You are on page 1of 45

ยินดีต้อนรับ

หลักสูตร ชั้นนายร้อย รุ่นที่ 97


ประวัติ
: พ.ต.เกรียงไกร ระมั่งทอง (อจ.ผสท.กศ.รร.ช.กช.)
: นนส.ช. รุ่นที่ 26/36
: นป.38/54
การศึกษา
: สงครามทุ่นระเบิด (นายสิบ) รุ่นที่ 29 (2549)
: ชั้นนายร้อย รุ่นที่ 90 (2560)
: การตรวจค้นและทาลายทุ่นระเบิด ประจาปี 2562
: ชั้นนายพัน รุ่นที่ 64 (2564)
ราชการ
: ปฏิบัติการเพื่อมนุษย์ธรรม 976 ไทย/อิรัก ผลัดที่ 2 (2547)
: ศปก.ทบ. (ค่ายฝึกไทรโยค)(2550-2551)
วิชา
วัตถุระเบิดและการทาลาย
คะแนนเต็ม 100 เต็ม ทาได้
รร.ช.กช. 70 (X) 100 สอบPost-test X x 0.7
X (70, 30) 100 ปฏิบัติ X x 0.3
ครู 80 (Y) 100 งานมอบ Y x 0.8
X (80, 20) 100 Pre-test Y x 0.2
คะแนนรวม 100 100 *70
(Online)(6 ชม.)
วัน พฤ.8 ก.พ.67 (1300 -1500) 2/6 Pretest (Google Form)
วัน ศ. 9 ก.พ.67 (1500 -1700) 4/6
วัน จ.12 ก.พ.67 (1000 -1200) 6/6 แบ่งงานกลุ่ม/งานมอบ

รร.ช.กช. (7 ชั่วโมง)
วัน จ. 18 มี.ค.67 (1300 -1500) 2/7 ทบทวน/กลุ่มบรรยาย
วัน พฤ. 21 มี.ค.67 (0800 - 1200 6/7 ฝึกสนามฝึกฯ
วัน อ. 26 มี.ค.67 (0800 - 0900) 7/7 สอบ
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มคี วามรู้เกีย่ วกับ
• คุณลักษณะของวัตถระเบิดที่ใช้ทางทหาร
• กฎความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานเกีย่ วกับวัตถุระเบิด
• การทาดินระเบิดนา
• การคานวณหาจานวนดินระเบิดในการทาลายเป้าหมายต่าง ๆ
• การลาดตระเวนการทาลาย
• การคานวณกาลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้จดุ ระเบิดเพื่อทาลายเป้าหมาย
1. คุณลักษณะของวัตถุระเบิดทางทหารแต่ละชนิด วัตถุระเบิดทีใ่ ช้ในการทาลาย
และการเลือกใช้วตั ถุระเบิดให้เหมาะสมกับวัสดุทจี่ ะทาลาย และกฎความปลอดภัย
2. หลักการคานวณ กฎของการปัดเศษ การวางดินระเบิดเข้ากับเป้าหมาย
3. การคานวณดินระเบิดเพื่อระเบิดไม้
4. การระเบิดเหล็กชนิดต่าง ๆ
5. การคานวณหาจานวนดินระเบิดแตกหัก ทาลายสะพาน ตอม่อ สะพานคอนกรีต
และการแปลงค่าดินระเบิดสาหรับใช้กบั สิง่ ก่อสร้าง
6. การคานวรหาจานวนหลุม และการทาหลุมระเบิดแบบเร่งด่วน ประณีต
และวิธกี ารวางดินระเบิด
7. การคานวณหาจานวนวัตถุระเบิดสาหรับการระเบิดตอม่อตลิง่
วิธีการวางดินระเบิดเข้ากับเป้าหมาย
คุณลักษณะวัตถุระเบิดทางทหาร
การใช้วัตถุระเบิดทางทหาร

ในการทาลาย
เครื่องกีดขวาง ในงานก่อสร้าง
ทางทหาร
Text

จะทาลายด้วยวิธีใดก็แล้วแต่สถานที่ และเป้าหมายที่จะทาลาย
การทาลายด้วยวัตถุระเบิด

ใช้ได้ทั้งในการรุก ในการตั้งรับ
วัตถุระเบิดทางทหาร
การแยกชนิดของวัตถุระเบิด

วัตถุระเบิดแรงต่า วัตถุระเบิดแรงสูง
วัตถุระเบิดแรงต่า
1 2 3
วัตถุระเบิดแรงสูง
1 2 3
ปัจจัยความมีประสิทธิผลสัมพัทธ์
(ตัวกาลังเปรียบเทียบ)
การทาลายทางทหาร
ที่เกี่ยวกับการระเบิดตัด ดินระเบิด TNT มีอัตราความเร็ว
หรือแตกหัก ปริมาณของ ในการระเบิด 6,900 ม./วินาที
การใช้ดินระเบิดจะได้รับ มีค่าตัวกาลังเปรียบเทียบ 1.00
การปรับเปลี่ยนด้วยปัจจัย ขณะที่ Comp.C-4 มีอัตราความ
ของตัวกาลังเปรียบเทียบ เร็วในการระเบิด 8,040 ม./วินาที
โดยใช้ค่า TNT เป็นหลัก มีค่าตัวกาลังเปรียบเทียบ 1.34
1 ผลิตจากวัตถุดิบที่หาง่าย, ราคาถูก
2 ทนต่อการสั่นสะเทือน, การเสียดสี, ประกอบการจุดระเบิดได้ง่าย
3 สามารถทาลายอย่างเพียงพอตามความเหมาะสม
4 ทนต่อทุกสภาพภูมิอากาศระหว่างอุณหภูมิ – 80ºF ถึง + 165ºF
5 มีความหนาแน่นมาก
(ต่อ)
6 สามารถใช้ใต้น้า และที่มีอากาศชื้น
7 มีพษิ น้อยเมื่อเก็บรักษา, จับถือ และระเบิด

8 มีขนาดรูปร่างเหมาะสมในการบรรจุ, เก็บรักษา, การแจกจ่าย,


จับถือ และการวาง
9 มีอานาจผลักดันต่อหน่วยสูง
การระเบิดหรือการเผาไหม้
ทาให้เกิดควัน
เป็ นสารเคมีท่ีมพ
ี ษิ
ไม่ควรสูดดม
การใช้ในที่อับหรือใต้พ้นื ดิน ต้องให้ควัน
สลายหมดก่อน
ควรใช้ให้ถูกตามความมุ่งหมาย (ไม่นาไปจุดเพื่อให้เกิดความร้อน หรือการปรุงอาหาร)
วัตถุระเบิด
ที่ใช้ในทางทหาร
แอมโมเนียมไนเตรท (0.42)
(AMMONIUM NITRATE)

มีความไวในการระเบิดน้อยที่สดุ ในบรรดาวัตถุระเบิดทางทหาร
ต้องมีดินขยายการระเบิดช่วยในการระเบิด
ไม่เหมาะสาหรับใช้เป็ นดินระเบิดตัด หรือระเบิดแตกหัก
เหมาะสาหรับระเบิดทาหลุม หรือขุดคู
ไม่เหมาะที่จะใช้ใต้น้า
พีอีทีเอ็ น (1.66)
(PENTAERYTHRITE TETRANITRATE : PETN)

เป็ นวัตถุระเบิดที่มคี วามไวสูง


มีอานาจมากที่สดุ ในบรรดาวัตถุระเบิดทางทหาร
ใช้เป็ นดินขยายการระเบิด
บรรจุในชนวนฝักแคระเบิด และเชื้อปะทุบางชนิด
ไม่ละลายน้า จึงสามารถใช้ในการทาลายใต้น้าได้
อาร์ดีเอ็ กซ์ (1.60)
(CYCLOTRIMETHLENETRINITRAMINE : RDX)

มีความไวในการระเบิดมาก อานาจในการทาลายสูง
เป็ นวัตถุระเบิดหลักในเชื้อปะทุไฟฟ้า M6
และเชื้อปะทุชนวน M7
ถ้าทาให้หมดความไวสามารถใช้เป็ นดินขยายการระเบิด,
ดินระเบิดทาลาย และดินระเบิดแท่งได้
ใช้เป็ นส่วนผสมทาเป็ นดิ นระเบิดชนิดอื่ น ๆ
เช่น Comp.A, B, C
ทีเอ็ นที (1.00)
(TRINITROTOLUENE : TNT)

เยอรมันผลิตขึ้นใช้เป็ นชาติแรก
โดยใช้โทลูอีนจากถ่านหินเป็ นวัตถุดิบ
เป็ นวัตถุระเบิดมาตรฐานทางทหาร
มีลักษณะเป็ นผลึกสีเหลืองอ่ อน
ถ้าลุกไหม้ในที่โล่งจะเกิดควันสีดา
ทีเอ็ นที (1.00)
(TRINITROTOLUENE : TNT)

ใช้บรรจุในลูกกระสุน ป., ลูกระเบิดอากาศ,


ลข., ดินระเบิดทาลาย
เก็บรักษาในที่มอี ากาศร้อนอาจไหลเยิ้มได้
ใช้เป็ นตัวกาลังเปรียบเทียบอานาจการระเบิด
กับวัตถุระเบิดอื่ นๆ
เทตตริล (1.25)
(TETRYL)

ใช้เป็ นดินขยายการระเบิด

ใช้ทาวัตถุระเบิดผสม
ใช้ในการระเบิดทาลาย
มีความไว และอานาจมากกว่าดินระเบิด TNT
ไนโทรกลีเซอรีน (1.50)
(NITROGLYCERIN)

มีอานาจมากพอกับ RDX และ PETN


เป็ นดินระเบิดหลักในไดนาไมท์ทางการค้า
มีความไวในการระเบิดเมือ่ ถูกกระทบกระแทกเสียดสีสงู
จึงยากต่อการจับถือ
ไม่นามาใช้เป็ นวัตถุระเบิดทางทหาร และในพื้นที่การรบ
ดินดา (0.55)
(BLACK POWDER)

เป็ นวัตถุระเบิดที่เก่าแก่ และรู้จักกันว่าเป็ นดินขับ

เป็ นส่วนผสมของโปแตสเซียม หรือโซเดียมไนเตรทกับ


ถ่านโค๊ก และกามะถัน

ใช้ในชนวนฝักแคเวลา, ดินปะทุ และเครื่องจุดบางชนิด


เพือ่ เป็ นส่วนถ่วงเวลา
อมาตอล (1.17)
(AMATOL)

เป็ นส่วนผสมของ AMMONIUM NITRATE


และ TNT
อมาตอล 80 - 20
(80 % AMMONIUM NITRATE และ 20 % TNT)
ใช้บรรจุในบังกาโลตอร์ปิโดรุ่นเก่า
คอมโปซิช่ัน เอ 3 (1.35)
(COMPOSITION A 3)

ทาจาก RDX 91 % และขี้ผ้งึ 9 %


มีอานาจฉีกขาดดี เหมาะสาหรับการอั ดบรรจุลกู กระสุน
ใช้เป็ นดินขยายการระเบิดในดินระเบิดแท่งเชฟชาร์จ
และบังกาโลตอร์ปิโด
เป็ นวัตถุระเบิดหลักในดินระเบิดพลาสติกแรงสูง
คอมโปซิช่ัน บี (1.35)
(COMPOSITION B)

มีอานาจฉีกขาดและการระเบิดดีกว่า TNT

มีส่วนผสม RDX 60 %, TNT 39 % และขี้ผึ้ง 1 %

ใช้เป็ นดินระเบิดหลักในเชฟชาร์จ
คอมโปซิช่ัน บี 4 (1.35)
(COMPOSITION B 4)

มีส่วนผสม RDX 60 %, TNT 39.5 % และ


แคลเซียมซิลิเกต 0.5 %

ใช้เป็ นดินระเบิดหลักในบังกะโลตอร์ปิโดแบบใหม่
และในเชฟชาร์จ
คอมโปซิช่ัน ซี 2 และ ซี 3 (1.34)
(COMPOSITION C 2 AND C 3)
C 2 (RDX 80 % และดินระเบิดพลาสติก 20 %)
(ดินระเบิดพลาสติก : TNT + ส่วนผสมของดินระเบิดชนิดอื่น)
C 3 (RDX 77 % และดินระเบิดพลาสติก 23 %)
(ดินระเบิดพลาสติก : TNT + TETRYL + ไนโตรเซลลูโลส +ส่วนผสมของดินระเบิดชนิดอื่น)

ทั้งสองชนิดจะอ่อนและปั้ นได้
º º
อุณหภูมิระหว่าง -20 F ถึง +125 F
ใช้เป็ นดินระเบิดทาลาย, ทาเป็ นดินระเบิดแท่ง
เหมาะสาหรับใช้ทาลายใต้น้ า
คอมโปซิช่ัน ซี 4 (1.34)
(COMPOSITION C 4)

ประกอบด้วย RDX 91 % และวัสดุพลาสติกที่มิใช่


ดินระเบิด 9 %
มีอานาจเท่ากับ COMPOSITION C 3 แต่รกั ษาสภาพ
ได้ดีกว่า (อุณหภูมิระหว่าง -70ºF ถึง +170ºF )
คงทนต่อการกัดเซาะของน้ าได้ดีเมื่อใช้ทาลายใต้น้ า
เทตตริตอล (1.20)
(TETRYTOL)
ประกอบด้วย TETRYL 75 % และ TNT 25 %
ใช้ทาดินระเบิดแท่ง, ส่วนผสมของดินระเบิดชนิดอื่น
และใช้ในการทาลาย
มีอานาจมากกว่า TNT มีความไวน้อยกว่า TETRYL
เปราะแตกหักง่าย การใช้ตอ้ งระวัง จะทาให้อานาจ
การระเบิดน้อยลง
เพนโทไลท์ (1.26)
(PENTOLITE)

ประกอบด้วย TNT กับ PETN ในอัตราส่วน 50 : 50

ให้อานาจฉีกขาดดี เหมาะในการหลอมบรรจุ
เนื่องจากมีอตั ราการจุดระเบิดและอานาจสูง

ใช้เป็ นดินขยายการระเบิดในเชฟชาร์จ
ไดนาไมท์
(DYNAMITES)
เดิมใช้เรียกชื่อส่วนผสมของไนโตรกลีเซอรีนกับ
สารที่ดูดซึมไนโตรกลีเซอรีน
มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงส่วนผสมบางอย่าง
ทาให้เกิดไดนาไมท์หลายชนิด ได้แก่ สเตรทไดนาไมท์,
แอมโมเนียไดนาไมท์, เยลาตินไดนาไมท์ และ
แอมโมเนียเยลาตินไดนาไมท์
มีไนโตรกลีเซอรีนผสมอยูด่ ว้ ยจึงเป็ นไดนาไมท์ทางการค้า
ไดนาไมท์ทางทหาร (0.92)
(MILITARY DYNAMITES)

ประกอบด้วย RDX 75 %, TNT 15 % และวัสดุที่ทา


ให้หมดความไวและวัสดุที่เป็ นพลาสติก 10 %

มีอานาจเท่ากับไดนาไมท์ 60 % ทางการค้า

ไม่มีไนโทรกลีเซอรีน
จึงมีความปลอดภัยในการเก็บรักษาและการจับถือ
คอมโปซิช่ัน เฮช 6 (1.33)
(COMPOSITION H 6)

ประกอบด้วย RDX 47 %, ALUMINUM AND


OXYGEN 30 %, WAX AND LECITHIN 23 %
เหมาะสาหรับทาหลุมระเบิด และขุดคู
เป็ นดินระเบิดหลักในเชฟชาร์จบางประเภท
คุณลักษณะของวัตถุระเบิดที่ใช้สาหรับในการทาลาย
อัตราเร็วในการระเบิด ตัวกาลัง
ความรุนแรง
เปรียบเทียบเมื่อ ความทนทาน
ชื่อ การใช้ที่สาคัญ ของควัน
ม./วินาที ฟ./วินาที ระเบิดแตกหัก ที่มีพิษ
เมื่อใช้ในน้า
(TNT = 1.00)
ดินดา ชนวนฝักแคเวลา 400 1,300 0.55 อันตราย ไม่มี
แอมโมเนียมไนเตรท ระเบิดทาลาย 2,700 8,900 0.42 อันตราย ไม่ดี
(หลุมระเบิด)
อมาตอล 80 : 20 ระเบิดให้แตกออก 4,900 16,000 1.17 อันตราย ไม่ดี
ไดนาไมท์ทางทหาร M1 ระเบิดทาลาย 6,100 20,000 0.92 อันตราย พอใช้
(เหมืองแร่, ถอนตอไม้
และขุดคู)
ชนวนฝักแคระเบิด ตัวนาในการระเบิด 6,100 – 20,000 – - - ดีมาก
7,300 24,000
ทีเอ็นที ระเบิดทาลาย (แตกหัก) 6,900 22,600 1.00 อันตราย ดีมาก
และใช้เป็นส่วนผสมของ
วัตถุระเบิด
คุณลักษณะของวัตถุระเบิดที่ใช้สาหรับในการทาลาย (ต่อ)
อัตราเร็วในการระเบิด ตัวกาลัง
ความรุนแรง
เปรียบเทียบเมื่อ ความทนทาน
ชื่อ การใช้ที่สาคัญ ของควัน
ม./วินาที ฟ./วินาที ระเบิดแตกหัก ที่มีพิษ
เมื่อใช้ในน้า
(TNT = 1.00)
เทตตริตอล 75 : 25 ระเบิดทาลาย (แตกหัก) 7,000 23,000 1.20 อันตราย ดีมาก
เทตตริล ดินขยายการระเบิด 7,100 23,300 1.25 อันตราย ดีมาก
และใช้เป็นส่วนผสมของ
วัตถุระเบิด
ดินระเบิดแผ่น M118 ระเบิดทาลาย (ตัด) 7,300 24,000 1.14 อันตราย ดีมาก
และ M186
เพนโทไลท์ 50 : 50 ดินขยายการระเบิด และ 7,450 24,400 1.17 อันตราย ดีมาก
ระเบิดให้แตกออก
ไนโทรกลีเซอรีน ไดนาไมท์ทางการค้า 7,700 25,200 1.50 อันตราย ดี
บังกาโลตอร์ปิโด M1A2 ระเบิดทาลาย 7,800 25,600 1.17 อันตราย ดีมาก
(ลวดหนาม และเจาะช่อง
สนามทุ่นระเบิด)
คุณลักษณะของวัตถุระเบิดที่ใช้สาหรับในการทาลาย (ต่อ)
อัตราเร็วในการระเบิด ตัวกาลัง
ความรุนแรง
เปรียบเทียบเมื่อ ความทนทาน
ชื่อ การใช้ที่สาคัญ ของควัน
ม./วินาที ฟ./วินาที ระเบิดแตกหัก ที่มีพิษ
เมื่อใช้ในน้า
(TNT = 1.00)
เชฟชาร์จ M2A3, ระเบิดทาลาย (ตัด, เจาะ) 7,800 25,600 1.17 อันตราย ดีมาก
M2A4 และ M3A1
คอมโปซิชั่น B ระเบิดให้แตกออก 7,800 25,600 1.35 อันตราย ดีมาก
คอมโปซิชั่น C4 และ ระเบิดทาลาย (ตัด และ 8,040 26,400 1.34 น้อย ดีมาก
M112 แตกหัก)
คอมโปซิชั่น A3 ดินขยายการระเบิด และ 8,100 26,500 1.35 อันตราย ดี
ระเบิดให้แตกออก
พีอีทีเอ็น ชนวนฝักแคระเบิด, 8,300 27,200 1.66 น้อย ดีมาก
เชื้อปะทุ และดินระเบิด
ทาลาย
อาร์ดีเอ็กซ์ เชื้อปะทุ, 8,350 27,400 1.60 อันตราย ดีมาก
ส่วนผสมของวัตถุระเบิด

You might also like