เกิดขึ้นจากการจุดตัว จะด้อยกว่า
วัตถุระเบิดชนิด (SECONDARY HIGH EXPLOSIVE) ฉะนั้น จึงใช้เป็นตัวจุดเริ่มแรก คือ ดินเริ่ม (PRIMER) และ
ดินนาระเบิด (DETONATOR)
วัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวมาก (PRIMARY HIGH EXPLOSIVE) ดังนี้
๘.๑ ดินกรดปรอท (MERCURY FULMINATE)
๘.๒ LEAD AZIDE
๘.๓. LEAD STYPHNATE
๘.๔. DINOL (DDNP)
๘.๕. TETRAZENE
ดินเริ่ม (PRIMER)

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๑

ดินเริ่ม เป็นวัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวมาก เมื่อ ได้รับการกระทบกระแทก, เสียดสีจากเข็มแทง


ชนวน หรือจากเครื่องจุดชนิดอื่น ๆ แล้ว เกิดการปะทุพร้อมกับส่งคลื่นการปะทุนั้นไปยังวัตถุระเบิดตัวถัดไป
อาจเป็นดินถ่วงเวลา (DELAY) หรือดินนาระเบิด (DETONATOR)
ส่วนประกอบของดินเริ่ม ประกอบด้วยวัตถุระเบิดชนิด P.HE โดยมีออกซิเจน และสารที่เป็นเชื้อเพลิง
รวมอยู่ ด้ว ย ตัว อย่ างส่ ว นประกอบของดินเริ่ม คือ ดินกรดปรอท, โพแตสเซียมคลอเรต (POTASSIUM
CHLORATE) แอนติโมนีซัลไฟด์ และอาจจะมีผงเศษแก้วหรือเศษกระดาษอัดผสมอยู่ด้วยก็ได้
ชนิดของดินเริ่ม
- PERCUSSION PRIMER (จุดตัวด้วยการกระทบกระแทกของเข็มแทงชนวนชนิดที่)
- STAP PRIMER (จุดตัวด้วยการเสียดสีของเข็มแทงชนวนชนิดปลายแหลม)
- ELECTRIC PRIMER (จุดตัวด้วยกระแสไฟฟ้า)
ดินนาระเบิด (DETONATOR)
ดินนาระเบิด คือ ส่วนผสมของวัตถุระเบิดแรงสูง ซึ่งเมื่อถูกเปลี่ยนแปลงโดยพลังงานทางกล หรือทาง
เคมีแล้ ว จะเกิดการจุ ดตัว ส่ ง คลื่ น การระเบิดออกไปจุดวัต ถุระเบิดที่ อยู่ถัดไป อาจเป็น ดินเชื่อมการระเบิ ด
(LEAD), หรือดินขยายการระเบิด (BOOSTER) ก็ได้แล้วแต่กรณี
ส่วนประกอบของดินนาระเบิด ประกอบด้วยวัตถุระเบิดชนิด P.HE ที่เป็นตัวจุดเริ่มแรก (PRIMER
CHARGE), ตัวจุดช่วยระหว่างกลาง (INTERMEDIATE CHARGE) และส่วนฐานหลัก (BASE CHARGE)
ชนิดของ DETONATOR
- NON ELECTRIC DETONATOR
- ELECTRIC DETONATOR

๘.๑ ดินกรดปรอท (MERCURY FULMINATE)


ประวัติ ฮาวาร์ต ค้นพบในปี ค.ศ. ๑๗๙๙ ต่อมาอีก ๕๐ ปี จึงนามาใช้เป็นดินเริ่ม (PRIMER) กัน
อย่างแพร่หลาย
๘.๑.๑ ส่วนผสม (COMPOSITION) ปรอท (MERCURY) + กรดดินประสิว (NITRIC ACID) +
แอลกอฮอล์
๘.๑.๒ สถานะ (STATE) เป็นผลึกแข็ง (SOLID CRYSTALLINE) ลักษณะเป็นเม็ด
คล้ายเม็ดทรายสีเทาหรือน้าตาล ถ้าบริสุทธิ์ จะมีสีขาว
๘.๑.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว (RATE OF ๑๖,๔๕๐ ฟุต/วินาที
DETONATION)
๘.๑.๔ ความไวต่อการกระแทก (IMPACT ๒ นิ้ว
TEST WITH 2 KG. WEIGHT)
๘.๑.๕ จุดหลอมเหลว (MELTING POINT) จะจุดตัวก่อนที่จะหลอมละลาย (DETONATOR BEFORE
MELTING )
๘.๑.๖ DETONATION TEMPERATURE ๒๑๐ ºC
๘.๑.๗ การใช้ ใช้เป็นดินเริ่ม (PRIMER) ในเชื้อประทุทุกชนิด และใช้ผสม
กับโปแตสเซียมคลอเรต และสารอื่น ๆ ซึ่งเป็นดินเริ่มใน
จอกกระทบแตกในชนวนหัวกระสุนปืน
๘.๑.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีความไวต่อการกระทบกระแทกมากกว่าวัตถุระเบิดชนิด

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๒

อื่น ๆ มีตัวเลขความไม่ไว ๑๐
- ไม่ละลายน้า และไม่ดูดความชื้นง่าย
- ถ้าชื้นจะทาปฏิกิริยากับโลหะโดยคายปรอทออกเป็น
อิสระทาให้อานาจการประทุเสื่อมลง การบรรจุลงใน
จอกชนวนท้าย จึงต้องเคลือบวานิชก่อน
- ดินกรดปรอทไม่นาบรรจุใน จอกอลูมิเนียมเพราะจะทา
ปฏิกิริยาทาให้เสื่อมเร็ว
- ถ้าต้องการทาให้เสื่อมใช้แช่ในโซเดี่ยมไทโอซัลเฟท
- อานาจการประทุ จะเสื่อมลงตามเวลาที่เก็บอายุไม่เกิน
๕ ปี
- มีน้าหนักพิกัด ๔.๔๕ (SPECIFIC GRAVITY) ฉะนั้นเวลาใช้
ต้องอัดให้ได้น้าหนักพิกัด ๓.๕ - ๔.๐ (ถ้าสูงเกิน ๔.๐
อานาจการประทุจะลดน้อยลงหรืออาจจะไม่ประทุเลย)
๘.๒ LEAD AZIDE
๘.๒.๑ ส่วนผสม (COMPOSITION) โซเดียมอะไซด์ (SODIUM AZIDE) + LEAD ACETATE
๘.๒.๒ สถานะ (STATE) ลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ ละเอียดสีเหลืองอ่อนหรือสีครีม
๘.๒.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว (RATE OF ๑๓,๐๐๐ - ๑๖,๔๐๐ ฟุต/นาที
DETONATION)
๘.๒.๔ ความไวต่อการกระแทก (IMPACT ๕ นิ้ว
TEST WITH 2 KG. WEIGHT)
๘.๒.๕ จุดหลอมเหลว (MELTING POINT) จุดตัวก่อนที่จะหลอมละลาย
๘.๒.๖ DETONATION TEMPERATURE ๓๖๐ ºC
๘.๒.๗ การใช้ ใช้เป็นดินเริ่ม (PRIMER) ในการจุดวัตถุระเบิดแชนิดอื่น ๆ
๘.๒.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีความไวต่อความร้อน, เปลวเพลิงและการเสียดสีมากถ้า
ใช้ ก ารจุ ด ตั ว ด้ ว ยการกระทบกระแทก (PERCUSSION
PRIMER) จะได้ผลไม่แน่นอน, มีตัวเลขความไม่ไว ๑๕
- เก็บไว้ไนอุณหภูมิปกติได้เพราะเป็นวัตถุระเบิดที่เสื่อมยาก
- ประกายไฟของ “LEAD AZIDE” จะให้ความร้อนสูงกว่า
MERCURY FULMINATE
- ในการจุด TNT จานวนเท่ากัน ถ้าใช้ LEAD AZIDE เป็น
ดินเริ่มจะใช้ปริมาณน้อยกว่า MERCURY FULMINATE
ทั้งยังมีความคงทนในการเก็บรักษามากกว่าและมีอันตราย
น้อยกว่า เวลาผลิตขึ้นมาใช้
๘.๓ LEAD STYPHNATE
๘.๓.๑ ส่วนผสม (COMPOSITION) LEAD NITRATE (OR ACETATE) + SODIUM ( OR
MAGESIUM) STYPHNATE
๘.๓.๒ สถานะ (STATE) เป็นผลึก (CRYSTAL) สีส้มอ่อน หรือสีน้าตาลปนแดง
๘.๓.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว (RATE OF ๑๖,๓๐๐ - ๑๗,๓๐๐ ฟุต/นาที

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๓

DETONATION)
๘.๓.๔ ความไวต่อการกระแทก (IMPACT ๓ นิ้ว
TEST WITH 2 KG. WEIGHT)
๘.๓.๕ จุดหลอมเหลว (MELTING POINT) จะจุดตัวก่อนที่จะหลอมละลาย
๘.๓.๖ DETONATION TEMPERATURE ๒๘๒ ºC
๘.๓.๗ การใช้ ใช้ทาเป็นดินเริ่ม (PRIMER) หรือดินนาระเบิด
(DETONATOR) โดยใช้เคลือบไว้บน LEAD AZIDE
๘.๓.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีความไวต่อการกระทบกระแทก, เสียดสีมาก มีตัวเลข
ความไม่ไว ๑๕
- เป็นวัตถุระเบิดที่ไม่มีกาลังเพียงพอที่จะใช้โดยลาพังของ
มันเองโดยปกติเคลือบไว้บน LEAD AZIDE
๘.๔ DINOL (DDNP = DIAZODINITROPHENOL)
๘.๔.๑ ส่วนผสม (COMPOSITION) PICRAMIC ACID + SODIUM NITRITE +
HYDROCHLORIC ACID
๘.๔.๒ สถานะ (STATE) เป็นผงละเอียดหรือเป็นเกล็ดสีเขียวอมเหลืองหรือน้าตาล
๘.๔.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว (RATE ๑๔,๖๐๐ - ๒๓,๐๐๐ ฟุต/นาที
OF DETONATION)
๘.๔.๔ ความไวต่อการกระแทก (IMPACT ๒ นิ้ว
TEST WITH 2 KG. WEIGHT)
๘.๔.๕ จุดหลอมเหลว (MELTING POINT) ๑๕๙ ºC
๘.๔.๖ DETONATION TEMPERATURE ๑๘๐ ºC
๘.๔.๗ การใช้ ใช้เป็นส่วนผสมของดินเริ่ม (PRIMER) หรือดินนาระเบิด
(DETONATOR) ในเชื้อประทุ (BLASTING CAP) ทางพล
เรือน

๘.๔.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - ไม่ดูดความชื้น ไม่เกิดปฏิกิริยากับน้าในอุณหภูมิปกติ


- มีความไวต่อการกระแทกเช่นเดียวกับ MERCURY
FULMINATE แต่ไม่ไวต่อการเสียดสี
- มีกาลังสูงกว่า MERCURY FULMINATE ๓ เท่าสามารถ
ทาให้ TNT ชนิดหลอมเท และ EXPLOSIVE D ประทุขึ้น
ได้
๘.๕ TETRAZENE

๘.๕.๑ ส่วนผสม (COMPOSITION) AMINOGUANIDINE SALTS + SODIUM NITRITE +


ACETIC ACID
๘.๕.๒ สถานะ (STATE) เป็นผลึก (CRYSTAL) ใสหรือสีเหลืองอ่ออน
๘.๕.๓ VELOCITY OF DETONATION ๔๐๐๐ เมคร/วินาที

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๔

๘.๕.๔ ความไวต่อการกระแทก (IMPACT ๒.๗ นิ้ว


TEST WITH 2 KG. WEIGHT)
๘.๕.๕ จุดหลอมเหลว (MELTING AND ๑๔๐ ºC
EXPLOSION POINT)
๘.๕.๖ การใช้ ใช้เป็นดินเริ่ม (PRIMER) เมื่อสลายตัวจะไม่มีกาก
๘.๕.๗ คุณสมบัติอื่น ๆ มีความไวต่อการกระทบกระแทก, เสียดสีใก้ลเคียงกับ
MERCURY FULMINATE

๙. วัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวลดลง (SECONDARY HIGH EXPLOSIVE)


เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวต่อการกระแทก, เสียดสีเหมือนกัน แต่ไวน้อยกว่า PRIMARY HE. และการ
จุดตัวนั้นมัดจะได้รับการกระตุ้นให้จุดตัว จากคลื่นการระเบิดหรือคลื่นการประทุ มากกว่าการกระแทกและการ
เสียดสี แต่เมื่อจุดตัวแล้ว จะให้กาลังผลักดันหรืออานาจการฉีกขาดมากกว่า PRIMARY HE. จึงใช้เป็นดินขยาย
การระเบิด (BOOSTER) หรือดินส่วนบรรจุหลัก (MAIN CHARGE OR BURSTING CHARGE)
ดินขยายการระเบิด (BOOSTER)
ดินขยายการระเบิด เป็นวัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวลดลง (S.HE) ซึ่งทาหน้าที่รับคลื่นการ
ระเบิดจากส่วนที่เป็น PRIMARY หรือ DETONATOR แล้วขยายคลื่นการระเบิดให้มีกาลังมากขึ้น เพื่อไปจุดต่อ
ดินส่วนบรรจุหลัก (MAIN CHARGE)
ดินส่วนบรรจุหลัก (MAIN CHARGE)
ดินส่วนบรรจุหลัก เป็นวัตถุระเบิดแรงสูงชนิดความไวลดลง จานวนมากที่บรรจุอยู่ในส่วนหัวรบของ
กระสุน, จรวดหรือบรรจุในลูกระเบิดชนิดต่าง ๆ เมื่อจุดตัวแล้วจะเกิดกาลังผลักดัน (BLAST) และอานาจการ
ฉีกขาด ทาลายล้างต่อเป้าหมาย หรือกระจายสะเก็ดใส่ศัตรู
วัตถุระเบิดแรงสูงชนิดที่มีความไวลดลง (SECONDARY HIGH EXPLOSIVE) ดังนี้
๑. TNT ๑๒. AMMONAL
๒. TETRYL ๑๓. RDX
๓. AMATOL ๑๔. TORPEX
๔. EXPLOSIVE D ๑๕. HBX
๕. PICRIC ACID ๑๖. COMPOSITION A
๖. PICRATOL ๑๗. COMPOSITION B
๗. NITROSTARCH ๑๘. COMPOSITION C, C-2
๘. PETN ๑๙. COMPOSITION C-3
๙. PENTOLITE ๒๐. COMPOSITION C-4
๑๐. TETRYTOL ๒๑. HMX
๑๑. AMMONIUM NITRATE ๒๒. PBX
๑. TNT (TRINITROTOLUENE)
ประวัติ วิลเบลน ค้นพบในปี ค.ศ. ๑๘๖๓ เริ่มใช้เป็นวัตถุระเบิดในสงครามปี ค.ศ. ๑๙๑๔
๑.๑ ส่วนผสม โทลูอีน (TOLUENE) + กรดกามะถัน (SULPHURIC ACID)
+ กรดดินประสิว (NITRIC ACID)
ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๕

๑.๒ สถานะ มีลักษณะเป็นผลึก (CRYSTAL) สีเหลืองนวลถ้าเป็นชนิดดี


ที่สุดผลึกจะแหลมคล้ายเข็ม
๑.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๒,๕๐๐ ฟุต/นาที (น้าหนักพิกัด ๑.๕๗)
๑.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๔ นิ้ว
๑.๕ จุดหลอมเหลว ๗๖ ºC - ๘๑ ºC
๑.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๔๗๕ ºC
๑.๗ การใช้ ใช้เป็นส่วนบรรจุหลัก (MAIN CHARGE) ของกระสุนปืนใหญ่,
จรวด, ลูกระเบิดชนิดต่าง ๆ ฯลฯ
๑.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - TNT มี ๓ ชนิด คือ
ชนิดดีมาก จุดหลอมเหลว ๘๑ ºC
ชนิดพอใช้ จุดหลอมเหลว ๗๙.๕ ºC
และชนิด จุดหลอมเหลว ๗๖.๐ ºC (มีความไวมากขึ้น)
- TNT ไม่ละลายน้า แต่ละลายในอินทรียวัตถุ (ORGANIC
MATTER )
- ถ้าสูดดมไอละเหยมาก ๆ จะเป็นพิษต่อการหายใจ
- ไม่ไวต่อการกระทบกระแทกเสียดสี สามารถเจาะด้วย
เครื่องมือที่เป็นทองเหลืองได้ (NON-SPARKING TOOL)
มีตัวเลขความไม่ไว ๑๓๐
- ความคงทนถาวรในการเก็บรักษาดีมาก ไม่ดูดความชื้นง่าย
- มีราคาถูกกว่ากรดพิกริก แต่ใช้ในงานทาลายของทหารช่าง
หรือในเหมืองอุตสาหกรรมได้ดีเหมือนกรดพิกริก
- TNT เมื่อสลายตัวจะได้
คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ๓.๗ %
คาร์บอนโมน๊อกไซด์ ๗๐.๕ %
ไนโตรเจน ๑๗.๔ %
ไฮโดรเจน ๔.๒ %
ผงถ่าน ๔.๒ %
๒. TETRYL (TRINITROPHENYL METHYLNITRAMINE )
ประวัติ เมอร์เตน พบในปี ค.ศ. ๑๘๗๗ เริ่มใช้เป็นวัตถุระเบิดในการทาสงคราม เมื่อก่อนสงคราม
ปี ค.ศ. ๑๙๑๔ เพียง ๒-๓ ปี
๒.๑ ส่วนผสม แอนนิลิน (ANILINE) + เมธิล แอลกอฮอล์ +กรดกามะถัน
(SULPHURIC ACID) +กรดดินประสิว (NITRIC ACID)
๒.๒ สถานะ เป็นผลึกสีเหลืองอ่อน (เวลาบรรจุต้องผสมกราไฟต์จะเป็น
สีเทา
๒.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๔,๐๓๐ ฟุต/วินาที
๒.๔ ความไวต่อการกระแทก ๘ นิ้ว
๒.๕ จุดหลอมเหลว ๑๒๘ ºC - ๑๓๐ ºC
๒.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๕๗ ºC

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๖

๒.๗ การใช้ ใช้เป็นดินขยายการระเบิด (BOOSTER) ได้ดีกว่าวัตถุระเบิด


ชนิดอื่น
๒.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - เป็นวัตถุระเบิดที่รับคลื่นการประทุจาก PRIMER-
DETONATOR และเมื่อเกิดจุดตัวจะส่งคลื่นการประทุได้ดี
มาก
- การบรรจุในภาชนะ ไม่ใช้วิธีหลอมเท แต่ใช้วิธีอัดให้ได้
น้าหนัก ๑.๕
- มีตัวเลขความไม่ไว ๗๐ จึงไม่เหมาะในการจะใช้เป็นดิน
ระเบิดในลูกกระสุนปืนใหญ่
- ละลายในอะซิโตน, เบนซิน, ไม่ละลายน้าและไม่ดูด
ความชื้น
- ฝุ่น Tetryl เป็นอันตรายต่อการหายใจมีความรุนแรงกว่า
TNT 20 – 25 % และมีความไวต่อการกระแทกกว่า TNT
๓. AMATOL
๓.๑ ส่วนผสม TNT + AMMONIUM NITRATE
๓.๒ สถานะ เป็นผลึกสีเหลือง หรือสีน้าตาลอ่อน
๓.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ชนิด 50/50 = 21,400 ฟุต/วินาที
ชนิด 80/20 = 16,000 ฟุต/วินาที
๓.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๒ นิ้ว
๓.๕ จุดหลอมเหลว ๘๑ ºC
๓.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๖๕ ºC
๓.๗ การใช้ ใช้เป็นส่วนบรรจุหลักของกระสุนปืนใหญ่, บังกะโล ตอร์ปิโด
(BANGALORE TORPEDO)
๓.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - ไม่มีความไวต่อการเสียดสี แต่อาจประทุได้โดยการกระทบ
กระแทกอย่างแรง มีความไวต่อการจุดตัวน้อยกว่า TNT
- สามารถจุดตัวได้ด้วยดินกรดปรอท หรือวัตถุระเบิดแรง
สูงชนิดอื่น
- ดูดซึมน้าได้ ถ้าหากได้รับความชื้นจะทาปฏิกิริยากับ
ทองแดง ทองเหลืองและลูกหิน (BRONZE) ทาให้เกิดเป็น
สารประกอบใหม่ซึ่งเป็นอันตรายมากเพราะมีความไวสูง
- อะมาตอล ที่มีส่วนผสมระหว่าง TNT 5% และ
AMMONIUM NITRATE 50% เมื่อได้รับความร้อน
๘๑ ºC จะละลาย สามารถหลอมเทบรรจุในเปลือกลูก
ระเบิดได้เหมือน TNT
- อะมาตอล ที่มีส่วนผสม TNT 20% และ AMMONIUM
NITRATE 50 % จะมีลักษณะคล้ายพลาสติก สามารถอัด
ลงในภาชนะใด ๆ หรือในเปลือกลูกระเบิดได้
๔. EXPLOSIVE D (หรือ แอมโมเนียมพิเกรต (AMMONIUM PICRATE)

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๗

๔.๑ ส่วนผสม PICRIC ACID + AMMONIUM HYDROXIDE


๔.๒ สถานะ เป็นผงผลึกสีเหลือง
๔.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๑,๓๐๐ ฟุต/นาที
๔.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๗ นิ้ว
๔.๕ จุดหลอมเหลว ๓๑๘ C
๔.๗ การใช้ ใช้เป็นดินระเบิดหลักของกระสุนเจาะเกราะ กระสุนปืนใหญ่
ชายฝั่งทะเล และในกระสุนปืนใหญ่ชนิดอื่น ๆ
๔.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวน้อยต่อการสั่นสะเทือนและการ
เสียดสี
- ทาปฏิกิริยาอย่างช้า ๆ กับโลหะ ถ้าหากเปียกหรือดูด
ความชื้น แล้วจะทาปฏิกิริยากับเหล็ก ทองแดงหรือตะกั่ว
ซึ่งทาให้เกิดสารประกอบใหม่ที่มีความไว และเป็น
อันตรายมากขึ้น
- ถ้าเผาไหม้จะไหม้เหมือนกับดินน้ามัน
๕. PICRIC ACID (หรือ ไตรไนโทรฟินอล (TRINITROPHENOL)
๕.๑ ส่วนผสม HOC6H2(NO2)3
๕.๒ สถานะ เป็นผงผลึก สีครีม หรือค่อนข้างเหลืองแดง
๕.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๓,๒๐๐ ฟุต/ นาที
๕.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๓ นิ้ว
๕.๕ จุดหลอมเหลว ๑๒๒ C
๕.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๓๒๒ C
๕.๗ การใช้ - ใช้ทาเป็นดินขยายการระเบิด และส่วนบรรจุหลัก
- ใช้ทาเป็นส่วนผสมของวัตถุระเบิดชนิดอื่น
๕.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีความไวในการจุดตัวน้อยกว่า TETRYL แต่ไวมากกว่า
TNT
- มีตัวเลขความไม่ไว ๑๐๐
- มีความคงทนในการเก็บรักษาดี ดูดความชื้นได้เล็กน้อย
- เมื่อได้รับความชื้นจะทาปฏิกิริยากับโลหะ และถ้าหาก
ได้รับความชื้นมาก จะลดความไวในการจุดตัวลง
๗. NITROSTARCH
๗.๑ ส่วนผสม 1) STARCH 40.0%
2) CALCIUM CARBONATE 1.5%
3) SODIUM NITRATE 37.7 %
4) BARIUM NITRATE 20.0%
5) OIL 0.8 %
๗.๒ สถานะ ลักษณะเป็นผงละเอียด สีขาว หรือ เทา เหมือนผงซักฟอก
๗.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๑๕,๐๐๐ - ๑๙,๐๐๐ ฟุต/นาที
๗.๔ ความไวต่อการกระแทก ๘ นิ้ว

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๘

๗.๕ จุดหลอมเหลว จุดตัวก่อนที่จะหลอมละลาย


๗.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๑๙๕ C
๗.๗ การใช้ ใช้ในงานทาลายวัตถุระเบิด TNT โดยบรรจุเป็นแท่งขนาด
½ ปอนด์ 1 ปอนด์ 1 ½ปอนด์
๗.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีขาวเหมือนแป้งซักผ้า
- มีความไวต่อการกระทบกระแทกเสียดสี
- การบีบกดหรือทุบระเบิดชนิดนี้จะเป็นอันตรายมาก
- มีความไวต่อกรจุดตัวด้วยเปลว เพลิง หรือประการไฟ
เพียงเล็กน้อย
๘. PETN (PENTAERYTHRITOL TETRANITRATE)
๘.๑ ส่วนผสม FORMALDEHYDE + CALCIUM HYDROXIDE +
POTASSIUM NITRATE
๘.๒ สถานะ ถ้าบริสุทธิ์ จะเป็นผงสีขาว แต่ถ้ามีวัตถุระเบิดอย่างอื่นผสม
ด้วย จะมีสีน้าตาล
๘.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๓.๐๐๐ ฟุต/นาที
๘.๔ ความไวต่อการกระแทก ๖ นิ้ว
๘.๕ จุดหลอมเหลว ๑๓๘ C – ๑๔๑ C
๘.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๒๕ C
๘.๗ การใช้ - ใช้เป็นส่วนบรรจุหลักในเชื้อประทุ ทางพลเรือน
- ใช้เป็นส่วนบรรจุของชนวนฝักแคระเบิด(DETONATING
CORD) เพื่อใช้ในการทาลายวัตถุระเบิด
๘.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีความไวต่อการกระทบกระแทก, เสียดสีมากกว่า TNT
และ TETRYL
- มีตัวเลขความไม่ไว ๔๐
- มีความรุนแรงมากกว่า TNT 66 %
๙. PENTOLITE
๙.๑ ส่วนผสม PETN 50% + TNT 50%
๙.๒ สถานะ เป็นผลึกแข็ง สีขาวหม่นหรือสีน้าตาล
๙.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๔,๒๗๐ - ๒๔,๕๐๐ ฟุต/วินาที
๙.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๓ นิ้ว
๙.๕ จุดหลอมเหลว ๗๖ C – ๑๒๐ C
๙.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๒๐ C
๙.๗ การใช้ ใช้เป็นส่วนบรรจุในลูกระเบิดขว้าง, ลูกระเบิดยิง (ลยค.)และ
ดินโพรง ( SHAPED SHARGE) และความร้อน(HEAT) ใน
การเจาะเกราะ
๙.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีอานาจการระเบิดรุนแรงกว่า TNT 30%
- มีความไวต่อการกระแทกน้อยกว่า PETN
๑๐ TETRYTOL

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๒๙

๑๐.๑ ส่วนผสม TETRYL 75% + TNT 25 %


๑๐.๒ สถานะ เป็นผลึกสีเหลือง
๑๐.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๔,๐๐๐ ฟุต/นาที
๑๐.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๑ นิ้ว
๑๐.๕ จุดหลอมเหลว ๑๑๖ C
๑๐.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๓๒๐ C
๑๐.๗ การใช้ ใช้ในงานทาลาย มีประสิ ทธิภ าพในการตัดเหล็ก ได้ดีมาก
และใช้ดินโพรง (SHAPED CHARGE)
๑๐.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - -มีมีออานาจการระเบิ
านาจการระเบิดดฉีฉีกกขาดและผลั
ขาดและผลักกดัดันนรุนรุนแรงกว่แรงกว่า าTNT TNT
- -มีมีคความไวต่
วามไวต่ออการกระทบกระแทก
การกระทบกระแทกและขั และขัดดสีสีนน้อ้อยกว่ ยกว่าาTNT
TNT
แต่แต่ไวมากกว่
ไวมากกว่าาTETRYL
TETRYL
- -TETRYTOL
TETRYTOLไม่ไม่ดดู ูดความชื
ความชื้น้นและไม่
และไม่ดดู ูดซึซึมมน้น้าจึาจึงเหมาะที
งเหมาะที่จ่จะะ
ใช้ใใช้
ต้นใ้าต้นโดยสามารถแช่
้า โดยสามารถแช่
อยูอ่ในน้
ยู่ในน้
าได้าได้
นานถึ
นานถึง ๒๔ ง ๒๔ชั ชั่วโมง
่วโมงโดย
โดย
ไม่เปลี
ไม่เ่ยปลี
นแปลงคุ
่ยนแปลงคุ
ณสมบั
ณสมบั
ติ ติ
๑๑. AMMONIUM NITRATE
๑๑.๑ ส่วนผสม SODIUM NITRATE + AMMONIUM CHLORIDE
๑๑.๒ สถานะ เป็นผลึกแข็งลักษณะคล้ายปุ๋ย มีสีเหลืองปนน้าตาล
๑๑.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๑๑,๐๐๐ ฟุต/วินาที
๑๑.๔ ความไวต่อการกระแทก ๓๑ นิ้ว
๑๑.๕ จุดหลอมเหลว ๑๕๕ C C
๑๑.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๑๐ C
๒๑๐ C
๑๑.๗ การใช้ ใช้
ใช้ใในงานท
นงานทาลาย าลาย และใช้
และใช้เเป็ป็นนวัวัตตถุถุรระเบิ
ะเบิดดสสาหรั
าหรับบระเบิ
ระเบิดดพืพื้้นนให้
ให้
เป็
เป็นนหลุ หลุมม เช่ เช่นน ขุขุดดคูคูดดักักรถถั
รถถังง,, ขุขุดดระเบิ
ระเบิดดหิหินน เนื
เนื่อ่องจากมี
งจากมี
อัอัตตราเร็
ราเร็ววในการสลายตั
ในการสลายตัววต่ต่าา จึจึงงให้ ให้แแรงยกได้
รงยกได้ดดีี
๑๑.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ -- AMMONIUM
AMMONIUM NITRATE NITRATE ทีที่ใ่ใช้ช้ใในราชการทหารนั
นราชการทหารนั้น้นจะบรรจุ จะบรรจุ
มาในถั
มาในถังงโลหะ โลหะ ขนานเส้
ขนานเส้นนผ่ผ่าานศู ศูนนย์กย์ลาง
กลาง๘๘๑/๔ ๑/๔นินิ้วสู้วงสูง๑๗๑๗
นินิ้ว้ว มีมีนน้าหนั
้าหนักก ๔๐ ๔๐ ปอนด์
ปอนด์
-- ฝาถั
ฝาถังงมีมีหหูหูหิ้วิ้วสสาหรั
าหรับบผูผูกกเชืเชืออกหย่
กหย่ออนลงในหลุ
นลงในหลุมมทีที่่ขขุดุดไว้
ไว้
-- ตรงกลางถั ง (ด้ า นข้ า ง) มี ช อ

ตรงกลางถัง (ด้านข้าง) มีช่องใส่เชื้อประทุ (BLASTINGงใส่ เ ชื อ
้ ประทุ (BLASTING
CAP)
CAP) โดยมี โดยมี TNT TNT เป็ เป็นนดิดินนขยายการระเบิ
ขยายการระเบิดด (บรรจุ (บรรจุออยูยู่่
ภายใน)
ภายใน)
-- ถ้ถ้าาอุอุณณหภู หภูมมิติต่าความรุ
่าความรุ่น่นแรงจะลดลง
แรงจะลดลง จึจึงงเหมาะที เหมาะที่จ่จะใช้
ะใช้ใในน
เขตร้
เขตร้ออนน

๑๒. AMMONAL
๑๒.๑ ส่วนผสม TNT + AMMONIUM NITRATE + ผงอลูมิเนียม
(ALUMINIUM) หรือผงถ่าน
๑๒.๒ สถานะ เป็นผลึกแข็งสีเทา (GRAY)
ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๐

๑๒.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๑,๐๐๐ ฟุต/นาที


๑๒.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๔ นิ้ว
๑๒.๕ จุดหลอมเหลว ๘๑ C
๑๒.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๕๔ C
๑๒.๗ การใช้ ใช้ในงานทาลายวัตถุระเบิดโดยทั่ว ๆ ไป
๑๒.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวน้อย เพราะผงอลูมิเนียมผสม
อยู่ด้วย
- เมื่อระเบิดขึ้นจะมีแสงไฟแลบสว่างมากกว่ากระสุนวัตถุ
ระเบิดแรงสูงชนิดอื่น ๆ
- เมื่อระเบิดจะให้อานาจการผลักดันที่รุนแรงมาก
๑๓. RDX (หรือเรียกว่า CYCLONITE)
๑๓.๑ ส่วนผสม FORMALDEHYDE + AMMONIUM + NITRIC ACID +
SULPHURIC ACID
๑๓.๒ สถานะ เป็นผลึกสีขาว
๑๓.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๖,๙๐๐๐ - ๒๘,๐๐๐ ฟุต/วินาที
๑๓.๔ ความไวต่อการกระแทก ๘ นิ้ว
๑๓.๕ จุดหลอมเหลว ๒๐๐ C – ๒๐๓ C
๑๓.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๖๐ C
๑๓.๗ การใช้ ใช้เป็นส่วนบรรจุหลักในลูกระเบิดน้าลึก (DEPTH BOMB),
กับระเบิด (MINE), ตอร์ปิโด (TORPEDOES)
๑๓.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีความไวมากกว่า TNT ไม่ดูดความชื้น, มีความคงทนใน
การเก็บรักษา
- มีอานาจการผลักดันสูง ถ้าใช้ใต้น้ามีความรุนแรงกว่า
TNT 50 % แต่ถ้าใช้บนบกมีความรุนแรงกว่า TNT 30%
- เป็นวัตถุระเบิดที่มีความไวต่อการกระทบกระแทกมาก
ดังนั้นจึงนิยมใช้ RDX แทน TORPEX
๑๔. TORPEX (TPX)
๑๔.๑ ส่วนผสม TNT 41% + RDX 41% + ALUMINIUM 18%
๑๔.๒ สถานะ อ่อนตัวคล้ายพลาสติกสีเงิน
๑๔.๓ อั ตราเร็วการสลายตัว ๒๔, ๙๓๔ ฟุต/วินาที
๑๔.๔ การใช้งาน ใช้เป็นวัตถุระเบิดหลักของทุ่นระเบิด (MINE)
ลูกระเบิดน้าลึก (DEPTH) และ TORPEDO
๑๔.๕ คุณสมบัติอื่นๆ ใช้ในการทาลายใต้น้า
จะถูกทดแทนด้วย HBX (24,278 FT/SEC)
เพราะมีอัตราเร็วในการสลายตัวน้อยกว่า
๑๕. HBX (High Blast Explosive)
๑๕.๑ ส่วนผสม RDX 40 % + TNT 38% + ALUMINIUM 17 % +
DESINSITIZER 5%

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๑

๑๕.๒ สถานะ เป็นผลึกแข็งลักษณะคล้ายหินชนวนสีเทา


๑๕.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๓,๐๐๐ ฟุต/วินาที
๑๕.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๔ นิ้ว
๑๕.๕ จุดหลอมเหลว ๘๑ C
๑๕.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๑๘๕ C
๑๕.๗ การใช้ - ใช้ประโยชน์เช่นเดียวกับ TORPEX
- นิยมใช้ HBX แทน TORPEX เพราะมีความไวน้อยกว่า
๑๖. COMPOSITION A
๑๖.๑ ส่วนผสม RDX 91% + DESENSITIZER 9%
๑๖.๒ สถานะ เป็นผลึกสีขาวหรือเหลืองอ่อน
๑๖.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๔,๕๐๐ - ๒๖,๗๐๐ ฟุต/วินาที
๑๖.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๖ นิ้ว
๑๖.๕ จุดหลอมเหลว ๒๐๐C – ๒๓๐ C
๑๖.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๕๐ C
๑๖.๗ การใช้ - ใช้เป็นส่วนบรรจุหลักของกระสุนเจาะเกราะ, มีความไว
น้อย แต่เมื่อระเบิดแล้วให้อานาจการฉีกขาดสูง
- อาจนาไปใช้เป็นดินขยายการระเบิดได้ (BOOSTER)
๑๖.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - COMP. A การผสมต้องผสมโดยวิธีเครื่องปั่นกวน
- COMP. A-2 มีสถานะและส่วนผสมคล้ายกับ COMP. A
แต่ขั้นตอนการผลิตต้องเข้าเครื่องอบ
- COMP. A-3 มีลักษณะเป็นเกล็ดสีน้าตาลออกเหลืองการ
ผสมใช้วิธีคลุกกันแล้วตากให้แห้ง
๑๗. COMPOSITION B
๑๗.๑ ส่วนผสม RDX 59 % + TNT 40 % + BEEWAX 1 %
๑๗.๒ สถานะ มีลักษณะเป็นผลึกสีน้าตาล-เหลือง (BROWNISH
YELLOW)
๑๗.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๔,๕๐๐ - ๒๔,๕๘๐ ฟุต/วินาที
๑๗.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๓ นิ้ว
๑๗.๕ จุดหลอมเหลว ๙๐ C – ๑๐๐ C
๑๗.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๗๘ C
๑๗.๗ การใช้ ใช้เป็นส่วนบรรจุหลักของลูกระเบิดขว้าง, กระสุนปืนใหญ่,
ทุ่นระเบิด (MINE) และตอร์ปิโด (TORPEDOES) หรืออาจ
ใช้เป็นดินขยายการระเบิด (BOOSTER) ในลูกระเบิดขนาด
ใหญ่
๑๗.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - มีตัวเลขความไม่ไว ๑๐๐
- มีความไวน้อยกว่า TETRYL แต่มากกว่า TNT
- บรรจุในภาชนะโดยวิธีหลอมเท (CAST)
๑๘. COMPOSITION C, C - 2

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๒

๑๘.๑ ส่วนผสม - COMP. C = RDX 88 % + NON-EXPLOSIVE, OILY


PLASTICIZER 12 %
- COMP. C-2 = RDX 80% + EXPLOSIVE PLASTICIZER
20 %
๑๘.๒ สถานะ มีลักษณะอ่อนตัวคล้ายพลาสติกสีขาว
๑๘.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๖,๑๐๐ ฟุต/วินาที
๑๘.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๔ นิ้ว
๑๘.๕ จุดหลอมละลาย ๘๖ C
๑๘.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๕๖ C
๑๘.๗ การใช้ ใช้เป็นวัตถุระเบิดในงานทาลายและใช้ใต้น้าได้
๑๘.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ COMP. C มีความไวน้อยกว่า TNT แต่อานาจของการ
ระเบิดรุนแรงกว่า TNT
๑๙. COMPOSTION C - 3
๑๙.๑ ส่วนผสม RDX 77 % + EXPLOSIVE PLASTICIZER 23 %
๑๙.๒ สถานะ มีลักษณะอ่อนคล้ายพลาสติก มีสีเหลืองปนน้าตาล
๑๙.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๖,๑๐๐ ฟุต/วินาที
๑๙.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๔ นิ้ว
๑๙.๕ จุดหลอมเหลว ๘๖ C
๑๙.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๘๐ C
๑๙.๗ การใช้ ใช้เป็นวัตถุระเบิดในงานทาลาย และใช้ใต้น้าได้
๑๙.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ จะให้อานาจการระเบิดที่รุนแรงกว่า TNT
๒๐. COMPOSITION C - 4
๒๐.๑ ส่วนผสม RDX 90 % + POLYISOBUTYLENE 10 %
๒๐.๒ สถานะ มีลักษณะอ่อนเหนียวปั้นได้คล้ายดินน้ามัน มีสีขาว
๒๐.๓ อัตราเร็วในการสลายตัว ๒๖,๕๐๐ ฟุต/วินาที
๒๐.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๐ นิ้ว
๒๐.๕ จุดหลอมเหลว ๘๑ C
๒๐.๖ อุณหภูมิจุดระเบิด ๒๙๐ C
๒๐.๗ การใช้ ใช้เป็นวัตถุระเบิดหลักในงานทาลาย, ใช้ใต้น้าได้ หรือเป็น
ส่วนบรรจุหลักของทุนระเบิดบางชนิด
๒๐.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ - ไม่ดูดความชื้น มีความไวกว่า TNT และ COMP. C-3
- มีความคงทนในการเก็บรักษาดีกว่า COMP. C-3
- มีตัวเลขความไม่ไว ๑๒๐
๒๑. HMX (Octogen)
๒๑.๑ ส่วนผสม HEXAMINE + ACETIC ACID + AMMONIUM NITRATE
+ NITRIC ACID + ACETIC ANHYDRIDE +
FORMALDEHYDE
๒๑.๒ สถานะ เป็นผลึกสีขาว

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๓

๒๑.๓ VELOCITY OF DETONATION ๙๑๐๐ เมตร/วินาที


๒๑.๔ ความไวต่อการกระแทก ๑๒.๖ นิ้ว
๒๑.๕ จุดหลอมเหลว ๒๘๐ C
๒๑.๖ DEFLAGRATION POINT ๒๘๗ C
๒๑.๗ การใช้ ใช้เป็นวัตถุระเบิดหลักในหัวรบที่ต้องการประสิทธิภาพสูง
เช่น อาวุธนาวิถี
๒๑.๘ คุณสมบัติอื่น ๆ มีความไวต่อการกระทบกระแทก, เสียดสี เช่นเดียวกับ RDX
ไม่ดูดความชื้น (Nonhygroscopic) มีตัวเลขความไม่ไว ๖๐

๒๒. PBX (Plastic Bond Explosives)


ปัจจุบัน หัวรบของอาวุธสมัยใหม่หลายชนิด เช่น หัวรบ GM MK 54 MOD1 ของอาวุธนาวิถี
AIM-9P-3 ใช้วัตถุระเบิดซึ่งเรียกว่า PBX (Plastic Bonded Explosive) วัตถุระเบิดจาพวกนี้ประกอบด้วยสาร
Polymeric binder ประเภทพลาสติกหรือยางสังเคราะห์ ผสมกับวัตถุระเบิดประเภท RDX, HMX หรือ PETN
บางครั้งผสมสารอื่น เช่น Ammonium Perchlorate และ Aluminium เพื่อเพิ่มแรงอัด (Blast) วัตถุระเบิด
ประเภทนี้มีความเสถียรทางเคมี ความยืดหยุ่น ไม่ไวต่อ การกระแทก VELOCITY OF DETONATION >7800
m/s, Autoignition Temperature > 250 C
ตารางที่ ๒.๔ แสดงส่วนผสม PBX ที่ผลิตและใช้ในทางทหาร

๑๐. องค์ประกอบที่ทาให้ความไวในการจุดตัว และอัตราเร็วในการสลายตัวของวัตถุระเบิด


แรงสูงเปลี่ยนแปลงไป
องค์ประกอบ ความไว อัตราเร็วในการสลายตัว
ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๔

๑. ขนาดของผลึกเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น ลดลง


๒. ความหนาแน่นเพิ่มขึ้น ลดลง เพิ่มขึ้น
๓. ผลึกถูกเคลือบไว้ ลดลง ลดลง
๔. ความหนาของภาชนะเพิ่มขึ้น ลดลง เพิ่มขึ้น
๕. อุณหภูมิเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
๖. ความชื้นเพิ่มขึ้น ลดลง ลดลง

๑๑. ผลจากการระเบิดของวัตถุระเบิด
แบ่งออกเป็น ๒ กรณี คือ
๑๑.๑ การระเบิดโดยสมบูรณ์ (HIGH ORDER DETONATION) คือ การสลายตัวของวัตถุระเบิด ณ
จุดที่มีความเร็วสูงสุดของมวลวัตถุระเบิด ที่จุดตัวระเบิดขึ้นเท่าที่เป็นไปได้ ใต้สภาวะที่ไม่หมดเป็นอยู่ในเวลานั้น
๑๑.๒ การระเบิดโดยไม่สมบูรณ์ (LOW ORDER DETONATION) คือ การระเบิดที่ไม่หมดทั้งขบวน
หรือการระเบิดที่สมบูรณ์แต่ความเร็วน้อยกว่าความเร็วสูงสุด
เหตุที่ทาให้เกิดการระเบิดที่ไม่สมบูรณ์
๑๑.๒.๑ การจุดตัวที่ไม่เหมาะสมเนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของเครื่องจุด
๑๑.๒.๒ ความสัมพันธ์ระหว่างขั้นตอนต่าง ๆ ของขบวนการวัตถุระเบิดไม่ดีพอ เนื่องจาก
- การเรียงลาดับขั้นตอนไม่ถูกต้อง
- การต่อเนื่องไม่ดีพอ คือไม่เรียงชิดติดกัน
- ปริมาตรของวัตถุระเบิดบางส่วนไม่เพียงพอ
- สิ่งห่อหุ้ม (CASE) มีความหนาจนเกินไป
๑๑.๒.๓ การเสื่อมสภาพของขบวนการวัตถุระเบิดในส่วนใดส่วนหนึ่ง อาจเป็นเพราะการดูด
ความชื้น
๑๑.๒.๔ ดินส่วนบรรจุหลัก (MAIN CHARGE) มีความหนาแน่น (DENSITY) ไม่เป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐาน
๑๒. ลักษณะพิเศษของวัตถุระเบิด
๑๒.๑ SPALLING EFFECT คือ ผลจากการกระแทกของแรงระเบิดในเมื่อวัตถุระเบิดนั้นระเบิด
กระแทกผิวแผ่นเหล็ก จะเป็นผลเช่นเดียวกับการเอาค้อนตีที่ผิวแผ่นเหล็กจะยั งผลให้ผิวแผ่นเหล็กด้านหน้าตรง
ข้ามกระแทกตัวแตกออกเป็นสะเก็ดพุ่งตัวออกไป ในทางสรรพาวุธนาเอาปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเช่นนี้มาใช้ เช่น HEP
๑๒.๒ MINZAY SCHARDIN EFFECT คือ ผลที่เกิดจากแรงระเบิด ทาให้แผ่นโลหะที่หยุ่นตัวเอาด้าน
โค้งเข้าข้างใน โดยมีวัตถุระเบิดแรงสูงบรรจุอยู่ ซึ่งเมื่อระเบิดขึ้นแรงระเบิดจะผลักดันให้แผ่นโลหะยืดหยุ่นแอ่น
ตัวเอาด้านโค้งออกด้านนอก พุ่งตัวออกด้วยความเร็วสูง โดยทางทฤษฎีความเร็วที่ซัดพุ่งออกไปนี้ จะมีความเร็ว
ประมาณ ๕๐ % ของอัตราเร็วในการสลายตัวของวัตถุระเบิดที่บรรจุ หลักการนี้นาไปใช้กับทุ่นระเบิดดักรถถัง
บางชนิด
๑๒.๓ ดินโพรง (SHAPED CHARGE) หรือดินระเบิดขึ้นรูป หรือการเจาะ (CAVITY CHARGE)
เนื่องมาจาก เมื่อใช้ดินระเบิด (HE) บรรจุกระสุนหรือหัวรบ (WH) ชนิดธรรมดา ผลการระเบิด
จะให้อานาจการตัด, การเจาะ หรือการทะลุทะลวงไม่ดีเท่าที่ควร เพราะแรงระเบิดของวัตถุระเบิดโดยปกติแล้ว

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๕

จะกระจัดกระจายออกทุกทิศทางโดยรอบ ณ จุดระเบิด ซึ่งกระสุนหรือหัวรบในสมัยเก่า ๆ จะเห็นว่าการเจาะ,


การทะลุทะลวงต่อเป้าหมายนั้น ใช้ความหนา, แหลมมนของหัวรบเป็นหลักใหญ่
ถ้าให้ดินระเบิดหรือวัตถุระเบิดนั้น (HE) จัดให้มีรูปร่างที่เหมาะสม เพื่ อผลการบังคับให้แรง
ระเบิด พุ่งไปในทิศทางเดียวต่อจุดเป้าหมายโดยให้มีการเสียพลังน้อยไปกว่าเดิม (กระจัดกระจาย) ดินระเบิด
ชนิดนี้ จึงเหมาะที่จะใช้ในการทาลายเป้าหมายที่เป็นเกราะแข็งแรง เช่นรถถังหนัก, ยานยนต์หุ้มเกราะ, ดาดฟ้า
เรือบนทุกเครื่องบิน , รันเวย์ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกันกับอาวุธสมัยเก่า จะต้องมีปริมาณระเบิดมาก และต้อง
ระเบิดใกล้ในตาแหน่งที่ถูกต้อง จึงจะให้ผลเทียบเท่ากับดินระเบิดที่มีปริมาณน้อยกว่า แต่ถูกจัดแต่งขึ้นรูปให้
เหมาะสมคือ ลักษณะของดินโพรง (SHAPE CHARGE)
๑๒.๓.๑ ลักษณะรูปร่างและผลที่เกิดจากดินโพรง ถ้ าให้ผิวของวัตถุระเบิด ๒ ด้านมาทาเป็น
มุมแหลม (รูปกรวย) เข้าหาซึ่งกันและกัน และจุดส่วนท้ายให้ปะทุทันทีทันใดพร้อมกัน คลื่นระเบิดและก๊าซที่
ขยายตัวจากแต่ละผิวพื้นนั้น จะเพิ่มพลังของแต่ละด้าน มารวมกัน ณ จุดตัดกัน เพื่อให้ความดันและความร้อน
ของก๊าซตรงจุ ดนั้ น เพิ่ม มากขึ้น จากด้านอื่น ๆ ผลที่เกิดขึ้นคือ “ก๊าซ ณ ตาบลที่จุดตัดนี้ จะพุ่ง ออกไปด้วย
ความเร็วสูง ตามเส้นทางจากจุดที่เป็นมุมของผิวนั้น, กระแสพ่นที่มีความเร็วสูงนี้เรียกว่า การเจาะ (CAVITY) หรือ
ดินโพรง (SHAPED CHARGE)
๑๒.๓.๒ องค์ประกอบที่ให้ผลในการเจาะทะลุทะลวง
- วัตถุระเบิดเมื่อเกิดการปะทุ (DETONATING) จะมีความเร็ว , ความร้อนสูง
กระแสร์ความร้อนที่พ่นออกมา เป็นลักษณะ JET STREAMER ให้ความร้อนสูงมาก เพราะฉะนั้นจึงทาให้เจาะ
เกราะได้หนา (ละลาย)
- ผลการเจาะของดินโพรง จะได้ผลดีขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของวัสดุที่ใช้ทากรวย
- ระยะ STAND-OFF คือ ระยะห่างระหว่างฐานของดินโพรง ถึงเป้าหมายระยะนั้น
จะต้องเพียงพอที่จะให้ กระแสร์ความร้อนพุ่งไปได้
หมายเหตุ สาหรับการนาไปใช้ใต้น้า ระยะ STAND OFF จะต้องมิให้น้าเข้าได้
๑๒.๓.๓ ผลการเจาะของ SHAPED CHARGE จะได้ผลดีขึ้นอยู่กับ
- CONE LINER ความหนาแน่นของวัสดุที่ใช้ทากรวย เพื่อให้อานาจในทางการ
ผลักดันสูง COPPER, STEEL, ZINC, ALUMINIUM
- CONE ANGLE มุมกรวย ๔๐ - ๑๒๐ ปกติมุมกรวยที่ดีใช้ ๖๐ - ๘๐
- STAND OFF ระยะห่างระหว่างฐานของดินโพรงกับเป้าหมาย (ช่วงการพ่นของ
เปลวเพลิง JET STREAMER)

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๖

รูปที่ ๒.๒ รูปดินโพรงหรือดินกรวย (SHAPED CHARGE)

--------------------------------------

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐
วัตถุระเบิ ดทางทหาร ๓๗

เอกสารอ้างอิง
๑. MILITARY EXPLOSIVES, TM 9-1300-214, 1984
๒. A. Bailey and S. G Murray. EXPLOSIVES, PROPELLANT & PYROTECHNICS, Brassey’s
(UK) Chemical Publishing Company Inc. 1972
๓. R. Meyer, J. Kohler and A. Homburg. EXPLOSIVES, Fifth Edition, 2002

ฉบับปรับปรุงเมื ่อปี ๖๐

You might also like