You are on page 1of 13

47 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559

แก้วโซดาไลม์ผสมกับเถ้าลอยลิ กไนต์ซิลิกาตา่ ผลิ ตแก้วเซรามิ ก


Soda-Lime Glass Mixed with Low Silica Lignite Fly Ash to produce Glass-
Ceramics
เมทนี อ้วนเส้ง, ดนุพล ตันนโยภาส* และสุชาติ จันทร์มณี ย์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112
*E-mail: danupon.t@psu.ac.th

บทคัดย่อ
นาเถ้าลอยมีซลิ กิ าต่าทีเ่ ป็นของหลงเหลือตกค้างจากการเผาไหม้ของลิกไนต์ใช้เป็ นสารเติมแก่แก้วโซดาไลม์
แล้ว อัดขึ้น รูป เผาผนึกผงเพื่อ ผลิตเป็ น แก้ว เซรามิก ก่อนอัดขึ้น รูปบดแก้วโซดาไลม์และเถ้าลอยด้ว ยหม้อ บด
เป็ นเวลา 3 ชัวโมง
่ และ 2 ชัวโมง่ ตามลาดับ คัดขนาดแก้ว โซดาไลม์และเถ้าลอยที่อนุ ภาคเล็กกว่า 75 ไมครอน
เถ้าลอยแทนที่แก้วโซดาไลม์บดในอัตราส่ว นร้อ ยละ 20 30 40 และ 50 โดยน้ าหนัก ตัวอย่างทดสอบอัดขึ้นรูป
ทรงกระบอกสูง 17 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 15 มิลลิเมตร ตัวอย่างดิบนาไปเผาทีอ่ ุณหภูม ิ 750 850 และ 950
องศาเซลเซียส คงไว้เป็ นเวลา 1 ชัวโมง ่ ทดสอบสมบัติทางกายภาพและสมบัตเิ ชิง กลประกอบด้วย ความหนาแน่ นรวม
การหดตัวเชิงปริมาตร การดูดซึมน้า ความต้านทานไฟฟ้าจาเพาะ ความแข็งแบบชอร์ กาลังอัดทีอ่ ุณหภูมปิ กติและทีอ่ ุณหภูม ิ 80 องศา
เซลเซียส นอกจากนี้ตรวจสอบการทนต่อสารเคมี ความต้านทานการเปลีย่ นอุณหภูมอิ ย่างฉับพลัน และวิเคราะห์
ชนิดแร่และโครงสร้างจุลภาคด้วยวิธกี ารเลีย้ วเบนรังสีเอกซ์และกล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบส่องกราดตามลาดับ
ผลการทดลองพบว่าแก้วเซรามิกผสมเถ้าลอยร้อยละ 40 เผาทีอ่ ุณหภูม ิ 850 องศาเซลเซียส ให้กาลังอัดสูงสุดคือ
44.04 เมกะพาสคัล ที่อุณหภูมหิ ้อง และ 39.64 เมกะพาสคัล ที่อุณหภูม ิ 80 องศาเซลเซียส ความหนาแน่ นรวม 1.72 กรัมต่อ
ลูกบาศก์เซนติเมตร รูปแบบการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ของตัวอย่างทีเ่ ด่น ระบุว่า วัฏภาคแร่สาคัญประกอบด้วย แร่คริสโทบาไลต์
ไดออปไซด์ และโวลลาสโทไนต์

คาสาคัญ: แก้วเซรามิก, เถ้าลอยลิกไนต์, แก้วโซดาไลม์, การเผาผนึก

Abstract
Fly ash (FA) with low silica, a pollutant residue from the combustion of lignite, was utilized as an
additive to a powder of soda-lime glass (SLG) produced glass-ceramics by powder technology. The SLG
and FA were ground in a ball mill for 3 h and 2 h respectively. The particle sizes of SLG and FA were finer
than 75 micron. The SLG was replaced partially in proportions of 20, 30, 40, and 50 wt.% FA. Then
specimens were uniaxially pressed into a cylindrical form 15 mm in diameter and 17 mm in length. The
green specimens were fired at different temperatures of 750, 850 and 950C and held for 1 h. Physical
and mechanical properties containing bulk density, volumetric shrinkage, water absorption, electrical
resistivity, Shore hardness, and compressive strengths at an ambient temperature and 80C were
determined. Chemical resistance and thermal shock was also performed. Crystallinity and micro-structural
properties were analyzed under the X-ray diffraction (XRD) method and scanning electron microscopy
respectively. The glass-ceramic specimen containing 40% FA with firing at 850C showed the highest
compressive strength of 44.04 MPa at an ambient temperature and 39.64 MPa at a temperature of 80C
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559 48

and bulk density of 1.72 g/cm³. XRD patterns of the dominant specimens indicated the major mineral
phases including cristobalite, diopside, and wollastonite

Keywords: Glass-Ceramic; Lignite Fly Ash; Soda-Lime Glass; Sintering

บทนา ต่อมา Francis et al. [18] ได้ศกึ ษาจลนพลศาสตร์การ


ประเทศไทยมีเ ถ้า ลอย (fly ash) ซึ่งเป็ น ของ เกิดผลึกอนุภาคแก้วเตรียมจากเถ้าถ่านหินและเศษแก้ว
เสีย ที่ห ลงเหลือ ตกค้างจากกระบวนการเผาไหม้ข อง โซดาไลม์ สามารถตัง้ ต้นทาวัสดุแก้วเซรามิกได้ และ
ถ่านหิน จะมีขนาดเล็กและละเอียดมากโดยจากการเผา Yoon and Yun [19] ผลิต แก้ ว เซรามิก จากเถ้ า ลอย
ไหม้ถ่ านหิน ลิกไนต์จากโรงไฟฟ้าแม่เมาะพบว่ าจะได้ โรงไฟฟ้าถ่ านหินผสมเศษแก้วที่บดละเอียดขนาดเล็ก
เถ้าลิกไนต์ออกมาประมาณวันละ 10,000 ตัน/วัน ซึง่ ใน กว่ า 150 เมช อั ด ขึ้น รู ป ทรงกระบอกที่ ม ีเ ส้ น ผ่ า น
จานวนนี้จะเป็ นเถ้าลอยประมาณ 8,000 ตัน [1] ซึ่งยัง ศูนย์กลาง 10 มม. และสูง 30 มม. โดยไม่ใช้ตวั ประสาน
ไม่รวมกับเถ้าถ่านหินทีใ่ ช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม (binder) เผาทีอ่ ุณหภูม ิ 800 900 1000 องศาเซลเซียส
อื่น อีก แต่ ม ีจ านวนน้ อ ยเช่ น โรงงานผลิต ยางพารา เป็นเวลา 1 ชัวโมง่ ทดสอบความหนาแน่ น ความทนต่อ
นอกจากนี้ ขยะพวกแก้วทิง้ ปริมาณปีละ 40,000 ตัน [2] กรดซัลฟูรกิ ทีอ่ ุณหภูม ิ 60 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 48
เนื่ อ งจากระบบการน าแก้ ว ที่ ใ ช้ แ ล้ ว กลับ ไปใช้ ใ น ชัวโมง
่ วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีด้วยเทคนิคการ
กระบวนการผลิตแก้ว หรือ อุ ตสาหกรรมปลายน้ าของ เลี้ย วเบนรัง สีเ อกซ์ (X-ray diffraction, XRD) พบว่ า
ประเทศไทยยัง ขาดประสิท ธิภ าพ ดังนัน้ นับวัน จะมี อุณหภูมทิ ่เี หมาะสมในการผลิตแก้วเซรามิก คือ 1000
ปริมาณขยะแก้ว เพิ่มมากขึ้น ซึ่งอาจส่ งผลกระทบต่ อ องศาเซลเซียส มีสมบัติความหนาแน่ น กาลังอัดหรือ
สิง่ แวดล้อ มในอนาคต ทาให้มกี ารรณรงค์การนาวัส ดุ กาลังดัดทีด่ กี ว่าการเผาทีอ่ ุณหภูมติ ่า
เหลือทิง้ กลับมาใช้ใหม่ ดังนัน้ งานวิจยั นี้จงึ มีวตั ถุประสงค์หาสภาวะที่
ในประเทศไทยยัง เหลื อ เศษแก้ ว ยัง ไม่ ไ ด้ เหมาะสมในการทาแก้วเซรามิก จากแก้วโซดาไลม์ใช้
กลับมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ อีก ซึ่งในต่างประเทศ แล้วกับเถ้าลอย อันเป็ นการช่วยแก้ไขสภาพแวดล้อ ม
มีการนาเศษแก้วกลับมาหลอมใหม่ใช้เป็นฟลักซ์ [3] ใน และเพิม่ มูลค่าให้แก่เศษแก้ว และได้วสั ดุแก้วเซรามิกที่
ั ้ น เผาสโตนแวร์ (stoneware) ผลิต แก้ ว
เครื่ อ งป นดิ สามารถไปต่อยอดผลิตวัสดุก่อสร้างมวลรวม แผ่นปู อิฐ
เซรามิ ก (glass-ceramic) มี ผ ลึ ก ขนาดนาโนและ และกระเบือ้ งชนิดพิเศษต่อไป
กระจายตัวสม่าเสมออยู่ในเนื้อแก้ว [4] เป็นวัสดุทท่ี นต่อ
แรงกระแทก แรงดัด [5] และแรงอัดได้ดีกว่าเซรามิก วัสดุอปุ กรณ์และวิ ธีการวิ จยั
และแก้ว [6] นอกจากนี้ยงั ทนการกัดกร่อนทางเคมี มี 1. การเตรียมวัตถุดิบ
สมบัติเป็ นฉนวนไฟฟ้าที่ดใี นสภาวะความต่ างศักย์สูง 1.1 แก้วโซดาไลม์
และมีการขยายตัวทางความร้อนต่ามาก [7] จึงได้มกี าร ทาความสะอาดขวดแก้วบรรจุน้าโซดาใช้แล้วและ
วิจยั น าเอาของเสียและแร่บางชนิดมาทาแก้วเซรามิก ปล่อยไว้จนแห้ง (รูปที่ 1 ก) แล้วลดขนาดขวดแก้วโดย
เช่น เถ้าลอยลิกไนต์ [8], [9], [10] เถ้าหนัก [11] หางแร่ ใช้ ค้ อ นทุ บ บดด้ ว ยหม้อ บด (ball mill) แบบแห้ ง ที่
ทังสเตน [12] แร่คอร์เดียไรต์ [13] แร่ฟลูออร์อะพาไทต์ ความเร็ว 70 รอบ/นาที เป็ นเวลา 3 ชัวโมง
่ แล้วจึงนา
[14] แร่ ว ิล เลไมต์ (willemite) มี ก ารน าไปประยุ ก ต์ ผงขวดแก้ว โซดามาอบที่อุณหภูม ิ 80 องศาเซลเซีย ส
หลายด้านเช่น กระเบือ้ งปูพ้นื [15] การเรืองแสงแบบใช้ เป็ นเวลา 24 ชัวโมง
่ และคัดขนาดเล็กกว่า 75 ไมครอน
แสง [16] น ามาเคลือ บเหล็ก กล้า ไร้ส นิ ม ทนต่ อ การ (รูปที่ 1 ข) องค์ประกอบทางเคมี [2] ความหนาแน่นจริง
เปลีย่ นแปลงอุณหภูมอิ ย่างฉับพลัน และกันผลจากการ (true density) ดังในตารางที่ 1 อยู่ในเกณฑ์แก้วโซดา
ออกซิเดชันที่อุณหภูม ิ 600-1,250 องศาเซลเซียส [17] ไลม์ ซึง่ ต่อไป เรียกว่า ผงแก้ว
49 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559

1.2 เถ้าลอย บดละเอีย ดไปอบอีกครัง้ แล้ว คัดขนาดที่เล็กกว่า 75


เถ้าลอยลิกไนต์จากโรงงานยางพาราในหาดใหญ่ ไมครอน (รูปที่ 1 ง) องค์ประกอบทางเคมีของเถ้าลอย
มาอบที่อุ ณ หภู ม ิ 80 องศาเซลเซี ย ส เป็ น เวลา 24 ดังในตารางที่ 1 ซึ่งมีองค์ประกอบหลักเช่นเดียวกับเถ้า
ชัวโมง
่ (รูปที่ 1 ค) จากนัน้ บดต่อด้วยหม้อบดแบบแห้ง ล อ ย ใ น ง า น ข อ ง Yilmaz [20] ที่ ท ด ล อ ง ท า แ ก้ ว
ความเร็ว 70 รอบ/นาที เป็ น เวลา 2 ชัวโมง
่ น าเถ้า ที่ เซรามิกเช่นกัน

ตารางที่ 1 สมบัตทิ างกายภาพและเคมีของวัตถุดบิ ทีใ่ ช้

องค์ประกอบทางเคมี ผงแก้ว เถ้าลอย


ซิลคิ อนไดออกไซด์ (SiO2) 70.60 28.59
อะลูมเิ นียมออกไซด์ (Al2O3) 2.10 16.49
เหล็กออกไซด์ (Fe2O3) 0.30 27.29
โพแทสเซียมออกไซด์ (K2O) 0.10 1.09
แคลเซียมออกไซด์ (CaO) 11.50 13.46
โซเดียมออกไซด์ (Na2O) 13.40 -
แมกนีเซียมออกไซด์ (MgO) 1.90 -
แมงกานีสออกไซด์ (MnO) - 0.21
ไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO2) - 0.93
น้ าหนักสูญหายหลังเผา (LOI) 0.10 11.94
ความหนาแน่นจริง (กรัม/ลบซม.) 3.03 2.30

ก) ข)

ค) ง)

รูปที่ 1 ก) ขวดแก้วใสบรรจุน้าโซดาใช้แล้วเป็นวัตถุตงั ้ ต้นในการศึกษาครัง้ นี้ ข) ผงขวดแก้วหลังคัดขนาดเล็กกว่า


75 ไมครอน ค) เถ้าลอยก่อนบด และ ง) ผงเถ้าลอยทีผ่ ่านการคัดขนาดเล็กกว่า 75 ไมครอน
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559 50

2.2 การเตรียมตัวอย่างทดสอบ ความต้านทานไฟฟ้ าด้ว ยเครื่อ ง Megohmmeter รุ่ น


ผงแก้ ว และเถ้ า ลอยที่ ค ัด ขนาดเล็ ก กว่ า 75 CA 6525 ความดัน ไฟฟ้ า 500 โวลต์ ค านวณจาก
ไมครอน (รูปที่ 1 ง) ผสมกัน โดยเถ้าลอยแทนทีร่ อ้ ยละ สมการที่ (2)
0, 20, 30, 40 และ 50 โดยน้ าหนั ก น้ าหนั ก รวม
𝑊𝑜 − 𝑊𝑛
ทัง้ หมดครัง้ ละ 120 กรัม (ตารางที่ 2) ใส่ในกระบอก การดูดซึมน้า (%) = 𝑊𝑜
x100 ......……… (1)
ผสมไปหมุนบนรางหม้อบดแบบลูกกลิง้ (jar mill) เป็ น
เวลา 3 ชัวโมง
่ แล้ว จึงน ามาขึ้น รูป ตัว อย่ างด้ว ยเบ้า Wo = น้าหนักตัวอย่างก่อนแช่น้า (กรัม)
เหล็กไร้สนิมมีเส้นผ่านศูนย์ก ลาง 15 มิลลิเมตร ความ Wn = น้าหนักตัวอย่างหลังแช่น้า (กรัม)
สูง 20 มิลลิเมตร ด้ว ยแรงดัน 283 เมกะพาสคัล (50
𝑅𝐴
กิโลนิวตัน ) โดยวิธอี ดั แห้งไม่ใช้ตวั ประสาน (binder) ความต้านทานไฟฟ้าจาเพาะ () = …...….. (2)
𝐿
อัด ตัว อย่ า งดิบ สูต รละ 15 แท่ ง ไปวัด ขนาดและชัง่
R = ค่าความต้านทานไฟฟ้าทีว่ ดั ได้ (เมกะโอห์ม,
น้ า หนั ก เผาที่ อุ ณ หภู ม ิ 750 850 และ 950 องศา
MΩ)
เซลเซียส ทีอ่ ตั รา 5 องศา/นาที คงอุณหภูมไิ ว้นาน 1
A = พืน้ ทีภ่ าคตัดขวางของตัวอย่าง (ตร.ซม.)
ชัวโมง
่ ปล่อยให้ตวั อย่างเย็นอยู่ภายในเตา จึงนาไปชัง่
L = ความยาวของตัวอย่าง (ซม.)
น้ า หนั ก และวัด ขนาดอี ก ครัง้ (รู ป ที่ 2) ก่ อ นน าไป
ทดสอบตามรายการกาหนดไว้ ส่วนการทดสอบสมบัติเชิงกล ได้แก่ ความแข็ง
แ บ บ ช อ ร์ ( Shore hardness) วั ด ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง รุ่ น
ตารางที่ 2 ส่วนผสมตัวอย่างและอุณหภูมทิ ดลองครัง้ นี้
EQUTIP ก าลัง อัด ที่อุ ณ หภู ม ิห้ อ งและอุ ณ หภู ม ิ 80
ตัวแปร ผงแก้ว เถ้าลอย อุณหภูมิ อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง Hounsfield Test
รหัสสูตร (%wt.) (%wt.) (C) Equipment รุ่น H100KS พร้อมตู้ควบคุมอุณหภูมดิ ว้ ย
G750FA0 100 0 750 อั ต ร า ก ด 2 มม ./น าที แล ะ คว า มต้ า น ท าน กา ร
G850FA0 100 0 850 เปลี่ย นแปลงอุ ณ หภู ม ิอ ย่ า งฉับ พลัน [23] และการ
G950FA0 100 0 950 ทดสอบการทนต่ อ สารเคมี [24] เป็ นเวลา 7 วั น
G750FA20 80 20 750 ติดต่อ กัน โดยทาความสะอาดผิวตัวอย่างทุกวันและ
G850FA20 80 20 850 ชังน
่ ้ าหนักวันแรกกับวันสุดท้ายหลังอบแห้ง วิเคราะห์
G950FA20 80 20 950 แร่เกิดขึ้น ภายหลังเผาด้ว ยเทคนิค การเลี้ย วเบนรังสี
G750FA30 70 30 750
เอกซ์ (X-ray diffraction-XRD) และโครงสร้างจุลภาค
G850FA30 70 30 850
ด้วยถ่ายภาพจากกล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบส่อง
G950FS30 70 30 950
G750FA40 60 40 750 กราด (scanning electron microscope-SEM) คานวณ
G850FA40 60 40 850 ขนาดของผลึก แร่ด้ว ยสมการของ Scherrer [25] ดัง
G950FA40 60 40 950 สมการที่ (3) และปริมาณแร่คดิ จากพืน้ ทีใ่ ต้รปู แบบการ
G750FA50 50 50 750 เลีย้ วเบนรังสีเอกซ์ (XRD pattern) ตามลาดับ
G850FA50 50 50 850
K𝜆
G950FA50 50 50 950 T= βCOSθ
……………… (3)

2.3 วิ ธีการทดสอบตัวอย่าง T = ขนาดของผลึ ก K = Shape factor (0.9) ไม่ ม ี


การทดสอบสมบัติท างกายภาพของตัว อย่ า ง หน่วย
ประกอบด้วย สี ลักษณะผิวเนื้อ [21] ความหนาแน่ น λ = ความยาวคลืน่ รังสีเอกซ์ (1.5406×10-3 ไมครอน)
รวม การดูดซึมน้ า [22] คานวณดังสมการ (1) และวัด β = ค่าความสูงครึง่ พีก  = มุม Bragg
51 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559

3. ผลการวิ จยั 950 องศาเซลเซีย ส มีผ ลท าให้แก้ว เซรามิกที่ไ ด้ม ีส ี


3.1 สีและผิ วของตัวอย่าง น้ า ตาลเข้ม (รูปที่ 2 ข) โดยสีท่ไี ด้ข องแก้ว เซรามิก
สีของผงแก้วล้วนนัน้ หลังเผามีสเี ทาเข้ม ที่ 750 ขึน้ อยู่กบั ปริมาณของเถ้าลอยทีเ่ ติมลงไป ปริมาณเถ้า
องศาเซลเซียส ผิวลื่นและมันวาว แต่เมือ่ เพิม่ อุณหภูม ิ ลอยสูงทาให้ได้ตวั อย่างมีสนี ้าตาลเข้มมากขึน้ (รูปที่ 2
เผาพบว่าสีของผงแก้วล้วน สว่างขึ้นจนเกือบขาว แต่ ค) ในขณะเดียวกัน เมื่อ เพิ่มอุ ณหภูมเิ ผาสูงขึ้นทาให้
ผิวมีความสาก (รูปที่ 2 ก) แต่เมือ่ เพิม่ ปริมาณเถ้าลอย แก้วเซรามิกที่ได้มสี ีน้ าตาลจางลง (รูปที่ 2 ง) และที่
ในอัต ราส่ว นต่ างๆ และเผาที่อุ ณหภูม ิ 750 850 และ ปริมาณเถ้าลอยเพิม่ ขึน้ ลักษณะผิวของแก้วเซรามิกมี
ความหยาบมากขึน้ ด้วย

ก) ข)

ค) ง)

รูปที่ 2 ตัวอย่างทีท่ ดสอบเรียงแถวจากซ้ายไปขวาตามลาดับ ก) แก้วล้วนเผาทีอ่ ุณหภูม ิ 750 850 และ 950 องศา
เซลเซียส ข) ผสมเถ้าลอยร้อยละ 50, 40, 30 และ 20 เผาที่ 750 องศาเซลเซียส ค) ผสมเถ้าลอยร้อยละ
50, 40, 30 และ 20 เผาที่ 850 ง) ผสมเถ้าลอยร้อยละ 50 40 30 20 เผาที่ 950 องศาเซลเซียส

3.2 ความหนาแน่ นรวม ผงแก้ว โดยไม่มผี ลจากความหนาแน่ นจริงของเถ้าลอย


ความหนาแน่ นรวมของตัวอย่างแก้วเซรามิกทีไ่ ด้ ทีน่ ้อยกว่าผงแก้วมาก (ตารางที่ 1)
หลังจากเผาที่อุ ณหภูมติ ามที่กาหนดไว้ (ตารางที่ 2) 2000
พบว่าอัตราส่วนของแก้วเซรามิกทีผ่ สมผงเถ้าลอยร้อย 1800

ละ40 มีความหนาแน่นรวมสูงสุด ดังในรูปที่ 3 แต่ความ


Bulk Density (kg/m³)

1600

หนาแน่ น รวมที่ไ ด้ย งั คงมีค่ าน้ อ ยกว่าความหนาแน่ น 1400


1200
รวมของแก้ว ล้ว น จากงานวิจ ัย ของ Nimjaroen et al. 1000 750°C
[26] ผลิตแก้วเซรามิกทีม่ คี วามพรุนจากเถ้าลอย ทาให้ 800
850°C
950°C
ได้แก้วเซรามิกทีม่ คี วามหนาแน่น ลดลงตามปริมาณเถ้า 600

ลอยทีเ่ ติมลงไป แต่ผลทดลองครัง้ นี้พบว่า แก้วเซรามิก 400


0 10 20 30 40 50 60

ที่ผ สมเถ้า ลอยร้อ ยละ 40 มีค่ า ความหนาแน่ น สูง สุ ด Fly Ash Content (wt.%)

สัน นิ ษ ฐานว่ า SiO2 จากเถ้ า ลอยแทรกอุ ด ตามซอก


รูปที่ 3 ความหนาแน่นรวมของตัวอย่างแก้วเซรามิก
ผสมเถ้าลอยลิกไนต์
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559 52

3.3 ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข น า ด ห ลั ง เ ผ า องศาเซลเซีย ส ท าให้ แ ก้ ว เซรามิก มีก ารดู ด ซึม น้ า


เชิ งปริ มาตร เพิ่ม ขึ้น เมื่อ เทีย บกับ อุ ณ หภูม ิท่ี 750 และ 850 องศา
ตัว อย่ า งที่ผ สมผงเถ้า ลอยร้อ ยละ 40 มีค่ า การ เซลเซียส ซึง่ ต่างจากผลทดลองของ Cheng et al. [8]
หดตัวเชิงปริมาตรสูงสุดทีอ่ ุณหภูม ิ 750 องศาเซลเซียส แก้ว เซรามิกเผาที่อุ ณหภูม ิ 850 องศาเซลเซีย ส มีค่ า
ดังในรูปที่ 4 ซึ่งมีค่าเฉลีย่ การหดตัวเชิงปริมาตรร้อยละ การดูดซึม น้ า ร้อ ยละ 12.63 โดยค่ า นี้ ล ดลงเมื่อ เผาที่
32.53 และการหดตัว เชิงปริมาตรมีค่ าลดลงเมื่อเผาที่ อุณหภูม ิ 900 องศาเซลเซียส แต่ผลการทดลองในครัง้ นี้
อุณหภูมสิ งู ขึน้ แต่แก้วเซรามิกทีผ่ สมเถ้าลอยร้อยละ 20 พบว่าแก้วเซรามิกเผาทีอ่ ุณหภูม ิ 850 องศาเซลเซียส มี
เกิด การขยายตัว มากขึ้น ในทุ ก อุ ณ หภู ม ิท่ีเ ผาผนึ ก ค่าการดูดซึมน้าร้อยละ 5.21 ดังในรูปที่ 5 สอดคล้องกับ
สันนิษฐานว่ามาจากสารประกอบ CaO ที่อยู่ในรูปปูน ผลทดลองค่าความหนาแน่นรวม (รูปที่ 3)
ข า ว อิ ส ร ะ ( free lime) เ กิ ด ก า ร ดั น ตั ว ข อ ง แ ก๊ ส 90
คาร์ บ อนไดออกไซด์ ซึ่งอุ ณหภูม ิการเผาผนึ กสูง การ 80
750°C

Water Absorption (%)


ขยายตัว ของแก้ว เซรามิก ดัง กล่ า วก็สูงขึ้น แต่ ไ ม่มาก 70
850°C
60
เ นื่ อ ง จ า ก CaO ส่ ว น ใ ห ญ่ เ กิ ด ผ ลึ ก ใ ห ม่ 50
950°C

(recrystallization) เป็ น แคลไซต์ ก ับ SiO2 ที่เ กิด ผลึก 40

เป็ น ควอตซ์ ไ ด้ จ ับ ตัว โครงสร้า งใหม่ เ ป็ น แร่ โ วลลาส 30


20
โทไนต์ขน้ึ 10
0
50 0 10 20 30 40 50 60
40 Fly Ash Content (wt.%)
30
Volumetric Shrinkage (%)

20
10
รูปที่ 5 การดูดซึมน้าของตัวอย่างแก้วเซรามิก
0
-10
-20
-30 3.5 ความต้านทานไฟฟ้ าจาเพาะ
-40 750C
-50 850C ตัว อย่ า งแก้ว ล้ว นและที่ผ สมเถ้า ลอยลงไปเผาที่
-60
-70
-80
950C
อุณหภูม ิ 750 850 และ 950 องศาเซลเซียส พบว่าตัว อย่ าง
-90
-100 แก้ ว ล้ ว นมีค่ า ความต้ า นทานไฟฟ้ าจ าเพาะสู ง กว่ า
0 10 20 30 40
Fly Ash Content (wt.%)
50 60
ตัวอย่างแก้วเซรามิกที่ผสมเถ้าลอย ดังในรูปที่ 6 โดย
ผงแก้วทีผ่ สมเถ้าลอยมีผลทาให้ค่าความต้านทานไฟฟ้า
รูปที่ 4 การเปลีย่ นแปลงขนาดหลังเผาเชิงปริมาตรของ จ า เ พ า ะ ล ด ล ง ต า ม ป ริ ม า ณ เ ถ้ า ที่ เ ติ ม ล ง ไ ป
ตัวอย่างแก้วเซรามิก ในขณะเดี ย วกัน การเพิ่ ม อุ ณ หภู ม ิท าให้ ค่ า ความ
ต้านทานไฟฟ้าจาเพาะสูงขึ้น ซึ่งต่างจากงานวิจยั ของ
3.4 การดูดซึมน้า
Cheng et al. [8] ทีม่ คี ่าความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่อ
การดูดซึมน้ าของตัวอย่างทดสอบเผาที่อุณหภูม ิ
เผาผลึกทีอ่ ุณหภูม ิ 950 องศาเซลเซียส ทัง้ นี้เนื่องมาจาก
750 850 และ 950 องศาเซลเซียส พบว่า ตัวอย่างที่ม ี
โครงสร้า งเนื้ อ แก้ว เซรามิก มี ค วามพรุ น เปิ ด (open
แก้ ว ล้ ว นไม่ ดู ด ซึ ม น้ า เนื่ อ งจากเนื้ อ เป็ น เอกพัน ธ์ porosity) และจานวนรูเล็ก (capillary) ทีแ่ ตกต่างกัน
(homogeneous) ไม่มรี ูเล็ก แต่เมือ่ เทียบแก้วเซรามิกที่
ผสมเถ้าลอยร้อยละ 30 เผาทีอ่ ุณหภูมติ ่างๆ พบว่า แก้ว
เซรามิกเผาที่อุ ณหภูม ิ 850 องศาเซลเซีย ส มีค่ าการ
ดูดซึมน้าต่าทีส่ ุดเพียงร้อยละ 5.21 และเมือ่ เพิม่ ปริมาณ
เถ้าทาให้ค่าการดูดซึมน้ า มีทงั ้ ค่าเพิม่ ขึ้นและลดลง ซึ่ง
ขึน้ กับอุณหภูมเิ ผาด้วย เช่นตัวอย่างเผาอุณหภูม ิ 950
53 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559

Electrical Resistivity (Mเ-cm)


600
3.7 กาลังอัด
750°C
500
850°C
กาลังอัดทีอ่ ุณหภูมปิ กติของตัวอย่างแก้วเซรามิก
400
950°C ที่เติมเถ้าลอยร้อ ยละ 40 โดยน้ าหนัก ให้ค่ าก าลังอัด
300 สูงสุด ของตัวอย่างทดสอบในแต่ละอุณหภูม ิเผาที่ 750
200 850 และ 950 องศาเซลเซี ย ส ดัง ในรู ป ที่ 8 ก) ซึ่ ง
100 นอกจากนี้ ยังพบว่าตัวอย่างทีผ่ สมเถ้าลอยร้อยละ 40
0 เผาผนึ ก ที่อุ ณ หภูม ิ 850 องศาเซลเซีย ส ให้ก าลัง อัด
0 10 20 30 40 50 60
Fly Ash Content (wt.%) เฉลี่ย สูง สุ ด 44.04 เมกะพาสคัล ส่ ว นตัว อย่ า งเผาที่
อุณหภูม ิ 750 องศาเซลเซียส มีกาลังอัดสูงสุดในช่วงที่
รูป ที่ 6 ความต้ า นทานไฟฟ้ าจ าเพาะของตัว อย่ า ง มีส่วนผสมของเถ้าลอยร้อยละ 40 คือมีกาลังอัดเฉลี่ย
แก้วเซรามิก 29.65 เมกะพาสคัล และสาหรับตัวอย่างเผาที่อุณหภูม ิ
950 องศาเซลเซี ย ส มีก าลังอัดสู งสุ ดคือส่ วนผสมของ
3.6 ความแข็งแบบชอร์
เถ้าลอย ร้อยละ 40 มีกาลังอัดเฉลี่ย 42.55 เมกะพาสคัล ซึ่ ง
ตัว อย่างทดสอบมีผ งแก้ว ล้ว น รูปทรงไม่เอื้อ ต่ อ
สอดคล้องกับค่าความแข็งแบบชอร์ และสอดคล้องกับ
การทดสอบความแข็งแบบชอร์ (รูปที่ 2) ซึ่งตัวอย่างที่
งานวิจยั ของ Cheng et al. [8] เผาตัวอย่างทีอ่ ุณหภูม ิ 850
ผสมเถ้ า ลอยร้ อ ยละ 40 เผาที่อุ ณ หภู ม ิ 850 องศา
องศาเซลเซีย ส มีค่ ากาลังอัด 41.44 เมกะพาสคัล ส่ ว น
เซลเซีย ส มีค่าความแข็ง 548.67 ส่ว นตัวอย่ างที่ผ สม
ตัวอย่างเผาที่อุณหภูม ิ 950 องศาเซลเซียส ค่ากาลังอัด
เถ้าลอยร้อยละ 20 มีความแข็งต่าสุดของทุกอุณหภูมทิ ่ี
ลดลงเช่นกัน
เผา (รูปที่ 7) เนื่องจากตัวอย่างทีไ่ ด้มคี วามพรุนเพิม่ ขึน้
สาหรับการทดสอบกาลังอัดที่อุณหภูม ิ 80 องศา
ส่งผลให้ความแข็งลดลง อัน น่ าเป็ น ผลจากเถ้าลอยมี
เซลเซีย ส เฉพาะตัว อย่ างแก้ว เซรามิกที่เติมเถ้าลอย
สารประกอบ CaO อยู่ (ตารางที่ 1) เมือ่ ได้รบั ความร้อน
เผาทีอ่ ุณหภูม ิ 850 องศาเซลเซียส พบว่าแก้วเซรามิกที่
แตกตัวให้เป็ นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และตัว อย่าง
ผสมเถ้าลอยร้อยละ 40 โดยน้าหนัก มีค่ากาลังอัดเฉลีย่
เผาทีอ่ ุณหภูมสิ ูงขึ้น ทาให้ค่าความแข็งสูงขึ้น ด้วยและ
สูงสุ ดเช่น กัน ที่ 39.64 เมกะพาสคัล เปรีย บเทีย บกับ
ตัวอย่างทีท่ ดสอบไม่ชารุด
กาลังอัดที่อุ ณ หภูมหิ ้อ ง (รูปที่ 8 ก) พบว่ามีค่ าลดลง
700 ร้อยละ 11.1 จึงเห็นได้ว่าอุ ณหภูม ิ 80 องศาเซลเซีย ส
600 750°C มีผลเพียงเล็กน้อยต่อกาลังอัดของแก้วเซรามิกทีศ่ กึ ษา
500 850°C ครัง้ นี้
Shore Hardness

950°C
400

300

200

100

0
0 10 20 30 40 50 60
Fly Ash Content (wt.%)

รูปที่ 7 ความแข็งแบบซอร์ของตัวอย่างแก้วเซรามิก
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559 54

60 14
ก) ก)
Compressive Strength (MPa)
50 750°C 12 750°C
850°C
10 850°C

Acid Resistance (%)


40 950°C
950°C
8
30
6
20
4
10 2

0 0
0 10 20 30 40 50 60 0 10 20 30 40 50 60
Fly Ash Content (wt.%) Fly Ash Content (wt.%)
1.80
ข)
40
ข) 1.60
Compressive Strength

20 750 C
30 1.40

Base Resistance (%)


30 40 1.20 850°
(MPa)

50 1.00 C
20 0.80
0.60
10 0.40
0.20
0 0.00
0 10 20 30 40 50 60
Fly Ash Content (wt.%) Fly Ash Content (wt.%)

รูปที่ 8 กาลังอัดที่ ก) อุณหภูมหิ อ้ ง และ ข) อุณหภูม ิ รูปที่ 9 ความทนของตัวอย่างแก้วเซรามิกต่อสารละลาย


80 องศาเซลเซียส ก) กรด และ ข) ด่าง

3.8 ความทนต่อการกร่อนด้วยกรดและด่าง 3.9 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างฉับพลัน


ตัว อย่ า งแก้ว ล้ว นเผาที่อุ ณ หภู ม ิ 750 850 และ ตัวอย่างผ่านการเผาผนึกทีอ่ ุณหภูม ิ 750 850 และ
950 องศาเซลเซียส แช่ในกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้นร้อย 950 องศาเซลเซียส ซึง่ ผสมเถ้าลอยในอัตราส่วนร้อยละ
ละ 3 พบว่า มีความคงทนต่อ สารละลายกรด HCl แต่ 20 30 40 และ 50 โดยน้าหนักพบว่า ตัวอย่างแก้วเซรา
แก้วเซรามิกที่ผสมเถ้าลอยเกิดการกัดกร่อ นเล็กน้อ ย มิก ที่ ไ ด้ จ ากการทดลองครัง้ นี้ ส ามารถทนต่ อ การ
ดังแสดงในรูปที่ 9 ก) โดยขึ้นอยู่กบั ปริมาณเถ้าลอยที่ เปลี่ย นแปลงอุ ณหภูมอิ ย่างฉับพลัน ที่ไ ม่ เกินอุ ณหภูม ิ
เติมลงไป ตัว อย่ างที่เติมเถ้าลอยร้อ ยละ 50 เกิดการ 260 องศาเซลเซีย ส ได้ โดยไม่เ กิด ปริแ ตกร้า วหรือ
กร่อนสูงสุด ผลจาก CaO สูงขึน้ และเมือ่ พิจารณาในแง่ ความเสียหายใดๆ
อุณหภูมเิ ผาพบว่า อุณหภูมทิ เ่ี ผาผนึกสูงขึน้ อัตราการ 3.10 การวิ เคราะ ห์ แ ร่ ป ระ กอบของแ ก้ ว
ทนกรดสูงขึน้ ผลจากเผาผนึกดีขน้ึ เซรามิ ก
ตัว อย่ า งแก้ว ล้ว นเผาที่อุ ณ หภู ม ิ 750 850 และ แก้วเซรามิกที่ได้จากผสมเถ้าลอยร้อยละ 40 เผา
950 องศาเซลเซียส แช่ในสารละลายโซเดียมไฮดรอก ทีอ่ ุณหภูม ิ 850 องศาเซลเซียส ให้กาลังอัดสูงสุด นาไป
ไซด์เข้มข้น ร้อยละ 3 พบว่า ตัว อย่างแก้ว ล้วนมีความ วิเ คราะห์ว ัฏภาคแร่ (mineral phases) ดัง ในรูป ที่ 10
คงทนต่ อ สารละลายด่ า ง NaOH แต่ ต ัว อย่ า งที่ผ สม ด้ ว ยแรงอัด และความร้ อ นจึง เกิด วัฏ ภาคแร่ ได้แ ก่
เถ้าลอยเกิดการกร่อนตามปริมาณเถ้าลอยที่เติมลงไป ไดออปไซด์ คริส โทบาไลต์ (cristobalite, SiO2) และ
ตัวอย่างที่เติมเถ้าลอยลงไปร้อยละ 50 เกิดการกร่อ น โวลลาสโทไนต์ (wallastonite, CaSiO3) ซึ่ง เห็น ได้ว่ า
สูงสุด และเมือ่ คานึงถึงอุณหภูมเิ ผาพบว่า เมือ่ อุณหภูม ิ อุณหภูมเิ พิม่ ขึ้นมีผ ลให้เกิดแร่โวลลาสโทไนต์มากขึ้น
เผาสู ง ขึ้น ท าให้อ ัต ราการกร่ อ นของตัว อย่ า งลดลง ตามไปด้วย ในขณะเดียวกันแร่ควอตซ์ (quartz, SiO2)
ดัง แสดงในรู ป 9 ข) ซึ่ ง ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกับ การ และคริส โทบาไลต์ ล ดลง ทัง้ นี้ เ พราะมีค วอตซ์ แ ละ
ทนทานต่อกรด แคลไซต์ทเ่ี กิดผลึกใหม่ส่วนมากมาจับโครงสร้างกันขึน้
55 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559

เป็ น โวลลาสโทไนต์ แ ทน โดยมีข นาดผลึ ก เล็ ก ลง ด้ ว ยความร้ อ น (thermal metamorphism) ซึ่ ง ท าให้
เล็กน้อย ดังแสดงในตารางที่ 3 ซึ่งจัดเป็ นแร่ทนความ บางส่วนของแก้วเซรามิกทีไ่ ด้เกิดผลึกใหม่แร่ควอตซ์ม ี
ร้อนชนิดหนึ่ง [27] เช่นเดียวกับงานของ Lu et al. [28] รูปร่า งหยัก ขอบคมโค้งเว้า รูป ฝาหอย ดังรูป ที่ 11 ก)
ได้แก้วเซรามิกทีผ่ ลึกขนาดเล็กและมีกาลังดัดเพิม่ ขึน้ และบางส่วนเกิดผลึกแร่คริสโทบาไลต์ (C) ทีม่ กั เกิดที่
อุณหภูมสิ ูง [29] มีรูปร่างกลมมนดังรูปที่ 11 ข) และใน
ขณะเดียวกันบริเวณทีอ่ นุ ภาคของตัวอย่างเกิดการเผา
ผนึ ก หรือ อาจก่ อ นิ ว เคลีย ส ส่ งผลให้เกิดแร่ ช นิ ดใหม่
ขึน้ มามีรูปทรงต่างๆ ทีแ่ ทรกอยู่ในเนื้อ ซึ่งลักษณะเป็ น
ผลึกแท่งยาวแหลมคล้ายเข็มคือ แร่โวลลาสโทไนต์ (W)
(รูปที่ 11 ก) และยังพบผลึกใหม่เกิดขึ้นอีกชนิดหนึ่ง ใน
เนื้ อ แก้ ว เซรามิก โดยผลึก ขนาดเล็ ก งอกอยู่ บ นแร่
คริสโทบาไลต์คอื แร่ไดออปไซด์ (D) ดังรูปที่ 11 ค) ที่
น่าเกิดแบบนิวเคลียสขึน้ มา อันเป็ นการผลิตแก้วเซรามิ
รูปที่ 10 รูปแบบการเลี้ย วเบนรังสีเอกซ์ของตัว อย่ าง กชนิดโวลลาสโทไนต์ดว้ ยต้นทุนต่า [30] แม้ว่าเถ้าลอย
แก้วเซรามิกผสมเถ้าลอยร้อยละ 40 หลังเผาที่ ทีใ่ ช้มปี ริมาณ SiO2 ต่า ผสมผงแก้วก็สามารถก่อให้เกิด
อุณหภูมติ ่างกัน แก้ว เซรามิก ที่มเี นื้อ ละเอีย ดได้เช่ น เดีย วกับงานของ
Vasilopoulos and et al. [31] ที่ใ ช้เ ถ้ า ลอยมีซิล ิก าต่ า
ตารางที่ 3 ชนิด ปริมาณแร่และขนาดของตัวอย่างแก้ว
ชนิดเดียวเท่านัน้
เซรามิก ผสมเถ้ า ลอยร้ อ ยละ 40 เผาที่
อุณหภูมติ ่างกัน สรุปและเสนอแนะ
สรุปผลการวิจยั แก้วเซรามิกทาจากผงแก้วโซดา-
อุณหภูมิ ชนิ ดแร่ ปริ มาณ ขนาดผลึก
(°C) (wt.%) (ไมครอน) ไลม์ (ขวดน ้ า โซดา) และเถ้า ลอยลิก ไนต์ ม ี SiO2 ต่ า
750 ควอตซ์ 20.30 32.8 อัตราส่วนผสมทีเ่ หมาะสมคือ ปริมาณเถ้าลอยลิกไนต์
คริสโทบาไลต์ 32.77 27.1 ร้อ ยละ 40 และเศษแก้ ว ร้ อ ยละ 60 และอุ ณ หภู ม ิท่ี
ไดออปไซด์ 46.92 22.7 เหมาะสมคือ 850 องศาเซลเซีย ส ซึ่งให้ต ัว อย่ างแก้ว
850 ควอตซ์ 5.11 21.1 เ ซ ร า มิ ก มี ส ม บั ติ โ ด ด เ ด่ น ที่ สุ ด ค่ า ก า ลั ง อั ด ที่
คริสโทบาไลต์ 22.57 24.6 อุณหภูมหิ ้อ งสูงสุด 44.04 เมกะพาสคัล และที่อุณหภูม ิ
ไดออปไซด์ 18.28 29.2
80 องศาเซลเซีย ส ได้ค่ า สู ง สุ ด 39.64 เมกะพาสคัล
โวลลาสโทไนต์ 54.02 26.5
950 คริสโทบาไลต์ 21.14 24.6 รวมถึงมีค่าความหนาแน่ น รวม 1.72 กรัมต่อลูกบาศก์
โวลลาสโทไนต์ 46.75 24.5 เซนติเ มตร ค่ า การหดตัว เชิง ปริม าตรร้อ ยละ 27.71
ไดออปไซด์ 32.10 24.1 ค่าความต้านทานไฟฟ้ า จาเพาะ 200.82 เมกะโอห์ม -
เซนติเมตร ค่าความแข็งแบบชอร์สอดคล้องกับกาลังอัด
3.11 โครงสร้างจุลภาคของแก้วเซรามิ ก จึงเป็ น การหาค่ าทางอ้อ มได้โ ดยตัว อย่ างไม่เสีย หาย
ผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างผิวหน้าตัดรอยแตก และความต้า นทานการเปลี่ย นแปลงความร้อ นอย่ า ง
ของตัว อย่ างที่ผ สมเถ้าลอยร้อยละ 40 เผาที่อุ ณหภูม ิ ฉับพลันได้เกินอุณหภูม ิ 260 องศาเซลเซียส อันเป็นผล
850 องศาเซลเซีย ส ด้ว ยกล้อ งจุล ทรรศน์ อิเล็กตรอน จากการเกิด แร่ โ วลลาสโทไนต์ ข้ึน ในตัว อย่ า งแก้ ว
แบบส่องกราด (SEM) พบว่า อนุ ภาคของเถ้าลอยและ เซรามิกชนิดนี้
ผงแก้วได้เผาผนึกกัน จากอิทธิพลของการแปรสภาพ
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559 56

ก)
Q
W

ข)
Q

C
W

Q
Q

ค)
D

รูปที่ 11 ภาพถ่ายจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบส่องกราดจากผิวรอยแตกเนื้อแก้วเซรามิกผสมเถ้าลอยร้อยละ 40 เผา


ที่ 850 องศาเซลเซียส กาลังขยาย ก) 1,000 เท่า พบโวลลาสโทไนต์เกาะทัวไป
่ (W) ข) 3,000 เท่า และ
ค) 10,000 เท่า แร่ไดออปไซด์ขนาดเล็ก (D) บนผิวแร่ คริสโทบาไลต์ (C)
57 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559

แก้ว เซรามิก ที่ไ ด้ค รัง้ นี้ ก าลังอัด สูง สามารถไป [4] Peng, F., Liang K.-M. and Hu A.-M. 2005. “Nano-
พัฒนาขยายผลต่ อในการผลิตแก้วพรุน (foam glass) Crystal Glass–Ceramics Obtained from
[32] มวลรวมน้ า หนั ก เบา [33] และผลิต ภัณ ฑ์ ว ัส ดุ High Alumina Coal Fly Ash”. Fuel. 84 : 341–
ก่อสร้างเชิงนิเวศอื่นๆ ทีใ่ ช้งานในสภาวะมีความร้อนสูง 346.
กว่าอุ ณหภูมหิ ้อง [34], [35] เช่น แผ่ นปูโต๊ ะหุงอาหาร [5] Collini, L. and Carfagni G.R. 2014. “Flexural
(cooktops) Strength of Glass–Ceramic for Structural
สาหรับขอเสนอแนะแนวทางในการศึกษาวิจยั ครัง้ Applications”. J Eur Ceram Soc. 34 (11):
ต่อไปมีดงั นี้ 2675–2685.
1. การศึกษาครัง้ ต่อไปควรเลือกเศษขวดแก้วสีอ่นื [6] Erol, M., Kucukbayrak S. and Ersoy-Mericboyu
(สีเขียว สีน้ าตาล) อาจส่งผลต่อสมบัตขิ องแก้วเซรามิก A. 2008. “Comparison of the Properties of
ทีผ่ ลิตขึน้ มาใหม่ Glass, Glass–Ceramic and Ceramic
2. ควรปรับเปลี่ยนอัตราอุณหภูมแิ ละเวลาในการ Materials Produced from Coal Fly Ash”.
เผาผนึกมากขึ้น กว่า 1 ชัวโมง ่ จากการทดลองครัง้ นี้ J Hazard Mater. 153 (1-2): 418–425.
อาจมีผลต่อสมบัตแิ ละโครงสร้างของแก้วเซรามิกทีไ่ ด้ [7] Holand, W. and Beall G.H. 2002. Glass-
3. ควรปรับเปลีย่ นอุณหภูมใิ นการทดลองต่างกัน Ceramic Technology. John Wiley & Sons
ช่ ว งละ 25 องศาเซลเซีย ส ระหว่ า ง 750-900 องศา Inc., New Jersey, USA.
เซลเซียส เพือ่ ให้ทราบถึงกลไกกระบวนการเปลีย่ นผลึก [8] Cheng, T.W. and et al. 2002. “Production of
และช่วงสภาวะทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดในการเกิดแก้วเซรามิก Glass–Ceramic from Incinerator Fly Ash”.
ที่ช ัด เจนยิ่ง ขึ้น โดยเพิ่ม เทคนิ ค การตรวจสอบ เช่ น Ceram Int. 28 (1): 779-783.
ฟู เ รี ย ร์ ท รานฟอร์ ม อิ น ฟราเรด (Fourier transform [9] Yoon, S.-D. and et al. 2013. “Characterization of
infrared, FTIR) การวิเ คราะห์ ค วามร้อ นเชิง อนุ พ ัน ธ์ Wollastonite Glass-Ceramics Made from
(differential thermal analysis, DTA) และเทอร์โมกรา- Waste Glass and Coal Fly Ash”. J Mater
วิเมตรี (thermogravimetry, TG) Sci Technol. 29 (2): 149-153.
เอกสารอ้างอิ ง [10] Karamberi, A. and Moutsatsou A. 2006.
[1] กรมควบคุ ม มลพิ ษ . 2558. “การใช้ เ ถ้ า ลอยใน “Vitrification of Lignite Fly Ash and Metal
งานครีต.” http://www.pcd.go.th/info_serv/pol Slags for the Production of Glass and Glass
_ suc_ ash.html. 25 มกราคม. Ceramics”. China Part. 4 (5): 250-253.
[2] จักกฤษณ์ สุนทรานุ ร กั ษ์ และดนุ พล ตัน นโยภาส. [11] Vu, D.H. and et al. 2012. “Glass–Ceramic from
2557. “การพัฒ นาก าลัง และความคงทนต่ อ Mixtures of Bottom Ash and Fly Ash”.
ซัลเฟต ของคอนกรีตใส่มวลรวมเศษขวดแก้ว Waste Manage. 32 (12): 2306–2314.
ใสผสมเถ้ า ชานอ้ อ ย ”. วารสารวิ ชาการ [12] Peng, K., Lv C. and Yang H. 2014. “Novel
เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม. 10 (1): 63-75. Preparation of Glass Ceramics from
[3] Tucci, A. and et al. 2004. “Use of Soda-Lime Amorphized Tungsten Tailings”. Ceram Int.
Scrap-Glass as a Fluxing Agent in a 40 (7): 10291–10296.
Porcelain Stoneware Tile Mix”. J Eur [13] Ghosh, S. and et al. 2014. “Cordierite Based
Ceram Soc. 24: 83–92. Glass–Ceramic Glazed Floor Tiles by
Microwave Processing”. Mater Charact. 95
: 192–200.
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559 58

[14] Chen, X. and et al. 2014. “Novel Alkali Free [22] มอก.2398-เล่ ม 3-2553. 2553. กระเบื้อ งเซรา
Bioactive Fluorapatite Glass Ceramics”. มิ ก เล่ม 3 วิ ธี หาการดูดซึ มน้ า ความพรุน
J Non-Cryst Solids. 402 : 172–177. ปรากฏ ความหนาแน่ นสัมพัทธ์ปรากฎและ
[15] Yao, R. and et al. 2014. “Dual Functions of ความหนาแน่ นรวม. กรุงเทพฯ : สานักงาน
Novel Glass–Ceramic Floor Tile Design and มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
Preparation”. Ceram Int. 40 (6): 8667– [23] มอก.2398-เล่ม 9-2551. 2551. กระเบือ้ งเซรามิ ก
8675. เล่ม 9 วิ ธี หาค่าความต้านทานการเปลี่ยน
[16] Tarafder, A. and et al. 2014. “Fabrication and แปลงอุณ หภูมิ อย่ างฉั บพลัน . กรุ ง เทพฯ :
Enhanced Photoluminescence Properties of สานัก งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
Sm3+-Doped ZnO–Al2O3–B2O3–SiO2 Glass [24] มอก. 2398-เล่ม 13-2553. 2553. กระเบื้องเซรา
Derived Willemite Glass–Ceramic มิ ก เล่ ม 13 วิ ธี หาคว ามทน สารเคมี .
Nanocomposites”. Opt Mater. 36 (9): 1463– สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
1470. [25] Jenkins, R. and Snyder R.L. 1996.
[17] Shan, X. and et al. 2014. “Influence of CoO Introduction to X-ray Powder
Glass–Ceramic Coating on the Anti- Diffractometry, John Wiley & Sons Inc.
Oxidation Behavior and Thermal Shock [26] Nimjaroen, C., Morimoto S. and
Resistance of 200 Stainless Steel at Tangsathitkulchai C. 2009. “Preparation
Elevated Temperature”. Ceram Int. 40 (8): and Properties of Porous Glass Using Fly
12327–12335. Ash as a Raw Material”. J Non-Cryst
[18] Francis, A.A. and et al. 2004. “Crystallization Solids. 355 (34–36): 1737-1741.
Kinetic of Glass Particles Prepared from a
[27] ดนุพล ตันนโยภาส. 2553. แร่และหิ น. พิมพ์ครัง้
Mixture of Coal Ash and Soda-Lime Cullet
ที่ 1. สงขลา : ภาควิช าวิศ วกรรมเหมือ งแร่
Glass”. J Non-Cryst Solids. 333 (2): 187–
และวัสดุ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
193. [28] Lu, J. and et al. 2014. “Influence of Particle Size
[19] Yoon, S. and Yun Y. 2005. “An Advanced on Sinterability, Crystallisation Kinetics and
Technique for Recycling Fly Ash and Waste Flexural Strength of Wollastonite Glass-
Glass”. J Mater Process Tech. 168 (2): 56– Ceramics from Waste Glass and Fly Ash”.
61. Mater Chem Phys. 148 (1–2): 449-456.
[20] Yilmaz, G. 2012. “Structural Characterization
[29] ดนุพล ตันนโยภาส. 2552. วิ ทยาแร่. พิมพ์ครัง้ ที่
of Glass–Ceramics Made from Fly Ash
2 สงขลา : ภาควิชาวิศ วกรรมเหมืองแร่และ
Containing SiO2–Al2O3–Fe2O3–CaO and
วัสดุ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
Analysis by FT-IR–XRD–SEM Methods”.
[30] Zhang, W. and Liu H. 2013. “A Low Cost Route
J Mol Struct. 1019 : 37-42.
for Fabrication of Wollastonite Glass–
[21] มอก. 2398-เล่ ม 2-2553. 2553. กระเบื้อ งเซรา Ceramics Directly Using Soda-Lime Waste
มิ ก เล่ ม 2 วิ ธี ต รวจสอบมิ ติ แ ละคุณ ภาพ Glass by Reactive Crystallization–
ผิ ว หน้ า . กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานมาตรฐาน Sintering”. Ceram Int. 39 (2): 1943–1949.
ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม.
59 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีท่ี 18 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2559

[31] Vasilopoulos, K.C. and et al. 2009, “Bulk [34] ดนุ พ ล ตัน นโยภาส, รัต ติก าล สุ ร ิย ะ และสุ ช าติ
Nucleated Fine Grained Mono- จัน ทรมณีย์. 2557. “แก้ว เซรามิก ได้จากแก้ว
Mineral Glass-Ceramics from Low- ขวดโซดาและเถ้ า ปาล์ ม น้ า มัน ”. วารสาร
Silica Fly Ash”. Ceram Int. 35 (2): 555-558. วิ ทยาศาสตร์ลาดกระบัง. 23 (2): 1-16.
[32] Bai, J. and et al. 2014. “Preparation of Foam [35] พัชรี รัตนพิรุณ และคณะ. 2558. “การนาแก้วขวด
Glass from Waste Glass and Fly Ash”. โซดาและเถ้าหนักปาล์มน้ ามัน มาใช้ประโยชน์
Mater Lett. 136 : 52–54. ใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ก้ ว เ ซ ร า มิ ก ”. ว า ร ส า ร
[33] ดนุ พ ล ตัน นโยภาส, สุ ธินี ไชยสุ ร ิย า และสุ ช าติ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
จันทรมณีย.์ 2557. “ผลของการเติมเถ้าลอยไม้ มหาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร์ . 23 (1): 127-
ยางพาราต่ อ สมบัติข องมวลรวมน้ า หนักเบา 140.
ผ ลิ ต จ า ก แ ก้ ว ข ว ด ใ ส ”. ว า ร ส า ร
วิ ศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัยสยาม. 15
(2): 1-12.

You might also like